Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ใบงานที่2(PDF1)

ใบงานที่2(PDF1)

Description: ใบงานที่2(PDF1)

Search

Read the Text Version

ใบนำเสนองาน การศึกษาค้นควา้ เรยี นรเู้ พ่อื พฒั นาตนเอง คำสำคญั และคำนยิ ามศัพท์ วิทยากรพีเ่ ล้ียง.....................ผอ. จุรี ทัพวงษ์................................................................................................... ช่อื -สกุล.................นายกิตติศักด์ิ ห่วงมติ ร............................ กลมุ่ ท.่ี ........2.............เลขท.ี่ ............4............... สินทรพั ย์ที่ผบู้ ริหารรุ่นใหมต่ ้องมี ได้แก่ ลำดับ คำสำคัญและคำนิยาม คำอธิบาย ที่ (Keyword/Definition) (Description) 1 ศูนย์บรหิ ารเครือข่ายการผลิตและ หมายถงึ ศนู ยเ์ พ่ือผลิตและพัฒนากำลังคนใหส้ อดคล้องกับความ พฒั นากำลังคนอาชีวศกึ ษา ต้องการของประเทศ ขับเคล่ือนการศึกษาเพ่ืออาชพี และสร้างขีด (Center of Vocational ความสามารถในการแขง่ ขันของประเทศ เพือ่ ใหผ้ จู้ บอาชวี ศกึ ษามี Manpower Networking อาชพี และมีรายไดท้ เ่ี หมาะสม โดยการปรบั ปรุงและพฒั นา Management : CVM) หลักสูตรฐานสมรรถนะตามกรอบคณุ วุฒิแห่งชาติ (NQF) กรอบ คุณวฒุ ิอ้างอิงอาเซยี น (AQRF) รวมถึงมาตรฐานฝ�มือแรงงาน เพอื่ เพมิ่ ขีดความสามารถในการแข่งขนั ของประเทศ 2. สำนึกโลก ผ้บู รหิ ารต้องมองภาพในมมุ กวา้ ง ไมไ่ ด้จำกดั แค่เฉพาะความรใู้ น (Global Mindset) ประเทศ แต่ต้องรูใ้ ห้เท่าทันโลกที่พัฒนาไปอย่างรวดเรว็ โดย พจิ ารณาข้อมูลจากหลากหลายแหลง่ แล้วนำไปคดิ วเิ คราะห์เพ่อื ให้ เขา้ ใจความเป�นไปของโลก ซง่ึ ทัศนคติแบบสากลน้ี ถือเปน� หนง่ึ ใน ทักษะท่ีสำคัญและจำเป�นอยา่ งย่งิ โดยเฉพาะคนท่ีเป�นผู้นำ เพ่ือก้าว ใหท้ นั ตอ่ การเปลีย่ นแปลงของโลกยุคใหม่ 3. สำนกึ ยั่งยืน ผู้บรหิ ารตอ้ งมีการดำเนินกจิ กรรม บนพน้ื ฐานของแนวคดิ การ (Sustainability Mindset) พัฒนาอย่างยั่งยืน โดยเริ่มจาก Mindset ของคนในองค์กรและทำ ให้คนในองค์กรมีความเชื่อทเ่ี หมอื นกัน มีการดำเนินงานบนหลกั พืน้ ฐานของจรยิ ธรรม มีความเปน� ธรรมตอ่ ผใู้ หบ้ รกิ าร พนักงาน และสงั คม และจะส่งผลเกดิ เป�นขบวนการพัฒนาท่ยี ง่ั ยืน 4. ความสามารถทางดิจทิ ัล ผู้บริหารต้องมีความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือทางเทคนิค (Digital Literacy) และเกี่ยวข้องกับความรู้ ความสามารถพื้นฐานในการใช้ในการ ทำงานกับเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายสารสนเทศ ได้แก่ ความสามารถในการสืบค้น การจัดการ การ แบ่งป�น รวมถึงการ สร้างสารสนเทศและความรู้ ทักษะการ เรียนรู้ในการทำงานกับ สารสนเทศที่นำเสนอผ่านคอมพิวเตอร์ในรูปแบบและจากแหล่งที่ หลากหลาย

ลำดับ คำสำคญั และคำนยิ าม คำอธิบาย ที่ (Keyword/Definition) (Description) 5. ความสามารถทางการเงนิ ผบู้ ริหารตอ้ งมีองคป์ ระกอบมวลรวมของความตระหนกั ความรู้ (Financial Literacy) ความสามารถ ทัศนคติ ตลอดจนพฤติกรรมทจ่ี ำเปน� ต่อการตัดสนิ ทางการเงินและกำหนดความเปน� อยู่ทางการเงินทด่ี ไี ด้ ท่ี 6. ความสามารถทางสงั คม ประกอบด้วย ทัศนคติทางการเงนิ พฤติกรรมทางการเงิน ความรู้ (Social Literacy) ทางการเงนิ 7. ทักษะคล่องแคลว่ ผบู้ ริหารตอ้ งมวี ัฒนธรรมแบบการมีสว่ นรว่ ม ความร่วมมือและ (Agility) เครอื ข่าย ความต้องการทักษะสำหรับการทำงานภายในเครือขา่ ย ทางสงั คม เพื่อการรวบรวมความร้คู วามสามารถในการสอ่ื สาร 8. ทักษะคน และสามารถแยกแยะไดห้ ากมีความขัดแย้งของข้อมลู (Human Skill) ผูบ้ รหิ ารต้องมคี วามสามารถในการเคลอ่ื นทีห่ รือเคลือ่ นไหวอยา่ ง 9 ทกั ษะผู้ประกอบการ อิสระ เร็วและมีทิศทางตำแหน่งได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ เป�นการ (Entrepreneurship) ทำงานที่ต้องมีความสัมพันธ์กันของระบบซึง่ ทำหน้าที่ประสานงาน กันได้อยา่ งดีมี 10. ทกั ษะส่ือสาร (Communication Skill) ผู้บริหารต้องมีการจัดการคนที่อยู่ในองค์กรได้ตรงตามความ ต้องการขององค์การ และรวมถึงการดำเนินการส่งเสริมให้บุคลากร ลำดบั คำสำคัญและคำนยิ าม ได้รับการพัฒนาทุกรูปแบบการดำเนินการในงาน การพัฒนา ท่ี (Keyword/Definition) บุคลากร การสร้างขวัญและกำลังใจ การสร้างบรรยากาศในการ ทำงานให้เกิดขึ้นในองค์กร การธำรงรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่เก่ง ดี มี ความสามารถ การจัดคนลงตำแหน่งที่เหมาะสมกับงาน ในการ จัดการเรื่องบุคคลนี้จะต้องทำให้สอดคล้องกับการจัดตั้งองค์กรจึง จะทำใหเ้ กดิ ประสทิ ธิภาพในการทำงาน ผบู้ รหิ ารต้องรูจ้ กั เป�นผปู้ ระกอบการในกจิ การใดกจิ การหน่ึง เร่มิ จากการหาข้อมูล ดงั นี้ รูจ้ ักตน รขู้ อ้ มลู ของลกู ค้าของคแู่ ขง่ รู้นโยบายส่งเสรมิ จากภาครฐั วางแผนการเงินในระยะยาวการทำ บญั ชี การบริการที่มปี ระสิทธิภาพจากการขายสินค้า มีคุณภาพจาก บุคลากรท่ีเหมาะสม และเลือกทำเลที่ต้ังที่เหมาะสมกับสินค้า หรือบรกิ าร ผู้บริหารต้องมีกระบวนการในการส่งสาร หรอื แลกเปลย่ี นข่าวสาร ความคิด ความรู้สกึ ระหวา่ งบุคคล เน้นความสัมพันธ์ของมนุษย์ ซ่ึง กระบวนการทเ่ี กดิ ข้ึนนน้ั เพอื่ สร้างความเข้าใจอนั ดตี ่อกนั คำอธิบาย (Description)

11. การอาชวี ศกึ ษายกกำลงั สอง หมายถึง การขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา โดยเน้นการสร้าง (Eco System College) “ระบบการศึกษายกกำลังสอง ซึ่งประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 สว่ น ได้แก่ 1) ระบบการศึกษา 12. การอาชีวศึกษาสู่สากล (Eco System College) 2) กลไกการขับเคล่อื น 3) อุปสงค์ อุปทาน ซึ่งจะช่วยให้ระบบการศึกษา 13. ศนู ย์ความเป�นเลิศดา้ นอาชีวศึกษา มีความคลอ่ งตัว ปรบั ตวั ทนั บริบทในศตวรรษที่ 21 Excellent Center College แผนพฒั นากำลังคนอาชวี ศกึ ษาให้ความสำคญั กับคณุ ภาพผ้สู ำเร็จ 14. การอาชวี ศกึ ษาเพ่อื ส่งิ แวดล้อม อาชวี ศึกษาเปน� สำคัญ การพัฒนากำลังคนในระดบั โลก ระดบั Green College ภูมิภาค ระดบั ประเทศ ให้ความสำคญั กับครู และผูบ้ ริหาร สถานศึกษาเพ่ือมุ่งเพิ่มพนู ขีดความสามารถของครูในยุคแห่งการ 15. การอาชวี ศกึ ษาดจิ ิทลั เปลีย่ นแปลงให้มปี ระสิทธิภาพยกระดับคุณภาพการเรยี นการสอน ( Digital college) และเตรียมพรอ้ มกำลังคนรองรับการเปน� ประชาคมเศรษฐกิจ อาเซียนการเพิ่มขีดความสามารถทางภาษา ใหม้ มี าตรฐานในระดับ 16. การอาชวี ศกึ ษาเพ่ือทักษะอนาคต สากล Future Skill College ศูนยก์ ารจดั การศึกษา เพอ่ื พฒั นากำลังคนรองรบั อุตสาหกรรม ในเขตพัฒนาพเิ ศษ (EEC/SEC/SEZ) รว่ มมอื กบั ภาครัฐและเอกชน เพือ่ พฒั นาทักษะทางวชิ าชพี และภาษา (อังกฤษ จีน และภาษาใน อาเซียน) อาชวี ะฐานวิทย์ฯ/ตามมาตรฐาน KOSEN หมายถึง การดำเนินงานของสำนักงานคณะกรรมการการ อาชีวศึกษา (สอศ.) ในด้านการอาชีวศึกษาเพื่อสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาได้ดำเนินการด้านสร้าง การเติบโตบนคณุ ภาพชีวติ ทเ่ี ปน� มติ รกบั ส่ิงแวดล้อม เชน่ - กิจกรรมโครงการอันเนอ่ื งมาจากพระราชดำริ ฯลฯ การเตรียมความพร้อมหรือให้ความรู้แก่ประชาชน คือการสร้าง ความเป�นมนุษย์ที่ผ่านการปลูกฝ�งนิสัยแห่งการเรียนรู้ การมี คุณธรรม มีทักษะการวิเคราะห์ และมีความสามารถในการอยู่ รว่ มกับผู้อนื่ เหลา่ นคี้ อื ขอ้ กาํ หนดของการเป�นพลเมืองในศตวรรษที่ 21 หมายถึง จัดการศึกษาให้ผู้เรียนอาชีวศึกษามีทักษะที่สำคัญใน ศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 3R คือ Reading (การอ่าน), การเขียน (Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C ได้แก่ Critical Thinking – การคดิ วเิ คราะห์ Communication- การ สอื่ สาร Collaboration-การรว่ มมอื และ Creativity ความคดิ สรา้ งสรรค์ รวมถงึ ทักษะชวี ิตและอาชีพ และทักษะดา้ นสารสนเทศ

สอ่ื และเทคโนโลยี และการบริหาร และจดั การด้านการศึกษาแบบ ใหม่ 17. การอาชีวศึกษาเพ่ือความย่ังยนื การผลิตและพัฒนากำลังคนทั้งในระดับกึ่งฝ�มือ ระดับฝ�มือ ระดับ (Sustainable College) เทคนิค และระดับเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชาชีพที่เป�ดสอน มีการ จดั การเรยี นการสอนโดยใหผ้ ้เู รียนเกดิ ทกั ษะ มคี ณุ ภาพและ มาตรฐานสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยี เพื่อความยั่งยนื และการสร้างผู้นำเป�ดโอกาสให้ผูบ้ รหิ ารระดับต่าง ๆ มีส่วนร่วมใน การบริหาร 18. การอาชีวศึกษาเพอ่ื การเป�น เป�นหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษาและฝ�กอบรมวิชาชีพ เพ่ือ ผปู้ ระกอบการ ผลิตและพัฒนากำลังคนทั้งในระดับกึ่งฝ�มือ ระดับฝ�มือ ระดับ Entrepreneurship college เทคนิค และระดับเทคโนโลยีในทุกสาขาวิชา อย่างมีคุณภาพและ มาตรฐานสอดคลอ้ งกบั สภาพเศรษฐกิจ สงั คม วฒั นธรรม โดยมกี ารจัดทำแผนงาน โครงการ และกจิ กรรมพัฒนาการศึกษา วชิ าชพี ด้วยการพฒั นาทักษะพนื้ ฐานของผู้เรียนอาชวี ศกึ ษาให้มี ความรู้ทางด้านการจดั การธุรกจิ อย่างแทจ้ รงิ ไดอ้ ย่าง เป�นรูปธรรม 19. การอาชีวศกึ ษาเพื่อการเปน� จัดการศกึ ษาเพอ่ื การมงี านทำและสร้างนวตั กรรมตามความ ผปู้ ระกอบการนวตั กรรม ต้องการของพ้ืนทช่ี มุ ชนภูมิภาคหรือประเทศ จึงได้ส่งเสรมิ และ (Innopreneur College) สนบั สนุนใหผ้ ู้เรยี นอาชีวศกึ ษาคิดคน้ สร้างนวตั กรรม โดยใช้ เทคโนโลยบี วกกับความรดู้ า้ นวิชาชีพมาพฒั นาเป�นผลติ ภัณฑ์ โดย ต่อยอดในเชิงพาณิชย์ ให้ผู้เรียนสามารถเรยี นรู้การทำธุรกิจและมี รายไดร้ ะหวา่ งเรียน เกิดเปน� ศูนยบ์ ่มเพาะผู้ประกอบการ อาชีวศกึ ษาในสถานศึกษาสังกดั สอศ 20. ศนู ยป์ ฏิบัตกิ ารอาชวี ศกึ ษา หมายถึง สำนักคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและศูนย์ต่างๆที่มี (Complex College) ภาระกิจการจัดและส่งเสริมการอาชีวศึกษาและการฝ�กอบรม วิชาชพี โดยคำนึงถงึ คณุ ภาพและความเปน� เลิศทางวิชาชีพ 21. การจดั การเรยี นรู้โดยใชป้ ญ� หาเปน� ฐาน การเรียนรู้แบบใช้ป�ญหาเป�นฐาน เป�นวิธีการเรียนที่เริ่มต้นด้วย (Problem Based Learning : PBL) การค้นคว้าจนค้นพบคำตอบด้วยตนเองโดย ใช้กระบวนการกลุ่ม แล้วนำความรู้ที่ได้ค้นคว้ามารว่ มกันอภปิ ราย ทำให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้ ผ่าน กระบวนการคิด การแก้ป�ญหา โดยครูผู้สอนเป�นเพียง ผใู้ ห้คำแนะนำชว่ ยเหลือและสนับสนุนในการเรียน ลำดบั คำสำคัญและคำนยิ าม คำอธิบาย ที่ (Keyword/Definition) (Description)

22. การจัดการเรียนรู้โดยใชโ้ ครงงานเปน� การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป�นฐานเป�นการเป�ดโอกาสให้ผู้เรียน ฐาน (Project Based Learning : เรียนรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรียนอย่างลุ่มลึกโดย PjBL) ผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแกป้ �ญหาผู้เรียนจะเป�นผู้ลง มือปฏิบัติเพื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเองจึงเป�นการเรียนรู้จาก ประสบการณ์ตรง หรือแหล่งความรู้ต่าง ๆ และผู้เรียนสามารถ นำไปประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ ประจำวนั ได้ 23. การเรยี นรตู้ ลอดชวี ิต เปน� การศึกษาตลอดชีวิตสำหรบั ประชาชนทุกคน ซึ่งเป�นการศึกษา (Lifelong Learning) ที่ผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และ การศกึ ษาตามอัธยาศัย เพอ่ื ให้สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตได้อย่าง ตอ่ เนื่องตลอดชวี ิติ 24. การเรียนรู้ด้วนตนเอง กระบวนการเรียนรู้ที่ผูเ้ รยี นจะเรียนด้วยความชว่ ยเหลอื สนับสนนุ (Self Learning) จากภายนอกตัวผ้เู รียนหรือไม่กต็ าม ผเู้ รยี นจะริเริ่มการเรียนรู้ เลอื กเป้าหมาย แสวงหาแหลง่ ทรพั ยากรของการเรียนรู้เลือกวิธีการ เรียนรู้ จนถงึ การประเมนิ ความก้าวหน้าของการเรยี นรขู้ องตนเอง 25. การจัดการเรยี นการสอนตามสภาพจริง การจดั การเรยี นการสอนตามสภาพจรงิ เนน้ ใหผ้ เู้ รียนได้เรียนรู้ (Authentic Instruction) ภายใตป้ ระสบการณ์ที่สอดคล้องกบั สภาพความเป�นจรงิ มากที่สดุ ผเู้ รยี นสามารถประยุกต์ข้อมูลความรู้ประสบการณท์ ี่ไดไ้ ปใชใ้ น สถานการณจ์ ริง หรือโลกแหง่ ความเป�นจริงได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ 26. การจดั การศกึ ษาบูรณาการและการ การจดั การศึกษาแบบ ผสมกลมกลนื ระหวา่ งประสบการณการ ์ ทำงาน (Work Integrated Learning) ทำงานวิชาชีพนอกห้องเรยี น กบั การเรียนในห้องเรยี น ทัง้ ใน รปู แบบแบบการศกึ ษา วิจยั การฝ�กงาน การทำงานเพ่ือสังคม การทำงานในสถานประกอบการหรอื การฝ�กประสบการณ์วิชาชพี 27. การเรยี นการสอนโดยลงมอื ปฏบิ ัติ เรยี นร้ดู ว้ ยตนเอง รปู แบบการเรียนรู้ผา่ นการลงมอื ปฏิบตั ิอาศัย (Active Learning) หลักการสรา้ งกระบวนการเรียนรู้ทเ่ี หมาะสม ผูเ้ รียนสามารถเรยี นรู้ ด้วยตนเอง สรา้ งความกระตือรอื ร้นในการเรียน กระตนุ้ ทักษะการ คิด มากกวา่ การสอนแบบบรรยาย หรือการให้ผเู้ รยี นท่องจำส่งผล ให้การเรยี นรู้ของผู้เรียนมปี ระสทิ ธิภาพสงู และเกดิ การเรียนรูอ้ ย่าง ต่อเน่อื งนอกห้องเรียน ลำดับ คำสำคญั และคำนยิ าม คำอธิบาย ที่ (Keyword/Definition) (Description) 28. การแบง่ ปน� ความรู้ (Knowledge ผู้บริหารต้องมีการแลกเปลี่ยนความรู้พฤติกรรมการถ่ายทอด Sharing) แ ล ก เ ป ล ี ่ ย น น ค ว า ม ร ู ้ ร ะ ห ว่ า ง บ ุ ค ค ล ห ร ื อ ก ล ุ ่ ม บ ุ ค ค ล มี ก า ร

แลกเปลี่ยนความรู้เป�นกระบวนการหนึ่งที่สำคัญของการจัดการ ความรู้ในองค์กร เป�นการนำศักยภาพของคนในองค์กรออกมาใช้ เพอ่ื พฒั นาองค์กรไปส่เู ป้าหมายและทิศทางที่ต้องการ 29. หลักการสรา้ งพลงั ความคิดเชงิ บวก ผบู้ รหิ ารต้องมี หลกั การสร้างพลังการคดิ เชงิ บวก การคิดเชงิ บวก (The Power of Positive Thinking) เป�นวธิ กี ารในการมองสถานการณต์ า่ ง ๆ ใน แง่มุมทส่ี ร้างสรรค์ เพ่อื รับมือปญ� หาได้อยา่ งเหมาะสมและใชช้ วี ิตไดอ้ ย่างมีความสขุ 30. บคุ ลิกภาพเชงิ บวก (Personality Plus) ผูบ้ รหิ ารตอ้ งมี กิรยิ ามารยาท การแตง่ ตัวการพดู จา และสามารถ มองเหน็ ไดโ้ ดยตรง เช่น สติปญ� ญา ความถนดั อารมณ์ ทำให้ สามารถแยกไดว้ า่ บุคคลแตล่ ะบคุ คลแตกต่างกันอยา่ งไร ดงั นน้ั บุคลกิ ภาพ จึงเป�น เอกลกั ษณ์เฉพาะตวั ของบคุ คลและกลุม่ บคุ คล 31. ความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional ผู้บริหารต้องมี ความฉลาดทางอารมณ์มีไหวพริบเท่าทันใน Intelligence) ความคิด ความรู้สึก และภาวะอารมณ์ของตนเองและอื่นได้ รวมถึงความสามารถในการรับรู้เข้าใจ สามารถควบคุมและสร้าง แรง กระตุ้นจากภายในให้กบตัวเอง เพื!อให้เกิดเป�นแรงจูงใจใน การทำงานตา่ ง ๆ ไดอ้ ย่างเหมาะสม 32. หลกั การสรา้ งความสำเรจ็ ดว้ ยกฎแหง่ ผู้บริหารต้องมีหลักการสร้างความสำเร็จด้วยกฎแห่งความสำเร็จ ความสำเรจ็ (The Law of Success) คือ การทำเป้าหมายที่วางไว้ได้ประสบผลสำเร็จบรรลุตาม จุดประสงค์ และหลักการสร้างความสำเร็จต้องมีทัศนคติ วิธีคิด อย่างคนประสบความสำเรจ็ และการปรบั ทัศนคติ

ใบนำเสนองาน การศึกษาคน้ ควา้ เรยี นร้เู พอ่ื พฒั นาตนเอง คำสำคญั และคำนยิ ามศพั ท์ วทิ ยากรพเ่ี ล้ียง.....................ผอ. จรุ ี ทัพวงษ์............................................................................................. ช่อื -สกลุ .................นายกิตตศิ กั ด์ิ หว่ งมิตร........................ กลมุ่ ที่.........2.............เลขท่.ี ............4.............. สรุป สินทรัพย์ท่ีผู้บรหิ ารรนุ่ ใหมต่ ้องมี สนิ ทรพั ยท์ ผ่ี ู้บรหิ ารร่นุ ใหมต่ ้องมี ไดแ้ ก่ ผ้บู ริหารต้องมี Global Mindset การมองภาพในมุมกว้าง ไมไ่ ดจ้ ำกดั แค่เฉพาะความรูใ้ นประเทศ แต่ ต้องรู้ให้เท่าทันโลกที่พัฒนาไปอย่างรวดเร็ว โดยพิจารณาข้อมูลจากหลากหลายแหล่ง มีศูนย์เพื่อผลิตและ พัฒนา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) กำลังคนให้สอดคล้อง กับความต้องการของประเทศ ขับเคลื่อนการศึกษาเพื่ออาชีพและสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ เพื่อใหผ้ จู้ บอาชีวศึกษามีอาชีพ แล้วนำไปคิดวิเคราะห์เพื่อใหเ้ ข้าใจความเป�นไปของโลก ซึ่งแบบสากล นี้ ถือเป�นหนึ่งในทักษะที่สำคัญและจำเป�นอย่างยิ่งโดยเฉพาะคนที่เป�นผู้นำ เพื่อก้าวให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ของโลกยุคใหม่ในการการดำเนินกิจกรรม บนพื้นฐานของแนวคิดการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainability Mindset) มีความเป�นธรรมต่อผู้ให้บริการ พนักงาน และสังคม และจะส่งผลเกิดเป�นขบวนในการพัฒนา ความสามารถ ความรู้ ความเข้าใจในการใช้เครื่องมือทางเทคนิคพื้นฐาน (Digital Literacy) ใช้ในการทำงาน กับเทคโนโลยีสารสนเทศและเครือข่ายสารสนเทศ นอกจากนี้ยังต้องมีการมีทักษะการแก้ป�ญหา ทักษะการ ส่อื สาร การร่วมมอื กับ ผอู้ ่ืน รวมถงึ มีการตระหนักดา้ นจริยธรรมและมารยาทบนอินเทอร์เนต็ นั้นก็คือ ผู้บริหาร ต้องมี (Social Literacy) ความสามารถทางสังคม คอื ความร่วมมอื และการทำงานภายในเครือข่ายทางสังคม เพ่อื การรวบรวมความรู้ความสามารถในการส่ือสาร และสามารถแยกแยะไดห้ ากมคี วามขัดแย้งของข้อมูล ด้าน (Financial Literacy) มีความตระหนัก ความรู้ ความสามารถ ทัศนคติ ตลอดจนพฤติกรรมที่จำเป�นต่อการ ตัดสินทางการเงินของสถานศึกษาและกำหนดความเป�นอยู่ทางการเงินที่ดไี ด้และต้องมี (Agility Skills) ความ คล่องแคล่วว่องไว หรือเคลื่อนไหวอย่างอิสระ รวดเร็วและมีทิศทางการบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ และมี ความสามารถในการจัดการคนทอ่ี ยใู่ นองค์กร (Human Skill) ท่ีมีคณุ สมบตั ิตรงตามความต้องการขององค์การ เข้ามาทำงานในองค์การ และรวมถึงการดำเนินการ กิจกรรมที่องค์การจัดขึ้นเพื่อสง่ เสริมให้บุคลากรได้รับการ พัฒนาทกุ รปู แบบการดำเนินการในงาน การพฒั นาบุคลากร การสรา้ งขวัญและกำลังใจ การสร้างบรรยากาศใน การทำงานให้เกิดขึ้นในองค์กร การธำรงรักษาไว้ซึ่งบุคลากรที่เก่ง ดี มีความสามารถ การจัดคนลงตำแหน่งท่ี เหมาะสมกับงาน ในการจัดการเรื่องบุคคลนี้จะต้องทำให้สอดคล้องกับการจัดตั้งองค์กรจึงจะทำให้เกิด ประสิทธิภาพในการทำงาน จนเป�น (Entrepreneurship) ผู้ประกอบการในกิจการของสถานศึกษา มีทักษะ สื่อสาร (Communication Skill) กระบวนการในการส่งสาร หรือ แลกเปลี่ยนข่าวสาร ความคิด ความรู้สึก ระหว่างบคุ คล เน้นความสัมพันธ์ของมนุษย์ ซง่ึ กระบวนการทเ่ี กดิ ข้ึนนน้ั เพ่อื สรา้ งความเข้าใจอนั ดตี ่อกนั

ดา้ นการพฒั นาสถานศึกษาอาชีวศกึ ษา ผู้บริหารต้องมีการขับเคลื่อนการปฏิรูปการศึกษา โดยเน้นการสร้าง “ระบบการศึกษายกกำลังสอง (Eco System College) ซึ่งประกอบด้วยส่วนสำคัญ 3 ส่วน ได้แก่ 1) ระบบการศึกษา 2) กลไกการ ขับเคลื่อน 3) อุปสงค์ อุปทาน ซึ่งจะช่วยใหร้ ะบบการศึกษามคี วามคล่องตัว ปรับตัวทันบริบทในศตวรรษท่ี 21 ต่อแผนพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษาให้ความสำคัญกับคุณภาพผู้สำเร็จอาชีวศึกษาเป�นสำคัญ (Eco System College) การพัฒนากำลังคนในระดับโลก ระดับภูมิภาค ระดับประเทศ ให้ความสำคัญกับครู และผู้บริหาร สถานศึกษาเพื่อมุ่งเพิ่มพูน ขีดความสามารถของครูในยุคแห่งการเปลี่ยนแปลงให้มีประสิทธิภาพยกระดับ คุณภาพการเรียนการสอนและเตรียมพร้อมกำลังคนรองรับการเป�นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนการเพิ่มขีด ความสามารถทางภาษา ให้มีมาตรฐานในระดับสากล และศูนย์การจัดการศึกษา เพื่อพัฒนากำลังคนรองรับ อุตสาหกรรม ในเขตพัฒนาพิเศษ (EEC/SEC/SEZ) ร่วมมือกับภาครัฐและเอกชนเพื่อพัฒนาทักษะทางวิชาชีพ และภาษา (อังกฤษ จีน และภาษาในอาเซียน) ตามมาตรฐาน KOSEN ส่วนในด้านการอาชีวศึกษาเพื่อสิ่งแวดล้อม (Green College) ได้ดำเนินการด้านสร้างการเติบโตบนคุณภาพ ชีวิตที่เป�นมิตรกับสิ่งแวดล้อม เช่น - กิจกรรมโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ฯลฯ มีการการเตรียม ความพร้อมหรือให้ความรู้แก่นักเรียนักศึกษา และประชาชน คือการสร้างความเป�นมนุษย์ที่ผ่านการปลูกฝ�ง นิสัยแหง่ การเรียนรู้ การมคี ณุ ธรรม มที กั ษะการวิเคราะห์ และมีความสามารถในการอยู่ร่วมกับผู้อ่ืน เหล่าน้ีคือ ข้อกําหนดของการเป�นพลเมืองในศตวรรษที่ 21นั้นคือ ( Digital college) ส่วนจัดการศึกษา (Future Skill College) ให้ผู้เรียนอาชีวศึกษามีทักษะที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 ได้แก่ 3R คือ Reading (การอ่าน), การ เขียน(Writing) และ คณิตศาสตร์ (Arithmetic) และ 4 C ได้แก่ Critical Thinking – การคิดวิเคราะห์ Communication- การสื่อสาร Collaboration-การร่วมมือ และ Creativity ความคิดสร้างสรรค์ รวมถึง ทักษะชีวิตและอาชีพ และทักษะด้านสารสนเทศสื่อและเทคโนโลยี และการบริหาร และจัดการด้านการศึกษา แบบใหม่ (Sustainable College) มีการผลิตและพฒั นากำลังคนทัง้ ในระดับกึง่ ฝ�มือ ระดบั ฝ�มอื ระดับเทคนิค และระดับเทคโนโลยีในทกุ สาขาวิชาชพี ท่เี ปด� สอน มีการจดั การเรยี นการสอนโดยใหผ้ ู้เรียนเกดิ ทักษะ มีคณุ ภาพ และมีมาตรฐานสอดคล้องกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดล้อมและความก้าวหน้าทางด้าน เทคโนโลยี เพื่อความยั่งยืน และการสร้างผู้นำเป�ดโอกาสให้ผู้บริหารระดับต่าง ๆ เป�นผู้ประกอบการ (Entrepreneurship college) มีส่วนร่วมในการบริหารมีการจัดทำแผนงาน โครงการ และกิจกรรมพัฒนา การศึกษาวชิ าชพี ด้วยการพัฒนาทกั ษะพ้ืนฐานของผู้เรียนอาชวี ศกึ ษาใหม้ ี ความร้ทู างดา้ นการจดั การธุรกิจอย่าง แทจ้ รงิ ไดอ้ ย่าง เป�นรูปธรรมโดยใช้เทคโนโลยบี วกกบั ความร้ดู ้านวิชาชีพมาพัฒนาเปน� ผลิตภัณฑ์ โดยต่อยอดใน เชงิ พาณชิ ย์ ใหผ้ ้เู รียนสามารถเรยี นรูก้ ารทำธุรกจิ และมรี ายได้ระหว่างเรยี น เกดิ เปน� ศนู ยบ์ ่มเพาะผ้ปู ระกอบการ อาชีวศึกษาในสถานศึกษาสังกัด สอศ. การอาชีวศึกษาเพื่อการเป�นผู้ประกอบการนวัตกรรม(Innopreneur College) และจัดเปน� ศูนย์ปฏบิ ตั กิ ารอาชีวศกึ ษา (Complex College) เป�นการฝ�กอบรมวิชาชพี โดยคำนึงถึง คุณภาพและความเปน� เลิศทางวชิ าชีพ

หลกั การเรยี นร้ทู ีค่ วรศึกษา ผู้บริหารต้องมีวิธีการที่หลากหลายต่อการเรียนรู้ที่ควรศึกษาเพื่อตอบโจทย์ให้กับครูผู้สอนและนักเรียน นักศึกษา โดยมีวิธีการจัดการจัดการเรียนรู้โดยใช้ป�ญหาเป�นฐาน (Problem Based Learning : PBL) เป�น วิธีการเรียนที่เริ่มต้นด้วย การค้นคว้าจนค้นพบคำตอบด้วยตนเองโดย ใช้กระบวนการกลุ่ม แล้วนำความรู้ที่ได้ ค้นคว้ามาร่วมกันอภิปราย ทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ ผ่าน กระบวนการคิด การแก้ป�ญหา โดยครูผู้สอนเป�น เพียงผู้ให้คำแนะนำช่วยเหลือและสนับสนุนในการเรียน ส่วนการจัดการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป�นฐาน (Project Based Learning : PjBL) การเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป�นฐานเป�นการเป�ดโอกาสให้ผู้เรียนเรียนรู้ เรื่องใดเรื่องหนึ่งตามความสนใจของผู้เรียนอย่างลุ่มลึกโดยผ่านกระบวนการหลักคือ กระบวนการแก้ป�ญหา ผู้เรียนจะเป�นผู้ลงมือปฏิบัติเพื่อค้นหาคำตอบด้วยตนเองจึงเป�นการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง หรือแหล่ง ความรู้ต่าง ๆ และผู้เรียนสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตและเป�นการศึกษา (Lifelong Learning) เป�น การศึกษาตลอดชีวิตสำหรับประชาชนทุกคน ซึ่งเป�นการศึกษาที่ผสมผสานระหว่างการศึกษาในระบบ การศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัยตนเอง (Self Learning) เพื่อให้สามารถพัฒนาคุณภาพ ชีวติ ได้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตและการจัดการเรียนการสอนตามสภาพจริง (Authentic Instruction) การ จัดการเรยี นการสอนตามสภาพจริง เนน้ ให้ผเู้ รยี นไดเ้ รียนรู้ภายใต้ประสบการณ์ที่สอดคล้องกับสภาพความเป�น จรงิ มากท่ีสุด ผูเ้ รยี นสามารถประยุกตข์ ้อมลู ความรู้ประสบการณ์ทไี่ ด้ไปใช้ในสถานการณ์จริง หรอื โลกแห่งความ เป�นจริงและสามารถบูรณาการกับการทำงาน (Work Integrated Learning) ผสมกลมกลืนระหว่าง การ เรียนในห้องเรียน การทำงานในสถานประกอบการหรือการฝ�กประสบการณ์วิชาชีพ โดยลงมือปฏิบัติ (Active Learning) เรียนรู้ด้วยตนเอง รูปแบบการเรียนรู้ผ่านการลงมือปฏิบัติอาศัยหลักการสร้าง กระบวนการเรียนรู้ที่เหมาะสม ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง สร้างความกระตือรือร้นในการเรียน กระตุ้น ทักษะการคิด มากกว่าการสอนแบบบรรยาย สามารถการแบ่งป�นความรู้ (Knowledge Sharing) เช่น ผู้บริหารก็ต้องมีการแลกเปลี่ยนความรู้พฤติกรรมการถ่ายทอด แลกเปลี่ยนนความรู้ระหว่างบุคคลหรือกลุ่ม บุคคลมีการแลกเปลี่ยนความรู้เป�นกระบวนการหนึ่งที่สำคัญของการจัดการความรู้ในองค์กร เป�นการนำ ศกั ยภาพของคนในองคก์ รออกมาใช้เพ่ือพัฒนาองค์กรไปสเู่ ปา้ หมายและทิศทางท่ีตอ้ งการ ใชห้ ลกั การสร้างพลัง ความคิดเชงิ บวก (The Power of Positive Thinking) เปน� วธิ ีการในการมองสถานการณ์ต่าง ๆ ใน แง่มุมที่ สร้างสรรค์ เพื่อรับมือป�ญหาได้อย่างเหมาะสมและใชช้ ีวิตไดอ้ ย่างมีความสุข และผู้บริหารต้องมีบุคลิกภาพเชิง บวก (Personality Plus) กิรยิ ามารยาท การแต่งตัวการพูดจา และสามารถมองเหน็ ได้โดยตรง เช่น สติปญ� ญา ความถนัด อารมณ์ ทำให้สามารถแยกได้ว่าบุคคลแต่ละบุคคลแตกต่างกันอย่างไร ดังนั้น บุคลิกภาพ จึงเป�น เอกลักษณ์เฉพาะตัวของบุคคลและกลุ่มบุคคล ต้องเป�นคนที่จัดการความฉลาดทางอารมณ์ (Emotional Intelligence) มีไหวพริบเท่าทันในความคิด ความรู้สึก และภาวะอารมณ์ของตนเองและอื่นได้ รวมถึง ความสามารถในการรับรู้เข้าใจ สามารถควบคุมและสร้างแรง กระตุ้นจากภายในให้กบตัวเอง เพื!อให้เกิดเป�น แรงจูงใจในการทำงานตา่ ง ๆ ได้อยา่ งเหมาะสม

ดังนั้นผู้บริหารต้องมี (The Law of Success) คือหลักการสร้างความสำเร็จด้วยกฎแห่งความสำเร็จ คือ การทำเป้าหมายที่วางไว้ได้ประสบผลสำเร็จบรรลุตามจุดประสงค์ และหลักการสร้างความสำเร็จต้องมี ทัศนคติ วิธคี ดิ อยา่ งคนประสบความสำเร็จ และการปรับทั


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook