Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานการฝึกโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ19

รายงานการฝึกโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ19

Published by กาญจนา แก้วรัตน์, 2020-04-14 07:41:30

Description: รายงานการฝึกโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ19

Search

Read the Text Version

รายงานการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ ชุมชนหมู่ที่ 2 ตาบลบ้านตูล อาเภอชะอวด จังหวดั นครศรีธรรมราช นางสาวสุจินันท์ สงศิริ รหัสประจาตวั นักศึกษา 611250019 รายงานฉบบั นีเ้ ป็ นส่วนหนึ่งของวชิ าโครงการพฒั นาทักษะวชิ าชีพ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพช้ันสูงปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ ช้ันปี ที่ 2 รุ่นที่ 15 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา

คานา รายงานฉบับน้ีเป็ นส่วนหน่ึงของวิชาโครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ ของนักศึกษาหลักสูตร ประกาศนียบตั รวิชาชีพช้นั สูง สาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ วิทยาลยั การสาธารณสุขสิรินธร จงั หวดั ยะลา โดยการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพคร้ังน้ี นกั ศึกษาได้ฝึ กประสบการณ์ในพ้ืนท่ี ชุมชนหมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช เป็ นการศึกษาชุมชนในดา้ นต่าง ๆ มีการเก็บรวบรวม ขอ้ มูลจากชุมชน โดยการสัมภาษณ์ สังเกต และจากขอ้ มูลทุติยภูมิเพ่ือให้ทราบ และเขา้ ใจถึงวิถีของคนใน ชุมชน และมองเห็นสภาพปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดข้ึนภายในชุมชน โดยเฉพาะปัญหาดา้ นฉุกเฉินการแพทย์ และ นาไปสู่การวางแผนพฒั นา แกไ้ ขปัญหาชุมชนไดอ้ ยา่ งตรงจุด และสอดคลอ้ งกบั วิถีชุมชน โดยการมีส่วน ร่วมของชุมชน อนั นาไปสู่การมีสุขภาพ และคุณภาพชีวติ ที่ดีภายในชุมชน ซ่ึงทาใหเ้ กิดการพฒั นาอยา่ งยงั่ ยนื เพอ่ื เตรียมความพร้อมสู่การฝึกประสบการณ์จริง และเป็นบุคลากรทางดา้ นสาธารณสุขตอ่ ไป ผู้จัดทาหวัง เป็ นอยา่ งย่ิงว่า ขอ้ มูลต่าง ๆ ในเล่มรายงานฉบบั น้ีจะสามารถนาไปประยุกต์ใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ และเป็ น แนวทางในการพฒั นา แกป้ ัญหาในดา้ นต่าง ๆ ของชุมชน และเพอื่ เป็นแนวทางในการศึกษาตอ่ ไป ผู้จัดทา นางสาวสุจินนั ท์ สงศิริ

กติ ติกรรมประกาศ การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพในคร้ังน้ี นกั ศึกษาหลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพช้ันสูง ปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2 วทิ ยาลยั การสาธารณสุขสิริธร จงั หวดั ยะลา ไดท้ าการศึกษา ในพ้ืนท่ีของตนเอง โดยการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพคร้ังน้ีนักศึกษาไดฝ้ ึ กประสบการณ์ในพ้ืนที่ ชุมชนหมู่ท่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ไดส้ าเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี โดยไดร้ ับความ กรุณาจากบุคคลหลายท่าน ทางกลุ่มนกั ศึกษารู้สึกซาบซ้ึงในความกรุณาที่มีให้ จึงใคร่ขอขอบพระคุณเป็ น อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบพระคุณอาจารย์ ดร.ภคั ณฐั วีรขจร ท่ีไดใ้ หค้ าแนะนา ท่ีไดป้ ระสิทธ์ิประสาทวชิ า ก่อให้เกิด ความรู้ในการฝึกปฏิบตั ิงาน จนสามารถปฏิบตั ิงานไดเ้ ป็ นอยา่ งดี ขอขอบพระคุณเจา้ หนา้ ที่อาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมู่บา้ นในชุมชนหมู่ที่ 2 ท่ีคอยใหค้ วาม ช่วยเหลือ แนะนา ให้คาปรึกษา ตลอดการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพและให้ความช่วยเหลือ แนะนา ใหค้ าปรึกษา ตลอดการฝึกปฏิบตั ิงานในคร้ังน้ี ขอขอบพระคุณชาวบา้ นชุมชน หมูท่ ี่ 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ท่ีให้ ขอ้ มูลในการศึกษาคร้ังน้ี และเขา้ มามีส่วนร่วมในการดาเนินโครงการ ในทุกกิจกรรมที่นกั ศึกษาจดั ข้ึนและ สาเร็จลุล่วงไปไดด้ ว้ ยดี สุดทา้ ยน้ี นกั ศึกษาขอขอบพระคุณทุกท่านท่ีมีส่วนเกี่ยวขอ้ ง ทาให้การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะ วชิ าชีพในคร้ังน้ี ประสบความสาเร็จลุล่วงไปดว้ ยดี สารบญั

เร่ือง หน้า คานา ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบญั ค บทท่ี 1 บทนา 1 1 1.1 ความเป็นมาและความสาคญั ของการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 2 1.2 วตั ถุประสงคข์ องการวจิ ยั 2 1.3 กระบวนการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 3 บทที่ 2 บริบทชุมชน 3 2.1 เเผนท่ีเดินดิน 4 2.2 ฝังเครือญาติ 6 2.3 โครงสร้างองคก์ รชุมชน 11 2.4 ระบบสุขภาพชุมชน 12 2.5 ปฏิทินชุมชน 13 2.6 ประวตั ิศาสตร์ชุมชน 14 2.7 ประวตั ิบุคคลสาคญั 17 บทท่ี 3 การวนิ ิจฉยั ชุมชน 17 3.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 18 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มลู 18 3.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 28 3.4 การวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา 29 3.5 ปัญหาและการจดั ลาดบั ของปัญหา 30 บทท่ี 4 แผนงาน/โครงการ 30 4.1 แผนงาน/โครงการ 39 4.2 ระดบั ความพงึ พอใจต่อโครงการ 44 4.3 สรุปผลการดาเนินโครงการ

สารบญั ( ต่อ ) หนา้ 47 เร่ือง 47 บทที่ 5 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ อภิปรายและขอ้ เสนอแนะ 48 5.1 สรุปผลการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 48 5.2 อภิปรายผล 49 5.3 ขอ้ เสนอแนะการฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 50 ภาคผนวก 52 ภาคผนวก ก ภาพทากิจกรรมโครงการ ห่างไกลโรคเบาหวาน 59 ภาคผนวก ข แบบสอบถามขอ้ มลู สภาพปัญหาของประชาชนในชุมชน 60 ภาคผนวก ค แบบทดสอบความรู้เรื่องโรคเบาหวาน 61 ภาคผนวก ง แบบประเมินความพงึ พอใจการเขา้ ร่วมโครงการห่างไกล โรคเบาหวาน 62 ภาคผนวก จ แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการห่างไกลโรคเบาหวาน บรรณานุกรม

บทที่ 1 ส่ วนนาโครงการ 1.1ความเป็ นมาและความสาคญั ของการฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ องคก์ ารอนามยั โลก (WHO) รายงานวา่ ปัจจุบนั มีผูป้ ่ วยโรคเบาหวานทว่ั โลกเป็ นจานวน มากกวา่ 425 ลา้ นคน และมีแนวโนม้ เพิ่มข้ึนถึง 642 ลา้ นคนในปี พ.ศ. 2583 จากผลสารวจสุขภาพประชาชน ไทยคร้ังล่าสุดเม่ือปี 2557 พบวา่ คนไทยประมาณ 4.8 ลา้ นคนเป็ นโรคเบาหวาน และมีจานวนเพิ่มข้ึนทุกปี จากสถิติพบวา่ ประชากรในวยั ผใู้ หญ่ 1 ใน 11 คน เป็ นโรคเบาหวาน และ ผทู้ ี่เป็ นโรคเบาหวานร้อยละ 50 ไม่ทราบวา่ ตนเองเป็ นโรค และคุณอาจเป็ นหน่ึงในน้นั ดงั น้นั การตรวจคดั กรองโรคแต่เนิ่น และเขา้ รับการ รักษาอยา่ งทนั ทว่ งที จะช่วยลดความรุนแรงของอาการแทรกซอ้ นจากโรคได้ จากการสารวจข้อมูลครัวเรื อน หมู่ที่ 2 ตาบลบ้านตูล อาเภอชะอวด จังหวัด นครศรีธรรมราช เดือนมีนาคม 2563 มีจานวนครัวเรือนท้งั สิ้น 400 ครัวเรือน ซ่ึงจากการสารวจครัวเรือน พบวา่ มีประชาชนท่ีเป็นโรคเบาหวาน จานวน 60 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ15 จากสถานการณ์และความสาคญั ดงั กล่าวนางสาวสุจินนั ท์ สงศิริ นักศึกษาช้นั ปี ท่ี 2 หลกั สูตรฉุกเฉิน การแพทย์ รุ่นที่ 15 เล็งเห็นวา่ ประชาชนหมู่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีความ เส่ียงท่ีจะเป็นโรคเบาหวาน เพราะมีค่าร้อยละของบา้ นสารวจที่พบจานวนของผทู้ ่ีเป็ นเบาหวาน และมีค่าร้อย ละของการกินของหวานเกินประมาณ เกินจากเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนดไว้ จึงไดจ้ ดั โครงการ รณรงค์ ป้ องกนั และควบคุมโรคเบาหวาน หมู่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ข้ึน เพอื่ ใหป้ ระชาชนในชุมชนมีความรู้เรื่องการป้ องกนั โรคเบาหวานเพอื่ ลดอตั ราการป่ วยดว้ ยโรคเบาหวานและ ควบคุมค่า CI และ HI ในหมู่บา้ น และเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้ องกนั โรคเบาหวานในหมู่ 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช

1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพ่ือใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้ องกนั โรคเบาหวานท่ีถูกวธิ ีและเหมาะสม 1.2.2 เพอื่ ลดค่าดชั นีของโรคเบาหวาน 1.2.3 เพ่อื ใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการป้ องกนั โรคเบาหวานในครัวเรือน 1.3 กระบวนการเตรียมฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ 1.3.1 กรอบแนวคดิ การฝึ กโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ การฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวิชาชีพ ปัญหาดา้ นสุขภาพดา้ นในชุมชนหมู่ท่ี 2ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ภาพท่ี 1.1 กรอบแนวคิดการเตรียมฝึกโครงการพฒั นาทกั ษะวชิ าชีพ

บทท่ี 2 บริบทชุมชน เคร่ืองมือ 7 ชิ้น เครื่องมือ 7 ชิ้น เป็ นเคร่ืองมือทใี่ ช้ในการเข้าถึงพืน้ ท่ีของชุมชน และบ่งบอกถึงความสาคัญของกลุ่ม ผู้คนว่ามีความผูกพันธ์ุในวงศ์สกุลเดียวกัน สามารถช่วยแนะนาปัญหาบางอย่างของครอบครัวที่สามารถ เกดิ ขึน้ ได้และยงั ทาให้รู้จักกลุ่มงานต่างๆ ในชุมชน เข้าหาชุมชนได้ง่ายขึน้ ได้เรียนรู้การรักษาตนเองของคน ในชุมชน เข้าใจวถิ ชี ีวติ ของคนในชุมชนและทส่ี าคญั เป็ นเครื่องมือทใี่ ช้เป็ นใบเบิกทางเพอื่ การกลมกลนื เข้ากบั ชุมชนน้ัน 1.แผนทเ่ี ดินดนิ

2.ผงั เครือญาติ ผงั เครือญาติคือ การถอดความสมั พนั ธ์ในเชิงเครือญาติ หรือเชิงสายเลือดในชุมชน มีความสาคญั ต่อการทาความเขา้ ใจชุมชนและสงั คม ไมว่ า่ จะเป็นสังคมเมืองหรือสงั คมชนบท เพราะเครือญาติเป็น ความสมั พนั ธ์ที่เป็นรากฐานท่ีสุดของชีวติ ครอบครัว การทาผงั เครือญาติจึงมีส่วนสาคญั ในการทาความ เขา้ ใจระบบความสัมพนั ธ์ในครอบครัวและชุมชน เป้ าหมายสาคญั ของผงั เครือญาติ 1.เขา้ ใจโครงสร้างความสมั พนั ธ์เชิงเครือญาติซ่ึงเป็นรากฐานของครอบครัวและชุมชน 2.รู้จกั ตวั บุคคลและความสัมพนั ธ์ทางสงั คมของเขาไดใ้ นระยะเวลาอนั ส้ัน 3.ช่วยสร้างความสมั พนั ธ์และความสนิทคุน้ เคยระหวา่ งเจา้ หนา้ ที่กบั ชาวบา้ นไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว 4. ทาใหท้ ราบเก่ียวกบั สุขภาพหรือโรคติดตอ่ ของคนในครอบครัว เพ่ือป้ องกนั และแกไ้ ขปัญหาสุขภาพน้นั ๆ สัญลกั ษณ์แทนในผงั เครือญาติ สัญลกั ษณ์แทนบิดามารดาที่เสียชีวติ แลว้ สญั ลกั ษณ์แทนผชู้ าย สญั ลกั ษณ์แทนผหู้ ญิง สัญลกั ษณ์แทนการแตง่ งาน

ผงั เคร นายนพ ผนู พล / นางจีน นายชื่น เรือง นายเสถียร สงศิริ/ นายผอม ผนู พล/ พะวงั / นางเจียน สงศิริ นางสมชวน ผนู ผล นางนิด เรืองพะวงั นางสาวจุฑ นายรัตน์ สงศิริ นางสาวปัณฑารีย์ สงศิริ นางสาวฐิติชญา สงศิริ นายเอกภกั ด์ิ สงศิรสิ งศิริ นางสาวสุจินนั ท์ สงศิริ สสสสสสสสงศิริสงศิริ

รือญาติ น ผนู พล นายวนิ ยั ผนู ผล/ นายคานึง ผนู ผล/ นางนวย ผนู ผล นางสาวนุย้ ผนู ผล ฑามาศ ผนู ผล นายอาพล ผนู พล นายอดิศร ผนู ผล นายสรรเพชร ผนู ผล

3. โครงสร้างองค์กรชุมชน รายช่ือประธานและอาสาสมคั รชุมชน นายภทั รกร เกตุสุวรรณ ประธาน นายสุชาติ ขนุ ภกั ดี รองประธาน นายโสภา พลายดว้ ง นายอนนั ต์ คงแกว้ เลขานุการ กรรมการฝ่ ายสวสั ดิการสงั คม นางเหมือนขวญั เพง็ จนั ทร์ นางสุนีย์ เรียบร้อย กรรมการฝ่ ายพฒั นา กรรมการฝ่ ายป้ องกนั นายวนิ ยั บารุงแกว้ นางณฐั ชา แกว้ ใจดี กรรมการฝ่ ายกลุ่มสตรี กรรมการฝ่ ายการคลงั นางสุจิตรา สิมสีพิม นายประสงค์ นิ่มเรือง กรรมการฝ่ ายกลุ่มสตรี กรรมการฝ่ ายการศึกษา

รายช่ือคณะกรรมการทป่ี รึกษาชุมชน นายสุรเชษฐ์ แสงสุริยนั ท่ีปรึกษา นายสุรศกั ด์ิ ทองเสน ท่ีปรึกษา นางสมใจ เนาวส์ ุวรรณ ที่ปรึกษา นางสาวติ ตรี จนั ทร์แกว้ ท่ีปรึกษา คณะกรรมการที่ปรึกษามี นายสุรเชษฐ์ แสงสุริยนั นายสุรศกั ด์ิ ทองเสน นางสมใจ เนาวส์ ุวรรณ นางสาวิตตรี จนั ทร์แก้ว บทบาทการทางานของคณะกรรมการท่ีปรึกษาส่วนใหญ่มีหน้าที่ปรึกษากับ ประธานชุมชน รองประธาน และ คณะกรรมการ ซ่ึงประธานกรรมการมีบทบาทในการบริหารชุมชนโดยมี ประชาชนเป็นผสู้ นบั สนุน

รายชื่อประธานอาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชน หมู่ท2่ี ตาบลบ้านตูล อาเอชะอวด จังหวดั นครศรีธรรมราช นยอภิวฒั น์ รุ่งเอียด ประธานอาสาสมคั รสาธารสุข นงสมพร ไชยสุวรรณ นางลดั ดาพร ฉุนเฉียว สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสมนึก เกตุสุวรรณ นางสาวรัชนก ชุ่มจอม สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางกนกพร คงทอง นายวชิ รุต ปโมชนียกลุ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางธานิฐศร ธรรมจิตต์ นางวมิ ลรัตน์ บุญกาญจน์ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางกนกวรรณ นุ่นเกล้ียง นางจิรนนั ท์ แสงสุวรรณ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางกาญจนา รุ่งเอียด นางสุธิดา แสงปาน สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข นางสุภาพร ศรประจกั ษช์ ยั นาวสินี ธรรมจิตต์ สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข สมาชิกอาสาสมคั รสาธารณสุข

อาสาสมคั รสาธารณสุขชุมชนหมู่ท่ี 2 เป็ นองค์กรที่ดูแลสุขภาพของประชาชนในชุมชน เฝ้ าคอย ระวงั โรคตา่ ง ๆ ในชุมชน มีบทบาทใหค้ วามรู้เก่ียวกบั การดูแลสุขภาพของชุมชน โดยมี นางสาวประภา ดา บา้ นใหม่ เป็ นประธาน โดยบทบาทหลกั ๆ ของ อาสาสมคั รสาธารณสุขในชุมชนหมู่ที่ 4 ส่วนใหญ่จะ ประชาสัมพนั ธ์เกี่ยวกบั การตรวจสุขภาพของประชาชน รวมท้งั เชิญชวนให้ประชาชนเขา้ รับการอบรมให้ ความรู้เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครัวเรือน

กล่มุ สตรี นางจาเนียร อนิ ทะโน หัวหน้ากล่มุ สตรี คณะกรรมการพฒั นาสตรีเป็ นกลุ่มเป้ าหมายในการดาเนินการขบั เคลื่อนการดาเนินงานจดั ประชุม สตรีในหม่บู า้ นเพื่อแนะนาการจดั ทาครอบครัวพฒั นาตามคุณลกั ษณะที่กาหนดร่วมกบั ครอบครัวเป้ าหมายท่ี เขา้ ร่วมโครงการวางแผนการพฒั นาประสานองค์กรหน่วยงานท่ีเกี่ยวขอ้ งเพ่ือ ร่วมส่งเสริม/และพฒั นา ครอบครัว กล่มุ ผู้สูงอายุ นายศุภชาติ ตรีแก้ว หวั หน้ากล่มุ ผู้สูงอายุ ชมรมผูส้ ูงอายุเป็ นการรวมกลุ่มของผสู้ ูงอายุท่ีมีอายุเกิน ๖๐ ปี ข้ึนไป อยา่ งนอ้ ย ๒๐ คน และอาจมี คนวยั อ่ืน ท้งั วยั ทางาน เด็ก เยาวชน เขา้ ร่วมเป็ นสมาชิกสมทบ แต่ไม่ควรเกิน ๑ ใน ๔ ของสมาชิกท่ีเป็ นวยั สูงอายุโดยมีวตั ถุประสงค์ตรงกนั ในการดาเนินกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ท้งั ต่อตนเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม และมีการกาหนดระเบียบข้อบงั คบั ในการบริหารชมรม ท้งั น้ี ชมรมผูส้ ูงอายุอาจอยู่ภายใตส้ ังกัด หน่วยงาน องคก์ ร หรืออาจเป็นชมรมอิสระท่ีไมส่ งั กดั หน่วยงานใดก็ได้

4.ระบบสุขภาพ รพ.สต.บา้ นตลู สถานพยาบาล ระบบสุขภาพชุมชน คลนี ิค อาเภอชะอวด จังหวดั คลนี ิคปิ ยะมาศ

วดั ควนเงิน ศาสนา สถานทอ่ี อกกาลงั กาย น หมู่ท่ี 2 บ้านตูล สนามกีฬาโรงเรียนบา้ นควนเงิน ดนครศรีธรรมราช

5. ปฏทิ นิ ชุมชน กุมภาพนั ธ์ มนี าคม เมษายน มถิ ุนายน -วันสงกรานต์ มกราคม กรกฎาคม -รดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ -วนั ปี ใหม่ -แข่งกีฬาชุมชน สิงหาคม พฤษภาคม พฤศจิกายน -ลอยกระธง ธันวาคม กนั ยายน ตุลาคม -วนั สิ้นปี -บุญสาทรเดือนสิบ -ประเพณีชกั พระ กจิ กรรมภายในแต่ละเดอื น กจิ กรรม -ตกั บาตรวนั ขน้ึ ปีใหม่ เดือน -ใหท้ านไฟ มกราคม -รดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ เมษายน -ประกวดนางนพมาศ -แขง่ กฬี าสขี องแต่ชุมชน กรกฎาคม กนั ยายน -กิจกรรมบุญสาทรเดือนสิบ -กิจกรรมแห่หมบั ตุลาคม พฤศจิกายน -กิจกรรมประเพณีชกั พระ ธนั วาคม -กจิ กรรมลอยกระธง -สวดมนตข์ า้ มปี -ตกั บาตรเทโว -ใหท้ านไฟ

6. ประวตั ิศาสตร์ชุมชน ประวตั คิ วามเป็ นมา ตาบลบา้ นตลู เป็นตาบลหน่ึงใน 11 ตาบลของอาเภอชะอวด ไดแ้ ยกออกจากตาบลท่าประจะ มีจานวนหมู่บา้ น 4 หมบู่ า้ น ไดแ้ ก่ หมู่ 1 บา้ นตูล หมู่ 2 บา้ นควนเงิน หมู่ 3 บา้ นกมุ แป หมู่ 4 บา้ นทุง่ ปราณ พนื้ ที่ มีเน้ือที่ท้งั หมดประมาณ 50,724 ไร่ พ้นื ท่ีส่วนใหญเ่ ป็นที่ราบ ใชเ้ ป็นพ้ืนท่ีการเกษตร สภาพอากาศมี 2 ฤดู คือ ฤดู ร้อนและฤดูฝน เขตพนื้ ท่ี ทิศเหนือ ติดกบั ตาบลควนพงั อาเภอร่อนพบิ ูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศใต้ ติดกบั ตาบลชะอวด และ ตาบลทา่ ประจะ อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ออก ติดกบั ตาบลสวนหลวง อาเภอเฉลิมพระเกียรติ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทิศตะวนั ตก ติดกบั ตาบลควนหนองหงษ์ อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช อาชีพ อาชีพหลกั ทานา ทาสวน อาชีพเสริม รับจา้ ง คา้ ขาย สาธารณปู โภค จานวนครัวเรือนท่ีมีไฟฟ้ าใชใ้ นเขต อบต. 1,400 ครัวเรือน จานวนบา้ นที่มีโทรศพั ท์ 65 หลงั คาเรือน คิดเป็ นร้อย ละ 0.83 ของจานวนหลงั คาเรือน การเดนิ ทาง เดินทางโดยถนนสายชะอวด - บอ่ ลอ้ ระยะทาง 9 กม. จากอาเภอชะอวดถึงตาบลบา้ นตลู ผลติ ภณั ฑ์ ปลาแหง้ , จกั สานกระจูด งานประเพณี - ประเพณีการรดน้าดาหวั ผใู้ หญ่ - ประเพณีสาทรเดือนสิบ

สถานทส่ี าคัญ - ธนาคารหม่บู า้ น - สถานท่ีประชุมประจาหมู่บา้ น

7.ประวตั ิชีวติ 1.ประวตั ิชีวิต นายภทั รกร เกตุสุวรรณ(ประธานชุมชนหมู่ท่ี 2 คนปัจจุบนั ) ข้อมูลทว่ั ไป -ช่ือ นายภทั รกร เกตุสุวรรณ (ประธานชุมชนหมูท่ ่ี 2 คนปัจจุบนั ) -เกิดเม่ือวนั ที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ.2510 ปัจจุบนั อายุ 53 ปี -สญั ชาติ ไทย นบั ถือศาสนา พทุ ธ -ที่อยอู่ าศยั 61/1 หมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีรรมราช -มีพ่นี อ้ งท้งั หมด8 คน เป็ นบุตรคนท่ี 4 -ไมม่ ีโรคประจาตวั ประวตั ดิ ้านการศึกษา - จบช้นั ประถมศึกษาปี ท่ี 6 จากโรงเรียนบา้ นควนเงิน อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช - จบช้นั มธั ยมศึกษาปี ที่ 6 โรงเรียนชะอวดวทิ ยาคาร ประวตั ิด้านการทางาน -ดารงตาแหน่งประธานชุมชนหมู่ที่ 4 ต้งั แตป่ ี พ.ศ.2562

-อายกุ ารทางาน 1 ปี บทที่ 3 การวนิ ิจฉัยชุมชน การศึกษาชุมชนหมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ในคร้ังน้ีเป็นการศึกษาใน รูปแบบ การสารวจ สงั เกต การสัมภาษณ์ ซ่ึงมีข้นั ตอนในการวนิ ิจฉยั ชุมชนมี ดงั น้ี 3.1 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 3.2 การวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3.3 ผลการวเิ คราะห์ขอ้ มูล 3.4 ปัญหา และการจดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา 3.5 การวเิ คราะห์สาเหตุของปัญหา 3.1 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.1.1 การรวบรวมขอ้ มูลปฐมภมู ิ เป็นการเก็บขอ้ มลู เพิม่ เติมจากแหล่งทุติยภมู ิ ซ่ึงขอ้ มูลดงั กล่าวมี ความสาคญั มาก เพราะช่วยใหม้ องเห็นสภาพปัญหาในชุมชนชดั เจนข้ึน และขอ้ มูลที่ไดเ้ ป็นขอ้ มูลปัจจุบนั มาก ที่สุด วธิ ีการเกบ็ รวมรวบขอ้ มูลปฐมภมู ิประกอบดว้ ย 3.1.1.1 การสงั เกต เป็ นการสังเกตสภาพทว่ั ไปของชุมชนและพฤติกรรมต่าง ๆ ของประชาชน ในชุมชน โดยที่ผถู้ ูกสังเกตไมร่ ู้ตวั เพอ่ื นาขอ้ มูลมาสนบั สนุนในการวิเคราะห์ปัญหา 3.1.1.2 การสัมภาษณ์ เป็นการสัมภาษณ์จากแบบสอบถามที่เตรียมคาถามต่าง ๆ ไวพ้ ร้อม แลว้ และจดั พมิ พไ์ วเ้ ป็นแบบฟอร์มเดียวกนั สาหรับใชก้ บั ผถู้ ูกสัมภาษณ์ทุกคน โดยคาถามจะเป็นท้งั คาถาม แบบปลายปิ ดและแบบปลายเปิ ด เพ่ือเปิ ดโอกาสใหผ้ ถู้ ูกสมั ภาษณ์แสดงความคิดเห็น 3.1.2 การรวบรวมขอ้ มูลทุติยภมู ิ เป็นการรวบรวมขอ้ มูลทุติยภมู ิ หรือขอ้ มลู ที่รวบรวมไวท้ ี่องคก์ รใน หมบู่ า้ น ซ่ึงขอ้ มลู ดงั กล่าวน้นั ทาใหท้ ราบวา่ ควรหาขอ้ มูลดา้ นใด เพิม่ เติม เพ่ือนามาใชใ้ น การสนบั สนุนใน กระบวนการวเิ คราะห์ปัญหา การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบ่งออกเป็ น 5 ตอน ดังนี้ ตอนท่ี 1 ขอ้ มลู ทวั่ ไป ตอนที่ 2 ขอ้ มูลความรู้เก่ียวกบั โรคเบาหวาน ตอนที่ 3 ขอ้ มูลดา้ นสุขภาพในชุมชน

ตอนที่ 4 ขอ้ มลู ความรู้เก่ียวกบั โรค ตอนท่ี 5 ขอ้ มูลความรู้เกี่ยวกบั การดูแลสุขภาพเบ้ืองตน้ 3.2 การวเิ คราะห์ข้อมูล ขอ้ มลู ที่ไดจ้ าการรวบรวมน้นั จะนามาวเิ คราะห์ตามข้นั ตอนการวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั น้ี 3.2.1 บรรณาธิการขอ้ มูลดิบเป็นการตรวจสอบความถูกตอ้ งและความสมบรู ณ์ของขอ้ มลู 3.2.2 การแจกแจงความถี่ โดยใชโ้ ปรแกรมสาเร็จรูป แลว้ นามาวเิ คราะห์ขอ้ มลู ในรูปแบบ ร้อยละ และ นาเสนอในรูปแบบก่ึงบทความ ก่ึงตารางเพื่อความสะดวก การเปรียบเทียบขอ้ มลู สาหรับขอ้ มูลเชิง ปริมาณ 3.2.3 การสรุปขอ้ มลู เชิงคุณภาพ นาเสนอในรูปแบบบทความ เพือ่ ความเขา้ ใจ 3.3 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล จากการศึกษาชุมชนหมทู่ ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวนครัวเรือน โดยประมาณ 10 หลงั คาเรือน ไดร้ วบรวมขอ้ มลู จากรายงานต่าง ๆ จากสานกั งานกระทรวงสาธารณสุข จงั หวดั ยะลาและอาสาสมคั รสาธารณสุขประจาหมบู่ า้ นในชุมชน ซ่ึงจะนาเสนอตามลาดบั ดงั ต่อไปน้ี 3.3.1 ขอ้ มลู ทว่ั ไป จากการสารวจแบบสอบถามประชาชนในชุมชน หมทู่ ่ี 4 ตาบลเสาธง อาเภอร่อน พิบูลย์ จงั หวดั นครศรีธรรมราช ทาใหท้ ราบถึงบริบทของชุมชน และปัญหาดา้ นสุขภาพ ตารางท่ี 1 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านเพศ N = 10 เพศ จานวน ร้อยละ ชาย 5 50 หญิง 5 50 รวม 10 100 จากตารางท่ี 1 พบวา่ สถานภาพทว่ั ไปของผตู้ อบแบบสอบถามเป็นเพศหญิงร้อยละ 60 ผตู้ อบแบบสอบถามเพศ ชายร้อยละ 40 สรุปไดว้ า่ คนในชุมชน ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง

ตารางที่ 2 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านอายุ N = 10 อายุ จานวน ร้อยละ ต่ากวา่ 20 ปี 6 60 20 ปี ข้ึนไป 4 40 รวม 10 100 จากตารางท่ี 2 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอายสุ ่วนใหญ่อยใู่ นช่วงอายตุ ่ากวา่ 20 ปี ร้อยละ 50 ช่วงอายุ 20 ปี ข้ึนไป ร้อยละ 50 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนที่ทาแบบสอบถามอยใู่ นช่วงอายุ ต่ากวา่ 20 ปี ถึง 20 ปี ข้ึนไป เทา่ กนั ตารางที่ 3 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านสถานะภาพ N = 10 สถานภาพ จานวน ร้อยละ โสด 7 70 สมรส 3 30 หยา่ 0 0 หมา้ ยเน่ืองจากคู่สมรสเสียชีวติ 0 0 แยกกนั อยู่ 0 0 รวม 10 100 จากตารางที่ 3 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามดา้ นสถานภาพโสด ร้อยละ 70 รองลงมาอยใู่ นสถานภาพ สมรส ร้อยละ 30 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญ่ที่ทาแบบสอบถามมีสถานโสด



ตารางท่ี 4 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านระดับการศึกษาสูงสุด N = 10 ระดับการศึกษาสูงสุด จานวน ร้อยละ ไม่ไดเ้ รียนหนงั สือ 0 0 ประถมศึกษา 0 0 มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) 5 50 มธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6) 4 40 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพ (ปวช.) 0 0 หรือเทียบเทา่ 0 0 ประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูง (ปวส.) หรือเทียบเท่า ปริญญาตรี 1 10 ปริญญาโท 0 0 ปริญญาเอก 0 0 รวม 10 100 จากตารางที่ 4 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นการศึกษาระดบั มธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3) ร้อยละ 50 รองลงมาระดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนปลาย(ม.4-ม.6) ร้อยละ 40 ระดบั ปริญญาตรี ร้อยละ 10 ตามลาดบั สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญท่ ่ีทาแบบสอบถามมีระดบั การศึกษามธั ยมศึกษาตอนตน้ (ม.1-ม.3)

ตารางท่ี 5 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทว่ั ไปของผ้ตู อบแบบสอบถามในด้านอาชีพหลกั ของครอบครัว N = 10 อาชีพหลกั ของครอบครัว จานวน ร้อยละ รับจา้ งทว่ั ไป 0 0 เกษตรกร 9 90 ประมง 0 0 ขา้ ราชการ/ลูกจา้ งหรือพนกั งาน 0 0 ของรัฐ พนกั งานรัฐวสิ าหกิจ 0 0 เจา้ หนา้ ท่ีองคก์ รปกครองส่วน 0 0 ทอ้ งถิ่น 1 10 คา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตวั 0 0 0 0 พนกั งาน/ลูกจา้ งเอกชน 0 0 วา่ งงาน/ไมม่ ีงานทา อ่ืนๆ รวม 10 100 จากตารางที่ 5 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นอาชีพหลกั ของครอบครัวอาชีพเกษตรกรมากท่ีสุด ร้อยละ 90 รองลงมาอาชีพคา้ ขาย/ธุรกิจส่วนตวั ร้อยละ 10 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญท่ ี่ทา แบบสอบถามอาชีพหลกั ของครอบครัวคือ เกษตรกร

ตารางท่ี 6 แสดงค่าร้อยละของสถานภาพทวั่ ไปของผู้ตอบแบบสอบถามในด้านโรคประจาตวั N = 10 โรคประจาตัว จานวน ร้อยละ ไมม่ ีโรคประจาตวั 9 90 มีโรคประจาตวั 1 10 รวม 10 100 จากตารางที่ 6 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามในดา้ นโรคประจาตวั เป็นผทู้ ่ีมีไม่มีโรคประจาตวั ร้อยละ 90 รองลงมาเป็ นผทู้ ี่มีโรคประจาตวั ร้อยละ 10 สรุปไดว้ า่ ประชากรในชุมชนส่วนใหญท่ ่ีทาแบบสอบถามไมม่ ีโรค ประจาตวั ตารางที่ 7 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนด้านเศรษฐกจิ ปัญหาด้านเศรษฐกจิ มากทส่ี ุด ระดับปัญหา 5 รายไดจ้ ากการประกอบอาชีพหลกั ไม่เพยี งพอ 3 มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด ไมม่ ีอาชีพเสริม 1 4 3 21 กเู้ งินจากหน้ีระบบเพ่ิมข้ึน 1 7 0 00 ครัวเรือนมีรายไดไ้ ม่เพยี งพอในการใชจ้ า่ ย 9 0 00 ประจาเดือน 3 9 0 00 ผลผลิตทางการเกษตรตกต่า/ขาดทุน การวา่ งงานของคนในชุมชนเพ่ิมข้ึน 2 7 0 00 ขาดที่ดินทากินเป็ นของตนเอง 1 ภยั แลง้ ซ้าซาก 1 8 0 00 การเล่นการพนนั ในชุมชน 1 9 0 00 ขาดความรู้เกี่ยวกบั เศรษฐกิจพอเพียง 1 9 0 00 1 9 0 00 9 0 00 9 0 00

จากตารางท่ี 7 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาของประชาชนดา้ นเศรษฐกิจ สรุปไดว้ า่ ปัญหาปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ มีคา่ เฉลี่ยเลขคณิตสูงที่สุดคือ 2.12 และมีคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.81 ตารางท่ี 8 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนด้านสังคม ปัญหาด้านสังคม มากทส่ี ุด ระดับปัญหา น้อยทส่ี ุด 5 1 ยาเสพติดระบาดในชุมชนเพิ่มข้ึน 0 มาก ปานกลาง น้อย 0 กลุ่มคนในชุมชนขาดความเขา้ ใจซ่ึงกนั และกนั 0 4 32 0 ทะเลาะเบาะแวง้ กนั ขาดความสามคั คี 0 0 10 0 0 คนในชุมชนขาดจิตสานึกในการพฒั นาตนเอง 0 0 10 0 0 ความเหล่ือมล้าทางสังคมของคนรวยและคนจนใน 0 10 0 ชุมชน 0 0 10 0 0 สุขลกั ษณะเช่น ขยะมูลฝอย/ฝ่ นุ ละอองมลพษิ ใน ชุมชนเพ่มิ ข้ึน 0 0 10 0 0 สุขภาพของคนในชุมชนมีการเจบ็ ป่ วยและเกิดโรค 0 0 ระบาด 0 3 70 0 ขาดสวสั ดิการของหมบู่ า้ น 0 0 10 0 0 ความเชื่อและประเพณีของหมูบ่ า้ นทาใหข้ ดั แยง้ ทาง 0 0 10 0 0 สังคม 0 10 0 เยาวชนทะเลาะววิ าทและไมไ่ ดเ้ รียนต่อ 0 10 0 ขาดคนกลางในการแกป้ ัญหาความขดั แยง้ ของคนใน หมู่บา้ น จากตารางท่ี 8 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาของประชาชนดา้ นสังคม สรุปไดว้ า่ ปัญหา ปัญหาดา้ นสงั คม มีค่าเฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2 และมีค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.44

ตารางที่ 9 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดล้อมและการท่องเทย่ี ว ปัญหาด้านการจัดการทรัพยากรธรรมชาตแิ ละ มากทสี่ ุด ระดับปัญหา น้อยทสี่ ุด ส่ิงแวดล้อมและการท่องเทย่ี ว 5 1 มาก ปานกลาง น้อย 0 ระบบสาธารณูปโภคบริโภคของชุมชน เช่นประปา 3 432 0 ไฟฟ้ าไมเ่ พยี งพอ 700 0 0 10 0 การคมนาคมและสัญจรไม่สะดวก 0 190 0 ขาดความรู้ดา้ นสุขลกั ษณะและมีการดูแลความ 0 0 10 0 0 สะอาดของหมูบ่ า้ น 0 0 10 0 0 ป่ าเส่ือมโทรมและมีการทาลายทรัพยากรของชุมชน 0 0 10 0 เพม่ิ ข้ึน 0 10 0 0 ทรัพยากรและส่ิงแวดลอ้ มไม่เอ้ือต่อการบริหารจดั การ 0 0 10 0 0 ท่องเท่ียว 0 10 0 0 มีการบุกรุกที่ดินสาธารณะเพิ่มข้ึน 0 0 10 0 แหล่งทอ่ งเท่ียวในชุมชนขาดการส่งเสริมสนบั สนุน 0 และพฒั นา ประชาชนในชุมชนขาดความรู้ในการบริหารจดั การ 0 ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของชุมชน ขาดการมีส่วนร่วมในการบริหารจดั การ 0 ทรัพยากรธรรมชาติของคนในชุมชน ประชาชนในชุมชนขาดจิตสานึกในการอนุรักษ์ 0 ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มของชุมชน จากตารางท่ี 9 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มลู สภาพ ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดลอ้ มและการท่องเท่ียว สรุปไดว้ า่ ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและการ ท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.06 และมีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.19

ตารางท่ี 10 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนด้านอน่ื ๆ ปัญหาด้านอืน่ ๆ มากทส่ี ุด ระดับปัญหา น้อยทสี่ ุด 5 1 การคมนาคมสัญจรไมส่ ะดวก 0 มาก ปานกลาง น้อย 0 ขาดแคลนทุนในการแปลงสินทรัพยเ์ ป็นทุน 0 4 32 0 ชุมชนขาดความเขม้ แขง็ ในดา้ นการรวมกลุ่ม 0 1 90 0 มีโรคติดตอ่ ภายในชุมชน 1 2 80 0 ประชาชนขดั แยง้ แบ่งพรรคแบง่ พวก 0 0 10 0 0 เยาวชนขาดจิตสานึกในการพฒั นาตนเอง 0 2 70 0 ขาดแคลนแหล่งเงินทุนเพ่ือพฒั นาอาชีพ 0 0 10 0 0 ขาดแหล่งน้า เพื่อการเกษตรเพ่ือการประกอบอาชีพ 0 0 10 0 0 ขาดการดูแลรักษาสิ่งแวดลอ้ มในชุมชน 0 0 10 0 0 ขาดการสืบสานวฒั นธรรมและภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน 0 2 80 0 2 80 0 10 0 จากตารางท่ี 10 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาดา้ นอื่นๆ สรุปไดว้ า่ ปัญหาดา้ นอ่ืนๆ มี ค่าเฉล่ียเลขคณิตสูงที่สุดคือ 2 และมีคา่ เบี่ยงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.59

ตารางท่ี 11 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนด้านสุขภาพ ปัญหาด้านสุขภาพ มากทส่ี ุด ระดบั ปัญหา น้อยทสี่ ุด 5 1 สามารถติดตามอา่ นคาแนะนาที่เก่ียวกบั การ 8 มาก ปานกลาง น้อย 0 ป้ องกนั ดูแลสุขภาพถูกตอ้ ง 4 32 0 สามารถเตือนผอู้ ื่นที่มีพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพ 0 2 00 0 เช่น ไมใ่ หส้ ูบบุหรี่ ดื่มสุรา 0 สามารถไปพบแพทย์ หรือบุคลากรสาธารณสุข 0 0 10 0 หรือผใู้ หบ้ ริการสุขภาพไดท้ ุกเมื่อ ตามที่ตอ้ งการ 0 0 10 0 0 มีการจดั โครงการอบรมดา้ นสุขภาพและ 0 0 10 0 0 สุขลกั ษณะใหก้ บั คนในชุมชนอยเู่ ป็นประจา 0 0 สามารถควบคุมกากบั สุขภาพตนเอง เช่น ชงั่ 0 น้าหนกั ตรวจสุขภาพประจาปี คิดบวก ลดอาหาร 0 0 10 0 ที่ทาลายสุขภาพ ออกกาลงั กายเสมอ ในรอบ 1 ปี สมาชิกในครอบครัวมอี าการเจบ็ ป่ วยด้วยอาการ/โรค เจบ็ ป่ วยเล็กนอ้ ย เช่น ไขห้ วดั ปวดกลา้ มเน้ือ/ปวด 0 0 10 0 ทอ้ ง/โรคกระเพาะ โรคติดต่อ เช่น อุจจาระร่วง ไขเ้ ลือดออก วณั โรค 4 6 0 0 ฯลฯ โรคไม่ติดต่อ เช่น ความดนั โลหิตสูง 06 4 0 โรคเบาหวาน โรคหวั ใจ ปัญหาสุขภาพจิต เช่น วติ กกงั วล/เครียด ติดยา/ 0 0 10 0 สารเสพติด ติดสุราเร้ือรัง อื่นๆ เช่น โรคเกี่ยวกบั ขอ้ และกระดูก 0 0 10 0

ตารางท่ี 11.1 แบบสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาของประชาชนวธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ( สมาชิกในครอบครัวมกี ารเจ็บป่ วยเลก็ น้อย) วธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว ลาดับปัญหา ( สมาชิกในครอบครัวมกี ารเจ็บป่ วยเลก็ น้อย) มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยทสี่ ุด 54 3 21 ดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง เช่น ซ้ือยากินเอง เช็ดตวั 0 9 1 0 0 ลดไข้ ปรึกษา/ขอคาแนะนาจาก อสม. 01 9 00 ใชบ้ ริการสุขภาพท่ีสถานพยาบาล เช่น รพ.สต./ 0 6 4 0 0 คลินิก/โรงพยาบาล วธิ ีการดูแลสุขภาพของสมาชิกในครอบครัว (สมาชิกในครอบครัวมีการเจบ็ ป่ วยรุนแรง/หมดสติ) ดูแลสุขภาพดว้ ยตนเอง เช่น ซ้ือยากินเอง เช็ดตวั 2 7 1 0 0 ลดไข้ มีความรู้พ้นื ฐานดา้ นการแพทยฉ์ ุกเฉิน สามารถ ปฐมพยาบาลเบ้ืองตน้ ได้ เช่น การช่วยฟ้ื นคืนชีพ 0 0 6 4 0 ข้นั พ้นื ฐาน(CPR) ใชบ้ ริการสุขภาพที่สถานพยาบาล เช่น รพ.สต./ 0 6 4 0 0 คลินิก/โรงพยาบาล รีบโทร1669 64 0 00 จากตารางท่ี 11 และ 11.1 พบวา่ ผตู้ อบแบบสอบถามขอ้ มูลสภาพปัญหาดา้ นสุขภาพ สรุปไดว้ า่ ปัญหา ดา้ นสุขภาพ มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.12 และมีคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.81

ตารางท่ี 12 แสดงค่าเฉลย่ี ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานของปัญหาในชุมชน ปัญหา x̄ S.D. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ 2 0.37 ปัญหาดา้ นสงั คม 2 0.44 ปัญหาดา้ นการจดั การ 2.06 0.19 ทรัพยากรธรรมชาติและ ส่ิงแวดลอ้ มและการท่องเท่ียว 2.12 0.81 ปัญหาดา้ นสุขภาพ 2 0.59 ปัญหาดา้ นอื่นๆ 2.04 0.23 ค่าเฉลย่ี รวม จากตารางที่ 12 สรุปไดว้ า่ ปัญหาปัญหาดา้ นสุขภาพ มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตสูงที่สุดคือ 2.12 และมีคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ่ี 0.81 รองลงมาคือมีดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและการ ทอ่ งเที่ยวค่าเฉล่ียเลขคณิตสูงท่ีสุดคือ 2.06 และมีคา่ เบ่ียงเบนมาตรฐานอยทู่ ี่ 0.19 สรุปการทาประชาคม ชุมชนหมู่ที่ 2 ตาบลบ้านตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช วนั พุธ ที่ 9 เมษายน 2563 เวลา 13.00-15.00 น. ท่ีหอประชุมประจาหมู่ท่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ผตู้ อบแบบสอบถาม 10 ชุด สรุปปัญหาของชุมชนหมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ไดด้ งั น้ี 1. ปัญหาดา้ นเศรษฐกิจ มีค่าเฉล่ีย 2 มีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 2. ปัญหาดา้ นสงั คม มีค่าเฉลี่ย 2 มีคา่ ระดบั ความพงึ พอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 3. ปัญหาดา้ นการจดั การทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดลอ้ มและการท่องเที่ยว มีค่าเฉลี่ย 2.06 มี ค่าระดบั ความพงึ พอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 4. ปัญหาดา้ นอ่ืนๆ มีคา่ เฉลี่ย 2 มีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑป์ านกลาง 5. ปัญหาดา้ นสุขภาพ มีคา่ เฉลี่ย 2.12 มีค่าระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑน์ อ้ ย

นกั ศึกษาไดเ้ ลง็ เห็นวา่ ปัญหาดา้ นสุขภาพ ท่ีมีคา่ ระดบั ความพึงพอใจ อยใู่ นเกณฑ์นอ้ ย ท่ีควรไดร้ ับการแกไ้ ข ทาง นกั ศึกษาจึงไดม้ าทาประชาคมในวนั และเวลาดงั กล่าว การคดิ คะแนนเพอ่ื จดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหาด้านสุขภาพ เกณฑ์การจัดลาดับความสาคญั ของปัญหาของ John J. Hanlon A = ขนาดของปัญหา ให้คะแนนระหวา่ ง 0-10 B = ความรุนแรงของปัญหา ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-20 C = ประสิทธิภาพของการปฏิบตั ิงาน ใหค้ ะแนนระหวา่ ง 0-10 D = ขอ้ จากดั ใหค้ ะแนน 0-1 สูตร คะแนนรวม Basic priority rating (B.P.R) = ( A+B ) x C x D 3 คะแนนขององค์ประกอบ ปัญหา ขนาดของ ความ ความยาก ความ วธิ ีบวก วธิ ีคูณ ปัญหา รุนแรง ง่าย สนใจ 1.โรคเบาหวาน 6 12 3 1 22 216 2.ไขห้ วดั ใหญ่ 4 8 4 1 17 128 3.อุจจาระร่วง 3 6 5 1 15 90 4.วณั โรค 2 4 6 1 13 48 5.อิสุกอิใส 2 4 5 1 12 40 จากตาราง พบวา่ ปัญหาชุมชนอนั ดบั ที่ 1 คือ โรคเบาหวาน อนั ดบั ท่ี 2 คือ ไขห้ วดั ใหญ่ อนั ดบั ท่ี 3 คือ อุจจาระร่วง อนั ดบั ที่ 4 วณั โรค อนั ดบั ที่ 5 อิสุกอิใส ตามลาดบั

ทมี่ า:จากอ้างองิ ทฤษฏวี ธิ ีของภาควชิ าบริหารสาธารณสุข คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั มหดิ ล จาก วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข บทท4ี่ แผนงานโครงการ จากการสารวจชุมชนหมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราชไดล้ งสารวจพ้ืนที่ โดยใชแ้ บบสอบถามขอ้ มลู วเิ คราะห์เพอื่ จดั ลาดบั ความสาคญั ของปัญหา เพือ่ หาวธิ ีการแกป้ ัญหาใหก้ บั ชุมชน จาก การศึกษาพบวา่ ชุมชนมีปัญหาดา้ นสุขภาพของคนในชุมชน เป็นอนั ดบั แรก ดงั น้นั จึงนาปัญหาดา้ นสุขภาพ โรคเบาหวาน มาจดั โครงการเพือ่ ใหค้ วามรู้กบั คนในชุมชน เกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้ องกนั โรคเบาหวานท่ีถูกวิธีและเหมาะสม ลดค่าดชั นีลูกน้า ยุงลายในชุมชน และเพื่อให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการป้ องกนั และทาลายแหล่งเพาะพนั ธุ์ลูกน้ายุงลายใน ครัวเรือน 4.1 แผนงาน / โครงการ จากปัญหาที่พบ พบวา่ เป็ นปัญหาท่ีทางชุมชนมีความตอ้ งการใหด้ าเนินการ จากปัญหาดงั กล่าว จึงได้ จดั ทาโครงการเพอ่ื แกป้ ัญหาสุขภาพของชุมชน 1 โครงการ โดยมีรายละเอียดดงั น้ี ช่ือกจิ กรรม/โครงการ : ห่างไกลโรคเบาหวาน ชื่อ-สกลุ ผู้เสนอกจิ กรรม/โครงการ : นางสาวสุจินนั ท์ สงศิริ สังกดั : หลกั สูตรประกาศนียบตั รวชิ าชีพช้นั สูงสาขาปฏิบตั ิการฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ท่ี 2

1. หลกั การและเหตุผล/ทม่ี า/ปัญหา 1.1 หลกั การและเหตุผล องค์การอนามยั โลก (WHO) รายงานว่าปัจจุบนั มีผูป้ ่ วยโรคเบาหวานทว่ั โลกเป็ นจานวนมากกว่า 425 ลา้ นคน และมีแนวโนม้ เพม่ิ ข้ึนถึง 642 ลา้ นคนในปี พ.ศ. 2583 จากผลสารวจสุขภาพประชาชนไทยคร้ังล่าสุดเม่ือ ปี 2557 พบวา่ คนไทยประมาณ 4.8 ลา้ นคนเป็นโรคเบาหวาน และมีจานวนเพิ่มข้ึนทุกปี จากสถิติพบวา่ ประชากร ในวยั ผใู้ หญ่ 1 ใน 11 คน เป็นโรคเบาหวาน และ ผทู้ ี่เป็ นโรคเบาหวานร้อยละ 50 ไม่ทราบวา่ ตนเองเป็ นโรค และ คุณอาจเป็ นหน่ึงในน้นั ดงั น้นั การตรวจคดั กรองโรคแต่เน่ิน และเขา้ รับการรักษาอยา่ งทนั ท่วงที จะช่วยลดความ รุนแรงของอาการแทรกซอ้ นจากโรคได้ จากการสารวจข้อมูลครัวเรื อน หมู่ท่ี 2 ตาบลบ้านตูล อาเภอชะอวด จังหวัด นครศรีธรรมราช เดือนมีนาคม 2563 มีจานวนครัวเรือนท้งั สิ้น 400 ครัวเรือน ซ่ึงจากการสารวจครัวเรือน พบวา่ มีประชาชนที่เป็นโรคเบาหวาน จานวน 60 ครัวเรือน คิดเป็นร้อยละ15 จากสถานการณ์และความสาคญั ดังกล่าวนางสาวสุจินันท์ สงศิริ นักศึกษาช้ันปี ท่ี 2 หลักสูตรฉุกเฉิน การแพทย์ รุ่นท่ี 15 เล็งเห็นวา่ ประชาชนหมู่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช มีความเสี่ยง ท่ีจะเป็ นโรคเบาหวาน เพราะมีค่าร้อยละของบา้ นสารวจท่ีพบจานวนของผทู้ ่ีเป็ นเบาหวาน และมีค่าร้อยละของ การกินของหวานเกินประมาณ เกินจากเกณฑ์ที่กระทรวงสาธารณสุขกาหนดไว้ จึงได้จดั โครงการรณรงค์ ป้ องกันและควบคุมโรคเบาหวาน หมู่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ข้ึนเพื่อให้ ประชาชนในชุมชนมีความรู้เร่ืองการป้ องกนั โรคเบาหวานเพื่อลดอตั ราการป่ วยดว้ ยโรคเบาหวานและควบคุมค่า CI และ HI ในหมู่บา้ น และเพ่ือใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการป้ องกนั โรคเบาหวานในหมู่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช 1.2 วตั ถุประสงค์ 1.2.1 เพอ่ื ใหเ้ กิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้ องกนั โรคเบาหวานท่ีถูกวธิ ีและเหมาะสม 1.2.2 เพ่ือลดค่าดชั นีโรคเบาหวานในชุมชน (HI, CI) 1.2.3 เพอ่ื ใหป้ ระชาชนมีส่วนร่วมในการป้ องกนั โรคเบาหวานในครัวเรือน 1.3 กล่มุ เป้ าหมาย

อสม. และตวั แทนครัวเรือนหมูท่ ่ี 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวน 102 คน 1.4 เป้ าหมาย 1.4.1 เป้ าหมายเชิงคุณภาพ - ประชาชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้ องกนั โรคเบาหวานไดใ้ นระดบั ดี 1.4.2 เป้ าหมายเชิงปริมาณ - อสม. และตวั แทนครัวเรือนหมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช เขา้ ร่วมโครงการร้อยละ 70 - ค่าดชั นีโรคเบาหวานลดลงร้อยละ 10 1.5 ระยะเวลาดาเนินการ ต้งั แตว่ นั ท่ี 6 เมษายน – 9 เมษายน 2563 1.6 ดชั นีตัวชี้วดั ความสาเร็จ 1.6.1. ประชนชนเกิดความรู้ ความเขา้ ใจ ในการควบคุมป้ องกนั โรคเบาหวานท่ีถูกวธิ ีและเหมาะสม 1.6.2. จานวนคา่ ดชั นีโรคเบาหวานในชุมชน (HI, CI) ปี 2563 ลดลง 1.6.3. ไดร้ ับความร่วมมือจากประชาชนในการป้ องกนั โรคเบาหวานในครัวเรือน 1.7 ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวสุจินนั ท์ สงศิริ นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ที่ 2 1.8 สถานทดี่ าเนินโครงการ หอประชุมหม่ทู ่ี 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช 1.9 ผลทค่ี าดว่าจะได้รับ 1.8.1 อตั ราป่ วยดว้ ยโรคเบาหวานของประชากรในชุมชนลดลง 1.8.2 ทาให้ประชาชนในชุมชนมีความรู้ ความเขา้ ใจ เกี่ยวกบั โรคเบาหวานและมีพฤติกรรมท่ีถูกตอ้ ง เหมาะสม 1.8.3 ประชาชนใหค้ วามร่วมมือในการดาเนินการรณรงค์ ป้ องกนั และควบคุมโรคเบาหวาน

2. แผนการดาเนินงาน 2.1 วธิ ีการดาเนินงาน กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนินการ ผู้รับผดิ ชอบ 6 เมษายน 2563 น.ส.สุจินนั ท์ สงศิริ การวางแผน (P) 1. ประชุมวางแผน กาหนดวัตถุประสงค์ 7 เมษายน 2563 นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน งบประมาณ ดัชนีช้ีวดั ความสาเร็จ พฒั นา การแพทย์ รุ่นที่ 15 ช้นั ปี ท่ี 2 โครงการฉบบั สมบรู ณ์เพ่ือขออนุมตั ิ 7 เมษายน 2563 2. เม่ือโครงการได้รับอนุมัติแล้วจึง น.ส.สุจินนั ท์ สงศิริ มอบหมายหน้าท่ีรับผิดชอบภายในกลุ่ม นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน พร้อมท้งั ประสานผูท้ ี่เกี่ยวขอ้ งประสานงาน การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 ชุมชน จดั เตรียมวสั ดุ อุปกรณ์ท่ีตอ้ งใช้ น.ส.สุจินนั ท์ สงศิริ การปฏิบตั ิ 1.จดั โครงการตามกาหนดการ นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน (D) 1.1 วนั จัดกจิ กรรม 1.1.1 ทาแบบทดสอบก่อนใหค้ วามรู้ 1.1.2 ก า ร บ ร ร ย า ย ใ ห้ ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ โรคเบาหวานและวธิ ีการป้ องกนั โรคเบาหวาน ตามหลกั 5 ป 1 ข 1.1.3 กิจกรรมตอบคาถามเก่ียวกับความรู้ โรคเบาหวาน 1.1.4 จดั กิจกรรมกลุ่ม ( Focus Group) ระดมสมองภายในกลุ่ม 1.1.5 ทาแบบทดสอบหลงั ใหค้ วามรู้ 1.1.6 ทาแบบประเมินความพึงพอใจ 1.2 วนั เดนิ รณรงค์ 1.2.1 ใหค้ วามรู้เรื่องโรคเบาหวาน 1.2.2 เดินรณรงคป์ ้ องกนั โรคเบาหวาน 1.2.3 แจกแผน่ พบั การประเมินผล ประเมินผลตามวตั ถุประสงคด์ ว้ ย (C) 1. แบบลงทะเบียนเขา้ ร่วมโครงการ

กระบวนการ กจิ กรรม เวลาดาเนินการ ผ้รู ับผดิ ชอบ 8 เมษายน 2563 การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 2. ประเมินความรู้ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ น.ส.สุจินนั ท์ สงศิริ 3. สงั เกตการมีส่วนร่วมของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ นกั ศึกษาหลกั สูตรฉุกเฉิน การแพทย์ รุ่นท่ี 15 ช้นั ปี ที่ 2 ก า ร ป รั บ ป รุ ง 1.ประชุมผจู้ ดั ทาโครงการเพ่ือสรุปผลการ หรื อนาผลการ ดาเนินงานและเสนอแนะแนวทางเพือ่ ประ เมิ น ไปใช้ ปรับปรุงพฒั นา ประโยชน์ (A) 2.2 ผลการดาเนินงาน 2.2.1 การดาเนินงานในข้นั ตอนการวางแผน (P) - ประสานงานกบั แกนนา อสม.หมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช นางสาวสุจินนั ท์ สงศิริ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ช้นั ปี ที่ 2 ประสานงานกบั แกนนาอสม. หมู่ 2 เพ่อื จดั การทาประชาคมหาปัญหาที่ตอ้ งแกไ้ ขเพือ่ จดั ทาโครงการ -ประชุมวางแผนกาหนดการดาเนินงานและเขียนโครงการเพื่อขออนุมตั ิ นางสาวสุจินันท์ สงศิริ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์จดั ประชุมกนั กบั แกนนาอสม.หมู่ 2 เพ่ือ สอบถามปัญหาต่างๆท่ีเกิดข้ึนในชุมชน และไดม้ ีการประชุมกนั ภายในกลุ่มเพ่ือวางแผนการดาเนินงาน กาหนด วตั ถุประสงค์ วางแผนการใช้งบประมาณ หน้าท่ีรับผิดชอบ เพื่อให้การดาเนินงานโครงการเป็ นไปอย่างมี ประสิทธิภาพ -ติดตอ่ ประสานงาน กบั ผทู้ ่ีเกี่ยวขอ้ งในชุมชน นางสาวสุจินันท์ สงศิริ หลักสูตรฉุกเฉินการแพทย์ ได้ติดต่อจัดการขอสถานท่ีในการทา กิจกรรม เพอ่ื ใหก้ ารดาเนินงานโครงการเป็นไปอยา่ งมีประสิทธิภาพ - ติดตอ่ ขอใชส้ ถานที่ 2.2.2. การดาเนินงานในข้นั ตอนการปฏบิ ตั ิ (D) - เสนอร่างโครงการ และปรับแกไ้ ข โครงการรณรงค์ ป้ องกนั และควบคุมโรคเบาหวาน หมู่ท่ี 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอรชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช - จดั เตรียมเอกสารในการทาโครงการ - จดั เตรียมสถานที่ในการจดั ทาโครงการรณรงค์ ป้ องกนั และควบคุมโรคเบาหวาน หมู่ท่ี 2ตาบล บา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช

- ดาเนินงานกิจกรรมโครงการรณรงค์ ป้ องกนั และควบคุมโรคเบาหวาน หมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ดว้ ยการบรรยายใหค้ วามรู้เก่ียวกบั โรคเบาหวาน นางสาวสุจินนั ท์ สงศิริ หลกั สูตรฉุกเฉินการแพทย์ ไดเ้ ขา้ รับการอบรมให้ความรู้เกี่ยวกบั การดูแล ตวั เองการรักษา อาการ และการป้ องกนั เก่ียวกบั โรคเบาหวาน - รณรงคใ์ หค้ วามรู้เร่ืองโรคเบาหวาน 2.3 จานวนผู้เข้าร่วมโครงการ อสม. และตวั แทนครัวเรือน หมู่ที่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช จานวน 89 คน 2.4 สถานทดี่ าเนินการ หอ้ งประชุมประจาหมู่บา้ น หมูท่ ี่ 2 ตาบลบา้ นตลู อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช 2.5 งบประมาณ งบประมาณรายจ่ายประจาปี 2562 เงินอุดหนุนทว่ั ไป เงินอุดหนุนสาหรับการดาเนินงานตามโครงการ พระราชดาริดา้ นสาธารณสุข(สนบั สนุนจาก อสม. หมทู่ ี่ 2 ตาบลบา้ นตูล อาเภอชะอวด จงั หวดั นครศรีธรรมราช ) จานวน 6,000 บาท (แปดพนั หา้ ร้อยบาทถว้ น) ใชจ้ ่ายดงั น้ี 1.ค่าอาหารวา่ งและเครื่องดื่ม จานวน 120 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 20 บาท เป็นเงิน 2,000 บาท 2.คา่ อาหารกลางวนั จานวน 120 คนๆละ 1 ม้ือๆ ละ 25 บาท เป็นเงิน 3,000 บาท 3.คา่ สมนาคุณวทิ ยากร จานวน 2 ชว่ั โมงๆละ 300 บาท เป็นเงิน 500 บาท 4.ค่าป้ ายไวนิลโครงการ เป็นเงิน 200 บาท 5.คา่ วสั ดุท่ีใชใ้ นโครงการ เป็นเงิน 300 บาท รวมเป็ นเงนิ 6,000 บาท (แปดพนั ห้าบาทถ้วน) หมายเหตุ : ทุกรายการสามารถถวั เฉลี่ยได้

3.เคร่ืองมอื และวธิ ีการในการประเมนิ ผล หลงั จากที่ไดด้ าเนินงานตามแผนของโครงการแลว้ น้นั ซ่ึงในข้นั ตอนสุดทา้ ยจะเป็ นกิจกรรมในการ ประเมินผลโครงการ หากพิจารณาถึงความสัมพนั ธ์ระหว่างการวางแผนกบั การประเมินผลโครงการ พบว่า กิจกรรมท้งั สองมีความสมั พนั ธ์ที่ตอ้ งดาเนินการควบคู่กนั โดยการวางแผนโครงการเป็นกิจกรรมของการกาหนด แนวทางการนาไปปฏิบตั ิเพ่ือการบรรลุวตั ถุประสงค์ ส่วนการประเมินผลโครงการเป็ นกิจกรรมสุดทา้ ยในการ พจิ ารณาผลการดาเนินงานเป็นไปตามแผนท่ีกาหนดหรือไม่ 3.1 เคร่ืองมอื ทใ่ี ช้ในการเกบ็ ข้อมูล 3.1.1 แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติและพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ เครื่องมือท่ีใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพ่ือการประเมินในคร้ังน้ี เป็ นแบบสอบถามที่ผูร้ ับผิดชอบ โครงการไดส้ ร้างข้ึนใหส้ อดคลอ้ งกบั วตั ถุประสงค์ และตวั ช้ีวดั ของโครงการ ซ่ึงมีรายละเอียดดงั น้ี ส่วนที่ 1 ขอ้ มลู พ้ืนฐานส่วนบุคคล ไดแ้ ก่ เพศ อายุ ระดบั การศึกษา อาชีพ ส่วนที่ 2 ความรู้เร่ืองเบาหวาน แบบสอบถามเป็นแบบเลือกคาตอบเพียงคาตอบเดียว คือ ถูก หรือ ผดิ จานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนดงั น้ี ตอบถูก ไดค้ ะแนนเทา่ กบั 1 คะแนน ตอบผดิ ไดค้ ะแนนเท่ากบั 0 คะแนน ส่วนที่ 3 ทศั นคติต่อการป้ องกนั และควบคุมโรคเบาหวานแบบสอบถามเป็นแบบเลือกคาตอบเพยี ง คาตอบเดียว คือ เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ เห็นดว้ ย ไม่แน่ใจ ไม่เห็นดว้ ย ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยง่ิ ขอ้ คาถามมีท้งั ดา้ นบวกและ ดา้ นลบจานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ดงั น้ี คาถามเชิงบวก คาถามเชิงลบ เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ ได้ 5 คะแนน ได้ 1 คะแนน เห็นดว้ ย ได้ 4 คะแนน ได้ 2 คะแนน ไม่แน่ใจ ได้ 3 คะแนน ได้ 3 คะแนน ไมเ่ ห็นดว้ ย ได้ 2 คะแนน ได้ 4 คะแนน ไม่เห็นดว้ ยอยา่ งยงิ่ ได้ 1 คะแนน ได้ 5 คะแนน

ส่วนท่ี 4 พฤติกรรมการปฏิบตั ิตวั ป้ องกนั โรคเบาหวานแบบสอบถามเป็นแบบเลือกตอบเพียงคาตอบ เดียว คือ ปฏิบตั ิเป็ นประจา 7 วนั /สัปดาห์ ปฏิบตั ิบ่อยคร้ัง 5-6 วนั /สัปดาห์ ปฏิบตั ินานๆ คร้ัง 3-4 วนั /สัปดาห์ ปฏิบตั ิบางคร้ัง 1-2 วนั /สัปดาห์ ไม่ไดป้ ฏิบตั ิเลย ขอ้ คาถามเชิงบวก จานวน 10 ขอ้ กาหนดเกณฑก์ ารให้คะแนน ดงั น้ี ปฏิบตั ิเป็นประจา(7 วนั /สัปดาห์) ได้ 5 คะแนน ปฏิบตั ิบ่อยคร้ัง (5-6 วนั /สปั ดาห์) ได้ 4 คะแนน ปฏิบตั ินานๆ คร้ัง (3-4 วนั /สปั ดาห์) ได้ 3 คะแนน ปฏิบตั ิบางคร้ัง (1-2 วนั /สปั ดาห์) ได้ 2 คะแนน ไมไ่ ดป้ ฏิบตั ิเลย ได้ 1 คะแนน 3.1.2 แบบประเมินความพึงพอใจการเขา้ ร่วมโครงการ โดยเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพึงพอใจ ดงั น้ี ระดบั ความพึงพอใจมากที่สุด 5 คะแนน ระดบั ความพึงพอใจมาก 4 คะแนน ระดบั ความพงึ พอใจปานกลาง 3 คะแนน ระดบั ความพึงพอใจนอ้ ย 2 คะแนน ระดบั ความพงึ พอใจนอ้ ยที่สุด 1 คะแนน 3.2 วธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 3.4.1 ประเมินโดยการใหท้ าแบบทดสอบก่อนใหค้ วามรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม จดั ทาแบบบนั ทึกการ สารวจ เป็ นสมุดบนั ทึกการสารวจและกาจดั ลูกน้า โดยมีรายละเอียดการจดบนั ทึก ดงั น้ี 3.4.1.1 ชนิดขิงเบาหวาน 3.4.1.2 จานวนคนที่เป็น 3.4.1.3 ลกั ษณะการบริโภค 3.4.1.4 การคานวณค่า CI (Container index) 3.4.2 นาสมุดบนั ทึกการสารวจและกาจดั ลูกน้าใหผ้ เู้ ขา้ ร่วมโครงการบนั ทึก ณ วนั ทาโครงการ 3.4.3 ให้ทาแบบทดสอบหลงั ให้ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม จดั เก็บสมุดบนั ทึกการสารวจคืนจาก ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ นามาประเมินผล 3.4.4 หลงั จดั ทาโครงการ 7 วนั ทางผจู้ ดั ทาโครงการลงพ้ืนที่ที่จดั ทาโครงการอีกคร้ังโดยทาแบบบนั ทึก การสารวจและตรวจสอบ นาผลการสารวจคร้ังที่ 1 จากการสารวจของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ กบั คร้ังที่ 2 จากการลง สารวจเองของทางผจู้ ดั ทาโครงการ นามาเปรียบเทียบและประเมินผล 3.4.5 สรุปผลจากแบบทดสอบก่อนและหลงั ให้ความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม จากแบบบนั ทึกการ สารวจและกาจดั ลูกน้าคร้ังที่ 1 และคร้ังท่ี 2

3.3 การวเิ คราะห์ข้อมูล การวเิ คราะห์ขอ้ มลู ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี 1. การวเิ คราะห์ขอ้ มูลส่วนบุคคล ใชส้ ถิติการแจกแจงความถ่ี ( Frequency ) และร้อยละ( Percentage ) 2. การประเมินความพึงพอใจ การประเมินความรู้ ใชส้ ถิติค่าเฉลี่ย ( Ẋ ) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( S.D.) 3.4 เกณฑ์ทใ่ี ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมูล 3.4.1 แบบทดสอบความรู้ ทศั นคติ และพฤติกรรม ก่อน-หลงั ใหค้ วามรู้ 3.4.1.1 การแปลผลคะแนน สาหรับเกณฑ์การประเมินระดบั ความรู้เก่ียวกบั เร่ืองไขเ้ ลือดออก แบ่งออกเป็ น 3 ระดบั โดยใชว้ ธิ ีการกาหนดเกณฑ์ตามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของบลูม Bloom (1964อา้ งถึง ใน สมนึก แกว้ วไิ ล, 2552) ซ่ึงมีระดบั คะแนน ดงั น้ี ระดบั ความรู้ ร้อยละ (ของคะแนนเตม็ ) ระดบั ดี 80.00 ข้ึนไป (8-10ขอ้ ) ระดบั ปานกลาง 50.00 - 79.99 (5-7ขอ้ ) ระดบั ควรปรับปรุง 1.00 - 49.99 (0-5ขอ้ ) 3.4.1.2 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑก์ ารประเมินทศั นคติเก่ียวกบั การป้ องกนั และควบคุม โรคไขเ้ ลือดออกโดยใช้วิธีการกาหนดเกณฑ์ตามช่วงคะแนนตามหลกั วิธีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถึงใน กุลธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี ระดบั ทศั นคติ คา่ ระดบั คะแนนเฉล่ีย ระดบั สูง 3.67 - 5.00 ระดบั ปานกลาง 2.34 - 3.66 ระดบั ต่า 1.00 - 2.33 3.4.1.3 การแปลผลคะแนนสาหรับเกณฑบ์ ง่ ช้ีพฤติกรรมการออกกาลงั กาย โดยใชว้ ธิ ีการกาหนด เกณฑต์ ามช่วงคะแนนตามหลกั วธิ ีคิดของเบสท์ (Best, 1997 อา้ งถึงในกุลธิดา เหมาเพชร และคณะ, 2555) ดงั น้ี ระดบั พฤติกรรม คา่ ระดบั คะแนนเฉลี่ย ระดบั สูง 3.67 - 5.00 ระดบั ปานกลาง 2.34 - 3.66 ระดบั ต่า 1.00 - 2.33

3.4.2 แบบประเมินความพงึ พอใจการเขา้ ร่วมโครงการ โดยเกณฑก์ ารใหค้ ะแนนความพงึ พอใจ ดงั น้ี คะแนนเฉลี่ยสูงกวา่ 4.50 มีความพงึ พอใจในระดบั มากท่ีสุด คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 3.50 – 4.49 มีความพึงพอใจในระดบั มาก คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 2.50 – 3.49 มีความพงึ พอใจในระดบั ปานกลาง คะแนนเฉล่ียระหวา่ ง 1.50 – 2.49 มีความพึงพอใจในระดบั นอ้ ย คะแนนเฉลี่ยต่ากวา่ 1.50 มีความพงึ พอใจในระดบั นอ้ ยท่ีสุด 4.ผลการประเมนิ การดาเนินโครงการ 4.1 ข้อมูลทวั่ ไปของผ้ตู อบแบบประเมิน ผเู้ ขา้ ร่วมโครงการมี 89 คน จากจานวนท้งั หมด 120 คน คิดเป็นร้อยละ 74.17 ซ่ึงขอ้ มูลทว่ั ไปในเรื่อง เพศ อายรุ ะดบั การศึกษา อาชีพ สถานภาพ มีขอ้ มูลดงั ตารางต่อไปน้ี ตารางที่ 4.1.1 เพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ เพศ จานวน ร้อยละ หญิง 82 92.10 ชาย 7 7.90 รวม 89 100 จากตารางแสดงขอ้ มลู เพศของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ เพศหญิง มีจานวน 82 คน คิดเป็ นร้อยละ92.10 และเพศชายมีจานวน 7 คน คิดเป็นร้อยละ 7.90 ตารางท่ี 4.1.2 อายขุ องผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ อายุ จานวน ร้อยละ ต่ากวา่ 20 ปี 4 4.49 20-30 8 8.99 31-40 12 13.48 41-50 30 33.71 51 ปี ข้ึนไป 35 39.33 รวม 89 100 จากตารางแสดงขอ้ มลู อายขุ องผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ อายุ 51 ปี ข้ึนไป มีจานวน 35 คน คิดเป็ นร้อยละ 39.33 อายุ 41-50 ปี มีจานวน 30 คน คิดเป็ นร้อยละ 33.71 อายุ 31-40 ปี มีจานวน 12 คน คิดเป็ นร้อยละ 13.48 อายุ 20-30 ปี มีจานวน 8 คน คิดเป็ นร้อยละ 8.99 และอายุต่ากวา่ 20 ปี มีจานวน 4 คน คิดเป็ นร้อยละ 4.49 ตามลาดบั

ตารางท่ี 4.1.3 ระดบั การศึกษาของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ ระดบั การศึกษา จานวน ร้อยละ 51.69 ประถมศึกษา 46 30.34 5.62 มธั ยมศึกษา 27 12.36 อนุปริญญา 5 0 100 ปริญญาตรี 11 อ่ืน ๆ 0 รวม 89 จากตารางแสดงขอ้ มูลระดบั การศึกษาของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ ระดบั ประถมศึกษา มีจานวน 46 คน คิดเป็นร้อยละ 51.69 ระดบั มธั ยมศึกษา มีจานวน 27 คน คิดเป็ นร้อยละ 30.34 ระดบั ปริญญาตรีมีจานวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 12.36 ระดบั อนุปริญญา มีจานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 5.62 และ ระดบั อ่ืน ๆ มีจานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั ตารางที่ 4.1.4 อาชีพของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ อาชีพ จานวน ร้อยละ นกั เรียน/นกั ศึกษา 5 5.62 ขา้ ราชการ 9 10.11 เกษตรกรรม 48 53.93 คา้ ขาย/ธุรกิจ 11 12.36 รับจา้ งทวั่ ไป/ลูกจา้ ง 2 2.25 ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ น 14 15.73 อ่ืน ๆ 0 0 รวม 89 100 จากตารางแสดงขอ้ มูลอาชีพของผเู้ ขา้ ร่วมโครงการ พบวา่ อาชีพเกษตรกรรม มีจานวน 48 คน คิดเป็ น ร้อยละ 53.93 ไม่ไดป้ ระกอบอาชีพ/ทางานบา้ น มีจานวน 14 คน คิดเป็ นร้อยละ 15.73 อาชีพคา้ ขาย/ธุรกิจ มี จานวน 11 คน คิดเป็ นร้อยละ 12.36 อาชีพขา้ ราชการ มีจานวน 9 คน คิดเป็ นร้อยละ 10.11 อาชีพนกั เรียน/ นกั ศึกษา มีจานวน 5 คน คิดเป็ นร้อยละ 5.62 อาชีพรับจา้ งทวั่ ไป/ลูกจา้ ง มีจานวน 2 คน คิดเป็ นร้อยละ 2.25 อาชีพอื่น ๆ มีจานวน 0 คน คิดเป็นร้อยละ 0 ตามลาดบั

4.2 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ ตารางท่ี 4.2.1 ผลการทดสอบความรู้จากการเข้าร่วมโครงการ รายการ สูงสุด ต่าสุด เฉลยี่ ผ่านเกณฑ์ ไม่ผ่านเกณฑ์ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ ก่อนเขา้ อบรม 6 2 0.04 ผลการทดสอบ - - - -- -- หลงั เขา้ อบรม 10 8 0.02 45 50.56 44 49.44 ผลการทดสอบ - - - -- -- 73 82.02 16 17.98 จากตารางท่ี 4.2.1 พบวา่ แกนนาอสม.ท่ีเขา้ ร่วมโครงการมีคะแนนทดสอบความรู้ก่อนเขา้ รับ การบรรยายเกี่ยวกบั โรคเบาหวาน ไดค้ ะแนนสูงสุด 6 คะแนน คะแนนต่าสุด 2 คะแนน และมีคะแนนเฉลี่ย 0.04 คะแนน มีจานวนผผู้ า่ นเกณฑจ์ านวน 45 คน คิดเป็นร้อยละ 50.56 มีจานวนผไู้ มผ่ า่ นเกณฑจ์ านวน 44 คน คิดเป็ น ร้อยละ 49.44 และหลงั จากการเขา้ รับการบรรยายเก่ียวกบั โรคเบาหวาน มีผทู้ ดสอบความรู้ไดค้ ะแนนสูงสุด 10 คะแนน คะแนนต่าสุด 8 คะแนน และมีคะแนนเฉล่ีย 0.02 คะแนน มีจานวนผผู้ า่ นเกณฑ์จานวน 73 คน คิดเป็ น ร้อยละ 82.02 ซ่ึงผา่ นตามตวั ช้ีวดั ในหัวขอ้ จุดประสงค์มีผูเ้ ขา้ ร่วมโครงการร้อยละ 8๐ มีความรู้เกี่ยวกบั การ ควบคุมป้ องกนั โรคเบาหวานในระดบั ดี ตารางท่ี 4.2.2 คะแนนการทดสอบประเมนิ ความรู้ก่อนเข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 2 4 4.49 3 16 17.98 4 24 26.97 5 27 30.34 6 18 20.22 รวม 89 100 จากตารางที่ 4.2.2 พบว่าคะแนนทดสอบการประเมินความรู้ก่อนเขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนน สูงสุด 6 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 20.22 และคะแนนต่าสุด 2 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 4.49

ตารางท่ี 4.2.3 คะแนนการทดสอบประเมนิ ความรู้หลงั เข้าร่วมโครงการอย่างละเอยี ด คะแนน จานวน ( คน ) ร้อยละ 8 27 30.34 9 41 46.07 10 21 23.60 รวม 89 100 จากตารางที่ 4 พบวา่ คะแนนทดสอบการประเมินความรู้หลงั เขา้ ร่วมโครงการ มีคะแนนสูงสุด 10 คะแนน คิดเป็นร้อยละ 23.60 และคะแนนต่าสุด 8 คะแนน คิดเป็ นร้อยละ 30.34 4.3 ผลการทาแบบประเมินความพงึ พอใจ ระดบั ความพงึ พอใจ ตารางที่ 4.3.1 ค่าเฉลย่ี ของความพงึ พอใจต่อโครงการภาพรวม x̄ S.D แปลผล ลาดับท่ี ประเดน็ 4.673 0.193 มากท่ีสุด 4.786 0.173 มากที่สุด 1. ความพงึ พอใจดา้ นกระบวนการ ข้นั ตอนการจดั กิจกรรม 4.678 0.219 มากท่ีสุด 2. ความพงึ พอใจดา้ นวทิ ยากร 4.743 0.183 มากที่สุด 3. ความพึงพอใจดา้ นส่ิงอานวยความสะดวก 4. ความพงึ พอใจดา้ นคุณภาพการจดั กิจกรรม จากตารางที่ 4.3.1 ค่าเฉล่ียของความพงึ พอใจต่อโครงการภาพรวม พบวา่ มีความพงึ พอใจดา้ นคุณภาพ การใหบ้ ริการมากท่ีสุด( x̄ = 4.833 ) รองลงมา ความพึงพอใจดา้ นเจา้ หนา้ ที่ผใู้ หบ้ ริการ ( x̄ = 4.786 ) และความพึงพอใจ ดา้ นกระบวนการ / ข้นั ตอนการดาเนินโครง การ ( x̄ = 4.673 ) นอ้ ยท่ีสุด

ตารางท่ี 4.3.2 ค่าเฉลยี่ ของผลประเมินความพงึ พอใจของผ้เู ข้าร่วมโครงการ รายละเอยี ด ระดบั ความพงึ พอใจ x̄ S.D แปลผล 1. ความพงึ พอใจด้านกระบวนการ ข้ันตอนการจัดกจิ กรรม 1.1. รูปแบบกิจกรรมการจดั กิจกรรม 4.55 0.52 สูง 1.2 ลาดบั ข้นั ตอนในการจดั กิจกรรม 2.23 1.22 สูง 1.3 ระยะเวลาท่ีใชใ้ นการจดั กิจกรรม 4.41 0.57 สูง 1.4 เอกสารและสื่อประกอบในการจดั กิจกรรม 2.23 1.22 ต่า 1.5 ความเหมาะสมของการจดั กิจกรรม 4.50 0.55 สูง 2. ความพงึ พอใจด้านวทิ ยากร 2.1 การถ่ายทอดความรู้ของวทิ ยากรมีความชดั เจน 4.56 0.59 สูง 2.2 การตอบขอ้ ซกั ถามในการจดั กิจกรรม 4.45 0.54 สูง 3. ความพงึ พอใจด้านสิ่งอานวยความสะดวก 3.1 สถานท่ีจดั กิจกรรม 4.43 0.61 สูง 3.2 มีการใชเ้ ทคโนโลยอี ยา่ งเหมาะสม 2.11 1.09 ต่า 4. ความพงึ พอใจด้านคุณภาพการจัดกจิ กรรม 4.1 ท่านไดร้ ับประโยชน์จากการเขา้ ร่วมกิจกรรมอยา่ งคุม้ คา่ 4.29 0.72 สูง 4.2 ท่านสามารถนาความรู้ท่ีไดร้ ับไปประยกุ ตใ์ ชใ้ น 4.29 0.65 สูง ชีวติ ประจาวนั 3.84 0.34 สูง ผลรวม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook