Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore กระบวนการบำรุงรักษาสวิตช์คาปาซิเตอร์ 2563

กระบวนการบำรุงรักษาสวิตช์คาปาซิเตอร์ 2563

Published by ยงวิทย์ เพชรโชติ, 2020-05-02 04:50:30

Description: OPK กระบวนการบำรุงรักษาสวิตช์คาปาซิเตอร์ 2563

Keywords: Capacitor

Search

Read the Text Version

คู่มืออกงาคร์คปวฏาิบมัตรู้ิงาน (On(eWPorinktMKannouwalel)dge) กระกบรวนะบกาวรนบงาํ ราุงนรกั ษาราสจดวั ติฝชึ กค์ อาบปารซมิเตอร์ สายงานการไฟฟาภาค 4 ผอู นุมัติ (คณะกรรมการ KM หรือหวั หนา หนว ยงาน) การไฟฟาสว นภมู ภิ าคเขต 3 ภาคใต (ยะลา) (ลงชอ่ื ).................................................................. ฝา ยปฏิบัติการและบํารงุ รกั ษา กองบํารุงรักษา ตําแหนง.................................................................. ……..…/…..……/……..… รหัส OPK

๑การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค สารบญั บทท่ี 1 บทนํา............................................................................................................................................1 1.1 วตั ถปุ ระสงค.................................................................................................................................................................... 1 1.2 ขอบเขต ........................................................................................................................................................................... 1 1.3 คําจาํ กัดความ.................................................................................................................................................................. 2 บทท่ี 2 ความรูพ้นื ฐานเกีย่ วกับสวิตชคาปาซิเตอร .....................................................................................33 2.1 หลักการทํางานของสวติ ชค าปาซิเตอร........................................................................................................................... 3 2.2 ชนดิ ของสวิตชค าปาซิเตอร............................................................................................................................................. 3 2.2.1 สวติ ชคาปาซิเตอรแบบ Time control ............................................................................................................. 3 2.2.2 สวิตชค าปาซเิ ตอรแบ Var control .................................................................................................................... 4 บทที่ 3 กระบวนการบาํ รุงรกั ษาสวิตชคาปาซิเตอร ....................................................................................63 3.1 การจดั ทาํ แผนบํารุงรักษาสวติ ชคาปาซเิ ตอรประจําป................................................................................................... 6 3.2 การเปดใบสั่งงานบํารุงรักษาสวิตชคาปาซเิ ตอร ............................................................................................................ 6 3.3 การทาํ บนั ทึกแจง กําหนดการเขาบํารุงรักษาสวิตชค าปาซเิ ตอร................................................................................... 6 3.4 ขั้นตอนการบาํ รุงรักษาสวิตชคาปาซเิ ตอร ..................................................................................................................... 6 3.4.1 การตรวจสอบสภาพทัว่ ไปและการอา นขอ มลู ตูค วบคมุ ...................................................................................... 6 3.4.2 ขั้นตอนการปลดสวิตชค าปาซิเตอรเพือ่ ทาํ การบํารุงรักษา ................................................................................. 9 3.4.3 การบาํ รุงรักษาตัวออยลสวติ ช...........................................................................................................................13 3.4.4 การบาํ รุงรักษาชดุ คาปาซิเตอร..........................................................................................................................15 3.4.5 การบํารุงรกั ษาตูควบคมุ สวติ ชค าปาซิเตอร......................................................................................................17 3.4.6 การวดั คาความตา นทานหลกั ดิน ......................................................................................................................21 3.4.7 การนําสวติ ชค าปาซิเตอรเขาระบบ...................................................................................................................21 3.5 การรายงานผลการบาํ รุงรักษา................................................................................................................ 22 3.6 การปดใบสง่ั งานบาํ รงุ รักษา ................................................................................................................... 22 ภาคผนวก .....................................................................................................................................................I แบบฟอรม การบํารงุ รกั ษา (Check Sheet) ..................................................................................................................................II กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๒การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค สารบญั รปู ภาพ รปู ที่ 1 ภายในตคู วบคุมสวิตชคาปาซิเตอรแบบ Time control ......................................................................4 รปู ที่ 2 ตคู วบคุมสวิตชคาปาซเิ ตอรแบบ Var control.....................................................................................5 รูปท่ี 3 การตรวจสอบสภาพการตดิ ต้ังสวติ ชค าปาซิเตอร .................................................................................7 รูปท่ี 4 การอาน Counter ..............................................................................................................................7 รปู ท่ี 5 การอานคาเวลาปลด-สับสวติ ชค าปาซิเตอร (เขา SET 1).....................................................................8 รปู ท่ี 6 หนาจอแสดงเวลาสับ และปลดสวิตชค าปาซิเตอร................................................................................9 รูปที่ 7 สถานะสวิตชคาปาซิเตอรที่ตคู วบคุม.................................................................................................10 รูปท่ี 8 สถานะสวิตชค าปาซิเตอรที่ตัวออยลสวิตช ........................................................................................11 รูปท่ี 9 การปรับต้ัง Selector switch ตําแหนง Local และ Manual ........................................................12 รูปที่ 10 แสดง D/F ทตี่ อ งการปลด..............................................................................................................13 รปู ท่ี 11 แสดงภายในตวั ออยลสวิตช............................................................................................................14 รปู ท่ี 12 แสดงตําแหนงหวงแดงใชสําหรับ Close – Open ออยลสวติ ชดวยไมชกั ฟวส................................15 รูปที่ 13 แสดง Name plate ของคาปาซิเตอร............................................................................................16 รปู ท่ี 14 อุปกรณภายในตูควบคุมสวิตชคาปาซิเตอร.....................................................................................17 รปู ท่ี 15 แสดงชดุ สายที่ตอ ไปยังออยลสวิตช ................................................................................................18 รูปท่ี 16 แสดงการ Magnetic contactor Close .......................................................................................19 รปู ที่ 17 แสดงการ Magnetic contactor Trip...........................................................................................20 รปู ที่ 18 ระยะการวดั คาความตานทานดิน...................................................................................................21 กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๓การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค บทที่ 1 บทนํา แผนกบํารุงรักษาอุปกรณสายสงและระบบจาํ หนาย กองบํารุงรักษา ฝายปฎิบัติการและบํารุงรักษา การ ไฟฟาสวนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต(ยะลา) มีหนาท่ีบํารุงรักษาและแกไขอุปกรณในระบบสายสง 115 kV และใน ระบบจําหนา ย 33 kV คาปาซเิ ตอรนับวา เปนอุปกรณท่สี ําคัญในระบบจําหนายของการไฟฟาสวนภูมิภาค เพราะเปนอุปกรณที่ทํา หนาท่ีเพิ่มประสิทธภิ าพในระบบจําหนาย ชวยลดหนว ยสญู เสียในระบบ เพิ่มความสามารถในการรับโหลด และเพ่ิม แรงดันไฟฟา ในระบบ สวิตชคาปาซิเตอรท่ีมีใช ในพ้ืนท่ีการไฟฟาสวนภูมิภาค เขต 3 ภาคใต(ยะลา) สวนมากจะเปนแบบ Time control และมีตัวสวิตชเปนแบบ Oil switch ซึ่งใชน้ํามันเปนฉนวน และเปนตัวดับอารกท่ีเกิดขึ้นดวย ดังน้ันคูมือ กระบวนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรท่ีจัดทําขึ้นน้ี จึงเปนกระบวนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรชนิด Time control และตัวสวิตชเปนแบบออยลสวิตช (ฉนวนนํ้ามัน) ซ่ึงจะใชเปนคูมือในการบํารุงรักษาสวิตช คาปาซิเตอรแบบ Time control ในพื้นที่ การไฟฟา สว นภูมิภาคเขต 3 ภาคใต(ยะลา) ตอไป 1.1 วัตถปุ ระสงค 1.) เพ่ือรวบรวมความรูเก่ียวกับการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรแบบ Time control และตัวสวิตชเปน แบบ Oil switch 2.) เพ่ือถายทอดองคความรูเก่ียวกับกระบวนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรแบบ Time control และ ตัวสวติ ชเ ปนแบบ Oil switch) 1.2 ขอบเขต 1.2.1) สําหรับงานบํารุงรักษาเชิงปองกันสวิตชคาปาซิเตอรแบบ Time control และตัวสวิตชเปนแบบ Oil switch ซึ่งตคู วบคมุ เปนผลติ ภัณฑ SAHAMIT MACHINERY และตวั สวิตชเปนผลิตภัณฑ Cooper Type TSC 1.2.2) สาํ หรบั กลมุ เปาหมายผูปฎิบัติงานดา นการบาํ รงุ รักษาสวิตชค าปาซิเตอร กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๔การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค 1.3 คําจาํ กดั ความ 1.3.1) สวิตชคาปาซิเตอร หมายถึง อุปกรณท่ีสามารถปลด – สับ ชุดคาปาซิเตอร เขาไปในระบบไฟฟา เพือ่ เพ่มิ ประสิทธิภาพในการจา ยไฟ ลดคาสญู เสยี และยกระดบั แรงดนั ในระบบไฟฟา 1.3.2) การบํารุงรักษาเชิงปองกัน หมายถึง การบํารุงรักษาโดยมีเปาหมายเพ่ือปองกันหรือลดการชํารุด โดยไมท ราบสาเหตุใหเกดิ นอ ยทีส่ ดุ เพ่ือการบรหิ ารจดั การสินทรพั ยอยา งมีประสิทธิภาพ กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๕การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค บทที่ 2 ความรูพื้นฐานเก่ียวกับสวิตชคาปาซิเตอร ในระบบจําหนายกระแสไฟฟาในระดับแรงดัน 33 เควีน้ัน โหลดในระบบไฟฟาโดยท่ัวไปจะประกอบดวย โหลด R และ L ซึ่งทําใหเกิดคารีแอคทีฟเพาเวอรในระบบ และใหมีกระแสไหลในสายมากข้ึน ประสิทธิภาพใน ระบบลดลง และเมื่อมีการจายไฟในระยะทางที่ไกล จะทําใหเกิดแรงดันตก ดังนั้นเพื่อแกปญหาดังกลาว จึงมีการ ติดตั้งคาปาซิเตอรในระบบ โดยการติดต้ังมีท้ังแบบ Fix Capacitor และ Switch Capacitor ในบทน้ีจะกลาวถึง หลักการทํางาน และชนดิ ของสวติ ชคาปาซิเตอร 2.1 หลกั การทํางานของสวิตชค าปาซิเตอร สวิตชคาปาซิเตอร เปนอุปกรณเพิ่มประสิทธิภาพในระบบจําหนายไฟฟา โดยจะปลด-สบั ชุดคาปาซิเตอร เขาไปในระบบจําหนาย เพิ่มคา Power factor ในระบบ ลดคาสูญเสียในระบบ และทําใหระดบั แรงดันมีคาสูงขึ้น โดยปลด-สบั ตามเงอื่ นไขทก่ี าํ หนดไว 2.2 ชนดิ ของสวิตชค าปาซเิ ตอร สวิตชคาปาซิเตอรสามารถจําแนกชนิดไดหลายแบบดวยกัน คือ แบงตามชนิดของตัวดับอารค (Interrupt) แยกไดเปน ดับอารคดวยนํ้ามัน และ ดับอารคดวยสุญญากาศ แบงตามชนิดของการควบคุม แยกได เปน Time control , Var control , P.F. control และ Voltage control ในท่ีน้ีจะบรรยายถงึ เฉพาะสวิตชคาปา ซิเตอรทม่ี ีใชภ ายในการไฟฟาสวนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต(ยะลา) เทา น้ัน 2.2.1 สวิตชค าปาซิเตอรแบบ Time control สวติ ชค าปาซิเตอรแ บบ Time control เปนสวิตชคาปาซิเตอรท ี่มีตูควบคุมใชการกําหนดเวลา การปลด-สับสวิตชคาปาซิเตอร โดยสามารถต้ังเวลาปลด-สับที่ตูควบคุม เม่ือถึงเวลาสวิตชตูควบคุมก็จะสั่งใหตัว สวติ ชสับชุดคาปาซิเตอรเขาไปในระบบ และเม่ือถึงเวลาปลด ตูควบคุมกจ็ ะส่ังใหส วิตชปลดชุดคาปาซิเตอรออกจาก ระบบ ภายในตคู วบคุมสวติ ชคาปาซิเตอรแ บบ Time control ดังรูปที่ 1 กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๖การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ที่ 1 ภายในตูควบคุมสวติ ชคาปาซิเตอรแบบ Time control 2.2.2 สวิตชค าปาซิเตอรแบบ Var control สวิตชคาปาซิเตอรแบบ Var control เปนสวิตชคาปาซิเตอรท่ีมีตูควบคุมใชการกําหนดคา Var ในระบบ เปนตัวควบคุมการปลด-สับสวิตชคาปาซิเตอร โดยสามารถต้ังคา Var ที่จะสับ และคา Var ที่จะปลดไดที่ ตูควบคุม เม่ือคา Var ถึงคาที่ปรับต้ังใหสับสวิตช ตูควบคุมก็จะสั่งใหตัวสวิตชสับชุดคาปาซิเตอรเขาไปในระบบ และเมื่อคา Var ถึงคาท่ีปรับต้ังใหปลดสวิตช ตูควบคุมก็จะสั่งใหสวิตชปลดชุดคาปาซิเตอรออกจากระบบ ภายใน ตูค วบคุมสวิตชคาปาซิเตอรแบบ Var control ดังรูปท่ี 2 กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๗การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ท่ี 2 ตคู วบคมุ สวติ ชค าปาซิเตอรแ บบ Var control แผนกบํารุงรักษาอุปกรณสายสงและระบบจําหนาย กองบํารุงรักษา ฝายปฎิบัติการและบํารุงรักษา การ ไฟฟาสวนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต(ยะลา) มีหนาที่บํารุงรักษาและแกไขอุปกรณในระบบสายสง 115 kV และใน ระบบจําหนาย 33 kV สวิตชคาปาซิเตอรนับวาเปนอุปกรณท่ีสําคัญในระบบจําหนายของการไฟฟาสวนภูมิภาค เพราะเปน อุปกรณสําคัญท่ีทําหนาที่เพิ่มประสิทธิภาพในระบบไฟฟา ชว ยปรับปรุงคาเพาเวอรแฟคเตอรในระบบ และชวยลด หนวยสูญเสียในระบบ ซึ่งหนวยสูญเสียในระบบที่มีคาสูงเปนปญหาที่สําคัญปญหาหนึ่งของ กฟภ. และยังปรับปรุง แรงดนั ในระบบไมใหแ รงดันตกอีกดว ย สวิตชคาปาซิเตอรแบบ Time control และตัวสวิตชเปนแบบ Oil switch มีติดต้ังใชงานในพื้นท่ีการ ไฟฟาสวนภูมิภาค เขต 3 ภาคใต(ยะลา) มากกวา 90% ดังนั้นคูมือกระบวนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรที่ จัดทําขึ้นนี้ จึงเปนกระบวนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรแบบ Time control และตัวสวิตชเปนแบบ Oil switch ซ่ึงจะใชเปนคูมือในการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรในพ้ืนที่ การไฟฟาสวนภูมิภาคเขต 3 ภาคใต(ยะลา) ตอ ไป กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๘การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค บทท่ี 3 กระบวนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอร กระบวนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอร หมายถึง การดําเนินการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรเชิง ปอ งกัน (Preventive Maintenance) ซึ่งครอบคลุมต้ังแตการจัดทาํ แผนงานบํารงุ รักษาสวติ ชคาปาซเิ ตอรประจําป การเปดใบส่ังงานบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอร การทําบันทึกแจงกําหนดการเขาบํารุงรักษสวิตชคาปาซิเตอร ข้ันตอนการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอร การรายงานผลการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอร และการปดใบสั่งงาน บํารุงรกั ษาสวิตชคาปาซิเตอร 3.1 การจัดทาํ แผนบาํ รงุ รกั ษาสวิตชคาปาซเิ ตอรประจําป ในการจดั ทาํ แผนบํารงุ รกั ษาสวิตชคาปาซิเตอร ประจําปนนั้ จะมีหลักเกณฑในการบํารุงรกั ษาสวิตชคาปาซิ เตอร คอื 1 ปตอคร้งั 3.2 การเปดใบสงั่ งานบํารงุ รกั ษาสวติ ชค าปาซเิ ตอร ในการเปดใบส่ังงานบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอร ในระบบ SAP นั้น จะทําการเปดใบส่ังงานเปนประเภท ZPM4 ใบสั่งงานบํารุงรักษา(PM) และเลือกกิจกรรมเปน ZP1 งานบํารุงรักษาทั่วไป จากน้ันปอนขอมูลตางๆ ตาม กระบวนการเปดใบส่งั งานตามปกติ แลวเสนอ อก.บษ.(ต.3) เพือ่ อนมุ ัตใิ บส่ังงาน 3.3 การทาํ บนั ทกึ แจงกาํ หนดการเขา บํารุงรกั ษาสวิตชค าปาซเิ ตอร ในการเขาบํารงุ รักษาสวิตชคาปาซิเตอรแตละสัปดาหนั้น จะตองมีการแจง กปบ.(ผคฟ.) และ การไฟฟาใน พนื้ ท่ที ่ีจะบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรเพ่ือใหร ับทราบแผนการบํารุงรักษาลวงหนา โดยเมื่อถึงวันท่ีบํารงุ รกั ษา ทาง กบษ.(ต.3) (ผบอ.) จะประสานงานกับสวนเกี่ยวขอ งอีกครง้ั หนงึ่ 3.4 ขั้นตอนการบํารงุ รกั ษาสวติ ชคาปาซิเตอร ในการบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรจะทําการบันทึกขอมูลลงในแบบฟอรมการตรวจสอบ/บํารุงรักษา สวติ ชค าปาซเิ ตอร โดยมีขั้นตอนการบาํ รุงรักษาดงั ตอไปนี้ 3.4.1 การตรวจสอบสภาพทวั่ ไป และอา นขอมูลตคู วบคุม 3.4.1.1 การตรวจสอบสภาพท่ัวไป เปนการตรวจสอบสภาพตางๆ โดยการสังเกต แลวบันทึก ขอ มูลลงในแบบฟอรม ตรวจสอบ/บํารงุ รักษาสวิตชคาปาซิเตอร ในหวั ขอที่ 1 (1.1 – 1.6) กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๙การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ท่ี 3 การตรวจสอบสภาพการตดิ ตั้งสวติ ชค าปาซิเตอร 3.4.1.2 การอาน Counter กอนบํารุงรักษา (Check sheet ขอ 3.1) โดยสามารถอานคาจาก ตวั Counter ในตูควบคมุ สวติ ชค าปาซิเตอรไดเลย รูปท่ี 4 การอา น Counter กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๐การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค 3.4.1.3 การอานคาเวลาในการปลด-สับ สวิตชคาปาซิเตอร (Check sheet ขอ 3.2) ใหอานที่ ตวั Timer แบบ digital ผลิตภัณฑ ETI โดยทาํ ตามขัน้ ตอนดังน้ี 1.) กดปุม PRG คา งไว จนขึ้นคําวา SET 1 จากน้นั กดปมุ OK รูปที่ 5 การอา นคาเวลาปลด-สับ สวติ ชค าปาซิเตอร (เขา SET1) กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๑การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค 2.) กดปุม + (PRG) หรือ – (MAN) เพื่อเล่ือนหาเมนู Edit แลวกดปุม OK ก็จะไดเวลาสับสวิตช คาปาซเิ ตอร (On) จากนั้นกดปมุ + (PRG) หรือ – (MAN) เพ่อื ดเู วลาปลดสวิตชคาปาซิเตอร (OFF) รูปท่ี 6 หนา จอแสดงเวลาสับ และปลดสวิตชคาปาซิเตอร 3.4.2 ขัน้ ตอนการปลดสวติ ชคาปาซเิ ตอรเ พ่ือทาํ การบํารุงรักษา 3.4.2.1 แจงศูนยควบคุมการจายไฟเพื่อปลดสวิตชคาปาซิเตอรออกจากระบบ เพื่อทําการ บาํ รงุ รักษา 3.4.2.2 ตรวจสอบสถานะท่ตี ู และทตี่ วั ออยลสวติ ช กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๒การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รูปที่ 7 สถานะสวิตชคาปาซิเตอรท ี่ตคู วบคุม กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๓การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ท่ี 8 สถานะสวิตชคาปาซิเตอรท ีต่ ัวออยลส วติ ช 3.4.2.3 หากสวิตชคาปาซิเตอรสถานะ Close ใหทําการปลดใหมีสถานะ Open โดยปรับ Selector switch ท่ีตูใหอยูในโหมด Local และ Manual จากน้ันทําการกดปุม Open แลวทําการตรวจสอบ สถานะทตี่ แู ละตัวออยลสวติ ช ใหมีสถานะ Open กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๔การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รูปที่ 9 การปรับตั้ง Selector switch ตาํ แหนง Local และ Manual 3.4.2.4 ปลด Dropout Fuse Cut out ออกท้ัง 3 เฟส กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๕การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ที่ 10 แสดงชุด D/F ทจ่ี ะตอ งทาํ การปลด 3.4.2.5 รอใหค าปาซเิ ตอรคายประจุเปนเวลาอยา งนอย 10 นาที 3.4.3 การบํารงุ รกั ษาตวั ออยลสวติ ช 3.4.3.1 ยึดคัฟวิ่งฮอยกับตวั ออยลสวติ ช และปลายอกี ดานหนึ่งยดึ กับถังออยลส วิตช 3.4.3.2 แกะนอตที่ตัวออยลสวิตชแลวคอยๆ ปลดถังออยลสวิตช ใหหยอนลงมาจนมีพ้ืนท่ีที่จะ ทําความสะอาดตัวออยลส วติ ช ได 3.4.3.3 ทําความสะอาดช้ินสว นกลไกภายในตัวออยลสวติ ช และถงั ออยลสวติ ช กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๖การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รูปท่ี 11 แสดงภายในตัวออยลสวติ ช 3.4.3.4 นําน้ํามันในตัวออยลสวิตชไปทดสอบคาความเปนฉนวน หากมีคาความเปนฉนวนตํ่า กวาเกณฑ ใหเ ปลย่ี นถา ยนํ้ามันใหม 3.4.3.5 ประกอบตวั ออยลส วิตชใหส มบรู ณเหมือนเดิม 3.4.3.6 ปลดสายที่ดาน Source และ Load ของออยลสวิตช จากน้ันทําความสะอาดที่ข้ัว/ขอ ตอ สายทบี่ ชุ ช่ิงทุกอัน และทําความสะอาดที่ปลายสาย 3.4.3.7 Close ออยลสวิตชโดยใชไมชักฟวส ดึงที่หวงแดง แลวดูสถานะออยลสวิตชให เปลี่ยนเปน Close กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๗การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ที่ 12 แสดงตําแหนง หวงแดงใชสําหรับ Close – Open ออยลสวติ ชด วยไมชกั ฟว ส 3.4.3.8 ทดสอบคาความตานทานฉนวนออยลสวิตชระหวาง A-G,B-G,C-G คาความตานทาน ฉนวน จะตอ งมคี า ไมนอยกวา 1000 MΩ (Check sheet ขอ 3.2) 3.4.3.9 ทดสอบคาความตานทานฉนวนออยลสวิตชระหวาง A-B,B-C,A-C คาความตานทาน ฉนวน จะตอ งมคี า ไมนอยกวา 1000 MΩ (Check sheet ขอ 3.2) 3.4.3.10 ปลดออยลสวิตชโดยใชไมชักฟวส ดึงท่ีหวงแดง แลวดูสถานะออยลสวิตชให เปลี่ยนเปน Open 3.4.3.11 ใสส ายที่ดาน Source และดา น Load ของออยลสวิตชก ลับเขา ไป 3.4.4 การบํารงุ รักษาชุดคาปาซเิ ตอร 3.4.4.1 ถอดกระบอกฟว สปองกันตัวคาปาซิเตอรใหหมดทุกตวั 3.4.4.2 วัดคา C ของคาปาซิเตอรแตละตัว คาที่วัดไดหากมีคาไมสูงเกินกวา 10% และไมตํ่า เกินกวา 5% ของคาท่ี Name plate แสดงวา คาปาซเิ ตอรต ัวน้ันมีคา C อยูในเกณฑปกติ กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๘การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ที่ 13 แสดง Name plate ของคาปาซิเตอร 3.4.4.3 วัดคาอิมพีแดนซที่ขั้วของคาปาซิเตอรเทียบกับตัวถังคาปาซิเตอร ซ่ึงเปนการ วัดคาความตานทานฉนวนของตัวคาปาซิเตอร แตเนื่องจากคาปาซิเตอรท ี่ติดตั้งในพ้ืนท่ี กฟต.๓ เปนคาปาซิเตอรใน พกิ ัด ๑๙ เควี เปนแบบ ๑ บุชชง่ิ สวนอกี ดานหนึ่งจะตอ ลงกราวดที่ตวั ถัง ซึ่งภายในตัวคาปาซิเตอรจะมีตัวตานทาน ตอไวสําหรับคายประจุเมื่อไมมกี ารจายไฟ ดังน้ันคาที่วดั ไดจงึ เปนการวัดคาความตานทานฉนวนของตวั คาปาซิเตอร ตอขนานกับคาความตานทานสําหรับคายประจุ ซึ่งหากคาที่วัดไดมีคาไมนอยกวา ๕ MΩ แสดงวาคาปาซิเตอรตัว นัน้ ปกติ 3.4.4.4 ใสก ระบอกฟวสปองกันตัวคาปาซิเตอรกลับเขาไปยงั ท่ีเดิมใหห มดทุกตวั 3.4.4.5 กวดขนั จดุ ตอ ทุกจุดท่ีคาปาซเิ ตอร และท่ีแผนเพลททองแดง กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๑๙การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค 3.4.5 การบาํ รงุ รักษาตูค วบคุมสวติ ชคาปาซเิ ตอร 3.4.5.1 ตรวจสอบอปุ กรณทกุ ตัวภายในตูควบคุมสวิตชคาปาซิเตอร รปู ที่ 14 อปุ กรณภายในตูควบคุมสวิตชคาปาซิเตอร 3.4.5.2 ทาํ ความสะอาดภายในตูควบคุมสวติ ชค าปาซิเตอร 3.4.5.3 สับ D/F เพอื่ ทดสอบการทํางานของชดุ สวติ ชค าปาซิเตอร 3.4.5.4 ทดสอบการทํางานของตูควบคุมโดยการตั้ง Selector switch ไปที่ Mode Local และ Manual และปลดสายที่ตอไปยังออยลสวิตช คือสายท่ีชุดบัส XF7 ดานลาง ท่ีเทอรมินอล 2,5,6,7 และ 10 รวมทั้งหมด 5 เสน กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๒๐การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ที่ 15 แสดงชดุ สายทตี่ อไปยังออยลสวิตช 3.4.5.5 กดปุม Close ที่ตูควบคุมสวิตชคาปาซิเตอร แลวสังเกตดูวา Magnetec contactor Close ทํางานหรือไม หากทํางาน ใหนําสายมาตอระหวางเทอรมินอล 2 และ 10 เพื่อใหสถานะ Close ทํางาน ไฟแสดงสถานะ จะแสดงสถานะ Close และ Magnetec contactor จะหยุดทาํ งาน กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๒๑การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ที่ 16 แสดง Magnetic contactor Close 3.4.5.6 กดปุม Open ท่ีตูควบคุมสวิตชคาปาซิเตอร แลวสังเกตดูวา Magnetec contactor Trip ทํางานหรือไม หากทํางาน ใหปลดสายท่ีตอระหวางเทอรมินอล 2 และ 10 เพ่ือใหสถานะ Open ทาํ งาน ไฟแสดงสถานะจะแสดงสถานะ Open และ Magnetec contactor จะหยุดทาํ งาน กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๒๒การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค รปู ที่ 17 แสดง Magnetic contactor Trip 3.4.5.7 ปรับ Selector switch มาอยูที่ตําแหนง Auto แลวทําการปรับต้ังเวลาการ ทํางานให On ในเวลาปจจุบัน แลวสังเกตดูวา Magnetec contactor Close ทํางานหรือไม หากทํางาน ใหนํา สายมาตอระหวางเทอรมินอล 2 และ 10 เพื่อใหสถานะ Close ทํางาน ไฟแสดงสถานะ จะแสดงสถานะ Close และ Magnetec contactor จะหยดุ ทํางาน 3.4.5.8 ทําการปรับต้ังเวลาการทํางานให Off ในเวลาปจจุบัน แลวสังเกตดูวา Magnetec contactor Trip ทํางานหรือไม หากทํางานใหปลดสายท่ีตอระหวางเทอรมินอล 2 และ 10 เพ่ือให สถานะ Open ทาํ งาน ไฟแสดงสถานะจะแสดงสถานะ Open และ Magnetec contactor จะหยุดทาํ งาน 3.4.5.9 ปรับ Selector switch มาอยูที่ตําแหนง Manual แลวทําการตอสายไปยัง ออยลสวติ ชท้ังหมด ทาํ การปรับตั้งเวลาการปลด-สับ ใหต รงตามอนมุ ัตเิ วลาปลด-สับสวิตชค าปาซิเตอร 3.4.5.10 ตรวจสอบวัน เวลา วาถูกตองหรือไม หากไมถกู ตอ งใหเขาไปแกท ี่ SET 2 กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๒๓การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค 3.4.6 การวัดคาความตา นทานหลักดิน การวัดคา ความตา นทานหลักดินของอุปกรณโดยใชร ะยะดงั รูป SwitcRheCcalopsaecritor Ground 6.18 m 10 m *ระยะ 6.18 ม. และ 10 ม. เป็นระยะตัวอย่าง รูปท่ี 18 ระยะการวัดคา ความตานทานดิน 3.4.7 การนําสวติ ชค าปาซิเตอรเขาระบบ 3.4.7.1 ประสานศูนยควบคุมการจายไฟ เพ่ือตรวจสอบคา Reactive power กอนนําสวิตชคา ปาซเิ ตอรเ ขา ระบบ 3.4.7.2 สบั D/F ท้ัง 3 เฟส 3.4.7.3 ตั้ง Selector switch ใหอ ยใู น Mode Local และ Manual 3.4.7.4 ตรวจสอบ Timer Analog (Timer Block close) ใหข ึ้นสถานะพรอม Close 3.4.7.5 กดปุม Close ท่ีหนาตูควบคุมสวิตชคาปาซิเตอร จากน้ันใหสังเกตสถานะที่ตัวออยล สวิตช และทต่ี คู วบคมุ ตอ งเปล่ียนเปนสถานะ Close 3.4.7.6 ประสานศูนยควบคุมการจายไฟ เพ่ือตรวจสอบคา Reactive power หลัง Close สวิตชค าปาซเิ ตอรเขาระบบ กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

๒๔การไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค 3.4.7.7 ต้ัง Selector switch ใหอยูในตําแหนงที่ กปบ.(ต.3) กําหนดไว เชน ชุดสวิตชคาปาซิ เตอรท่ีตอชุดระบบ SCADA ใหตั้งในตําแหนง Remote สวนชุดท่ีไมไดตอระบบ SCADA ใหปรับตั้งไปที่ Mode Local และ Auto 3.5 การรายงานผลการบาํ รุงรักษา เมื่อบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรในแตละสัปดาหแลวเสร็จ ใหทําบันทึกรายงานผลการบํารุงรักษาสวิตช คาปาซิเตอรใหก ับ กปบ.(ต.3) และการไฟฟา ในพื้นที่ท่ีบํารุงรักษาสวติ ชคาปาซิเตอรเพื่อรับทราบผลการบาํ รงุ รกั ษา 3.6 การปด ใบสงั่ งานบาํ รุงรักษาสวติ ชค าปาซเิ ตอร เมื่อบํารุงรักษาสวิตชคาปาซิเตอรแลวเสร็จ ใหยืนยันการปฏิบัติงาน(IW41) ในระบบ SAP เม่ือยืนยันการ ปฏิบัติงานแลวเสร็จ หากไมมีการเบิกอุปกรณแลว ใหปดใบสั่งงานทางเทคนิค(TECO) และเมื่อเบิกคาใชจาย ครบถว นแลว ใหทาํ การปด ใบส่งั งานทางธรุ กิจ(CLSD) กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

Iการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค ภาคผนวก กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

IIการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค แบบฟอรมบํารุงรักษา (Check Sheet) กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์

IIIการไฟฟ้าส่วนภูมภิ าค กระบวนการบาํ รุงรักษาสวติ ชค์ าปาซิเตอร์