Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รานงานสรุปผลการนิเทศ_ครึ่งปีหลัง_61_ศร

รานงานสรุปผลการนิเทศ_ครึ่งปีหลัง_61_ศร

Published by aou.29112522, 2021-01-12 03:30:00

Description: รานงานสรุปผลการนิเทศ_ครึ่งปีหลัง_61_ศร

Search

Read the Text Version

สารบญั หน้า เรื่อง รายงานการนิเทศ………………………………………………………………………………………………………………1 บันทกึ การนเิ ทศ - การศกึ ษาข้ันพื้นฐาน พ.ศ. 2551……………………………………………………………………………………….6 - การสง่ เสรมิ การรู้หนงั สือไทย…………………………………………………………………………………………….11 - การศกึ ษาต่อเน่ือง…………………………………………………………………………………………………………...14 - ห้องสมดุ ประชาชน………………………………………………………………………………………………………….30 - บา้ นหนงั สอื ชุมชน…………………………………………………………………………………………………………..33 - กศน.ตาบล 4G……………………………………………………………………………………………………………….35 - การพฒั นาระบบการประกนั คณุ ภาพภายในสถานศึกษา……………………………………………………..40 - การส่งเสริมคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในสถานศึกษา……………………………………………………………………42 - พระบรมราโชบายด้านการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10…………………………………………………..44

1 ผลการนิเทศครงึ่ ปหี ลงั ของ ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอศรีสาโรง 1. งานการศกึ ษาข้ันพื้นฐาน การศกึ ษาขน้ั พ้ืนฐาน จากสภาพท่ีพบ จุดเดน่ ในงานการศึกษาขัน้ พ้ืนฐานของ กศน.อาเภอศรีสาโรง สถานศึกษาพัฒนาหลักสตู รวชิ าเลือกด้วยตนเอง ทาให้เน้ือหารายวชิ าเลอื ก เป็นหลกั สูตรทีม่ ีความเหมาะสม สอดคล้องกบั สภาพปัญหา ความตอ้ งการของบุคคลท่ีอยนู่ อกระบบโรงเรยี น ซึง่ เป็นผู้มคี วามรู้ ประสบการณ์ จากการทางาน และการประกอบอาชพี ครูผสู้ อนมกี ารนาเทคโนโลยมี าใชใ้ นการสื่อสาร การจดั การะบวนการ เรยี นรู้ การตดิ ตามผู้เรียน ผา่ นสอื่ ออนไลน์ และ มีการปฏิบตั งิ านทคี่ รบวงจร PDCA การสง่ เสริมการรหู้ นังสือไทย จากสภาพท่ีพบ เม่ือเราใช้ข้อมูลจาก จปฐ. เปน็ หลกั พบว่า มีข้อมลู ผู้ ไม่รหู้ นังสอื ผลู้ มื หนงั สือ แต่สถานศกึ ษาไม่สามารถเข้าไปดาเนนิ การพัฒนาใหผ้ ู้ไมร่ ้หู นังสอื เกดิ การพัฒนา ตนเองได้ เนอ่ื งจาก สว่ นมากเปน็ ผู้สูงอายุ(ติดเตียง) ผู้พกิ ารซ้าซอ้ น ทาให้เป็นอปุ สรรคต่อการเรียนรู้ ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา ควรมกี ารนิเทศ ติดตาม และรายงานผลการนเิ ทศอยา่ งต่อเนื่อง สร้างความเข้าใจรว่ มกนั ระหว่างฝา่ ย บริหาร และ ผ้ปู ฏบิ ตั งิ านในพ้ืนท่ี เพ่ือนาผลการนาเทศมาพัฒนางานในส่วนทีต่ อ้ งเพ่ิมเติม เชน่ การจัดระบบ ดแู ลชว่ ยเหลอื ผเู้ รียน ควรมีการจดั ระบบดแู ลช่วยเหลอื ผู้เรียนอยา่ งต่อเน่อื งและเป็นรูปธรรม ตั้งแตแ่ รกเข้าจน จบหลักสตู ร โดยจัดทาแฟม้ ข้อมลู รายบคุ คลให้ผู้เรยี นทราบสถานะ/ความก้าวหน้าในการเรยี น ให้เปน็ ปัจจุบนั 2. การศึกษาต่อเน่ือง ศูนยฝ์ กึ อาชีพชมุ ชน จากสภาพท่ีพบ มกี ารสารวจข้อมลู ความต้องการผรู้ ับบรกิ าร มีการพัฒนา หลักสตู รข้ึนเอง โดยวเิ คราะห์ความตอ้ งการผ้รู ับบรกิ ารกับบรบิ ทความต้องการของชุมชนตลาดแรงงาน สอดคลอ้ งตามหลักการศนู ย์ฝึกอาชพี ชุมชน มแี ผนงาน / โครงการ / กจิ กรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนท่ี สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของผเู้ รยี น ครู กศน.ตาบล วิทยากร และ ผเู้ รียน จัดทาเป็นเล่มฐานขอ้ มลู วิทยากรมคี วามรู้ความสามารถ คัดเลอื กจากการสอบถามความเชี่ยวชาญในทอ้ งถน่ิ และเกยี รติบตั รการผา่ น การอบรม วัสดุ อปุ กรณ์ มเี พียงพอ สถานที่จัดการเรียนการสอนมคี วามเหมาะสม สว่ นใหญ่ใช้สถานท่ี สาธารณะของหมบู่ ้าน เช่น ศาลากลางหม่บู า้ น เป็นตน้ เมื่อเรยี นจลหลักสูตรมีแบบสอบถามประเมนิ ความพงึ พอใจ จากผ้เู รียน เพ่ือนามาพัฒนาใครการจดั กจิ กรรมครั้งต่อไป มีการตดิ ตามผูเ้ รยี นสามารถนาไปสรา้ งอาชีพ นาไปปรบั ใช้ในครัวเรือน ลดรายจา่ ย เหลอื จากการใชน้ ามาจาหน่าย สร้างรายได้ ได้จริง การจัดการเรียนรูด้ า้ นดิจิทลั ใหป้ ระชาชน (Smart Digital Person) จากสภาพที่พบ มีหลักสูตรท่ี ใชใ้ นการสอน สถานศึกษาได้พฒั นาขนึ้ ตามแนวทางหลักสูตร ผู้สอนไดร้ บั การอบรมสร้างความร้คู วามเข้าใจ ดจิ ิทัลชมุ ชน (ครู ข , ครู ค) และสรา้ งความเข้าใจการรบั รเู้ น็ตประชารัฐ ของสานักงาน กศน. และกระทรวง ICT วสั ดุ อุปกรณ์ ในการอบรม ผูเ้ ขา้ รว่ มอบรมบางคนอุปกรณ์ไมพ่ ร้อม บางคนไมม่ ีอปุ กรณ์ท่ใี ช้ในการอบรม แก้ปญั หาโดยการศกึ ษารว่ มกับเพ่อื นที่อบรมดว้ ยกัน สถานทมี่ ีความเหมาะสมในการจดั อบรม เม่ือเรยี นจบ หลกั สตู รแลว้ มีการมอบใบประการการผา่ นหลกั สตู รดิจทิ ัลชุมชน

2 โครงการภาษาองั กฤษเพ่อื การส่อื สารด้านอาชพี ( Smart ONIE) จากสภาพท่ีพบ สถานศกึ ษา พัฒนาหลักสตู รขึ้นเองและเสนอ สานักงาน กศน.จังหวัดสุโขทัย อนุมัติหลักสูตรเพ่ือใช้ในการสอน พัฒนาขน้ึ ตามแนวทางของสานักงาน กศน. เน้อื หาหลกั สตู รมกี ารบูรณาการสภาพปัญหา และความตอ้ งการของผู้เรียน โดยใชแ้ บบสารวจ จัดทา แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อใชใ้ นการอบรม ตามหลกั สูตรที่พัฒนาขน้ึ ไม่มีการ ประชุมอบรมเทคนิควธิ ีการเรียนรู้เพราะวทิ ยากร แตม่ ีการพดู คุยสร้างความเข้าใจให้กบั วิทยากร มีวสั ดุ อปุ กรณ์ เพยี งพอและสถานท่ีเหมาะสม จัดการเรยี นรูต้ ามแผน ปรับแผนบา้ งตามความเหมาะสมของผู้เรยี น ใชส้ ื่อประกอบการสอน ใบงาน ใบความรู้ เกมสอนภาษาองั กฤษ จากการใช้ เคร่ืองมือในการวดั ผล แบบทดสอบกอ่ นเรยี น-หลงั เรียน พบว่า ผูเ้ ขา้ รว่ มโครงการมีผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรดู้ ีข้ึน มกี ารประเมิน ความพงึ พอใจหลังเรียนจบหลกั สูตร มกี ารจดั ทารายงานผลการดาเนินการเมื่อโครงการส้ินสดุ และรายงานผล บนระบบ DMIS มี จากการอบรม การจัดการศกึ ษาตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ จากสภาพที่พบ กศน.ตาบล พัฒนาหลักสตู รข้ึนและนาเสนอให้ กศน.อาเภอ อนมุ ัตหิ ลักสตู ร โดย ครู กศน.ตาบล วิทยากร และภมู ิปญั ญาท้องถิน่ ร่วมกันพัฒนาหลักสูตร จากการศึกษาตามปัญหา ความต้องการของผเู้ รยี นในชมุ ชน และนาตามหลักการ การจัดการศกึ ษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎใี หม่ มาใช้ แกนในการพฒั นาหลักสูตร ครู กศน.ตาบล เป็นผู้ดาเนินการจดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ และสร้างความ เขา้ ใจ ใหก้ ับวิทยากร ก่อนการดาเนนิ งาน วทิ ยากรคัดเลือกจาผทู้ รงคุณวุฒิ มีใบประกาศการ เกยี รติบัตร วัสดุ อปุ กรณ์ มีความเพยี งพอ สถานทีม่ ีความเหมาะสม การประชาสมั พันธส์ รา้ งการรับรแู้ ก่ประชาชนอยา่ ง สม่าเสมอ ทว่ั ถงึ เกี่ยวกับแหลง่ เรียนรแู้ ละภูมปิ ัญญาดา้ นเศรษฐกจิ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ทงั้ ในและนอก พนื้ ที่ ผ่านผู้นาชมุ ชน และ Face book เนอ่ื งจากมีสารวจความตอ้ งการของชมุ ชน เพ่ือนามาจัดทาหลกั สูตร มี กศน.ตาบลทุกแหง่ มีขอ้ มลู ภมู ปิ ัญญา แหลง่ เรยี นรภู้ ายในชมุ ชน สารวจความต้องการของชมุ ชนแล้ว ทาให้ สามารถสรรหาวิทยากรในชมุ ชนได้ สามารถดาเนนิ กิจกรรมตามแผนท่ีกาหนด มีการแลกเปลยี่ นเรยี นรู้ ศกึ ษา ดูงาน ฯลฯ ระหวา่ งกลมุ่ /ศนู ยเ์ รียนรู้ฯ ท้ังภายในและภายนอกพืน้ ท่ี (ตาบลเกาะตาเลยี้ ง ได้รบั กล่มุ ศึกษาดงู าน จาก ตาบลวงั ใหญ่ อาเภอศรีสาโรง และ กลุ่มศึกษาดูงานจาก อาเภอคีรมี าส เขา้ ศึกษาดงู าน ณ ตาบลเกาะตา เลยี้ ง และตาบลสามเรือน) จากการตดิ ตามผเู้ รียนพบว่า ผเู้ รียนนาไปใชใ้ นชีวิตประจาวัน และบางส่วนสามารถ เพิม่ รายไดจ้ ากการทาใช้เองในครัวเรอื น มอี าสาสมัคร กศน.ตาบล ใหค้ วามรู้ประจาศูนยเ์ รยี นรู้ แหล่งเรยี นรู้ใน ชุมชน ใหค้ าปรึกษาเฉพาะเมื่อมคี นมาดูงาน มีสรุปเล่มรายงานเสนอผู้บังคบั บัญชา และรายงานบนระบบ DMIS ผลผลติ ท่ีได้ ผู้เรียนที่ผ่านการอบรมนาไปทาบัญชีครัวเรือน สามารถนาความรู้ท่ไี ด้จากการฝึกอบรมไป ใชใ้ นชวิ ิตประจาวัน เชน่ ตาบลคลองตาล นาไปทาสบชู่ าโค ใช้ในครวั เรือน ผลงานเดน่ ทสี่ ามารถเป็นแบบอย่าง (good practice) ได้ศนู ย์เรยี นรู้เศรษฐกิจกอเพยี ง ตาบลเกาะตาเลยี้ ง หมู่ท่ี 13 มีการปลกู ข้าวปลอดสารพษิ นา้ ไผ่ น้าสม้ ควันไม้ น้าใบหญา้ นาง ฯลฯ การศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชีวติ จากสภาพที่พบ การวางแผนสารวจกลมุ่ เป้าหมายเพื่อเตรียมความ พรอ้ มท่จี ะเขา้ สวู่ ัยผูส้ ูงอายุ โดยการสารวจความต้องการจัดเวทีประชาคม เพ่อื นามาเขยี น โครงการวางแผน กจิ กรรมดาเนินการให้สอดคล้องตามหลักการจัดการศึกษาเพ่อื พัฒนาทักษะชวี ติ ตามที่สานกั งาน กศน.กาหนด จงึ เป็นการจัดการเรยี นรู้ทใี่ หค้ วามสาคัญกบั การพฒั นาคนทุกชว่ งวยั ใหม้ คี วามรู้ เจตคติท่ีดี และทกั ษะท่จี าเปน็ สาหรับการดารงชวี ติ ในปจั จุบัน สอดคล้องกับความต้องการของคนในชุมชน เหมาะสมกบั ชว่ งวัยของ กลุ่มเป้าหมาย (ผูส้ งู อาย)ุ การสารวจความต้องการจากการประชาคม วิทยากรท่ีใหค้ วามรูม้ คี วามเหมาะสม เพราะเป็นบคุ ลากรของโรงพยาบาลส่งเสรมิ สุขภาพตาบล (รพ.สต.) มกี ารใช้สื่อวดี ิทัศน์ เพ่ือสรา้ งความรู้ความ

3 เข้าใจในการปฏบิ ตั ติ ัว และการดูแลสุขภาพกายใจ กจิ กรรมยืดยางสรา้ งสุขภาพ/ เตน้ เอโรบคิ /ราไทเก็ก มีการ ตดิ ตามผู้เข้าอบรม หลังจากผา่ นการอบรม ผสู้ ูงอายุสามารถดูแลตนเองได้ และมีสขุ ภาพจติ ทีด่ ีขน้ึ มี การศึกษาเพ่อื พฒั นาสงั คมและชมุ ชน จากสภาพที่พบ สถานศกึ ษามีการจดั กจิ กรรมโครงการ โครงการ /กจิ กรรมดาเนนิ การโดยมุง่ ใหค้ วามรู้เกยี่ วกบั การเสรมิ สร้างคุณภาพชวี ิตที่เปน็ มิตรกับสง่ิ แวดล้อม การปอ้ งกนั ผลกระทบ การป้องกนั ภัยพิบัตธิ รรมชาตแิ ละสภาพภูมอิ ากาศ การลดความสูญเสยี ในการผลิตและ ใชเ้ ทคโนโลยี ท่เี ป็นมติ รกบั สง่ิ แวดล้อมและการคานึงถงึ ส่วนรวม เช่น โครงการปลูกป่าชมุ ชน , โครงการอนรุ กั ษ์พลังงาน ทดแทน , โครงการเตาชวี มวล ฯลฯ ทกุ โครงการมาจากการสารวจความตอ้ งการของชุมชน ใช้รปู แบบกลมุ่ สนใจ วทิ ยากรมีความรู้ ผา่ นการอบรมเกย่ี วการอนุรักษ์พลงั งาน มี ใบความรู้ และการฝึกปฏิบตั ิ มีแบบ ประเมินความพงึ พอใจ มีการจัดทาสรุปโครงการและรายงานบนระบบ DMIS และแบบติดตามผเู้ รียน สามารถนาไปปรบั ใช้ในชีวิตประจาวนั ไดจ้ รงิ เช่น ตาบลทบั ผึง้ จัดกจิ กรรม โครงการเตาชีวมวล มีผ้เู ขา้ ร่วม อบรมนาไปทาใช้ในครวั เรอื น และจาหน่าย สามารถนาวสั ดใุ นชมุ ชนมาใชแ้ ทนแก๊สหงุ ตม้ ได้ กจิ กรรมป้องกัน กาจดั บรหิ ารจัดการขยะ มลพิษ และกิจกรรมป้องกนั ภัยพิบัติธรรมชาตใิ นชมุ ชน มกี ารอบรมให้ความการ บริหารจดั การขยะเพื่อลดมลพิษในสิง่ แวดลอ้ ม 3. การศกึ ษาตามอัธยาศัย หอ้ งสมดุ ประชาชน จากสภาพท่ีพบ ในการจดั กจิ กรรมห้องสมุดประชาชน มกี ารสารวจความ ต้องการของผ้รู ับบรกิ าร โดยใชแ้ บบสารวจท่เี ปน็ เอกสาร และ แบบสารวจท่ีใช้ QR code เกบ็ ข้อมลู ให้บริการ ยมื -คืน สารสนเทศ ดว้ ยระบบเชอ่ื มโยงฐานขอ้ มูล มจี ุบรกิ ารการอา่ นที่ รพ.ศรสี งั วร สโุ ขทัย (กิจกรรมนงั่ ที่ไหน อา่ นทน่ี น่ั ) ใชเ้ ทคโนโลยี QR code จดั บอรด์ นิทรรศการ แนะนาหนงั สอื ผ่าน Face book มกี ารจดั ทาขอ้ มูลสารสนเทศของห้องสมุดประชาชน ทั้งในแบบรปู เล่ม และ บางส่วนจัดทาบนเว็บ เช่ือมโยงแลว้ มกี ารสารวจข้อมูลความต้องการของกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้แบบสารวจบนเครือข่าย และ แบบ เอกสาร สภาพของห้องสมดุ ประชาชนมีความพรอ้ มในการบรกิ าร พร้อมในการใหบ้ ริการ มีบริการดงั น้ี สือ่ , หนังสอื , สอ่ื สาหรับเด็ก และสื่อการเรียนรู้อื่นๆ มสี งิ่ อานวยความสะดวกทางเทคโนโลยี คอมพวิ เตอร์ สญั ญาณ Wifi มกี ารวเิ คราะหข์ ้อมูล (SWOT) เพอ่ื นามาใชใ้ นการวางแผนการดาเนนิ งาน โดยใช้รว่ มกบั อาเภอ มีการจดั ทาแผนงาน /โครงการ จดั ทาเลม่ แผนรายปี , แผนการจดั กิจกรรม , แผนการพัฒนาสภาพแวดล้อม , แผนการจัดหา / จัดทาสอื่ ส่งเสริมการอา่ น ไม่มีการกาหนดแผนในการพัฒนาตนเอง แต่ เมอื่ มีการจัดอบรมที่ เกี่ยวกบั ห้องสมดุ และสง่ เสรมิ การอ่านจะเข้าร่วมอบรมทกุ ครัง้ ท่ีมีโอกาส มีการออกแบบกจิ กรรมทห่ี ลากหลาย สอดคล้องกบั สภาพความต้องการของกล่มุ เป้าหมาย ทีใ่ ห้บริการภายในห้องสมุดและมกี ิจกรรมท่ีออก ให้บริการในชุมชน มกี ารประสานงาน หนว่ ยงาน บุคคลเพ่ือเปน็ เครือข่าย/อาสาสมัครส่งเสริมการอ่าน โดย ประสานงานผ่าน ครู กศน.ตาบล มกี ารประสานงานกับทุกภาคส่วนเพอ่ื สนบั สนนุ ทรัพยากรในการจัดกจิ กรรม สง่ เสริมการอา่ น การประชาสมั พันธ์ขอ้ มลู ขา่ วสารอยา่ งเปน็ ระบบและต่อเนื่อง มกี ารประชาสัมพนั ธผ์ า่ น facebook และ เพจของห้องสมดุ การดาเนินงานตามแผนงานทวี่ างไว้ แต่บางกิจกรรมมีการปรับเลยี่ นบา้ ง ภาคีเครือข่ายมสี ่วนรว่ มในการจัดและพัฒนากิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน ดาเนนิ งานร่วมกับภาคีเครอื ขา่ ย สาหรับ กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่านในห้องสมุดไม่มี แต่มรี ว่ มจดั กจิ กรรมในชมุ ชน เช่น ออกให้บริการอาเภอยม้ิ เคล่ือนท่ี อาสาสมคั ร(นักศึกษา กศน.)ร่วมจัดกจิ กรรมในชุมชน เช่น ออกให้บรกิ ารอาเภอยิม้ เคลื่อนที่ ผบู้ รหิ ารใหก้ าร สนบั สนนุ งบประมาณเพื่อจัดซ้อื วัสดุใชใ้ นการจัดกิจกรรม ครู กศน.ตาบล ใหค้ วามรว่ มมือในการออกหน่อย บริการเคลือ่ นทขี่ องทุกตาบล นาผลจากการพฒั นาตนเอง ( ดูงานนครแหง่ การอ่าน จังหวัดขอนแก่น และ

4 ร่วมอบรมกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่านกับ TK park จงั หวดั ลาปาง ฯลฯ) มาใชใ้ นการดาเนนิ งานสง่ เสรมิ การอ่าน พัฒนาสอ่ื และเกมเพื่อใชใ้ นการสง่ เสริมการอ่านท้งั ภายในห้องสมดุ และใชเ้ มื่อจดั กจิ กรรมในพนื้ ที่ จัดทาเกม และกิจกรรมส่งเสรมิ การอ่าน จาการที่รว่ มศึกษาดูงาน และ เข้าร่วมการอบรม เชน่ ภาพระบายสี AR , อะไร เอ่ย ในความมืด , บงิ โกลายสอื ไทย , เกม QR สภุ าษิตไทย ฯลฯ บรรณารกั ษ/์ เจา้ หนา้ ท่ีหอ้ งสมุดมีส่วนร่วมใน การดาเนินกจิ กรรมตา่ ง ๆ ของชุมชน หน่วยงาน อ่ืนๆ อย่างต่อเน่ืองกิจกรรมนง่ั ท่ีไหน อ่านทน่ี ่ัน ออกหนว่ ย บริการอาเภอย้ิมเคล่ือนท่ี บ้านหนังสือชุมชน บา้ นหนงั สอื ชุมชน จากสภาพที่พบ ใหบ้ ริการในพนื้ ท่ชี มุ ชน ประสานงานและดาเนินการหลักโดย ครู กศน.ตาบล และ อาสาสมคั รสง่ เสรมิ การอ่าน มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของบ้านหนังสือชมุ ชนของแต่ละตาบล ข้อมลู จดั เก็บท่ี กศน.ตาบล มกี ารสารวจความต้องการของผู้ใชบ้ รกิ าร โดยใช้แบบสารวจความตอ้ งการ ดาเนินการโดยร่วมกับครู กศน. ตาบล มีความพร้อมในการให้บรกิ าร ในด้านสถานที่และสื่อ ผู้ดูแลรับผิดชอบมีความรับผิดชอบ มีจติ สาธารณะ ในปีงบประมาณ 2561 ไมม่ ีแผนในการประชุม สร้างความรู้ ความเขา้ ใจให้กบั ผู้ดูแลรบั ผิดชอบ มีสิ่งอานวย ความสะดวกพื้นฐานตามความเหมาะสมของแตล่ ะสถานท่ี มกี ารเปิดให้บริการอย่างสม่าเสมอ ครู กศน.ตาบล ขอรบั วารสารล่วงเวลาจากห้องสมดุ ฯ และหนังสือพิมพ์ตาบล ไว้ให้บริการ ในบา้ นหนังสอื ชุมชน มเี ครอ่ื งดื่ม ใหบ้ รกิ ารตามสมควร ไม่มกี ารจดั กิจกรรมสง่ เสรมิ การอ่าน ผู้ใช้บรกิ ารสามารถยมื ส่ือส่ิงพิมพ์กลับบ้านได้ การประสานงานร่วมกบั อาสาสมคั รรกั การอ่าน ครู กศน.ตาบล รับผิดชอบในการประสานงาน ไมม่ ีการเข้า รว่ มประชมุ แลกเปล่ยี นเรียนรู้ระหว่างบ้านหนังสอื /ศกึ ษาดูงาน มีการประเมนิ ความพึงพอใจโดยใช้แบบ ประเมินความพึงพอใจ จานวนผู้ใช้บริการคงที่ มีการ ยมื – คนื แต่ไมม่ ีการเก็บสถิติ จานวนเครอื ข่ายรักการ อ่านคงท่ี มกี ารมอบหนังสือ สื่อสิง่ พิมพ์ จากคนในชุมชน หนว่ ยงานในชมุ ชน เครอื ข่ายในชมุ ชน แต่ไมม่ ีการ เกบ็ หลกั ฐานข้อมลู ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา 1. ในเร่อื งการสง่ เสรมิ การใฝร่ ู้ใฝ่เรยี นของนักศึกษา กศน.อาเภอ ควรกาหนดเปน็ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ผจู้ บหลกั สตู ร ของ กศน.อาเภอศรีสาโรง โดยการจดั ทาแผนตารางการร่วมกิจกรรมเก็บช่วั โมง ใฝ่รู้ ใฝเ่ รยี น และ ครู กศน.ตาบล นานักศึกษาของแตล่ ะตาบล ผลดั เปลีย่ นมาใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมุด 2. ควรทาแผนการนิเทศติดตามผลการดาเนนิ งานบา้ นหนังสือชุมชน เพื่อนาผลการนิเทศมาพัฒนาให้ เป็นแหลง่ เรยี นรูท้ ่ีสาคัญของชุมชน 4. กศน.ตาบล 4G ครมู ืออาชีพ (Good Teacher) จากสภาพที่พบ ครู มกี ารจดั แผนงาน/โครงการพฒั นาครู เพ่อื ใหม้ ี ทักษะที่จาเปน็ ในศตวรรษท่ี 21 ครูทกุ คนของ กศน.อาเภอศรสี าโรง เข้ารว่ มอบรมพฒั นาบุคลกร ร่วมกบั สานกั งาน กศน.จงั หวัดสโุ ขทัย ทุกโครงการ มีการสง่ เสรมิ ให้ครูไปเข้ารับการอบรมพัฒนาจากหน่วยงาน สถานศกึ ษาอน่ื ๆ เชน่ โครงการการพัฒนาส่ือการสอน รายวชิ าการใช้พลงั งานไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน ฯลฯ มีแผนพฒั นาบุคลกรระดับอาเภอ และเข้าร่วมโครงการพฒั นาบคุ ลากร ระดับจังหวัด มีสื่อ ค่มู ือ เอกสาร ที่ หลากหลาย ทนั สมัย สอดคล้องกับความต้องการของครู มีการจดั กิจกรรมที่เกยี่ วข้อง กับการสร้างชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ เชน่ โครงการพัฒนาสังคมและชมุ ชน , โครงการพฒั นาทักษะชีวติ , โครงการพฒั นาอาชีพ , โครงการเรียนรู้ตามหลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง , การจัดการศึกษาสาหรบั ผู้สูงอายุ สง่ ผลให้ ครู สามารถ ออกแบบการเรยี นรสู้ อดคลอ้ งกบั ความต้องการของผูเ้ รยี นรายบุคคลและกลุม่ เปา้ หมาย

5 กจิ กรรมทดี่ ี (Good Activities) จากสภาพที่พบ มีการจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ห่ี ลากหลาย ตอบสนองความสนใจและความต้องการ ของผู้เรียนและชุมชน จากการทาเวทีประชาคมและสารวจความ ตอ้ งการของผเู้ รียน มีการประสานเครือขา่ ย ในระดับตาบล ระดบั อาเภอ และภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน การจดั กิจกรรมสอดคล้องกบั สภาพปัญหาความต้องการ ภาคีเครือขา่ ยมสี ว่ นร่วมในการจัดกิจกรรมกลมุ่ เป้าหมาย ผ้รู ับบรกิ ารท่ีเข้าร่วมกจิ กรรม มีความพึงพอใจในระดบั ดี ขึ้นไป มีการวางแผนในการจัดกิจกรรมรว่ มกับ กลุม่ เป้าหมาย ผู้รับบรกิ ารทเี่ ขา้ รว่ มกิจกรรม สามารถนาความรู้ไปปรับใช้ตามความเหมาะรายบุคคล สถานทด่ี ี น่าใช้บริการ (Good Place best Check in) จากสภาพท่ีพบ สถานท่ี กศน. ตาบล มี ความเหมาะสม พ้ืนท่เี พียงพอในการจดั กิจกรรม อปุ กรณ์ โตะ๊ เก้าอี้ พร้อมให้บริการ มีสอื่ ให้บริการตามความ ถนัดและความสนใจของผู้เรยี น (สอื่ สง่ิ พมิ พ์ สือ่ สารสนเทศ และอนิ เตอรเ์ น็ต) กศน.ตาบล ไม่สามารถให้ บริหาร 5 วนั ตอ่ สปั ดาห์ได้ เน่ืองจากภาระงานของ ครู มหี ลายบทบาทหน้าที่ มผี ้รู ับผดิ ชอบคอยอานวยความ สะดวก แตไ่ ม่สามารถประจาอย่ไู ด้ตลอด ขน้ึ อย่กู ับช่วงเวลาในการประกอบอาชีพของนักศกึ ษา มบี ริการ อนิ เตอร์เน็ตด้วยสญั ญาณ Wifi ทมี่ คี วามเสถยี ร เครือขา่ ยทด่ี ี (Good Partnership) จากสภาพที่พบ มเี ครอื ข่ายทห่ี ลากหลายท้ังในและนอกพนื้ ที่ เช่น ผู้นาชุมชน หนว่ ยงานในระดับตาบล ฯลฯ มีการจดั ทาฐานข้อมูลเครือขา่ ยของแตล่ ะตาบล คณะกรรมการ กศน.ตาบล ท่ใี ห้ความร่วมมอื ในการทางาน มีการประชาสัมพันธก์ จิ กรรมดว้ ยช่องทางสื่อบนเครือขา่ ย อินเตอร์เน็ต ประชาสัมพันธ์ผ่านหอ่ กระจายข่าว ฯลฯ มีการประชุมร่วมกับเครอื ข่ายอยา่ งสม่าเสมอ เพื่อ รว่ มกันวางแผนงานในการพัฒนา กศน.ตาบล พัฒนากิจกรรมใหต้ รงกบั สภาพทอ้ งถิน่ ความต้องการของผเู้ รยี น และรว่ มสังเกตการณ์ในการจัดกจิ กรรม จานวนภาคีเครือขา่ ยหลากหลายและเพ่มิ ข้ึน จากการรว่ มทาเวที ประชาคมไทยนิยมย่ังยนื มกี ารประสานงานมีความราบรน่ื รวดเรว็ ส่งผลให้การดาเนินกจิ กรรมเป็นไปด้วย ความเรียบร้อย เครือข่ายและ/หรือคณะกรรมการ กศน. ตาบล มกี ารเสนอความคดิ เหน็ ทีม่ ผี ลต่อการพัฒนา ดาเนนิ งานของ กศน. ตาบล โดยการพดู คยุ และให้คาปรึกษากับ ครู กศน.ตาบล

6 แบบบันทึกการนิเทศการศึกษาขน้ั พน้ื ฐาน ปงี บประมาณ 2561 เร่ือง หลกั สตู รการศึกษานอกระบบ ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 คาชีแ้ จง ใหศ้ กึ ษานิเทศกห์ รือผูร้ ับผดิ ชอบการนิเทศ สอบถาม สมั ภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและหรือ ผเู้ รียน/ผเู้ กยี่ วขอ้ ง สังเกตสภาพจรงิ สถานท่ี กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร สื่อ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพที่พบ (จุดเด่น – จดุ ทีค่ วรพัฒนา) และข้อนเิ ทศ พรอ้ มทงั้ ข้อเสนอแนะเพ่ือการพฒั นาลงในแบบบันทึกการนเิ ทศ ช่อื สถานศกึ ษา กศน.อาเภอศรสี าโรง สานกั งาน กศน.จงั หวัดสโุ ขทัย ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพที่พบ ข้อนเิ ทศ 1. การพัฒนาหลกั สูตร 1.1 หลักสูตรสถานศึกษาสะท้อนเอกลักษณ์ 1.1 หลักสตู รของสถานศกึ ษาผา่ นการ ของสถานศึกษาหรือไม่ อย่างไร และผ่าน เห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา ความเห็นชอบของคณะกรรมการสถานศึกษา หรือไม่ 1.2 มีการจัดทาหรือพัฒนาหลักสูตรรายวิชา 1.2 มกี ารจดั ทาหลักสูตรรายวชิ าเลอื ก เลือกที่สอดคล้องกับสภาพ บริบท ความ จานวน 24 รายวชิ า ต้องการ ปัญหา ฯลฯ ของชุมชนท้องถิ่น หรอื ไม่ ถ้ามอี ะไรบา้ ง (ระบุ) 1.3 กระบวนการพัฒนาหลักสตู รรายวิชาเลอื ก 1.3 - ผู้มีส่วนได้เสียมีส่วนร่วมในการพัฒนา - มผี ู้เชี่ยวชาญดา้ นวชิ าชีพและสาขาวชิ า หลักสูตรหรือไม่ อย่างไร (มีผู้เชี่ยวชาญด้าน ต่างๆมสี ว่ นรว่ มในการพัฒนาหลักสูตร หลกั สตู ร /ด้านเน้อื หา ฯลฯ) - เน้ือหาของหลักสูตรสอดคล้องกับ - เนือ้ หาหลกั สูตรสอดคล้องกับบรบิ ท บริบท สภาพความต้องการ ความจาเป็นของ ด้านอาชพี ของคนในชมุ ชน รายวชิ าใบ ชุมชน และยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด/ ยาสูบ ท้องถน่ิ หรอื ไม่ - เนื้อหาหลักสูตรมีความทันสมัยกับ - เนอ้ื หาหลกั สูตรมคี วามสอดคลอ้ งกับ สถานการณป์ จั จบุ ัน หรอื ไม่ สถานการณป์ จั จบุ ัน - องค์ประกอบของหลักสูตรครบถ้วน ถกู ต้องหรอื ไม่ อยา่ งไร - กระบวนการพัฒนาหลักสูตรเป็นไป - กระบวนการพฒั นาหลกั สูตร เป็นไปตาม ตามข้ันตอนของการพัฒนาหลักสูตรหรือไม่ ข้นั ตอนท่นี ่าเชือ่ ถือ มคี วามนา่ เช่อื ถือหรือไม่ อย่างไร (มีการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูล/ร่างหลักสูตร/ตรวจสอบ คุณภาพและการนาหลกั สตู รไปใช้) 1.4 มีการจัดหาหรือจัดทาส่ือประกอบ 1.4 ส่ือสิ่งพิมพ์ และ หลัก สูต ร ที่ พัฒน าอ ย่า ง มีคุ ณภ าพ แล ะ สอดคล้องกบั หลกั สูตรหรือไม่ อยา่ งไร

7 ประเด็นการนิเทศ สภาพทพี่ บ ข้อนิเทศ 1.5 กระบวนการนาหลักสูตรไปใช้มีการ 1.5 มกี ารประชุม ชี้แจง เพอ่ื สรา้ งความรู้ สรา้ งความรู้ ความเข้าใจแก่ผู้เก่ียวข้องหรือไม่ ความเขา้ ใจแก่ผู้เกย่ี วขอ้ ง อย่างไร (มีการประชุมช้ีแจง/อบรมครู/จัดทา คูม่ อื การใชห้ ลักสูตร) 1.6 การประเมินหลกั สูตรสถานศึกษา 1.6 มีการประเมนิ หลกั สูตร โดยให้ - มีการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา ครผู ้สู อนและผเู้ รยี น รว่ มกนั วิเคราะห์ หรือไม่ ถา้ มี ดาเนนิ การอยา่ งไร หลักสตู ร - ผลการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา เป็นอย่างไร และนาไปใช้ในการพัฒนาหลักสูตร อย่างต่อเน่ืองอย่างไร 2. การจัดกระบวนการเรยี นรู้ 2.1 การจัดทาแผนการเรียนรู้ - มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศผู้เรียน - มกี ารนาแฟ้มประวตั ิผูเ้ รยี นเปน็ รายบุคคลหรือไม่ อย่างไร (สภาพ ความสามารถ รายบุคคลโดยใช้แบบสัมภาษณ์ในการ ความต้องการ เป้าหมายการเรียน การประกอบ รวบรวม เก็บข้อมูล อาชพี จุดเดน่ จดุ ด้อย ฯลฯ) - มีการนาข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียน - มีการนาผลการวเิ คราะห์ผเู้ รยี นไปใชใ้ น ไปใชใ้ นการจัดทาแผนการเรยี นหรือไม่ อย่างไร การจัดทาแผนการจดั กระบวนการเรียนรู้ รายภาคและรายสปั ดาห์ - มีการจัดทาแฟ้มข้อมูลรายบุคคล - มกี ารจดั ทาแฟ้มข้อมลู ผูเ้ รียนรายบุคคล ให้ผู้เรียนทราบสถานะ/ความก้าวหน้าในการ เรียนหรือไม่ อย่างไร (ผลการเรียน /กพช./ การประเมนิ คุณธรรม /N-net ฯลฯ) - มีการวิเคราะห์หลักสูตร และ - มีการวเิ คราะหห์ ลกั สตู รและเนอ้ื หา นาไปสู่การจัดทาแผนการจัดกระบวนการ รายวิชาร่วมกับผู้เรยี น และจัดทาแผนการ เรยี นรู้อยา่ งไร จดั กระบวนการเรยี นรรู้ ว่ มกบั ผู้เรยี น - มีจัดทาแผนการเรียนรู้รายภาค - มีการจดั ทาแผนการเรียนรูร้ ายภาคเรยี น เรยี นและแผนรายสัปดาหห์ รอื ไม่ อยา่ งไร และแผนรายสัปดาห์ แบง่ เปน็ 3 ช่ัวโมง หลัง เป็นการจัดเพ่ือพฒั นาคุณภาพชีวิต โดยน้อมนาหลักศาสตรพ์ ระราชามาสกู่ าร ปฏิบัติ - มีออกแบบการจัดกระบวนการ - มีการออกแบบการจัดกระบวนการ เรียนรู้สอดคล้องตามสภาพธรรมชาติวิชาและ เรียนรู้ทีม่ คี วามสอดคล้องตามสภาพ สภาพผู้เรียนหรือไม่ อย่างไร มีการใช้ Stem ธรรมชาติ โดยบูรณาการ เช่ือมโยงการใช้ และ E-learning หรอื ไม่ อย่างไร เทคโนโลยี ส่อื การเรยี นรูอ้ อนไลนผ์ ่าน ช่องทางตา่ งๆ เชน่ เรยี นรอู้ อนไลน์ของ ETV การเชื่อมโยงแหลง่ เรียนร้ใู น Application ต่างๆ

8 ประเด็นการนิเทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ - มีกจิ กรรมการเรยี นรู้สง่ เสริม การอ่าน - มกี ารจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการอ่านท้งั ใน การเขียน ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการ กศน.ตาบล และชมุ ชน เชน่ การออก ส่ือสาร การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวัน หน่วยบรกิ ารอาเภอเคลอ่ื นที่ บา้ นหนงั สอื การแก้ปัญหาและพัฒนาคุณภาพชีวิตอย่าง ชมุ ชน สร้างสรรค์ หรอื ไม่ อยา่ งไร 2.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ - ครูจัดกระบวนการเรียนรู้ตามแผน - ครูมกี ารจัดกระบวนการเรยี นรูต้ าม หรอื ไม่ อย่างไร แผนการเรียนรู้ 20 ครงั้ แต่ไม่เป็นไปตาม แผนทก่ี าหนดไว้ - มีการใช้สะเต็มศึกษา /E-learning/ ทักษะการคิดวิเคราะห์ และเทคนิคการเรียนรู้ อื่นๆ ในการจัดกระบวนการเรียนรู้หรือไม่ อย่างไร ผลเป็นอย่างไร - ครูมีการดูแลช่วยเหลือผู้เรียน - ครมู ีการตดิ ตามและชว่ ยเหลือผ้เู รยี น อย่างเป็นระบบหรือไม่ และมีผลการดาเนินงาน โดยผ่านชอ่ งทาง Facebook , Line และ เปน็ อย่างไร การเยย่ี มบา้ นนักศึกษา - มีการบันทึกหลังสอนที่เน้นปัญหา - ครูมบี นั ทึกหลังการสอนและนาปญั หามา จากการจัดกิจกรรมการเรียนรู้หรือไม่ และมี รวบรวม เพอ่ื แกป้ ัญหา โดยการทาวจิ ยั ใน การนาผลไปปรบั ปรงุ แก้ไขอยา่ งไร ช้ันเรียน - การวิจยั ในช้ันเรียนมีความสอดคล้อง - ครูจัดทาวจิ ัยในชน้ั เรียน โดยนาปญั หา กับสภาพปัญหาเช่ือมโยงกับบันทึกหลังสอน จากการจดั กระบวนการเรยี นรู้ มา หรือไม่ และช่วยพัฒนาคุณภาพการเรียนการ วิเคราะห์ เพื่อใชเ้ ป็นแนวทางในการแก้ไข สอนอย่างไร ปัญหา - การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ส่งเสริมการ - มีการจัดกจิ กรรมพัฒนาผู้เรียนดา้ น พัฒนาทักษะการเรียนรู้ของผู้เรียนด้านใดบ้าง คุณธรรม จรยิ ธรรม ด้านเทคโนโลยี ด้าน อย่างไร การสง่ เสรมิ การอนรุ ักษท์ รัพยากร ธรรมชาติ ดา้ นวชิ าการ ผ่านกระบวนการ คา่ ยและการฝกึ อบรม 3. ส่อื การเรียนรู้ - สื่ อท่ี ใช้ มี ความหลากหลายหรื อไม่ เหมาะสมกับเนื้อหา ทันสมัย กระตุ้นความ สนใจผู้เรยี นหรอื ไม่ อย่างไร - สือ่ ทใี่ ช้มอี ะไรบ้าง (Clip /ส่ือแบบเรียน/ - มีการใช้สอ่ื หนังสอื แบบเรยี น ผู้รู้ ฯลฯ) เหมาะสมกับกิจกรรมการเรียนรู้/ คอมพิวเตอร์ อนิ เตอรเ์ น็ต แหลง่ เรียนรู้ กลมุ่ ผูเ้ รียน ที่หลากหลายหรอื ไม่อยา่ งไร และปราชญช์ าวบ้าน

9 ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทพี่ บ ข้อนเิ ทศ 4. การวัดผล ประเมนิ ผล 4.1 สถานศึกษามีการประกาศหลักเกณฑ์ - สถานศึกษามกี ารประกาศหลกั เกณฑ์ การวัดผล ประเมินผลตามหลักสูตรสถานศึกษา การวดั ผล ประเมินผล ตามหลกั สตู ร หรือไม่ อยา่ งไร สถานศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของ คณะกรรมการสถานศึกษา 4.2 มีการออกแบบวิธีการวัดผล ประเมินผล - มวี ิธีการวดั ผล ประเมนิ ผลดว้ ยวธิ กี ารที่ ด้วยวิธีการท่ีหลากหลาย ตามธรรมชาติวิชา หลากหลาย ตามธรรมชาติรายวิชา ตรง ตรงตามจุดประสงค์เรียนรู้ท่ีกาหนดหรือไม่ ตามจุดประสงค์เรยี นรทู้ ีก่ าหนดตาม อยา่ งไร หลกั สูตร 4.3 จานวนผู้เรียนเข้าสอบปลายภาค คิดเป็นร้อยละเท่าใดเทียบกับจานว น ผู้ลงทะเบยี นของครแู ตล่ ะคน 4.4 จานวนผู้เรียนมีผลสัมฤทธ์ิทางการ เรียนเฉลี่ย 2.00 ในรายวิชาบังคับต่อภาค เรียน คิดเป็นร้อยละเท่าใดเทียบกับจานวน ผ้ลู งทะเบยี น 4.5 ผู้เรียนเข้าสอบ N-net/ e-exam คิดเป็น รอ้ ยละเท่าใดเทียบกับจานวนผมู้ สี ิทธ์สิ อบ 4.6 ครูนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของ - ครูนาผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนของผู้เรยี น ผู้เรียนมาวิเคราะห์และวางแผนแก้ปัญหา มาวเิ คราะห์และพฒั นาผู้เรยี น เช่น และพฒั นาอย่างตอ่ เน่ืองหรือไม่ อย่างไร โครงการสอนเสรมิ , ตวิ N-Net 4.7 ครูมีกระบวนการและหลักฐานการ - ครมู กี ารประเมนิ คุณธรรม จริยธรรม 11 ประเมินคุณธรรม จริยธรรม คุณลักษณะ ประการ คุณลกั ษณะอันพึงประสงคข์ อง อนั พงึ ประสงคข์ องผูเ้ รยี นหรอื ไม่ อยา่ งไร ผู้เรียน ตามแบบการประเมนิ ทที่ าง หลักสูตรฯ กาหนด โดยการสังเกต พฤติกรรมการพบกลุ่ม การแตง่ กาย ผลงาน/ชนิ้ งาน การสมั ภาษณ์ผเู้ รยี นและผู้ มีส่วนเกีย่ วข้อง 4.8 ครูจัดทาเอกสารและหลักฐาน - จดั ทาครบถ้วนถูกตอ้ งทุกภาคเรยี น การศกึ ษาครบถ้วนถูกตอ้ งทกุ ภาคเรียน 5. สถานศึกษามีการสรุปรายงานผลการ ครสู รุปผลการดาเนนิ งานและรายงานตอ่ ดาเนินงานเม่ือสิ้นสุดภาคเรียน และนา ผู้บริหารสถานศึกษา เพ่ือนาข้อมูลมา ผลสรุปรายงานของครูมาศึกษา วิเคราะห์ ศึกษาวิเคราะหแ์ ละกาหนดแนวทางการ และกาหนดแนวทางการแก้ไข ปรับปรุง แกไ้ ขปรบั ปรงุ พัฒนาการดาเนนิ งานที่ดี มี พัฒนาหรอื ไม่ อยา่ งไร คุณภาพ

10 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ข้อนเิ ทศ 6. การยกระดับประสิทธิภาพการปฏิบัติงาน ของครูเพื่อการยกระดับคุณภาพการจัด การศกึ ษา 6.1 มีการอบรมดิจิทัลพื้นฐานให้ครูและ - มีการอบรมในระดบั จังหวัด เพ่ือนาไป บุคลากร กศน. เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ ปรบั ใช้ในการจดั การเรยี นให้ผ้เู รียน และ และการสร้างกระบวนการเรียนรู้ด้วยตนเอง เป็นแนวทางในการาจดั ฝกึ อบรมและ (DIY) หรือไม่ อย่างไร ผลเปน็ อยา่ งไร บรกิ ารให้แก่ประชาชนในพื้นที่ 6.2 มีการพัฒนาครู กศน.ต้นแบบการ - เขา้ รบั การอบรมร่วมกับสานักงาน กศน. เรียนรู้ภาษาอังกฤษเพ่ือการส่ือสารหรือไม่ จงั หวัดสุโขทยั อย่างไร ผลเป็นอย่างไร 6.3 มีการพัฒนาครูและผู้เรียนในการใช้ เทคโนโลยีทางการศึกษา E-learning MOOC หรอื ไม่ อยา่ งไร ผลเป็นอย่างไร 6.4 มีการนิเทศ ติดตามผลการดาเนินงาน - มีการนิเทศติดตามผลการดาเนนิ งาน อย่างตอ่ เนื่องหรอื ไม่ อย่างไร โดยมคี าส่ังแตง่ ต้ังคณะนิเทศ 6.5 มีการนาผลจากการนิเทศไปปรับปรุง พัฒนาหรือไม่ อยา่ งไร ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพฒั นา - ไม่มี ลงชอ่ื ................................................ผสู้ รุปผลการนเิ ทศ (นางสาวณัฐชยา อม่ิ เพ็ง) วนั ที่ 30 สงิ หาคม 2561

11 แบบบนั ทกึ การนเิ ทศ เร่ือง การส่งเสริมการร้หู นังสือไทย ปีงบประมาณ 2561 คาช้แี จง ใหศ้ ึกษานเิ ทศก์หรอื ผรู้ บั ผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและหรือ ผเู้ รียน/ผู้เกี่ยวข้อง สังเกตสภาพจริง สถานที่ กระบวนการจดั การเรยี นรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร สื่อ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพท่พี บ (จุดเด่น – จุดที่ควรพัฒนา) และข้อนเิ ทศ พรอ้ มทั้งขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นาลงในแบบบันทึกการนเิ ทศ ชื่อสถานศึกษา กศน.อาเภอศรีสาโรง สานกั งาน กศน.จงั หวดั สุโขทัย ประเดน็ การนิเทศ สภาพที่พบ ข้อนเิ ทศ 1. 1. มีการสารวจผู้ไม่รู้หนังสือหรือไม่ อย่างไร - มีการสารวจข้อมูลผไู้ ม่รูห้ นังสอื มจี านวนผไู้ มร่ หู้ นงั สือเทา่ ไร โดยการประสานงานกบั สานักงาน พัฒนาชุมชน จากการสารวจขอ้ มลู จปฐ. ปี 2561 - มีการประสานงานกับผนู้ าชุมชน ในการสารวจและรับรองข้อมูลผูไ้ ม่ รหู้ นงั สอื ของแต่ละหมบู่ า้ น 2. มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของผู้ไม่รู้ - มีการจัดทาทะเบยี นขอ้ มูลผู้เรียน หนังสอื รายบุคคลหรือไม่ อยา่ งไร ชอื่ – สกุล ทอ่ี ยู่ อายุ อาชีพ และ ระดับการรูห้ นงั สือ 3. มีการประเมินสภาพการรู้หนังสือก่อน - มกี ารประเมนิ สภาพการรู้หนังสือ จัดการเรยี นรู้หรอื ไม่ อยา่ งไร ตามคู่มือการจัดกิจกรรม การส่ิง เสริมการรูห้ นังสือไทย ของ สถานศกึ ษา - มีการใชแ้ บบทดสอบตามคู่มือ สง่ เสริมการรู้หนังสือ 4. ใช้หลักสูตรใด ในการจัดการส่งเสริมการรู้ - มีการใช้หลักสตู รการรหู้ นังสือไทย หนังสือไทย หรือมีการพัฒนาหลักสูตรหรือไม่ โครงการศึกษาแนวทางส่งเสริมการ อยา่ งไร รู้หนงั สอื ของสถานศึกษา กศน. อาเภอในเขตภาคเหนือ 5. มีการจัดทาแผนการเรยี นรหู้ รือไม่ อยา่ งไร - มีการจัดทาแผนการจดั กจิ กรรม ส่งเสริมการรู้หนังสอื ให้กับผู้เรียน หลักสูตร โครงการส่งเสรมิ การรู้ หนังสือ

12 ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นิเทศ 6. ใครเป็นผู้จัดการเรียนรู้และจัดกระบวนการ - ครู อาสาสมัคร กศน. เปน็ เรียนรู้อย่างไร เหมาะสมกับสภาพผู้เรียน ผู้จดั การเรยี นการสอน โดย หรือไม่ อยา่ งไร ประสานรว่ มกับ ครู กศน.ตาบล เปน็ ผตู้ ดิ ตามผ้เู รียนรายบุคคล 7. มเี ครอื ข่ายเขา้ มามสี ว่ นร่วมในการจดั กิจกรรม - เครือข่ายในการร่วมดาเนนิ การ ส่งเสริมการรู้หนังสือหรือไม่ อย่างไร ใคร/ นักศึกษา กศน. เปน็ ผู้ช่วยตดิ ตาม หนว่ ยงานใด (ระบ)ุ ผเู้ รยี นรายบุคคล และ ผู้นาชุมชน มีสว่ นรว่ มในการสารวจข้อมลู ผ้ไู ม่ รู้หนังสือ 8. มีการใช้สื่อที่เหมาะสมกับสภาพและพ้ืนท่ี - มกี ารใชส้ ่ือการเรียนรภู้ าษาไทย ของกลุม่ เป้าหมายในการจัดการเรียนรู้หรือไม่ โครงการศึกษาแนวทางส่งเสริมการ อะไรบา้ ง อยา่ งไร รู้หนงั สือของสถานศึกษา กศน. อาเภอ ในเขตภาคเหนือ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน - มีค่มู อื การจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการ รูห้ นังสือไทย - มีแบบทาสอบการรู้หนังสอื ไทย 9. มีเครื่องมือและเกณฑ์การวัดผลหรือไม่ - มกี ารใช้เครอื่ งมือและเกณฑ์การ อย่างไร วดั ผลตามคูม่ อื การจดั กิจกรรม ส่งเสรมิ การรหู้ นงั สอื ของ สถานศกึ ษา กศน.อาเภอ ในเขต ภาคเหนอื 10. มีการออกวุฒิบัตรให้กับผู้ผ่านการ - ไมไ่ ด้ออกวุฒบิ ตั ร เนื่องจากไมม่ ีผู้ ประเมินหรือไม่ อย่างไร ผ่านการประเมิน 11. มีกิจกรรมส่งเสริมป้องกันการลืมหนังสือ - มกี ารติดตามเป็นระยะแต่ไม่ อยา่ งต่อเน่ืองหรือไม่ อย่างไร ต่อเนอ่ื ง ตดิ ตาม โดย นักศกึ ษา กศน. รวมในการตดิ ตามและจดั กิจกรรมส่งเสริมการอ่านในระดบั ตาบล 12. มีการส่งเสริมการเรียนรู้อ่ืนๆ แก่ผู้ผ่าน - การประเมนิ ผลหรอื ไม่ อยา่ งไร

13 ประเดน็ การนิเทศ สภาพที่พบ ขอ้ นเิ ทศ 13. ครูมีการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล เพ่ือเป็น - ไมม่ กี ารใช้เทคโนโลยี เน่อื งจาก เคร่ืองมือในการส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต ผูเ้ รยี นส่วนมากเป็นผูส้ ูงอายุ และ แก่ผูร้ ู้หนังสอื หรอื ไม่ อยา่ งไร พิการซา้ ซ้อน ทาให้มีปญั หาในการ เรียนรู้ 14. มีการสรุปรายงานผลการดาเนินงานเม่ือ - มีการสรุปผลการดาเนินการเสนอ สิ้นสุดการจัดการเรียนรู้ และสถานศึกษา ผ้บู งั คบั บัญชา มีการนาผลมาศึกษา วิเคราะห์และกาหนด แนวทางการแก้ไข ปรับปรุง พัฒนาหรือไม่ อย่างไร 15. ปัญหาอุปสรรคในการส่งเสริมการรู้ - ผู้เรียนส่วนมากเป็นผสู้ งู อายุ และ หนังสือไทยคืออะไร และ มีการดาเนินการ พกิ ารซ้าซ้อน ทาให้มีปัญหาในการ แก้ไขปัญหาอุปสรรคอย่างไร มีผลเป็น เรยี นรู้ อย่างไร ข้อเสนอแนะเพ่อื การพฒั นา - ไมม่ ี ลงชื่อ....................................................ผู้สรุปผลการนเิ ทศ (นางสาวณฐั ชยา อม่ิ เพง็ ) วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2561

14 แบบบันทกึ การนิเทศ เร่อื ง การศกึ ษาตอ่ เนอื่ ง ปีงบประมาณ 2561 คาชแ้ี จง ใหศ้ กึ ษานิเทศกห์ รอื ผรู้ ับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สมั ภาษณผ์ ู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและหรือ ผ้เู รยี น/ผู้เกยี่ วขอ้ ง สงั เกตสภาพจรงิ สถานท่ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร ส่ือ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพท่ีพบ (จดุ เด่น – จุดที่ควรพฒั นา) และข้อนเิ ทศ พร้อมทง้ั ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นาลงในแบบบันทึกการนิเทศ ช่อื สถานศึกษา กศน.อาเภอศรีสาโรง สานักงาน กศน.จงั หวัดสโุ ขทยั ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ 1. ศูนยฝ์ กึ อาชพี ชุมชน 1.1 ปัจจยั ปอ้ น (Input) - หลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน - มกี ารสารวจข้อมูลความต้องการ ตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตรหรือไม่ ผ้รู บั บรกิ าร ดาเนินการอยา่ งไร - หลักสูตรท่ีใช้ในการสอนได้ - มีการพฒั นาหลกั สูตรขน้ึ เอง และ พัฒนาขึ้นเองหรือนามาจากแหล่งอื่น (ระบุ บางส่วนนามาจากหนงั สือ แหลง่ ทีม่ า) - เนื้อหาหลักสูตรมีการบูรณาการ - วิเคราะหค์ วามต้องการผรู้ ับบรกิ ารกบั สภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียน บรบิ ทความต้องการของชุมชน ชุมชนและแนวโน้มการพัฒนาหรือไม่ ตลาดแรงงาน อย่างไร - หลักสูตรที่ดาเนินการสอดคล้อง - สอดคลอ้ งตามหลกั การศนู ย์ฝึกอาชพี ตามหลักการหรือไม่ อยา่ งไร ชมุ ชน - มีแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม - มีแผนงาน / โครงการ / กิจกรรม เพ่ือส่งเสริมการเรียนที่สอดคล้องกับความ เพื่อสง่ เสริมการเรยี นท่ีสอดคลอ้ งกบั ต้องการของประชาชนและตลาดแรงงาน ความต้องการของผเู้ รยี น หรือไม่ อยา่ งไร - มีแผนการจัดการเรียนรู้ตาม - ครู กศน.ตาบล วิทยากร และ ผเู้ รียน หลกั สตู รหรอื ไม่ ใครเปน็ ผู้ดาเนินการจดั ทา - มีการประชุมชี้แจง /อบรม - มกี ารพดู คยุ สรา้ งความเขา้ ใจรว่ มกนั เทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วิทยากร ระหวา่ ง ครู กศน.ตาบล วทิ ยากร และ ก่อนดาเนินการหรอื ไม่ อยา่ งไร ผู้เรยี น - มีการจัดทาฐานข้อมูลหลักสูตร - มี จดั ทาเป็นเล่มฐานข้อมูล ภมู ิปัญญาและวทิ ยากรหรือไมอ่ ย่างไร - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ - วิทยากรมคี วามรคู้ วามสามารถ ตามเน้อื หาหลกั สูตรหรือไม่ คดั เลอื กจากการสอบถามความ เชีย่ วชาญในทอ้ งถน่ิ และเกยี รตบิ ตั รการ ผา่ นการอบรม

15 ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทีพ่ บ ข้อนิเทศ - วทิ ยาการได้รับการพัฒนาเทคนิค - วสั ดุ อปุ กรณ์ มีเพยี งพอ สถานที่ การถา่ ยทอดองค์ความรู้หรอื ไม่อย่างไร จัดการเรยี นการสอนมีความเหมาะสม สว่ นใหญใ่ ชส้ ถานทส่ี าธารณะของ หมู่บา้ น เชน่ ศาลากลางหมบู่ ้าน เปน็ ต้น - วัสดุ อุปกรณ์ มีความเพียงพอ - มีแบบสอบถามประเมินความพงึ พอใจ และสถานทมี่ ีความเหมาะสมหรอื ไม่ จากผเู้ รยี น และสามารถนาไปสร้าง อาชีพไดจ้ ริง - มีการประเมินหลักสูตรหรือไม่ ดาเนินการอย่างไร 1. 2 กา ร จัด กร ะ บว น ก า รเ รีย น รู้ (Process) - วทิ ยากร มคี วามรู้ ความสามารถ - วทิ ยากรมีความรูค้ วามสามารถทักษะ และ มเี ทคนคิ การถา่ ยทอดเหมาะสม ในสาขาท่สี อนเปน็ อย่างดี หรอื ไม่ อย่างไร - วิทยากร จัดการเรียนรู้ตามแผนท่ี - ไมไ่ ด้ดาเนินการไปตามแผนการสอนท่ี กาหนดหรอื ไม่ กาหนด ปรับเปลย่ี นตามความเหมาะสม ของผเู้ รยี น - มีการใช้ส่ือ แหล่งเรียนรู้ /ภูมิ - ไมม่ กี ารใชส้ อ่ื ปัญญาท้องถ่ินประกอบการสอนหรือไม่ อย่างไร - มีการประยกุ ตใ์ ช้ “สะเต็มศึกษา” - ไมม่ กี ารนากระบวนการ STEM มา (STEM Education) ในการจัดกิจกรรมการ ประยกุ ต์ใชใ้ นการจดั การเรียนรู้ เรียนรูห้ รอื ไม่อยา่ งไร - มีการวัดผล ประเมินผลการ - การวัดผลประเมนิ ผลใชว้ ธิ กี ารประเมิน เรียนรู้สอดคล้องตามหลักสูตรหรือไม่ จากชิ้นงานท่ีส่ง อย่างไร มีเครื่องมือวัดผล ประเมินผล หรือไม่ - มีการประเมินความพึงพอใจของ - มกี ารประเมนิ ความพงึ พอใจของผู้เรียน ผเู้ รียนทุกหลักสตู รหรอื ไม่ อย่างไร - มีการอนุมัติการจบหลักสูตร - มีรายงานการจบหลักสูตรและอนมุ ตั ิ หรือไม่ การจบหลกั สตู ร - มีการจัดทารายงานผลการ ป ฏิ บั ติ ง า น เ มื่ อ สิ้ น สุ ด โ ค ร ง ก า ร ห รื อ ไ ม่ อยา่ งไร

16 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ 1.3 ผลผลิต (Output) - ผู้จบหลักสูตรสามารถนาความรู้ - ผ้จู บหลกั สูตร นาความรู้ท่ีได้ไปใชใ้ น ไปประกอบอาชีพ มีงานทา มีรายได้หรือไม่ ชีวติ ประจาวัน ยังไม่มีการติดตามผล อยา่ งไร การนาความรู้ไปใชใ้ นการประกอบอาชีพ ท่ีชัดเจน - มีการพัฒนาศูนย์ฝึกอาชีพชุมชน เข้าสู่วสิ าหกิจชุมชนหรือไม่ อย่างไร - มีการรวมกลุ่มในชุมชนตาม - มี กลุ่มที่สามารถพึงพาตนเองได้ ทาได้ เป้าหมาย “ชุมชนพ่ึงตนเอง ทาได้ ขาย ขายเปน็ เป็น” หรอื ไม่ อย่างไร - ผู้จบหลักสูตรใช้เทคโนโลยีเป็น - มีผู้จบหลักสูตรบางสว่ นเท่านัน้ ทนี่ า ช่องทางการเผยแพร่ จาหน่ายผลิตภัณฑ์ เทคโนโลยมี าใชใ้ นการจาหน่าย ไดม้ ากน้อยเพียงใด อยา่ งไร ผลติ ภณั ฑ์ 2. การจัดกา รเรียน รู้ด้าน ดิจิทัลให้ ประชาชน (Smart Digital Person) 2.1 ปัจจยั ปอ้ น (Input) - หลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน - มีหลกั สูตรที่ใช้ในการสอน ซึ่ง ตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตรหรือไม่ สถานศกึ ษาได้พัฒนาขนึ้ ตามแนวทาง ดาเนนิ การอยา่ งไร หลกั สูตร สร้างความรคู้ วามเข้าใจดจิ ทิ ลั - หลักสูตรที่ใช้ในการสอนได้ ชุมชน (ครู ข , ครู ค) และหลักสูตรสร้าง พัฒนาขึ้นเองหรือนามาจากแหล่งอ่ืน (ระบุ ความเข้าใจ การรบั ร้เู นต็ ประชารัฐ ของ แหล่งท่ีมา) สานกั งาน กศน. และ กระทรวง ICT - เน้ือหาหลักสูตรมีการบูรณาการ สภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ชุ ม ช น แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ก า ร พั ฒ น า ห รื อ ไ ม่ อย่างไร - หลักสูตรท่ีดาเนินการสอดคล้อง ตามหลักการหรอื ไม่ อย่างไร - มแี ผนงาน / โครงการ / กิจกรรม เพื่อส่งเสริมเรียนรู้ท่ีสอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชนและตลาดแรงงาน หรือไม่ อยา่ งไร - มีแผนการจัดการเรียนรู้ตาม หลกั สตู รหรอื ไม่ ใครเปน็ ผ้ดู าเนินการจัดทา - มีการประชุมช้ีแจง /อบรม เทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วิทยากร ก่อนดาเนนิ การหรอื ไม่ อย่างไร

17 ประเดน็ การนิเทศ สภาพที่พบ ขอ้ นิเทศ - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ - มี ได้รบั การอบรม ครู ข , ครู ค ตามเนอ้ื หาหลกั สตู รหรอื ไม่ - วัสดุ อุปกรณ์ มีความเพียงพอ - มวี สั ดุ อุปกรณ์ ในการอบรม แต่ และสถานทม่ี ีความเหมาะสมหรือไม่ ผเู้ ข้าร่วมอบรม บางคนอปุ กรณไ์ ม่พรอ้ ม บางคนไมม่ ีอปุ กรณท์ ใ่ี ช้ในการอบรม สถานทเี่ หมาะสมในการจดั อบรม - มี แบบประเมินหลักสูตรจากคมู่ ือการ จดั การเรียนรดู้ า้ นดิจทิ ัลให้ประชาชน - มีการประเมินหลักสูตรหรือไม่ ดาเนินการอย่างไร 2. 2 กา ร จัด กร ะ บว น ก า รเ รีย น รู้ (Process) - วิทยากร มีความรู้ความสามารถ - มี ผ่านการอบรมแล้ว และมีเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร - วิทยากร จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ - ปรับเปลี่ยนบ้างตามความเหมาะสม กาหนดหรอื ไม่ ของผ้เู รียน - มีการใช้ส่ือ แหล่งเรียนรู้ /ภูมิ - มีคู่มอื มีป้ายความรู้ ฯลฯ ปัญญาท้องถ่ินประกอบการสอนหรือไม่ อย่างไร - มกี ารประยุกตใ์ ช้ “สะเตม็ ศึกษา” - มี ในเนอ้ื หาการอบรมมีหวั ข้อการ (STEM Education) ในการจัดกิจกรรมการ บรหิ ารการขาย เรียนรู้หรอื ไม่อยา่ งไร - มีการวัดผล ประเมินผลการ - มี จากการสงั เกตผู้เรยี นสามารถปฏบิ ัติ เรียนรู้สอดคล้องตามหลักสูตรหรือไม่ ไดต้ ามทใ่ี ห้ความรู้ อย่างไร มีเครื่องมือวัดผล ประเมินผล หรอื ไม่ - มีการประเมินความพึงพอใจของ - มี แบบประเมินความพึงพอใจ จาก ผูเ้ รยี นทุกหลกั สูตรหรือไม่ อย่างไร คู่มือการจดั การเรยี นร้ดู ้านดจิ ิทัลให้ ประชาชน - มีการอนุมัติการจบหลักสูตร - มี ใบประการการผ่านหลกั สูตรดจิ ทิ ัล หรอื ไม่ ชมุ ชน - มีการจัดทารายงานผลการ - มี ผูส้ อน วทิ ยากร ทารายงานเสนอต่อ ปฏิบัติงานเมื่อสิ้นสุดโครงการหรือไม่ ผู้บงั คับบัญชา และรายงานบนระบบ อยา่ งไร DMIS

18 ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ 2.3 ผลผลิต (Output) - ประชาชนมีความรู้พื้นฐานด้าน - มี ใช้ smartphone เป็นทุกคน ดิจทิ ัลหรอื ไม่ อยา่ งไร - ผู้เรียนมีความรู้เร่ืองกฎหมาย - มสี ่วนนอ้ ยมาก ท่ใี ช้คอมพวิ เตอรใ์ น เก่ียว กับคอมพิว เตอร์สาหรับการใช้ ชวี ิตประจาวัน ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวนั หรือไม่ อย่างไร - ประชาชนมีทักษะในการใช้ - หลงั จากอบรม มีทักษะในการใช้ วิจารณญาณในการรับสื่อหรอื ไมอ่ ย่างไร วิจารณญาณในการรับสอ่ื มากข้ึน ประเมนิ โดยการสังเกต 3. โครงการภาษาอังกฤษเพื่อการส่ือสาร ด้านอาชีพ ( Smart ONIE) 3.1 ปัจจัยปอ้ น (Input) - หลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน - มหี ลกั สูตรที่สถานศึกษาพัฒนาข้ึนและ ตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตรหรือไม่ เสนอ สานกั งาน กศน.จงั หวัดสุโขทัย ดาเนนิ การอยา่ งไร อนมุ ัติ หลกั สตู รเพ่อื ใชใ้ นการสอน - หลักสูตรที่ใช้ในการสอนได้ - พฒั นาข้ึนตามแนวทางของสานักงาน พัฒนาขึ้นเองหรือนามาจากแหล่งอื่น (ระบุ กศน. แหล่งที่มา) - เนื้อหาหลักสูตรมีการบูรณาการ - เนื้อหาหลักสูตรมกี ารบูรณาการสภาพ สภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ปญั หา และความตอ้ งการของผู้เรียน ชุมชนและแนวโน้มการพัฒนาหรือไม่ โดยใช้แบบสารวจ อยา่ งไร - หลักสูตรท่ีดาเนินการสอดคล้อง ตามหลักการหรอื ไม่ อยา่ งไร - มแี ผนงาน / โครงการ / กิจกรรม - มี แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพอื่ ใช้ เพ่ือส่งเสริมการเรียนท่ีสอดคล้องกับความ ในการอบรม ตามหลักสตู รที่พัฒนาข้นึ ต้องการของประชาชนและตลาดแรงงาน หรือไม่ อย่างไร - มีแผนการจัดการเรียนรู้ตาม - มี สถานศึกษาเป็นผ้จู ัดทา หลกั สูตรหรือไม่ ใครเปน็ ผ้ดู าเนินการจัดทา - มีการประชุมชี้แจง /อบรม - ไม่มกี ารประชุมอบรมเทคนิควิธกี าร เทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วิทยากร เรียนรเู้ พราะวทิ ยากรเปน็ ครูในระบบ ก่อนดาเนินการหรอื ไม่ อย่างไร สถานศกึ ษา(ครู โรงเรยี น ศช.) - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ ตามเน้ือหาหลกั สตู รหรือไม่ - วัสดุ อุปกรณ์ มีความเพียงพอ - มี วสั ดุ(ใบความรู)้ อุปกรณเ์ พยี งพอ และสถานทีม่ ีความเหมาะสมหรือไม่ และสถานทเี่ หมาะสม

19 ประเด็นการนิเทศ สภาพท่ีพบ ข้อนเิ ทศ - มีการประเมินหลักสูตรหรือไม่ - มี แบบประเมินความพึงพอใจ ดาเนนิ การอย่างไร 3. 2 กา ร จัด กร ะ บว น ก า รเ รีย น รู้ (Process) - วิทยากร มีความรู้ความสามารถ - ไม่มกี ารประชุมอบรมเทคนิควธิ กี าร และมีเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสมหรือไม่ เรียนรู้เพราะวทิ ยากรเปน็ ครูในระบบ อย่างไร สถานศกึ ษา(ครู โรงเรยี น ศช.) - วิทยากร จัดการเรียนรู้ตามแผนท่ี - จัดการเรยี นรตู้ ามแผน ปรับแผนบ้าง กาหนดหรอื ไม่ ตามความเหมาะสมของผเู้ รยี น - มีการใช้ส่ือ แหล่งเรียนรู้ /ภูมิ - มี การใชส้ อื่ ประกอบการสอน ใบงาน ปัญญาท้องถ่ินประกอบการสอนหรือไม่ ใบความรู้ อย่างไร - มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ “สะเต็มศึกษา” - มี เกมสอนภาษาองั กฤษ (STEM Education) ในการจัดกิจกรรมการ เรยี นรหู้ รอื ไมอ่ ยา่ งไร - มีการวัดผล ประเมินผลการ - มี เคร่ืองมือในการวดั ผล แบบทดสอบ เรียนรู้สอดคล้องตามหลักสูตรหรือไม่ ก่อนเรียน-หลังเรยี น อย่างไร มีเคร่ืองมือวัดผล ประเมินผล หรือไม่ - มีการประเมินความพึงพอใจของ - มี แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ผเู้ รียนทุกหลักสตู รหรอื ไม่ อย่างไร - มีการอนุมัติการจบหลักสูตร - มี ใบประการผ้จู บหลักสูตร หรอื ไม่ - มีการจัดทารายงานผลการ - มีการจดั ทารายงานผลการดาเนินการ ปฏิบัติงานเมื่อส้ินสุดโครงการหรือไม่ เมือ่ โครงการส้นิ สดุ และรายงานผลบน อยา่ งไร ระบบ DMIS 3.3 ผลผลิต (Output) - ผู้ เ รี ย น มี ทั ก ษ ะ ก า ร ใ ช้ - มี จากการใช้ เครื่องมือในการวดั ผล ภาษาอังกฤษในการส่ือสารอาชีพตามที่ แบบทดสอบกอ่ นเรียน-หลังเรียน พบวา่ ต้องการหรือไม่ อย่างไร ผู้เขา้ ร่วมโครงการมผี ลสัมฤทธิท์ างการ เรียนรู้ดีขึ้น - ครูและบุคลากร มีความสามารถ - มี จากการอบรม ทักษะการใช้ภาษาอังกฤษ เพ่ือนาไปขยาย ผลให้กบั ประชาชนได้หรือไม่ อย่างไร

20 ประเด็นการนิเทศ สภาพท่ีพบ ข้อนิเทศ 4. อบรมหลักสูตรพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ - ไม่มี การจัดกจิ กรรมอบรมหลกั สูตร สรา้ งชอ่ งทางการจาหน่ายสนิ ค้า พาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนกิ สส์ รา้ งช่องทางการ 4.1 ปัจจัยปอ้ น(Input) จาหน่ายสินคา้ - หลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน ต า ม กระบวนการพั ฒนาหลั กสู ตรหรื อไม่ ดาเนินการอย่างไร - หลักสูตรท่ีใช้ในการสอนได้ พัฒนาข้ึนเองหรือนามาจากแหล่งอื่น (ระบุ แหลง่ ท่มี า) - เน้ือหาหลักสูตรมีการบูรณาการ สภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ชุ ม ช น แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ก า ร พั ฒ น า ห รื อ ไ ม่ อย่างไร - หลักสูตรที่ดาเนินการสอดคล้อง ตามหลักการหรือไม่ อย่างไร - มีแผนงาน/ โครงการ / กิจกรรม เพื่อส่งเสริมการเรียนที่สอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชนและตลาดแรงงาน หรือไม่ อย่างไร - มีแผนการจัดการเรียนรู้ตาม หลกั สูตรหรอื ไม่ ใครเปน็ ผดู้ าเนินการจัดทา - มีการประชุมช้ีแจง /อบรม เทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วิทยากร ก่อนดาเนนิ การหรอื ไม่ อย่างไร - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ ตามเน้อื หาหลักสูตรหรอื ไม่ - วัสดุ อุปกรณ์ มีความเพียงพอ และสถานทม่ี คี วามเหมาะสมหรอื ไม่ - มีการประเมินหลักสูตรหรือไม่ ดาเนินการอยา่ งไร 4. 2 กา ร จัด กร ะ บว น ก า รเ รีย น รู้ - ไมม่ ี การจัดกจิ กรรมอบรมหลักสูตร (Process) พาณชิ ย์อเิ ล็กทรอนกิ ส์สร้างช่องทางการ - วิทยากร มีความรู้ความสามารถ จาหน่ายสนิ คา้ และมีเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร - วิทยากร จัดการเรียนรู้ตามแผนท่ี กาหนดหรอื ไม่

21 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นิเทศ - มีการใช้ส่ือ แหล่งเรียนรู้ /ภูมิ ปัญญาท้องถ่ินประกอบการสอนหรือไม่ อย่างไร - มีการประยุกตใ์ ช้ “สะเตม็ ศึกษา” (STEM Education) ในการจัดกิจกรรมการ เรยี นรหู้ รอื ไม่อยา่ งไร - มีการวัดผล ประเมินผลการ เ รี ย น รู้ ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ห ลั ก สู ต ร ห รื อ ไ ม่ อย่างไร มีเคร่ืองมือวัดผล ประเมินผล หรือไม่ - มีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้เรียนทุกหลกั สูตรหรือไม่ อย่างไร - มีการอนุมัติการจบหลักสูตร หรือไม่ - มีการจัดทารายงานผลการ ป ฏิ บั ติ ง า น เ ม่ื อ สิ้ น สุ ด โ ค ร ง ก า ร ห รื อ ไ ม่ อย่างไร 4.3 ผลผลติ (Output) - ไม่มี การจดั กจิ กรรมอบรมหลกั สูตร - ผู้เรียนสามารถนาสินค้าของ พาณิชยอ์ เิ ล็กทรอนิกส์สร้างช่องทางการ ตนเองมาจาหน่ายบนสื่อโซเชียลมีเดียได้ จาหน่ายสินคา้ หรอื ไม่ อย่างไร 5. ใช้ ICT และนวตั กรรม จัดกระบวนการ - ไมม่ ี การจัดกจิ กรรมใช้ ICT และ เรียนรดู้ ้านเกษตรกรรม นวตั กรรม จดั กระบวนการเรียนรู้ดา้ น 5.1 ปจั จยั ป้อน เกษตรกรรม - หลักสูตรมีองค์ประกอบครบถ้วน ต า ม กระบวนการพั ฒนาหลั กสู ตรหรื อไม่ ดาเนนิ การอย่างไร - หลักสูตรที่ใช้ในการสอนได้ พัฒนาขึ้นเองหรือนามาจากแหล่งอ่ืน (ระบุ แหล่งท่ีมา) - เนื้อหาหลักสูตรมีการบูรณาการ สภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ชุ ม ช น แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ก า ร พั ฒ น า ห รื อ ไ ม่ อยา่ งไร - หลักสูตรท่ีดาเนินการสอดคล้อง ตามหลักการหรือไม่ อยา่ งไร

ประเด็นการนเิ ทศ 22 ขอ้ นิเทศ - มีแผนงาน/ โครงการ / กิจกรรม สภาพทพ่ี บ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับความ ต้องการของประชาชนและตลาดแรงงาน หรอื ไม่ อย่างไร - มีแผนการจัดการเรียนรู้ตาม หลกั สูตรหรือไม่ ใครเป็นผูด้ าเนนิ การจัดทา - มีการประชุม ชี้แจง /อบรม เทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วิทยากร กอ่ นดาเนินการหรือไม่ อยา่ งไร - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ ตามเนื้อหาหลกั สูตรหรือไม่ - วัสดุ อุปกรณ์ มีความเพียงพอ และสถานท่ีมคี วามเหมาะสมหรอื ไม่ - มีการประเมินหลักสูตรหรือไม่ ดาเนนิ การอยา่ งไร 5. 2 กา ร จัด กร ะ บว น ก า รเ รีย น รู้ - ไม่มี การจัดกจิ กรรมใช้ ICT และ (Process) นวตั กรรม จัดกระบวนการเรียนรดู้ า้ น - วิทยากร มีความรู้ความสามารถ เกษตรกรรม และมีเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร - วิทยากร จัดการเรียนรู้ตามแผนที่ กาหนดหรือไม่ - มีการใช้ส่ือ แหล่งเรียนรู้ /ภูมิ ปัญญาท้องถิ่นประกอบการสอนหรือไม่ อย่างไร - มกี ารประยกุ ตใ์ ช้ “สะเตม็ ศึกษา” (STEM Education) ในการจัดกิจกรรมการ เรยี นรูห้ รือไมอ่ ย่างไร - มีการวัดผล ประเมินผลการ เ รี ย น รู้ ส อ ด ค ล้ อ ง ต า ม ห ลั ก สู ต ร ห รื อ ไ ม่ อย่างไร มีเคร่ืองมือวัดผล ประเมินผล หรอื ไม่ - มีการประเมินความพึงพอใจของ ผู้เรยี นทกุ หลักสตู รหรือไม่ อยา่ งไร - มีการอนุมัติการจบหลักสูตร หรอื ไม่

ประเดน็ การนิเทศ 23 ขอ้ นิเทศ - มีการจัดทารายงานผลการ สภาพท่พี บ ป ฏิ บั ติ ง า น เ มื่ อ ส้ิ น สุ ด โ ค ร ง ก า ร ห รื อ ไ ม่ อยา่ งไร 5.3 ผลผลติ (Output) - ไม่มี การจดั กิจกรรมใช้ ICT และ - ผู้เรียนสามารถใช้เทคโนโลยี นวตั กรรม จัดกระบวนการเรียนรดู้ า้ น สารสนเทศและนวัตกรรมเพ่ิมมูลค่าสินค้า เกษตรกรรม ทางการเกษตรไดห้ รอื ไม่ อย่างไร - ผู้เรียนตระหนักถึงคุณภาพของ ผลผลิต มีความปลอดภัยต่อระบบนิเวศน์ ชุมชนและผบู้ ริโภค 6. การจัดการศึกษาตามหลักปรัชญาของ เศรษฐกจิ พอเพยี งและเกษตรทฤษฎใี หม่ 6.1 ปจั จยั ป้อน - ห ลั ก สู ต ร มี อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ - มี กศน.ตาบล พัฒนาหลกั สูตรขน้ึ และ ครบถ้วนตามกระบวนการพัฒนาหลักสูตร นาเสนอให้ กศน.อาเภอ อนุมัตหิ ลักสูตร หรือไม่ ดาเนนิ การอยา่ งไร - หลักสูตรท่ีใช้ในการสอนได้ - ครแู ละวทิ ยากร ร่วมกันพัฒนา พัฒนาขึ้นเองหรือนามาจากแหล่งอ่ืน (ระบุ หลกั สตู ร แหลง่ ที่มา) - เน้ือหาหลักสูตรมีการบูรณา - มี ศึกษาตามปญั หา และความต้องการ การสภาพ ปัญหา ความต้องการของผู้เรียน ของผเู้ รียนในชมุ ชน ชุ ม ช น แ ล ะ แ น ว โ น้ ม ก า ร พั ฒ น า ห รื อ ไ ม่ อยา่ งไร - ห ลั ก สู ต ร ที่ ด า เ นิ น ก า ร - มี สอดคลอ้ งตามหลักการ การจดั การ สอดคล้องตามหลกั การหรอื ไม่ อยา่ งไร ศึกษาตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ - มี แ ผ น ง า น / โ ค ร ง ก า ร / กจิ กรรม เพ่ือส่งเสริมการฝึกที่สอดคล้องกับ ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ป ร ะ ช า ช น แ ล ะ ตลาดแรงงานหรือไม่ อยา่ งไร - มีแผนการจัดการเรียนรู้ตาม - มี ครู กศน.ตาบล เปน็ ผู้ดาเนินการ หลกั สูตรหรือไม่ ใครเป็นผู้ดาเนินการจดั ทา จดั ทาแผนการจดั การเรียนรู้ - มีการประชุมชี้แจง /อบรม - มี การสร้างความเข้าใจ ระหว่า ครู เทคนิควิธีการถ่ายทอดความรู้แก่วิทยากร กศน.ตาบล และวิทยากร ก่อนการ กอ่ นดาเนินการหรอื ไม่ อย่างไร ดาเนนิ งาน

24 ประเดน็ การนิเทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นเิ ทศ - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ - มี วิทยากรใบประกาศการ ตามเนอ้ื หาหลกั สตู รหรอื ไม่ - วัสดุ อุปกรณ์ มีความเพียงพอ - มี วัสดุ อปุ กรณ์ มคี วามเพยี งพอและ และสถานทม่ี ีความเหมาะสมหรอื ไม่ สถานทม่ี ีความเหมาะสม - มีการประเมินหลักสูตรหรือไม่ - มี ตามแบบประเมินความพึงพอใจ ดาเนินการอย่างไร โครงการ - มีการรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ - มี ในแบบสรุปโครงการ ภูมิปัญญา แหล่งเรียนรู้ด้านเศรษฐกิจพอเพียง และเกษตรทฤษฎีใหม่ในชุมชนหรือไม่ และ จั ด ท า เ ป็ น ท า เ นี ย บ ใ น รู ป แ บ บ เ อ ก ส า ร ไฟล์ข้อมูล ให้นักศึกษา ประชาชนสืบค้นได้ อย่างสะดวก รวดเร็วหรอื ไม่ อย่างไร - มกี ารประชาสมั พันธ์สร้างการรับรู้ - มี การประชาสัมพนั ธ์ ผา่ นผู้นาชมุ ชน แก่ประชาชนอย่างสม่าเสมอ ท่ัวถึง เกี่ยวกับ แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาด้านเศรษฐกิจ พอเพียงและเกษตรทฤษฎีใหม่ ทั้งในและนอก พื้นท่หี รือไม่ อย่างไร - มีการประชุมวางแผนจัดทา - มี จากการประชมุ บุคลกร กศน.อาเภอ โครงการ/กิจกรรมโดยการมีส่วนร่วมของ ศรสี าโรง คณะกรรมการ ผู้เก่ียวข้องทุกภาคส่วนหรือไม่ อยา่ งไร - มีการจัดทาหลักสูตรอบรมให้ - มี เน่ืองจากมีสารวจความต้องการของ ความรู้แก่ประชาชนท่ีหลากหลาย สอดคล้อง ชุมชน เพื่อนามาจัดทาหลกั สูตร กับสภาพความตอ้ งการหรือไม่ อย่างไร - มีการรวมกลุ่มเครือข่าย ภูมิ - มี ปัญญา แหล่งเรียนรู้ภายในชุมชนหรือไม่ อย่างไร - มีการสรรหาวิทยากร ผู้รู้ท่ีมี - มี กศน.ตาบลทกุ แห่ง มขี ้อมูลภูมิ ความรู้ ความชานาญหรอื ไม่ อย่างไร ปญั ญา แหลง่ เรียนรภู้ ายในชมุ ชน สารวจ ความต้องการของชมุ ชนแล้ว ทาให้ สามารถสรรหาวิทยากรในชมุ ชนได้ 6.2 การจัดกระบวนการเรียนรู้ (Process) - ดาเนินกิจกรรม/โครงการตาม - สามารถดาเนินกิจกรรมตามแผนที่ แผนทกี่ าหนดหรือไม่ ถา้ ไม่เพราะเหตุใด กาหนด - มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ศึกษา - มี (ตาบลวังใหญ่ ครี ีมาส ไป เกาะตา ดูงาน ฯลฯ ระหว่างกลุ่ม/ศูนย์เรียนรู้ฯ เลยี้ ง สามเรือน)

25 ประเด็นการนิเทศ สภาพทีพ่ บ ข้อนิเทศ ทั้งภายในและภายนอกพ้ืนทห่ี รือไม่ อยา่ งไร - มี ก า ร ฝึ ก ป ฏิ บั ติ จ ริ ง ใ น - มี จากการตดิ ตามผู้เรยี นพบวา่ ผเู้ รยี น ครอบครวั /ชุมชนหรอื ไม่ ผลเปน็ อยา่ งไร นาไปใช้ในชีวิตประจาวนั และบางส่วน สามารถเพิ่มรายได้จากการทาใชเ้ องใน ครวั เรือน - จัดวิทยากร/จิตอาสาประจา - มีอาสาสมัคร กศน.ตาบล ใหค้ วามรู้ ศนู ย์เรียนรู้ แหลง่ เรียนรู้ในชุมชน ให้บริการ ประจาศูนย์เรยี นรู้ แหลง่ เรยี นร้ใู นชมุ ชน ข้อมูล แนะนา ให้คาปรึกษาแก่นักศึกษา ใหค้ าปรึกษาเฉพาะเม่อื มีคนมาดงู าน และประชาชนท่ีมาศึกษาเรียนรู้เป็นประจา หรอื ไม่ อยา่ งไร - จัดกิจกรรม นิทรรศการ แสดง - มี การจัดกิจกรรม นิทรรศการ แสดง ผลงาน นาเสนอผลงานความสาเร็จ ผลงาน ณ แหล่งเรียนรู้ แต่ไม่เปน็ ความก้าวหน้าของโครงการ/กิจกรรม ท่ี ปจั จุบนั ดาเนนิ การอยา่ งสม่าเสมอหรือไม่ อยา่ งไร - มีการประยุกต์ใช้สะเต็มศึกษา/ - มี การนาเทคโนโลยีเข้ามาเป็นสอ่ื การจัดการความรู้ด้านดิจิทัลและ ICT เพ่ือ สาหรับผู้มาเรียนรู้ พั ฒ น า อ า ชี พ เ ก ษ ต ร ก ร ร ม อ ย่ า ง มี ประสทิ ธิภาพ หรอื ไม่ อยา่ งไร - มีการวัดผล ประเมินผลการ - มี จากการสังเกต สอบถาม และจาก เรียนรู้สอดคล้องตามหลักสูตรหรือไม่ ชั่วโมงการเข้าอบรม อย่างไร มีเคร่ืองมือวัดผล ประเมินผล หรอื ไม่ - มีการประเมินความพึงพอใจ - มี โดยใชแ้ บบประเมนิ ความพงึ พอใจ ของผูเ้ รียนทกุ หลักสูตรหรือไม่ อยา่ งไร - มีการอนุมัติการจบหลักสูตร - มี กน.11 (แบบรายงานผู้จบหลักสูตร) และรายงานผู้จบหลักสตู รหรือไม่ อย่างไร - มีการจัดทารายงานผลการ - มี สรปุ เล่มรายงานเสนอผู้บังคบั บัญชา ปฏิบัติงานเมื่อส้ินสุดโครงการหรือไม่ และรายงานบนระบบ DMIS อยา่ งไร 6.3 ผลผลิต (Output) - นกั ศึกษาและประชาชนนาหลัก - มี ผู้เขา้ รบั การอบรมนาไปทาบัญชี ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงและเกษตร ครวั เรอื น ฯลฯ ทฤษฎีใหม่ไปใช้ในการพัฒนาคุณภาพชีวิต ไดห้ รอื ไม่ อย่างไร - นักศึกษาและประช าช นมี - มี เพราะผา่ นการอบรม ความรู้ด้านเกษตรธรรมชาติ หรือไม่ อย่างไร

26 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพที่พบ ขอ้ นเิ ทศ - นั ก ศึ ก ษ า แ ล ะ ป ร ะ ช า ช น - มี จากการฝกึ อบรมมผี ู้ร่วมอบรม สามารถนาความรู้ด้านเกษตรธรรมชาติ ไป นาไปใช้ในชวิ ติ ประจาวัน เชน่ ตาบล พฒั นาอาชีพเกษตรกรรม ไดห้ รือไม่ อย่างไร คลองตาล นาไปทาสบชู่ าโค ใชใ้ น ครวั เรอื น - ผลงานเด่ นท่ี สามารถเป็ น - ศูนยเ์ รยี นรเู้ ศรษฐกิจกอเพยี ง ตาบล แบบอย่าง (good practice) ได้ มีอะไรบ้าง / เกาะตาเล้ยี ง หมูท่ ่ี 13 ปจั จยั ความสาเร็จคืออะไร - มีปลกู ข้าวปลอดสารพษิ - นา้ ไผ่ - นา้ ส้มควนั ไม้ - น้าใบหญ้านาง - ฯลฯ 7. การศกึ ษาเพื่อพฒั นาทกั ษะชวี ิต 7.1 ปัจจยั ปอ้ น (Input) - มีการวางแผนสารวจ - มี การสารวจความตอ้ งการจดั เวที กลุ่มเป้าหมายเพ่ือเตรียมความพร้อมที่จะ ประชาคม เข้าสูว่ ยั ผสู้ ูงอายุหรือไม่ อย่างไร - โครงการ /กิจกรรมดาเนินการ - เปน็ การจัดการเรยี นรู้ทีใ่ ห้ความสาคัญ สอดคล้องตามหลักการจัดการศึกษาเพื่อ กบั การพัฒนาคนทกุ ช่วงวยั ใหม้ คี วามรู้ พฒั นาทกั ษะชีวิต ที่สานกั งาน กศน.กาหนด เจตคติทดี่ ี และทักษะท่ีจาเปน็ สาหรบั หรือไม่ อย่างไร (Smart Aging/Active การดารงชีวติ ในปัจจุบัน Aging/การเผยแพร่ภูมปิ ญั ญา) - โครงการ /กิจกรรม มีสถานที่และ - มี สอดคลอ้ งกับความต้องการของคน อุปกรณ์ มีการออกแบบให้เหมาะสม ในชุมชน สอดคล้องกับสภาพปัญหา ความต้องการของ กลุ่มเปา้ หมายหรอื ไม่ อย่างไร - โครงการ / กิจกรรม ท่ีมีรูปแบบ - มี การออกแบบกิจกรรมท่ีสอดคล้อง การจัดการศึกษาท่หี ลากหลายดาเนินการใช้ กับช่วงวัยของผูเ้ ขา้ รับการอบรม รปู แบบการให้ความรู้ ความเข้าใจ /ชมรม / คลงั สมอง /กลุ่มสนใจ หรือฝึกอบรมหรือไม่ เพราะเหตใุ ด - หลักสูตร / แผนการจัดกิจกรรม - เหมาะสมกบั ช่วงวัยของกลุ่มเปา้ หมาย ท่ีดาเนินการ มีการฝกึ ทักษะชีวิตด้านใดบ้าง (ผสู้ งู อายุ) เหมาะสมกับสภาพกลุ่มเป้าหมายหรือไม่ อยา่ งไร - มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศที่ - มี จากการประชาคม และ การสารวจ เก่ียวข้องหรือไม่ อย่างไร (สภาพ ปัญหา ความตอ้ งการ ความตอ้ งการ ความพร้อม ภูมิปัญญา ฯลฯ)

27 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพที่พบ ขอ้ นิเทศ - ภาคี เครือข่าย ชุมชน เข้ามามี - รพ.ส่งเสริมสขุ ภาพตาบล ส่ ว น ร่ ว ม ใ น ก า ร ว า ง แ ผ น อ อ ก แ บ บ โครงการ/กิจกรรม หรือไม่ อย่างไร 7. 2 กา ร จัด กร ะ บว น ก า รเ รีย น รู้ (Process) - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ - เหมาะสม เป็นบคุ ลากรของ รพ.สต. และเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสมหรือไม่ อย่างไร - มีการใช้ส่ือ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ - มีการใชส้ ่ือวีดทิ ศั น์ ภูมิปัญญาท้องถ่ินประกอบการจัดกิจกรรม หรอื ไม่ อยา่ งไร - มีการประเมินผลการจัดกิจกรรม - มี แบบประเมินความพึงพอใจ หรอื ไม่ อยา่ งไร - มีการจัดทารายงานผลการจัด - มีการจดั ทารายงาน และรายงานบน โครงการ / กิจกรรม เม่ือส้ินสุดโครงการ ระบบ DMIS หรอื ไม่ อย่างไร - มีการติดตามผลการนาความรู้ไป - มแี บบตดิ ตามผู้เขา้ อบรม ใช้ประโยชน์หรอื ไม่ อย่างไร 7.3 ผลผลิต (Output) - ผู้สูงอายุสามารถดูแลตนเอง ท้ัง - หลงั จากผา่ นการอบรม ผู้สูงอายุ สุขภาพกาย / สุขภาพจิตได้ เพ่ิมรายได้ / สามารถดแู ลตนเองได้ และมีสุขภาพจติ อาชพี /สวัสดิการหรือไม่ อยา่ งไร ท่ีดขี ึน้ จากการสังเกต และแบบตดิ ตาม ผู้จบหลกั สูตร - ผู้สูงอายุรู้จักใช้ประโยชน์จาก - ไมม่ อี บรมการใช้เทคโนโลยกี ับผู้สูงอายุ เทคโนโลยีหรือไม่ อย่างไร - มีการรวบรวมและเผยแพร่ภูมิ - มกี ารรวบรวมขอ้ มลู ภูมิปัญญา แตไ่ ม่มี ปัญญาของผู้สูงอายุอย่างหลากหลาย (เอกสาร/ การเผยแพร่ทางสอื่ ออนไลน์ Youtube/ facebook ฯลฯ) หรอื ไม่ อยา่ งไร - มีกิจกรรมเตรียมความพร้อมแก่ - มี การออกแบบกจิ กรรมให้เหมาะสม กลุ่มเป้าหมายก่อนเข้าสู่วัยผู้สูงอายุ (การออม / กบั ชว่ งวยั สขุ ภาพ/อาชีพ) หรอื ไม่ อย่างไร - ผู้สูงอายุมีกิจกรรมร่วมกันอย่าง - มี ยืดยางสร้างสขุ ภาพ/ เต้นเอโรบคิ / สม่าเสมอหรือไม่ อยา่ งไร ราไทเก็ก

28 ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ข้อนิเทศ 8. การศกึ ษาเพอ่ื พฒั นาสงั คมและชุมชน 8.1 ปจั จัยป้อน (Input) - โครงการ /กิจกรรมดาเนินการ - โครงการปลูกป่าชุมชน โดยมุ่งให้ความรู้เก่ียวกับการเสริมสร้าง - โครงการอนุรกั ษพ์ ลังงานทดแทน คุณภาพชีวิตท่ีเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การ - โครงการเตาชีวมวล ป้องกันผลกระทบ การป้องกันภัยพิบัติ ธรรมชาติและสภาพภูมิอากาศ การลด ความสูญเสียในการผลิตและใช้เทคโนโลยี ที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและการคานึงถึง ส่วนรวม (เช่น การบริหารจัดการขยะและ ม ล พิ ษ ใ น ชุ ม ช น / ก า ร ป้ อ ง กั น ภั ย พิ บั ติ ธรรมชาติและสภาพภูมิอากาศ) - โครงการ /กิจกรรม ท่ีดาเนินการ - ทุกโครงการมาจากการสารวจความ เหมาะสม สอดคล้องกับสภาพ ความ ต้องการของชุมชน ต้องการของประชาชนและชุมชนหรือไม่ อย่างไร - โครงการ / กิจกรรม ที่ดาเนินการ - ใช้รูปแบบกลุ่มสนใจ ใช้รูปแบบกลุ่มสนใจ ฝึกอบรม หรืออื่น ๆ เพราะเหตใุ ด - มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศที่ เก่ียวข้องหรือไม่ อย่างไร (สภาพภูมิอากาศ / แนวโน้มความเสี่ยง/สถิติการเกิดภัยพิบัติ / การคดิ ดี ทาดี) 8.2 การจัดกระบวนการเรยี นรู้ (Process) - วิทยากรมีความรู้ความสามารถ - วทิ ยากรมคี วามรู้ ผ่านการอบรมเกยี่ ว และเทคนิคการถ่ายทอดเหมาะสมหรือไม่ การอนรุ ักษ์พลงั งาน อย่างไร - มีการใช้สื่อ เทคโนโลยี แหล่งเรียนรู้ - มี ใบความรู้ และการฝึกปฏิบตั ิ ภูมิปัญญาท้องถ่ินประกอบการจัดกิจกรรม หรือไม่ อยา่ งไร - มีการประเมินผลการจัดกิจกรรม - มี แบบประเมนิ ความพึงพอใจ หรือไม่ อย่างไร - มีการจัดทารายงานผลการจัด - มีการจดั ทาสรุปโครงการและรายงาน โครงการ / กิจกรรม เม่ือสิ้นสุดโครงการ บนระบบ DMIS หรือไม่ อย่างไร

29 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ข้อนเิ ทศ - มีการติดตามผลการนาความรู้ไป - มี แบบติดตามผู้เรียน ใช้ประโยชนห์ รือไม่ อย่างไร 8.3 ผลผลติ (Output) - ประชาชนที่เข้าร่วมโครงการ/ - สามารถนาไปปรบั ใชใ้ นชีวิตประจาวนั กิจกรรม มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับการ เชน่ โครงการเตาชวี มวล มีผู้เข้าร่วม ป้องกันผลกระทบและปรับตัวต่อการ อบรมนาไปทาใชใ้ นครวั เรือน และ เปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และภัยพิบัติ จาหน่าย ธรรมชาติหรือไม่ อยา่ งไร - ประชาชนท่ีเข้าร่วมโครงการ/ - จาก โครงการเตาชีวมวล สามารถนา กิจกรรม มีความตระหนักในการร่วมสร้าง วัสดุในชุมชนมาใช้แทนแก๊สหุงตม้ สังคมสีเขียวดาเนินการกาจัดขยะและมลพิษ ในบ้าน ชุมชนได้อย่างถูกต้องและต่อเน่ือง หรือไม่ อย่างไร - มีกิจกรรมป้องกัน กาจัด บริหาร - มี การอบรมให้ความการบริหารจดั การ จัดการขยะ มลพิษ และกิจกรรมป้องกันภัย ขยะเพ่ือลดมลพษิ ในส่งิ แวดล้อม พิบัติธรรมชาติในชุมชนอย่างสม่าเสมอ หรอื ไม่ อย่างไร ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา - ไมม่ ี ลงช่ือ.......................................................ผสู้ รปุ ผลการนเิ ทศ (นางสาวณฐั ชยา อิ่มเพ็ง) วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2561

30 แบบบันทึกการนเิ ทศ เร่อื ง ห้องสมดุ ประชาชน ปีงบประมาณ 2561 คาชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้รับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและ หรือผู้เรียน/ผู้เกี่ยวข้อง สังเกตสภาพจริง สถานท่ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร ส่ือ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพที่พบ (จุดเด่น – จุดท่ีควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาลงในแบบ บนั ทึกการนิเทศ ชอื่ สถานศกึ ษา กศน. อาเภอศรสี าโรง สานกั งาน กศน.จังหวดั สุโขทัย ประเด็นการนิเทศ สภาพที่พบ ขอ้ นเิ ทศ ปัจจยั ป้อน (Input) 1. มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของ 1. มี ทงั้ ในแบบรปู เลม่ และ ห้องสมดุ ประชาชนหรือไม่ อย่างไร บางสว่ นจดั ทาบนเวบ็ เชือ่ มโยงแล้ว 2.มีการสารวจข้อมูลความต้องการของ 2. มี ใช้แบบสารวจบนเครือข่าย กลุม่ เป้าหมายหรือไม่ อยา่ งไร และ แบบเอกสาร 3. สภาพของห้องสมุดประชาชนมีความ 3. พรอ้ มในการใหบ้ ริการ มบี ริการ พรอ้ มในการบริการหรอื ไม่ อยา่ งไร อาทิ ดังน้ี - สอ่ื /หนังสือ /สือ่ สาหรบั - ส่อื /หนงั สือ /ส่ือสาหรับเด็ก และสื่อ เด็ก และส่ือการเรียนรู้อ่ืนๆ การเรยี นรู้อ่นื ๆ - สงิ่ อานวยความสะดวก - ส่ิงอานวยความสะดวก - อปุ กรณ์ /คอมพิวเตอร์ - อปุ กรณ์ /คอมพิวเตอร์ - สญั ญาณ Wifi - สัญญาณ Wifi 4. มีการวิเคราะห์ข้อมูล (SWOT) เพื่อ 4. ใช้รว่ มกับอาเภอ นามาใช้ในการวางแผนการดาเนินงานหรือไม่ อยา่ งไร 5. มีการจัดทาแผนงาน /โครงการหรือไม่ 5. มี การจัดทาเล่มแผนรายปี การ อย่างไร อาทิ - แผนการจดั กจิ กรรม - แผนการจัดกจิ กรรม - แผนการพัฒนาสภาพแวดลอ้ ม - แ ผ น พั ฒ น า ต น เ อ ง ( IDP) ข อ ง - แผนการจัดหา / จัดทาส่ือ บรรณารักษ์ /เจ้าหน้าที่หอ้ งสมดุ สง่ เสริมการอ่าน - แผนการพฒั นาสภาพแวดล้อม - ไม่มีการกาหนดแผนในการ - แผนการจดั หาและพฒั นา พัฒนาตนเอง แต่ เมื่อมีการจัด อาสาสมัครส่งเสรมิ การอา่ น อ บ ร ม ที่ เ ก่ี ย ว กั บ ห้ อ ง ส มุ ด แ ล ะ - แผนการจัดหา / จัดทาสื่อส่งเสริม ส่งเสริมการอ่านจะเข้าร่วมอบรม การอ่าน ทกุ คร้ังท่ีมโี อกาส 6. มีการออกแบบกิจกรรมท่ีหลากหลาย 6. มกี จิ กรรมท่ีให้บริการภายใน สอดคล้องกับสภาพความต้องการของ ห้องสมุดและมีกจิ กรรมท่ีออก กลมุ่ เป้าหมายหรอื ไม่ อยา่ งไร ให้บริการในชุมชน

31 ประเดน็ การนิเทศ สภาพทพี่ บ ขอ้ นิเทศ 7. มีการประสานงาน หน่วยงาน บุคคล 7. มี ผา่ น กศน.ตาบล เ พื่ อ เ ป็ น เ ค รื อ ข่ า ย / อ า ส า ส มั ค ร ส่ ง เ ส ริ ม การอ่านหรอื ไม่ อยา่ งไร 8. มีการประสานงานกับทุกภาคส่วนเพ่ือ 8. มีการประชาสัมพันธผ์ า่ น สนับสนุนทรพั ยากรในการจดั กิจกรรมส่งเสริม facebook และ เพจของห้องสมดุ การอา่ นหรือไม่ อย่างไร 9. มีการประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร 9.มีการประชาสัมพันธผ์ า่ น อย่างเป็นระบบและตอ่ เน่ืองหรือไม่ อย่างไร facebook และ เพจของห้องสมดุ การดาเนินงาน (Process) 1. การดาเนินงานเป็นไปตามแผนงาน/ 1.มกี ารดาเนนิ งานตามแผนงานที่ โครงการทก่ี าหนดหรอื ไม่ วางไว้แต่บางกิจกรรมไมเ่ ป็นไปตาม กาหนด 2.การดาเนินงานสอดคล้องกับความ 2.ดาเนินงาน ต้องการของกลุ่มเป้าหมาย หน่วยงาน/ชุมชน หรอื ไม่ อย่างไร 3. ภาคีเครือข่ายมีส่วนร่วมในการจัดและ 3.กจิ กรรมส่งเสริมการอ่านใน พัฒนากิจกรรมส่งเสริมการอ่านหรือไม่ ห้องสมดุ ไมม่ ี แต่มรี ว่ มจัดกิจกรรม อย่างไร ในชุมชน เชน่ ออกใหบ้ ริการอาเภอ ยมิ้ เคลอ่ื นที่ 4. อาสาสมัครมีส่วนร่วมสนับสนุน 4.กจิ กรรมส่งเสรมิ การอา่ นใน การดาเนินงานส่งเสริมการอ่านหรือไม่ ห้องสมุดไมม่ ี แต่มีอาสาสมคั ร อย่างไร (นักศึกษา กศน.)รว่ มจดั กิจกรรมใน ชมุ ชน เชน่ ออกใหบ้ ริการอาเภอ ยม้ิ เคลอ่ื นท่ี 5. ผู้บริหารให้การสนับสนุน ส่งเสริม 5.ผบู้ รหิ ารให้การสนบั สนนุ ช่วยเหลือแก้ไขปัญหาของบรรณารักษ์/ งบประมาณเพ่ือจดั ซื้อวัสดุใช้ในการ เจ้าหน้าท่ีหอ้ งสมดุ หรือไม่ อย่างไร จดั กิจกรรม 6. กศน.ตาบล มีส่วนรว่ มในการ 6.ครู กศน.ตาบล ใหค้ วามร่วมมือ ดาเนนิ งานส่งเสรมิ การอา่ นหรือไม่ อยา่ งไร ในการออกหน่อยบริการเคล่อื นที่ ของทุกตาบล 7. มีการใช้เทคโนโลยีสนับสนุนการ 7. มี พฒั นาสื่อและเกมเพื่อใช้ใน ดาเนินงานส่งเสริมการอา่ นหรอื ไม่ อย่างไร การส่งเสริมการอา่ นทั้งภายใน หอ้ งสมุดและใช้เมื่อจัดกจิ กรรมใน พ้นื ที่ 8. มีนาผลจากการพัฒนาตนเองมาใช้ใน 8. มี จัดทาเกมและกิจกรรม การดาเนินงานส่งเสริมการอ่านหรือไม่ สง่ เสริมการอา่ น จาการทรี่ ว่ มศึกษา อย่างไร ดูงาน และ เข้ารว่ มการอบรม เช่น ภาพระบายสี AR , อะไรเอ่ย ใน

32 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่พี บ ข้อนเิ ทศ ความมดื , บงิ โกลายสอื ไทย , เกม QR สภุ าษติ ไทย ฯลฯ 9. บรรณารักษ์/เจ้าหน้าที่ห้องสมุดมีส่วน 9. มี ร่วมในการดาเนินกิจกรรมต่าง ๆ ของชุมชน - กิจกรรมน่งั ที่ไหน อ่านท่นี ่ัน หน่วยงาน อ่ืนๆ อยา่ งต่อเนือ่ งหรอื ไม่ อยา่ งไร - ออกหนว่ ยบริการอาเภอยิม้ เคลื่อนท่ี - บา้ นหนงั สอื ชุมชน 10. การดาเนินงานเป็นไปในลักษณะการ 10. สามารถดาเนินการในเชงิ รกุ ได้ บริการเชิงรกุ หรอื ไม่ อยา่ งไร ในขณะนี้ 60% ผลผลติ (Output) 1. ความพึงพอใจของผรู้ บั บริการด้าน ต่าง 1. มี โดยใชแ้ บบสอบถาม ๆ เป็นอยา่ งไร ความพงึ พอใจ - กิจกรรม 2. - การบริการ - สภาพแวดล้อม ภายในและภายนอก 2. อัตราการอ่านของประชาชนเพิ่มข้ึน 2.จานวนผใู้ ช้บริการคงท่ี มีเพ่ิมขน้ึ มากน้อยเพยี งใด บ้างในชว่ งที่ กศน. มีกจิ กรรมกบั - จานวนสมาชกิ เพิ่มหรอื ไม่อยา่ งไร นักศกึ ษา - กิจกรรมส่งเสริมการอ่านที่ดาเนินการ สามารถเป็นแบบอย่างได้ (Good Practice) หรือไม่ อย่างไร 3. ได้รับรางวัลจากต้นสังกัดหน่วยงาน 3. ไมม่ ี ภายนอก (ถา้ มี) หรือไม่ อะไรบา้ ง 4. มีการสรุปผล รายงาน การดาเนิน 4. มี จดั ทาเป็นแฟ้มข้อมูล กจิ กรรม อยา่ งเป็นปจั จบุ ัน หรอื ไม่ อยา่ งไร ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพฒั นา 1. รว่ มกับ กศน.อาเภอ และ ครู กศน.ตาบล นานักศึกษาของแต่ละตาบล ผลัดเปลย่ี นมาใชบ้ รกิ ารหอ้ งสมุด โดยการจัดทาแผนตารางการรว่ มกิจกรรมเก็บชวั่ โมงใฝ่รู้ใฝเ่ รียน และ กาหนดเปน็ คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ผจู้ บ หลกั สูตร ของ กศน.อาเภอศรีสาโรง ลงช่ือ..................................................ผสู้ รุปผลการนเิ ทศ (นางสาวณฐั ชยา อมิ่ เพง็ ) วนั ที่ 30 สิงหาคม 2561

33 แบบบันทกึ การนิเทศ เรื่อง บา้ นหนงั สือชุมชน ปีงบประมาณ 2561 คาช้ีแจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้รับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและ หรือผู้เรียน/ผู้เกี่ยวข้อง สังเกตสภาพจริง สถานท่ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร ส่ือ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพที่พบ (จุดเด่น – จุดที่ควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาลงในแบบ บันทกึ การนิเทศ ช่ือสถานศกึ ษา กศน. อาเภอศรีสาโรง สานกั งาน กศน.จังหวดั สุโขทัย ประเดน็ การนิเทศ สภาพทพ่ี บ ข้อนเิ ทศ ปัจจยั ปอ้ น (Input) 1. มีการจัดทาข้อมูลสารสนเทศของบ้าน 1. มขี ้อมูลที่ กศน.ตาบล หนังสือชุมชนของแต่ละตาบลหรือไม่ อย่างไร 2. มีการสารวจความต้องการของ 2. มี แบบสารวจความต้องการ ผู้ใช้บริการ เช่น ประเภทหนังสือ สื่ออื่นๆ ดาเนนิ การโดยรว่ มกบั ครู กศน. หรือไม่ อย่างไร ตาบล 3. มีการสารวจข้อมูลความต้องการของ 3. มี แบบสารวจความตอ้ งการ กลุ่มเป้าหมายหรอื ไม่ อย่างไร ดาเนินการโดยร่วมกบั ครู กศน. ตาบล 4. มีสภาพความพร้อม สถานท่ี และสื่อ 4. มีความพร้อมในการให้บริการ อนื่ ๆ เปน็ อย่างไร ในด้านสถานท่ี และ ส่อื 5. ผู้ดูแลรับผิดชอบ มีความพร้อม 5. มีความรบั ผดิ ชอบ มีจติ มีจิตสาธารณะ และมีศักยภาพในการส่งเสริม สาธารณะ การอ่านหรือไม่ อยา่ งไร 6. มีการประชาสัมพันธ์ของบ้านหนังสือ 6. ไมม่ กี ารประชาสมั พันธ์ ในระดับ หรือไม่ อย่างไร อาเภอ 7. มกี ารสง่ เสริม สร้างความรู้ ความเข้าใจ 7. ในปงี บประมาณ 2561 ไม่มกี าร พฒั นาผดู้ แู ล รบั ผดิ ชอบอย่างต่อเนื่อง หรือไม่ ประชมุ ผดู้ แู ลรบั ผิดชอบ อยา่ งไร การดาเนินงาน (Process) 1. มีการเปิดให้บริการอย่างสม่าเสมอ 1. มีการเปดิ ใหบ้ ริการอยา่ ง หรอื ไม่ อย่างไร สม่าเสมอ 2. มี การอ านวยความสะดวก เช่ น 2. มีสิง่ อานวยความสะดวกพื้นฐาน แสงสว่าง ท่ีนั่งเป็นสัดส่วน พัดลม ฯลฯ หรือไม่ ตามความเหมาะสมของแต่ละ อยา่ งไร สถานท่ี 3. มีหนังสือหมุนเวียนอยู่ในสภาพน่าอ่าน 3. ครู กศน.ตาบล ขอรบั วารสาร นา่ เข้าใช้บริการ หรอื ไม่ อยา่ งไร ลว่ งเวลาจากห้องสมุดฯ และ หนังสือพิมพต์ าบล ไว้ใหบ้ รกิ าร ในบา้ นหนงั สอื ชมุ ชน

34 ประเดน็ การนิเทศ สภาพท่พี บ ข้อนเิ ทศ 4. มีการบริการอื่น ๆ เช่น กาแฟ น้าดื่ม 4. มเี ครื่องด่ืมใหบ้ รกิ ารตามสมควร แว่นตา Wifi แก่ผู้ใชบ้ ริการหรือไม่ อยา่ งไร 5. มีกิจกรรมส่งเสริมการอ่าน เช่น พูดคุย 5. ไมม่ ีการจัดกิจกรรมสง่ เสริมการ แลกเปล่ียนระหว่างสมาชิกสับเปลี่ยน อา่ น หมุนเวยี นอยา่ งสม่าเสมอ หรือไม่ อย่างไร 6. มีบริการหมุนเวียนหนังสือสู่ครัวเรือน 6. ผู้ใชบ้ ริการสามารถยืม ส่ือ หรอื ไม่ อย่างไร ส่งิ พิมพก์ ลับบ้านได้ 7. มีการประสานงานร่วมกับอาสาสมัคร 7. ครู กศน.ตาบล รับผิดชอบใน รกั การอ่านอยา่ งสม่าเสมอหรอื ไม่ อยา่ งไร การประสานงาน 8. มกี ารเข้าร่วมประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 8. ไม่มี ระหว่างบ้านหนังสือ/ศึกษาดูงาน หรือไม่ อย่างไร 9. มีการจัดกิจกรรมอ่ืน ๆ ร่วมกับ กศน. 9. มี พบกลมุ่ นักศกึ ษา หรอื มีนัด ตาบล และชมุ ชน หรอื ไม่ อยา่ งไร หมายในชุมชน ผลผลติ (Output) 1. มีการประเมินความพึงพอใจของ 1. มี แบบประเมนิ ความพึงพอใจ ผรู้ ับบริการหรือไม่ ผลเป็นอยา่ งไร 2. จานวนผู้ใช้บริการเพิ่มขึ้นหรือไม่ 2. จานวนผใู้ ช้บรกิ ารคงท่ี อย่างไร 3. สถิติการใช้บริการ เช่น การยืม-คืน 3. มกี าร ยืม – คืน แตไ่ ม่มีการเก็บ การหมุนเวียนหนังสือมีหรือไม่ ผลเป็น สถิติ อยา่ งไร 4. มีเครือข่ายรักการอ่านเพิ่มขึ้นทุกเพศ 4. จานวนเครือข่ายรกั การอา่ นคงที่ วัย อาชพี ฯลฯ หรือไม่ อย่างไร 5. ชุมชน หน่วยงาน เครือข่ายมีส่วนร่วม 5. มกี ารมอบหนงั สอื สือ่ สงิ่ พิมพ์ สนบั สนนุ หรอื ไม่ อย่างไร จากคนในชุมชน หนว่ ยงานใน ชมุ ชน เครอื ขา่ ยในชมุ ชน แต่ไมม่ ี การเกบ็ หลกั ฐานขอ้ มูล ข้อเสนอแนะเพอื่ การพฒั นา 1. ควรทาแผนการนเิ ทศตดิ ตามผลการดาเนินงานบา้ นหนังสอื ชุมชน เพอ่ื นาผลการนิเทศมาพัฒนาใหเ้ ปน็ แหลง่ เรยี นรู้ทส่ี าคัญของชุมชน ลงช่อื ..................................................ผู้สรปุ ผลการนเิ ทศ (นางสาวณฐั ชยา อ่ิมเพง็ ) วันที่ 30 สงิ หาคม 2561

35 แบบบนั ทกึ การนเิ ทศ เรอื่ ง กศน.ตาบล 4G ปงี บประมาณ 2561 คาช้ีแจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้รับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและ หรือผู้เรียน/ผู้เก่ียวข้อง สังเกตสภาพจริง สถานที่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร ส่ือ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพที่พบ (จุดเด่น – จุดที่ควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมท้ังข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาลงในแบบ บันทึกการนเิ ทศ ชอื่ สถานศกึ ษา กศน. อาเภอศรีสาโรง สานักงาน กศน.จงั หวดั สโุ ขทยั ประเด็นการนเิ ทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ ครมู ืออาชีพ (Good Teacher) ปจั จัยปอ้ น (Input) 1. มีแผนงาน/โครงการพัฒนาครู เพ่ือให้มี 1. . มแี ผนงาน/โครงการพฒั นา ทักษะที่จาเป็นในศตวรรษท่ี 21 (เช่น อบรม ครู เพ่ือใหม้ ีทักษะทจ่ี าเปน็ ใน การจัดกระบวนการเรียนรู้/การวัดผลประเมินผล ศตวรรษที่ 21 การพัฒนาหลักสูตร/สื่ออิเล็กทรอนิกส์ /การคิด - ครูทกุ คนเขา้ ร่วมอบรมพฒั นา วิเคราะห์/ภาษาต่างประเทศ ฯลฯ) หรือไม่ บคุ ลกร รว่ มกับ สานักงาน อย่างไร กศน.จงั หวัดสโุ ขทยั ทกุ โครงการ 2. มีการส่งเสริมให้ครูไปเข้ารับการอบรม 2. มี เช่น พัฒนาจากหน่วยงาน สถานศึกษาอ่ืนๆ หรือไม่ - โครงการการพัฒนาสือ่ การ อย่างไร สอน รายวชิ าการใช้พลงั งาน ไฟฟ้าในชวี ิตประจาวนั 3. ครูมีแผนพัฒนาตนเองอย่างต่อเน่ือง 3. มแี ผนพฒั นาบุคลกรระดับ หรอื ไม่ อยา่ งไร อาเภอ และเขา้ ร่วมโครงการ พัฒนาบุคลากร ระดบั จังหวัด 4. มีสื่อ คู่มือ เอกสาร ท่ีหลากหลาย 4. มสี ่อื คู่มือ เอกสาร ท่ี ทันสมัย สอดคล้องกบั ความตอ้ งการของครู หลากหลาย ทนั สมยั สอดคล้อง หรอื ไม่ อยา่ งไร กบั ความต้องการของครู 5. มีการจัดชุมชนแห่งการเรียนรู้ PLC และ 5. มกี ารจดั กจิ กรรมท่ีเกีย่ วขอ้ ง ขับเคลื่อนแลกเปล่ียนเรียนรู้อย่างสม่าเสมอ กับการสรา้ งชมุ ชนแห่งการ เชน่ เดอื นละครง้ั หรอื ไม่ อย่างไร เรียนรู้ เชน่ โครงการพัฒนา สังคมและชุมชน , โครงการ พัฒนาทักษะชวี ิต , โครงการ พฒั นาอาชีพ , โครงการเรยี นรู้ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง , การจัดการศกึ ษา สาหรบั ผู้สงู อายุ

36 ประเดน็ การนิเทศ สภาพท่ีพบ ขอ้ นเิ ทศ การดาเนนิ งาน (Process) 1. เขา้ รบั การอบรมตาม 1. เข้ารับการอบรมพัฒนาตามแผนงาน แผนงานโครงการ โครงการที่กาหนดหรือไม่ อยา่ งไร 2. มีการพฒั นาโดยการเขา้ รับ 2. มีการพัฒนาตนเองตามแผนอย่าง การอบรมตามแผนทกี่ าหนดใน ตอ่ เนือ่ งหรอื ไม่ อย่างไร ระดับอาเภอและระดับจงั หวัด 3. มีการนานวัตกรรมจากการ 3. มีการศึกษาค้นคว้าข้อมูลนวัตกรรมเพื่อ เข้ารว่ มอบรม มาใช้ในการ ความก้าวหน้าทางวิชาการอย่างสม่าเสมอ จดั การเรยี นการสอนกับผู้เรยี น หรอื ไม่ อยา่ งไร 4. มีการแลกเปลี่ยนเรียนรกู้ ับ 4. เข้าร่วมกิจกรรมชุมชนแห่งการเรียนรู้ เพือ่ นครดู ว้ ยกัน เพื่อนนา มีการแลกเปล่ียนเรยี นรูก้ บั เพอื่ นครูสมา่ เสมอ สถานการณ์ที่พบของแตล่ ะ หรอื ไม่ อยา่ งไร ตาบลมาปรับใช้ ผลผลติ (Output) 1. มคี วามสนใจ ตั้งใจระหว่าง 1. มีความสนใจ ต้ังใจระหว่างการเข้าร่วม การเข้ารว่ มกิจกรรม กจิ กรรมหรือไม่ อย่างไร 2. ครู แต่ละคน มีแฟ้มสะสม 2. ผลงาน/Portfolio/ข้อมูลการบันทึก/ ผลงานตามตวั ชวี ัด มาตฐาน ศึกษา/ค้นคว้าของครูแต่ละคนมีความสมบูรณ์ กศน.ตาบล ถูกตอ้ ง หรือไม่ อยา่ งไร 3. มีการบันทึกการเข้าร่วม 3. มีการบันทึกรายงานการเข้าร่วมการ ประชุมในสมดุ บนั ทกึ ส่วนตัว เรียนรู้/รายงานผลการเข้าร่วมประชุมต่าง ๆ รายบุคคล อย่างสมา่ เสมอหรอื ไม่ อย่างไร 4. มีออกแบบการเรียนรู้ 4. มีผลงานการออกแบบสื่อนวัตกรรม กิจกรรม สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของ การเรียนรู้ ฯลฯ สอดคล้องกับสภาพความต้องการ ผู้เรยี นรายบคุ คลและ ของกลุ่มเป้าหมายและสอดคล้องกับการพัฒนา กลมุ่ เปา้ หมาย โลกในศตวรรษที่ 21 หรอื ไม่ อย่างไร กิจกรรมทีด่ ี (Good Activities) ปัจจยั ปอ้ น (Input) 1. กิจกรรมที่ออกแบบน่าสนใจ ตอบสนอง 1. มีกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ ความต้องการของชุมชน และส่งเสริมการ หลากหลาย ตอบสนองความ พัฒนาทักษะที่จาเป็นในศตวรรษ ท่ี 21 หรือไม่ สนใจและความต้องการ ของ อย่างไร ผ้เู รียนและชุมชน จากการทา เวทปี ระชาคมและสารวจความ ตอ้ งการของผ้เู รียน 2. มีการประสานเครือข่ายท่ีหลากหลาย 2. มีการประสานเครือข่าย ใน เช่น ประชาชน/ภาครัฐ/องค์กรเอกชน/สถาน ระดับตาบล ระดับอาเภอ และ ประกอบการ ฯลฯ เป็นต้น เพื่อการร่วมจัดหรือ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน สนับสนุนการจัดกิจกรรม หรือไม่ อยา่ งไร

37 ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ข้อนเิ ทศ การดาเนินงาน (Process) 1 จัดกิจกรรมสอดคล้องกับสภาพปัญหา 1. มกี ารจัดกิจกรรมสอดคลอ้ ง ความต้องการ/รองรับความเปล่ียนแปลงในทุก กบั สภาพปญั หาความตอ้ งการ มิติ หรอื ไม่ อย่างไร 2. ภาคีเครือข่ายทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วน 2. ภาคีเครือขา่ ย มีส่วนรว่ มใน รว่ มในการจดั กจิ กรรม หรอื ไม่ อยา่ งไร การจดั กิจกรรม ผลผลติ (Output) 1. กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการที่เข้าร่วม 1. กลมุ่ เป้าหมาย ผูร้ บั บรกิ ารที่ กิจกรรม มีความพงึ พอใจในระดับใด เขา้ ร่วมกจิ กรรม มีความพึง พอใจในระดับดี ขน้ึ ไป ขน้ึ ไป 2. กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการท่ีเข้าร่วม 2. กลุ่มเป้าหมาย ผูร้ ับบริการ กิจกรรม มีทักษะการเรียนรู้ สามารถคิด ร่วมวางแผนในการจัดกจิ กรรม แก้ปัญหา และวางแผนดาเนินชีวิต ได้อย่าง เหมาะสมหรือไม่ อยา่ งไร 3. กลุ่มเป้าหมาย ผู้รับบริการท่ีเข้าร่วม 3. กลมุ่ เป้าหมาย ผรู้ ับบริการที่ กิจกรรม มีคุณภาพชีวิตท่ีดีข้ึน เช่น มีสุขภาพ เขา้ รว่ มกจิ กรรม สามารถนา อนามยั ดขี ึ้น มีอาชพี /มงี านทา มีการดาเนนิ ชีวิต ความรไู้ ปปรบั ใช้ตามความ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ฯลฯ เหมาะรายบุคคล หรือไม่ อยา่ งไร สถานที่ดี น่าใช้บริการ (Good Place best Check in) ปัจจัยป้อน (Input) 1. สถานที่ กศน. ตาบล มีความเหมาะสม 1. สถานท่ี กศน. ตาบล มคี วาม หรอื ไม่ อย่างไร เหมาะสม พนื้ ทเี่ พยี งพอในการ 1) เป็นสัดส่วน มีพ้ืนที่จัดกิจกรรมที่ จดั กิจกรรม อปุ กรณ์ โต๊ะ เก้าอี้ เหมาะสม พร้อมใหบ้ รกิ าร มสี ื่อใหบ้ ริการ 2) อุปกรณ์ โต๊ะ เก้าอ้ี/ชั้นวาง/คอมพิวเตอร์ ตามความถนัดและความสนใจ อยู่ในสภาพพร้อมใช้งานและเพียงพอ ของผ้เู รียน (สื่อสงิ่ พิมพ์ สือ่ 3) สื่อ/หนังสือ/แบบเรียน มีความ สารสนเทศ และอนิ เตอร์เน็ต) หลากหลาย ทันสมยั พร้อมให้บริการ 4) มขี ้อมูลสารสนเทศทเ่ี ป็นปจั จบุ นั 5) มีความสวยงามทั้งภายในและ ภายนอก 6) มีอนิ เตอร์เนต็ พรอ้ มให้บรกิ าร

38 ประเดน็ การนิเทศ สภาพท่ีพบ ข้อนิเทศ การดาเนนิ งาน (Process) 1. ให้บริการอย่างนอ้ ย 5 วนั ตอ่ สปั ดาห์ 1. ไม่สามารถให้บริหาร 5 วนั ต่อสปั ดาห์ได้ เนื่องจากภาระ งานของ ครู กศน.ตาบล มี หลายบทบาทหน้าที่ 2. มผี ู้รับผิดชอบคอยอานวยความสะดวก 2. มีผรู้ ับผดิ ชอบคอยอานวย ความสะดวก แต่ ไมส่ ามารถ ประจาอยู่ไดต้ ลอด ข้ึนอยู่กบั ชว่ งเวลาในการประกอบอาชีพ ของนักศึกษา 3. บริการอินเตอร์เน็ตด้วยสญั ญาณ Wifi ท่ี 3. อินเตอร์เน็ตดว้ ยสัญญาณ มีความเสถียร Wifi มีความเสถียร ผลผลติ (Output) 1. ความพึงพอใจของผู้รับบริการอยู่ใน 1. ความพึงพอใจของ ระดับใด ผรู้ บั บรกิ ารอยใู่ น ระดบั ดี ข้นึ ไป 2. จานวนผรู้ ับบรกิ ารเพ่ิมขนึ้ หรอื ไม่ อย่างไร 2. จานวนผรู้ ับบริการคงที่ เครือข่ายทด่ี ี (Good Partnership) ปัจจัยปอ้ น (Input) 1. มีเครือข่ายท่ีหลากหลายท้ังในและนอก 1. มีเครอื ข่ายทหี่ ลากหลายทั้ง พน้ื ท่ีหรือไม่ อย่างไร ในและนอกพนื้ ที่ เชน่ ผู้นา ชมุ ชน หนว่ ยงานในระดับตาบล ฯลฯ 2. มีการจัดทาฐานข้อมูลเครือข่ายหรือไม่ 2. มีการจัดทาฐานข้อมูล อยา่ งไร เครือข่ายของแตล่ ะตาบล 3. มคี ณะกรรมการ กศน.ตาบลที่มีศักยภาพ 3. มีคณะกรรมการ กศน.ตาบล มีความพร้อมในการทางานหรือไม่ อยา่ งไร ทใี่ ห้ความรว่ มมือในการทางาน 4. มีการประชาสัมพันธ์กิจกรรมด้วย 4. มกี ารประชาสมั พันธก์ ิจกรรม ชอ่ งทางส่ือท่ีหลากหลายหรือไม่ ช่องทางใดบ้าง ดว้ ยชอ่ งทางส่อื บนเครอื ข่าย (ระบ)ุ อนิ เตอรเ์ น็ต ประชาสมั พันธ์ ผ่านห่อกระจายข่าว ฯลฯ 5. มีการประชุมสร้างความเข้าใจกับ 5. มกี ารประชมุ ร่วมกบั เครอื ข่ายอยา่ งสม่าเสมอหรือไม่ อยา่ งไร เครอื ข่ายอย่างสม่าเสมอ การดาเนินงาน (Process) 1. มีการประสานงานการจัดกิจกรรมกับ 1. มกี ารประสานงานการจัด เครือข่ายและ/หรือคณะกรรมการ กศน. ตาบล กิจกรรมกับเครือขา่ ยและ/หรือ อย่างตอ่ เน่ืองหรอื ไม่ อย่างไร คณะกรรมการ กศน. ตาบล

39 ประเด็นการนเิ ทศ สภาพทพ่ี บ ข้อนเิ ทศ 2. มีการดาเนินกิจกรรมร่วมกันระหว่าง 2. มกี ารดาเนนิ กิจกรรมรว่ มกัน กศน. ตาบล เครอื ขา่ ย และ/หรอื คณะกรรมการ ระหว่าง กศน. ตาบล เครือขา่ ย กศน.ตาบลอย่างสม่าเสมอหรอื ไม่ อย่างไร และ/หรอื คณะกรรมการ กศน. ตาบล 3. เครือข่ายและ/หรือคณะกรรมการ กศน. 3. เครือข่ายและ/หรือ ตาบลรว่ มติดตามผล สะท้อนผลการดาเนินงาน คณะกรรมการ กศน. ตาบลร่วม และเสนอแนะข้อมูลเพื่อการพัฒนาหรือไม่ สงั เกตการณ์ในการจัดกิจกรรม อยา่ งไร ผลผลติ (Output) 1. เครือข่ายและ/หรือคณะกรรมการ กศน. 1. เครือขา่ ยและ/หรอื ตาบล มีความพึงพอใจในระดับใด คณะกรรมการ กศน. ตาบล มี ความพงึ พอใจในระดับดี ขึ้นไป 2. จานวนภาคีเครือข่ายหลากหลายและ 2. จานวนภาคีเครอื ขา่ ย เพ่ิมขน้ึ หรือไม่ อยา่ งไร หลากหลายและเพ่ิมขน้ึ จาก การรว่ มทาเวทีประชาคมไทย นิยมย่งั ยนื 3. การประสานงานมีความราบรื่น รวดเร็ว 3. มกี ารประสานงานมีความ ส่งผลให้การดาเนินกิจกรรมเป็นไปด้วยความ ราบรืน่ รวดเร็ว สง่ ผลให้การ เรยี บร้อยหรอื ไม่ อย่างไร ดาเนนิ กจิ กรรมเป็นไปด้วย ความเรียบรอ้ ย 4. เครือข่ายและ/หรือคณะกรรมการ กศน. 4. เครือขา่ ยและ/หรือ ตาบล มีการเสนอความคิดเห็น ที่มีผลต่อการ คณะกรรมการ กศน. ตาบล มี พัฒนาดาเนินงานของ กศน. ตาบลหรือไม่ การเสนอความคดิ เห็น ที่มีผล อะไรบา้ ง (ระบุ) ตอ่ การพัฒนาดาเนินงานของ กศน. ตาบล โดยการพูดคยุ และ ให้คาปรกึ ษากบั ครู กศน.ตาบล ขอ้ เสนอแนะเพ่ือการพัฒนา - ลงช่อื ..................................................ผูส้ รุปผลการนเิ ทศ (นางสาวณัฐชยา อิม่ เพง็ ) วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2561

40 แบบบนั ทกึ การนิเทศ เรื่อง การพัฒนาระบบการประกนั คุณภาพภายในสถานศกึ ษา ปงี บประมาณ 2561 คาช้ีแจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้รับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและ หรือผู้เรียน/ผู้เกี่ยวข้อง สังเกตสภาพจริง สถานที่ กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร สื่อ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพท่ีพบ (จุดเด่น – จุดท่ีควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมท้ังข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาลงในแบบ บนั ทึกการนเิ ทศ ชือ่ สถานศกึ ษา กศน. อาเภอศรีสาโรง สานกั งาน กศน.จงั หวดั สโุ ขทยั ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพทพี่ บ ข้อนิเทศ 1. ผู้บริหารสถานศึกษาและบุคลากรของ - สถานศกึ ษาประชมุ วางแผน และ สถานศึกษา มีความรู้ความเข้าใจในระบบ จัดทาคาสั่งผู้รบั ผิดชอบ ประกนั คุณภาพการศกึ ษาหรือไม/่ อย่างไร - สถานศึกษามแี ผนการพัฒนา 1) ระบบบรหิ ารจดั การ คณุ ภาพการศึกษา และแผนปฏบิ ตั ิ 2) ระบบข้อมลู สารสนเทศ การประจาปี 3) การจัดทาแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา/ - สถานศึกษาจัดกิจกรรมตามแผน แผนปฏิบตั กิ าร โดยลงในพ้นื ท่ี กศน.ตาบล 4) การดาเนนิ งานตามแผนพัฒนาคุณภาพ - สถานศกึ ษานิเทศกต์ ิดตามการ การศกึ ษา/แผนปฏบิ ตั ิการ ดาเนนิ งานการจัดกิจกรรม 2. มีการตรวจสอบและทบทวนคุณภาพการศึกษา - สถานศึกษาจัดทารายงานการ หรอื ไม่ อยา่ งไร ประเมนิ ตนเอง ประจาปีทุกแห่ง 3. การประเมินคุณภาพการศึกษา และเผยแพรต่ ามระบบ ในเวบ็ ไซต์ 1) มีการประเมินคุณภาพภายในสถานศึกษา - สถานศกึ ษานาผลการประเมนิ ไป อยา่ งสมา่ เสมอ พัฒนาการดาเนินงาน ดา้ นการ - การรายงานการประเมินตนเอง นเิ ทศ ดา้ นการพฒั นาบุคลากร (SAR) มคี วามถกู ตอ้ ง มีหลกั ฐานน่าเชือ่ ถือ ด้านวชิ าการ - การนาผลการประเมินไปพัฒนาการ - สถานศกึ ษาดาเนนิ การระบบ ดาเนินการของสถานศึกษาอย่างเป็นระบบ ประกัน ตามขนั้ ตอน PDCA ดงั นี้ ตอ่ เนอ่ื ง ดา้ นใดบ้าง (ระบ)ุ 1. ประชุมเตรียมความพร้อม 2) การประเมนิ คุณภาพภายนอก บคุ ลากร - มีการเตรียมความพร้อมอย่างเป็น 2. แตง่ ตง้ั คณะกรรมการ ระบบ ต่อเนอ่ื ง หรือไม่ อย่างไร ผูร้ ับผดิ ชอบ 3. วางแผนกาหนดเป้าหมายและ 4. สถานศึกษาได้ดาเนินการตามระบบประกัน แนวทาง ระยะเวลาและทรัพยากร คุณภาพการศึกษาท่ีวางแผนไว้ หรือไม่ และมี ท่ใี ช้ กระบวนการขน้ั ตอนการดาเนนิ งานอย่างไร 4. ปฏบิ ัติตามแผน 5. สถานศึกษาได้นาผลสรุปจากการประกัน 5. ตรวจสอบประเมนิ ผล คุณภาพภายในสถานศึกษาท่ีผ่านมาเป็น 6. นาผลการประเมนิ มาพัฒนา ขอ้ มลู ในการพัฒนาระบบการประกันคุณภาพ ปรบั ปรุง ภายในสถานศึกษาอย่างต่อเน่ืองหรือไม่ - นาผลสรุปจากการประเมนิ ภายใน

41 ประเด็นการนิเทศ สภาพทพี่ บ ข้อนเิ ทศ อย่างไร มาจัดทาแผนในการพฒั นาในปี 6. สถานศึกษามีการติดตามผลการประกัน ต่อไป คุณภาพอย่างต่อเน่ืองหรอื ไม่ อย่างไร - สถานศึกษามกี ารนเิ ทศติดตาม 7. ผลการดาเนินงานสะท้อนหรือสอดคล้อง ตามแผน กับเป้าหมายคุณภาพท่ีสถานศึกษากาหนดไว้ - ระบบประกันคณุ ภาพภายใน มี ในแผนพัฒนาคุณภาพการศึกษาหรือไม่ ประสทิ ธิภ์ าพ เพราะสามารถ อยา่ งไร (ผลผลติ /ผลลพั ธ์) นามาใช้ในการวางแผนและพัฒนา 8. ระบบการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา งานในแตล่ ะดา้ น มีความเหมาะสม สามารถขับเคล่ือนได้อย่างมี ประสทิ ธภิ าพหรือไม่ อย่างไร ข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนา - ไมม่ ี ลงชื่อ.................................................ผ้สู รุปผลการนเิ ทศ (นางสาวณฐั ชยา อิม่ เพง็ ) วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2561

42 แบบบนั ทกึ การนิเทศ เรื่อง การสง่ เสริมคุณธรรม จริยธรรมในสถานศกึ ษา ปีงบประมาณ 2561 คาช้ีแจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้รับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและ หรอื ผเู้ รยี น/ผูเ้ กี่ยวข้อง สงั เกตสภาพจรงิ สถานท่ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร สื่อ ฯลฯ แล้ว บันทึก สภาพที่พบ (จุดเด่น – จุดท่ีควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะเพื่อการพัฒนาลงในแบบบันทึก การนเิ ทศ ชือ่ สถานศกึ ษา กศน. อาเภอศรสี าโรง สานกั งาน กศน.จงั หวัดสุโขทยั ประเดน็ การนเิ ทศ สภาพท่พี บ ข้อนเิ ทศ 1. สถานศกึ ษามคี วามรู้ ความเข้าใจเกีย่ วกบั สถานศกึ ษาคณุ ธรรมหรือไม่/อย่างไร 1.1 มีกระบวนการพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมสถานศกึ ษาอยา่ งไร 1) ผ้บู รหิ าร ครู ผ้เู รยี น และบุคลากร - กศน.อาเภอ มีการจัดทาแผน ทราบแผนการพฒั นาคุณธรรมจริยธรรมของ คณุ ธรรม มแี ผนพฒั นาสถานศกึ ษา สถานศึกษา แผนการจัดการเรยี นการสอน 2) มีภาพความสัมพนั ธท์ ี่ดรี ะหว่างครู - มีสภาพความสมั พนั ธ์ท่ีดี ระหวา่ ง ผู้เรยี นผูบ้ รหิ ารคณะกรรมการสถานศึกษาและ ผู้เรียน ครู บุคลากร ผู้บรหิ าร ผปู้ กครอง คณะกรรมการ ฯลฯ 3) ครแู ละผเู้ รียนมคี วามสขุ ยิ้มแยม้ - จากสภาพทพ่ี บ ครแู ละผเู้ รียนมี แจ่มใส ทักทาย โต้ตอบอยา่ งมสี ัมมาคารวะ ความสุขในการจดั การเรยี นการ สอนร่วมกนั 4) สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา - สภาพแวดล้อมของสถานศึกษา สะอาด รม่ ร่นื นา่ เรียน สะอาด ร่มรื่น น่าเรียน 1.2 คณะทางานมีกลไกและใชโ้ ครงการ/ - มโี ครงการกจิ กรรมด้านคุณธรรม กิจกรรมดา้ นคุณธรรมเปน็ เครื่องมือทท่ี ุกคนมี โดยจดั เปน็ กิจกรรมพฒั นาคุณภาพ ส่วนร่วมในการลงมือปฏบิ ัตเิ พ่ือพฒั นาสถานศึกษา ชวี ติ (กพช.) ด้านการเปน็ จิตอาสา 1) ครู ผเู้ รยี น ผ้บู ริหาร แบ่งงาน ในการพฒั นา ทาความสะอาด รบั ผิดชอบพัฒนาสถานศกึ ษาคณุ ธรรม กศน.ตาบล / กศน.อาเภอ 2) มโี ครงการกจิ กรรมด้านคุณธรรม - มีการจดั กิจกรรมการเรียนการ ทแ่ี ต่ละคนมสี ่วนร่วมลงมือปฏบิ ัติหรือไม่ สอนตามเกณฑ์การศึกษาขั้น อย่างไร อาทิ พ้ืนฐาน 1.3 พฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ใน - ครู ผูเ้ รียน ผ้บู รหิ าร มีวินัยในการ สถานศึกษาเพิ่มขึ้นหรือไม่ อย่างไร อาทิ ปฏบิ ตั ิตามหน้าท่ีที่รบั ผดิ ชอบจาก 1) ครู ผู้เรยี น ผบู้ รหิ าร มวี ินยั ในการ แบบประเมนิ คุณธรรม จริยธรรมใน ปฏบิ ตั ติ ามหนา้ ที่ทรี่ ับผดิ ชอบ สถานศกึ ษา 2) ครู ผูเ้ รยี น ผบู้ ริหาร มพี ฤติกรรม ที่พงึ ประสงค์ ตามคุณธรรม อัตลกั ษณ์ของ สถานศกึ ษา

43 ประเด็นการนิเทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นเิ ทศ 1.4 พฤติกรรมที่ไม่พงึ ประสงค์ใน - ผ้บู รหิ าร ครู บุคลากร ผปู้ กครอง สถานศึกษาลดลงหรือไม่ อย่างไรบ้าง (ระบุ) ชมุ ชน ร่วมมอื กนั ปฏบิ ตั ิงาน เพอ่ื 1.5 เกิดกระบวนการมีส่วนรว่ มในการ บรรลุพฤติกรรมท่ีพงึ ประสงค์ตามท่ี พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมในสถานศกึ ษาจาก กาหนดไว้ในคุณธรรมอัตลกั ษณ์ ทกุ ภาคส่วนท่เี กีย่ วข้อง เชน่ ผู้บริหาร ครู ของสถานศึกษา บคุ ลากร ผู้ปกครอง ชมุ ชน ดังต่อไปนี้ หรอื ไม่ อย่างไร 1) บรรยากาศในสถานศึกษาทกุ ภาค ส่วนรว่ มมอื กันปฏบิ ตั งิ าน ครู ผู้เรียน ผูบ้ รหิ าร รว่ มกันปฏบิ ัตงิ าน เพ่อื บรรลุ พฤติกรรมที่พึงประสงคต์ ามท่ีกาหนดไว้ใน คุณธรรมอตั ลักษณ์ของสถานศกึ ษา 1.6 มีองค์ความรู้ นวัตกรรม การสร้าง เสริมคุณธรรม จริยธรรม และบูรณาการกับ การเรยี นรู้ในชั้นเรยี นหรอื ไม่ 1.7 สถานศึกษามีความพร้อมในการเป็น แหลง่ ศกึ ษาดงู านการพัฒนาคุณธรรม จรยิ ธรรม หรอื ไม่ อย่างไร 2. สถานศึกษาไดด้ าเนนิ การตามแนวทาง มกี ารดาเนินการตามแนวทาง สถานศึกษาคุณธรรมหรือไม่/อยา่ งไร สถานศึกษาคุณธรรม โดยมี แผนการดาเนนิ งาน/โครงการ/ กิจกรรม 3. สถานศกึ ษามีการตดิ ตามผลการ มีการตดิ ตามผลการดาเนนิ การ ดาเนินงานสถานศกึ ษาคุณธรรมหรือไม่/ โดย ครู กศน.ตาบล ประเมินผล อย่างไร คุณธรรม จริยธรรมและค่านยิ มท่ี พงึ ประสงค์เป็นรายบุคคล(ภาค เรยี นละ 1 ครั้ง 4. ผลการปฏิบตั ิงานท่ีสะท้อนถงึ ผลการ ผบู้ ริหาร และบุคลากรไดร้ ับการยก พฒั นาด้านสถานศึกษาคุณธรรม (ผลผลติ / ยอ่ งเชดิ ชเู กยี รติ ไดร้ ับรางวลั ตา่ งๆ ผลลัพธ)์ รางวัลต่างๆ มีหรือไม่ อะไรบ้าง เนอ่ื งในโอกาสวนั ครูประจาปี (ระบุ) ขอ้ เสนอแนะเพื่อการพัฒนา - ไม่มี ลงช่ือ.......................................................ผสู้ รปุ ผลการนเิ ทศ (นางสาวณัฐชยา อิ่มเพ็ง) วนั ท่ี 30 สงิ หาคม 2561

44 แบบบันทึกการนิเทศ เร่อื ง พระบรมราโชบายดา้ นการศึกษาของในหลวงรัชกาลท่ี 10 ปีงบประมาณ 2561 คาชี้แจง ให้ศึกษานิเทศก์หรือผู้รับผิดชอบการนิเทศ สอบถาม สัมภาษณ์ผู้รับผิดชอบการดาเนินงาน ครูผู้สอนและ หรือผู้เรียน/ผู้เก่ียวข้อง สังเกตสภาพจริง สถานท่ี กระบวนการจัดการเรียนรู้ ตรวจเอกสารโครงการ หลักสูตร ส่ือ ฯลฯ แล้วบันทึก สภาพที่พบ (จุดเด่น – จุดท่ีควรพัฒนา) และข้อนิเทศ พร้อมทั้งข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนาลงในแบบ บนั ทกึ การนิเทศ ชื่อสถานศึกษา กศน. อาเภอศรสี าโรง กลุ่มสานักงาน กศน.จงั หวดั สโุ ขทัย ประเดน็ การนิเทศ สภาพทพ่ี บ ขอ้ นิเทศ 1. สถานศึกษาจัดให้บุคลากรและผู้เรียนมีความรู้ - มีการดาเนนิ การจดั กิจกรรม ความเข้าใจพระบรมราโชบายด้านการศึกษา เก่ยี วกับพลเมืองให้กบั นักศึกษา ของในหลวงรชั กาลที่ 10 หรอื ไมอ่ ยา่ งไร กศน. ตามเน้ือหาวชิ าหลกั สตู ร 1.1 มที ัศนคตทิ ถ่ี ูกต้องตอ่ บ้านเมือง การศกึ ษาข้นั พน้ื ฐาน 1) มคี วามรู้ความเขา้ ใจตอ่ บ้านเมือง - มีการจดั กจิ กรรมค่ายคณุ ธรรม 2) ยึดม่ันในศาสนา จรยิ ธรรม ไดแ้ ก่ ค่ายลูกเสือ-ยุว 3) มน่ั คงในสถาบนั พระมหากษัตรยิ ์ กาชาด , ค่ายเยาวชนปอ้ งกันยา 4) มีความเอ้ืออาทรต่อครอบครัว เสพติด ฯลฯ และชุมชนของตน - ครู กศน.สอดแทรกเนื้อหา ให้ 1.2 มพี ้ืนฐานชีวิตท่มี ่ันคง – มีคุณธรรม ผเู้ รยี นประพฤตติ นเป็นผมู้ ีคุณธรรม 1) รจู้ ักแยกแยะส่งิ ที่ผิด–ชอบ/ชว่ั -ดี จริยธรรม การเปน็ พลเมืองดี 2) ปฏบิ ตั แิ ต่ส่ิงท่ีชอบ สิ่งท่ดี งี าม - มีการจดั กจิ กรรมตามพระบรมรา 3) ปฏเิ สธสงิ่ ที่ผดิ ส่ิงที่ช่วั โชบายรชั กาลที่ 10 ในด้านจิตอาสา 4) ชว่ ยกันสร้างคนดีใหแ้ กบ่ ้านเมือง บาเพ็ญประโยชน์ 1.3 มีงานทา – มีอาชีพ 1) การเลี้ยงดูลูกหลานในครอบครัว หรือการฝึกฝนอบรมในสถานศึกษาต้องมุ่งให้ เด็กและเยาวชนรักงาน สู้งาน ทาจนงาน สาเรจ็ 2) การฝึกฝนอบรมท้ังในหลักสูตร และนอกหลักสูตรต้องมีจุดมุ่งหมายให้ผู้เรียน ทางานเปน็ และมงี านทาในทส่ี ุด 3) สถานศึกษามีวิธีการสนับสนุน ผู้สาเร็จหลักสูตร มีอาชีพ มีงานทา จน สามารถเลย้ี งตวั เองและครอบครัว 1.4 เปน็ พลเมืองดี 1) การเปน็ พลเมืองดี เป็นหน้าที่ของ ทกุ คน 2) ครอบครัว-สถานศึกษาและสถาน ประกอบการต้องส่งเสริมให้ทุกคนมีโอกาสทา

ประเด็นการนเิ ทศ 45 ขอ้ นเิ ทศ หน้าที่เปน็ พลเมอื งดี สภาพทีพ่ บ 3) การเป็นพลเมืองดี “เห็นอะไรที่จะ ทาเพื่อบ้านเมืองได้ก็ต้องทา” เช่น งาน อาสาสมัคร งานบาเพ็ญประโยชน์ งานสาธารณ กศุ ลให้ทาดว้ ยความมีนา้ ใจ และความเอ้ืออาทร 2. สถานศึกษาได้ดาเนินการตามพระบรม ราโชบายของในหลวงรัชกาลที่ 10 หรือไม่ และมีกระบวนการขั้นตอนการดาเนินงาน อย่างไร 3. สถานศึกษามีการตดิ ตามผลการดาเนินงาน ตามพระบรมราโชบายของในหลวงรัชกาลท่ี 10 หรือไม่ อย่างไร 4. ผลการปฏิบัติงานที่สะท้อนถึงผลการ พัฒนาด้านพระบรมราโชบายด้านการศึกษา ของในหลวงรชั กาลท่ี 10 (ผลผลิต/ผลลัพธ)์ ขอ้ เสนอแนะเพือ่ การพัฒนา - ไม่มี ลงชือ่ .................................................ผู้สรุปผลการนเิ ทศ (นางสาวณฐั ชยา อิ่มเพง็ ) วนั ท่ี 30 สิงหาคม 2561


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook