Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทความวิจัยการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ 601120056

บทความวิจัยการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ 601120056

Published by sutida.nat, 2022-03-01 13:45:45

Description: บทความวิจัยการใช้แบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ 601120056

Search

Read the Text Version

1 การใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรอื่ ง การแก้โจทยป์ ญั หาการบวก และการลบจำนวนเตม็ สำหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปที ี่ 1 โรงเรียนป่าแดดวทิ ยาคม อำเภอปา่ แดด จงั หวัดเชียงราย The using skill exercises to promote learning on solving addition problems and subtraction of integers for students in Mathayomsuksa 1, Padadwittayakom School Pa Daet District, Chiang Rai Province นางสาวสธุ ดิ า เปง็ เรอื น โรงเรียนปา่ แดดวิทยาคม อำเภอปา่ แดด จังหวัดเชยี งราย 57190 [email protected] บทคัดยอ่ การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบคะแนนผลการเรียนรู้ก่อนและหลังการใช้ชุดแบบฝึก ทักษะ 2) เพือ่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของผเู้ รียนที่มีตอ่ การเรียนโดยใช้แบบฝึกทกั ษะ กล่มุ ตวั อยา่ งทีใ่ ช้ในการวิจัยคร้ังน้ี เป็นนักเรียนช้นั มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนปา่ แดดวิทยาคม จำนวน 28 คน เปน็ นกั เรยี นชายจำนวน 9 คน และเป็น นักเรียนหญิง 19 คน ในปีการศึกษา 2564 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบไปด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้ 2) ชุดแบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง การแก้โจทย์ปญั หาการบวกและการลบจำนวนเต็ม 3) แบบทดสอบวัดผลการเรยี นรู้ 4) แบบ ประเมนิ ความพึงพอใจของผู้เรียนต่อชุดแบบฝึกทกั ษะ ผลการวิจยั พบวา่ 1) นกั เรยี นมผี ลการเรยี นรู้หลังเรยี นดว้ ยชุดแบบฝกึ ทักษะ สูงกว่ากอ่ นการเรยี นรอู้ ย่างมี นัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักเรียนมีความพึงพอใจต่อการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการ บวกและการลบจำนวนเต็ม อยู่ในระดับมากทสี่ ดุ คำสำคัญ : แบบฝึกทักษะ การส่งเสริมการเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ ความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึก ทักษะ Abstract The purpose of this research were 1) to compare the learning outcome scores before and after using the skill exercises 2) to study the learners' satisfaction with the learning by using skill exercises. The sample were 28 Mathayomsuksa 1 students at Padadwittayakom; 9 male and 19 female in the academic year 2021. The research instruments consisted of 1) learning management plan 2) The skill practice questionnaire on solving the problem of addition and subtraction of integers 3) the learning outcome test 4) the satisfaction assessment form of the learners on the skill set.

2 The result of this research were 1) the students had learning outcomes after studying with the skill training set. 2) The students were satisfied with using the skill training set. on solving integer addition and subtraction problems at the highest level Keyword s: skill exercises learning promotion learning outcomes satisfaction with learning using skills exercises บทนำ คณิตศาสตร์มีความสำคัญต่อการพัฒนาความคิดของมนุษย์เป็นอย่างมาก ทำให้มนุษย์มีความคิด สร้างสรรค์ คิดอย่างมเี หตุมีผล เปน็ ระบบ มีระเบยี บ มแี บบแผน สามารถคดิ วิเคราะห์ปัญหาและสถานการณไ์ ดอ้ ยา่ ง ถ่ถี ว้ นรอบคอบ ทำใหส้ ามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจ และแกป้ ัญหาได้อยา่ งถกู ต้องเหมาะสม คณิตศาสตร์เป็น เครื่องมือในการศกึ ษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตลอดจนศาสตรอ์ ื่น ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง คณิตศาสตร์จึงมีประโยชนต์ อ่ การดำรงชีวิต และช่วยพัฒนาคุณภาพชีวิต (กลุ่มส่งเสริมการเรียนการสอนและประเมินผล สำนักวิชาการและ มาตรฐานการศึกษา. 2548:1) นอกจากนี้คณิตศาสตร์ยังช่วยพัฒนาคนให้เป็นมนุษย์ที่สมบูรณ์ มีความสมดุลทั้งทาง รา่ งกาย จิตใจ สติปญั ญา และอารมณ์ สามารถคดิ เปน็ ทำเปน็ แกป้ ัญหาเป็น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมี ความสุข (สำนักทดสอบทางการศกึ ษา. 2546 : 2) สมทรง ดอนแก้วบัว (2538 : 7) กล่าวว่า วิชาคณิตศาสตร์มีความสำคัญและมีบทบาทต่อบุคคลมาก คณิตศาสตร์ช่วยฝึกให้คนมีความคิดรอบคอบ มีเหตุผล รู้จักหาความจริงมีคุณธรรมเช่นนี้อยู่ในใจ เป็นสิ่งสำคัญ มากกว่าความเจริญในด้านวิทยาการใดๆ นอกจากนี้เมื่อเด็กคิดเป็นและเคยชินต่อการแก้ปัญหาตามวัยไปทุกระยะ แลว้ เม่ือเป็นผใู้ หญย่ อ่ มสามารถแกป้ ญั หาชวี ติ ได้ คณติ ศาสตรย์ ังเปน็ รากฐานของวิทยาศาสตร์และเป็นวิชาหลัก ฝึก ในเรื่องการสังเกต และเป็นกุญแจนำไปสู่วิชาการใหม่ๆ มากมาย ไม่ว่าจะเป็นทางศิลปศาสตร์ ดนตรี นาฏศิลป์ ประวตั ศิ าสตร์ ฯลฯ หรือด้านวทิ ยาศาสตรส์ าขาต่างๆ สภาพปัจจุบันการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 1 โรงเรียนป่าแดด วิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย ยังไม่ประสบผลสำเรจ็ ตามวัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ เนื่องมาจากนักเรียนไม่ เข้าใจเนื้อหา เพราะครูผู้สอนยังยึดเนื้อหา ครูเป็นศูนยก์ ลาง และชุดฝึกทักษะขาดความน่าสนใจ ทำให้นักเรียนเกิด ความเบ่ือกบั การเรียนแบบเดมิ ๆ และขาดความกระตอื รอื รน้ ในการเรียน ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงเปลี่ยนแปลงวิธีการจัดประสบการณ์ให้กับนักเรียนจากเดิมที่ครูเป็นศูนย์กลางมาเป็น กระบวนการเรยี นรใู้ ห้นกั เรยี นไดเ้ รยี นรู้อยา่ งมคี วามสขุ จากการคิดวเิ คราะห์ วางแผน และปฏบิ ัติด้วยตนเองโดยการ ใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เข้ามาช่วยในการเรียนการสอนเพื่อพัฒนากระบวนการเรียนการสอนให้มีประสิทธิภาพมาก ยิ่งขึ้น ซึ่งชุดแบบฝึกทักษะสามารถส่งเสริมการเรยี นรู้ของนักเรียนไดเ้ พราะนักเรียนสามารถศึกษาค้นควา้ หาความรู้ เรียนรไู้ ด้ด้วยตนเอง และสามารถช่วยพฒั นาความร้คู วามสามารถของผเู้ รยี นทำให้ผูเ้ รยี นเกดิ การเรยี นรู้อย่างรวดเร็ว และยังช่วยแก้ปัญหาในการเรียนการสอนอันเน่ืองมาจากครูและความสามารถของนักเรียนแต่ละคน และยงั ชว่ ยเพ่ิม ประสิทธิภาพการเรียนการสอนให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน พัฒนาผู้เรียนให้เป็นผู้ท่ีมีความรู้ความสามารถ เป็นคนมี เหตุผล สามารถผสมผสานความรไู้ ปใช้ในการแก้ปญั หาในชีวติ ประจำวนั ได้ จากที่กล่าวมาข้างต้นผู้วิจัยจึงเล็งเห็นถึงความสำคัญของ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบ จำนวนเต็ม ที่ผู้เรียนส่วนใหญ่มีปัญหาไม่เข้าใจการวิเคราะห์โจทย์ปัญหา ทำให้ผู้วิจัยสนใจที่จะศกึ ษาการพัฒนาผล

3 การเรยี นรู้กลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเตม็ ของนกั เรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นปา่ แดดวิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวัดเชยี งราย โดยการใช้แบบฝกึ ทักษะ เพือ่ พฒั นาการ เรียนรู้เพื่อให้นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปพัฒนาการเรียนรู้ต่อยอดที่ดีขึ้นในการเรียนและการใช้ ชวี ิตประจำวนั ต่อไป วตั ถุประสงค์ของการวิจยั 1. เพื่อเปรียบเทียบคะแนนผลการเรียนรู้ก่อนและหลังการใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหา การบวก และการลบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนป่าแดดวิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวดั เชยี งราย 2. เพื่อศึกษาความพึงพอใจที่มีต่อการเรียนโดยใช้แบบฝึกทักษะเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เรื่องการแก้โจทย์ ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนป่าแดดวิทยาคม อำเภอป่า แดด จังหวดั เชยี งราย วิธดี ำเนนิ การวิจัย 1. ประชากรและกล่มุ ตวั อย่าง ประชากร นักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนปา่ แดดวิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวัดเชยี งราย จำนวนท้ังส้ิน 80 คน เปน็ นักเรียนชาย 40 คน นกั เรียนหญิง 40 คน กลมุ่ ตวั อย่าง นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนป่าแดดวิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย จำนวน ทัง้ สนิ้ 28 คน เปน็ นักเรียนชาย 9 คน นักเรยี นหญงิ 19 คน 2. เครอื่ งมอื ทีใ่ ชใ้ นการวิจัย เคร่อื งมือในการวจิ ัยคร้งั นี้ประกอบด้วยแบบฝึกทักษะ ผวู้ ิจัยสรา้ งขึ้นโดยอาศยั แนวทาง และการปรับปรุง จากเอกสารท่ีเกยี่ วข้อง 1. แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบ จำนวนเต็ม สำหรับนักเรยี นชนั้ มัธยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 3 แผน รวม 6 ช่ัวโมง 2. ชุดแบบฝกึ ทักษะ เร่อื ง การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก และการลบจำนวนเต็ม ชดุ ท่ี 1 โจทย์ปญั หาเก่ยี วกบั การบวกจำนวนเตม็ แบบแสดงวิธที ำ จำนวน 10 ข้อ ชุดที่ 2 โจทย์ปัญหาเกีย่ วกับการลบจำนวนเต็ม แบบแสดงวิธที ำ จำนวน 10 ข้อ ชุดที่ 3 โจทย์ปญั หาเกย่ี วกับการบวก และการลบจำนวนเต็ม แบบแสดงวธิ ที ำ จำนวน 10 ขอ้ 3. แบบทดสอบวดั ผลการเรยี นรู้ เร่อื ง การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวก และการลบจำนวนเตม็ จำนวน 1 ชดุ แบบปรนยั 4 ตัวเลือก 20 ขอ้ 4. แบบประเมินความพงึ พอใจของผู้เรยี นตอ่ ชดุ แบบฝึกทกั ษะ เรือ่ ง การแก้โจทยป์ ัญหาการบวก และ การลบจำนวนเต็ม จำนวน 15 ขอ้

4 3. การสรา้ งและตรวจสอบคณุ ภาพเคร่ืองมือ 1. แผนการจัดการเรียนรู้ โดยใช้ชุดแบบฝึกทักษะเรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบ จำนวนเตม็ สำหรบั นกั เรียนช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 ผวู้ จิ ยั มีขนั้ ตอนในการจดั ทำแผนการจัดการเรียนรู้ ดังนี้ 1. ศึกษาวเิ คราะห์และทำความเข้าใจหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ันพื้นฐานพุทธศกั ราช 2560 ในดา้ นหลักการผลการเรยี นรสู้ าระการเรยี นรู้ 2. ศึกษาและทำความเข้าใจรายละเอียดของสาระการเรียนรู้แกนกลางรายละเอียดของเนื้อหา จากกลุ่มสาระการเรียนรูค้ ณติ ศาสตร์ ตามหลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพนื้ ฐานพทุ ธศกั ราช 2560 ช้นั มธั ยมศึกษา ปีท่ี 1 เรื่องการแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก และการลบจำนวนเตม็ 3. ศึกษาหลักการและทำความเข้าใจวิธีการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้ แบบฝึกทักษะ 4. สร้างแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยรูปแบบการเรียนการสอนโดยใช้แบบฝึกทักษะมา ประกอบการเรยี นการสอนในขนั้ อธบิ ายและลงขอ้ สรุป เพื่อใหน้ กั เรยี นเกิดความร้คู วามเข้าใจ ความคดิ รวบยอด การ วิเคราะห์การอภิปรายรว่ มกัน โดยสรา้ งแผนการจัดการเรียนรู้ในหน่วยการเรียนรู้ เรือ่ ง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเตม็ 3 แผน 1 หน่วยการเรยี นรู้ ใช้เวลา 2 ช่วั โมง รวมระยะเวลาทั้งสิ้น 6 ชัว่ โมง 5. กำหนดรปู แบบการดำเนินการเขยี นแผนการจดั การเรยี นรู้ตามท่ีวิเคราะหไ์ ว้ โดยแตล่ ะ แผนการจดั การเรียนรู้ ประกอบดว้ ย 5.1 มาตรฐานการเรยี นร/ู้ ตัวชวี้ ัด 5.2 สาระสำคญั 5.3 จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ 2. ด้านทักษะกระบวนการ 3. ดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ 5.4 สาระการเรียนรู้ 5.5 กระบวนการจดั การเรียนรู้ 5.6 สอ่ื การเรยี นรู้/แหล่งเรยี นรู้ 5.7 การวดั และประเมนิ ผล 5.8 แบบบนั ทกึ หลงั การสอนตามแผนการจดั การเรียนรู้ 5.9 เกณฑ์การประเมินด้านความรู้ 5.10 เกณฑ์การประเมินด้านทกั ษะ/กระบวนการ 5.11 เกณฑก์ ารประเมินดา้ นคณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ 5.12 เกณฑก์ ารประเมินดา้ นสมรรถนะสำคญั ของนกั เรยี น 6. นำแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเต็ม ที่สร้างเสร็จ เรยี บรอ้ ยแลว้ เสนอผูเ้ ชี่ยวชาญ (คณุ ครูในกลุม่ สาระการเรยี นรูค้ ณติ ศาสตร์ โรงเรียนป่าแดดวิทยาคม) จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความเหมาะสมของกิจกรรมการเรียนการสอน ความถูกต้อง ชัดเจน ความสอดคล้องของสาระการ

5 เรยี นรู้ สอื่ การเรียนร/ู้ แหล่งการเรยี นรู้ และระยะเวลาที่ใช้ ตลอดจนภาษาทถี่ ูกตอ้ ง ผเู้ ช่ยี วชาญท่ใี ห้ความอนุเคราะห์ ในการตรวจสอบคุณภาพของเครอ่ื งมือท่ใี ช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบดว้ ย 1) นายไพทรู ย์ จกั ร์แก้ว ตำแหนง่ ครูชำนาญการ 2) นายนติ ิ นันตา ตำแหน่ง ครชู ำนาญการ 3) นางกรรณกิ าร์ ชยั วาฤทธิ์ ตำแหน่ง ครูชำนาญการ โดยใช้แบบประเมินความเหมาะสม ซึ่งเป็นแบบมาตรส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ตามวิธี ของ Likert 5 ระดับ ดงั นี้ 5 หมายถึง มคี วามเหมาะสมมากทสี่ ดุ 4 หมายถงึ มีความเหมาะสมมาก 3 หมายถงึ มีความเหมาะสมปานกลาง 2 หมายถึง มคี วามเหมาะสมน้อย 1 หมายถงึ มคี วามเหมาะสมนอ้ ยท่สี ุด 7. นำผลการประเมินของความเหมาะสมของแผนการจัดการเรยี นรู้ของผู้เชี่ยวชาญแต่ละคนมา หาคา่ เฉลย่ี ของระดับคณุ ภาพของแผนการจดั การเรียนรู้ 8. นำแผนการจดั การเรียนรู้ ไปทดลองใช้กบั นกั เรียนกลมุ่ ตัวอยา่ งในการหาประสทิ ธิภาพ 2. ชุดแบบฝึกทักษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษาปที ่ี 1 1. ผูศ้ กึ ษาไดศ้ ึกษาคน้ ควา้ เอกสารท่เี กีย่ วขอ้ งกบั ชดุ แบบฝึกทกั ษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการ บวกและการลบจำนวนเต็ม สำหรับนกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 ดังน้ี 1.1 ศึกษาและวิเคราะห์หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรับปรงุ 2560) และหลกั สตู รสถานศึกษาโรงเรยี นป่าแดดวทิ ยาคม 1.2 ศึกษาสาระการเรียนรู้ เรอื่ ง การแกโ้ จทยป์ ัญหาการบวกและการลบจำนวนเตม็ เพอ่ื เปน็ แนวทางในการพฒั นาชดุ แบบฝกึ ทักษะ โดยศกึ ษาจากหนงั สอื และเอกสารท่เี กี่ยวขอ้ งกบั การสร้างชดุ แบบฝกึ ทักษะ ซึ่งผู้ศึกษาได้จัดเนื้อหาและชดุ แบบฝึกทักษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบจำนวนเต็ม โดย แบ่งออกเป็น 3 ชุด ดังน้ี ชดุ ที่ 1 เร่อื ง การแก้โจทย์ปัญหาการบวกจำนวนเตม็ จำนวน 1 ชว่ั โมง ชดุ ที่ 2 เร่ือง การแกโ้ จทย์ปญั หาการลบจำนวนเต็ม จำนวน 1 ชั่วโมง ชุดท่ี 3 เร่อื ง การแก้โจทยป์ ัญหาการบวกและการลบจำนวนเต็ม จำนวน 1 ชว่ั โมง 2. ในการสร้างชุดแบบฝึกทักษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและการลบจำนวนเต็ม สำหรับนกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ผู้ศกึ ษาได้นำรูปแบบการสรา้ งชุดกจิ กรรมการเรยี นของสถาพร บตุ รใสย์ (2558 : 245 – 301) มาประยุกต์ใช้ 3. นำชุดแบบฝึกทกั ษะ เรอื่ ง การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวกและการลบจำนวนเต็มทส่ี รา้ งขึ้นให้ ผูเ้ ช่ียวชาญ (คณุ ครูในกลมุ่ สาระการเรยี นรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนปา่ แดดวิทยาคม) จำนวน 3 คน ตรวจสอบคุณภาพ และความถกู ต้อง เพื่อปรับปรุงแกไ้ ข และทดสอบหาประสิทธภิ าพตอ่ ไป

6 4. หลักจากที่ผู้ศึกษาได้ปรับปรุงแก้ไขชุดแบบฝึกทักษะ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวกและ การลบจำนวนเต็มที่สร้างขึ้นแล้ว ผู้ศึกษาได้ดำเนินการหาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรม ตามความสัมพันธ์ระหว่าง กระบวนการกบั ผลลพั ธ์ โดยเฉล่ีย 80/80 ดงั ขน้ั ตอนตอ่ ไปน้ี 3. แบบทดสอบวดั ผลการเรยี นรู้ เรือ่ ง การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและการลบจำนวนเต็ม ในการศึกษาครั้งนี้ ผู้ศึกษาได้สร้างแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเตม็ ซึง่ เป็นแบบปรนยั 4 ตวั เลอื ก จำนวน 20 ข้อ โดยมีขั้นตอนในการสร้าง ดังนี้ 3.1 ศึกษาหลักสูตร คู่มือครู คู่มือการประเมินผลการเรียนรู้ แบบเรียนวิชาคณิตศาสตร์ ชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 และวิธสี รา้ งแบบทดสอบวัดผลการเรยี นรวู้ ชิ าคณิตศาสตร์ เพ่อื เป็นแนวทางในการสร้างขอ้ สอบ 3.2 ศกึ ษาผลจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วเิ คราะหส์ าระการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ สรา้ งตารางวิเคราะห์ จุดประสงค์การเรยี นรทู้ ี่สอดคล้องกบั สาระการเรียนรู้ เรื่อง การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวกและการลบจำนวนเต็ม 3.3 สรา้ งแบบทดสอบวดั ผลการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การแก้โจทย์ปญั หาการบวกและการลบจำนวนเต็ม ให้มีความสอดคล้องกับตารางวิเคราะหจ์ ุดประสงค์การเรยี นรู้ ซึง่ เป็นแบบทดสอบปรนยั แบบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อ 3.4 นำแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ เรื่อง การแก้โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบจำนวนเต็ม ท่ี สรา้ งข้นึ เสนอต่อผูเ้ ชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสม จากนั้นคัดเลือกแบบทดสอบโดยพิจารณาจากข้อที่มคี ่า IOC ≥ 0.5 (บุญชม ศรีสะอาด. 2554 : 71) ซึง่ ไดแ้ บบทดสอบวัดผลการเรียนรู้ จำนวน 20 ข้อ แล้วนำขอ้ เสนอแนะของผูเ้ ชีย่ วชาญมาปรบั ปรุงแกไ้ ข 3.5 นำแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้วิชาคณติ ศาสตร์ ท่ีแก้ไขเรียบรอ้ ยแล้วหาวิเคราะห์ค่าความ ยากง่าย (p) และค่าอำนาจจำแนก (r) มีค่าความยากง่าย (p) ตั้งแต่ 0.20 - 0.80 และมีค่าอำนาจจำแนก (r) ตั้งแต่ 0.20 ข้ึนไป 3.6 นำแบบทดสอบวดั ผลการเรียนรวู้ ิชาคณติ ศาสตร์ จำนวน 20 ขอ้ ท่ีคัดเลอื กแลว้ หาค่าความ เชื่อมั่น โดยค่าความเชื่อมั่นของแบบทดสอบวัดผลการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวกและการลบ จำนวนเต็ม เท่ากับ 0.531 4. แบบสอบถามความพึงพอใจทม่ี ตี ่อการใช้ชุดแบบฝึกทกั ษะ เร่อื ง การแก้โจทย์ปญั หาการบวก และ การลบจำนวนเต็ม ในการศกึ ษาคร้ังนี้ ผูศ้ ึกษาไดส้ ร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ ตามขั้นตอน ดงั น้ี 4.1 ศกึ ษาทฤษฎเี กีย่ วกบั ความพึงพอใจ ศึกษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั ความสนใจ การวดั และประเมินผล การสร้างแบบสอบถามความพงึ พอใจ เพื่อนำมาเป็นแนวทางในการสร้างแบบสอบถามความ พงึ พอใจที่มตี ่อการใช้ชดุ แบบฝึกทกั ษะ เรื่อง การแก้โจทยป์ ญั หาการบวกและการลบจำนวนเตม็ สำหรบั นักเรยี นชั้น มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 1 4.2 กำหนดเปา้ หมายในการสอบถามความพึงพอใจ 4.3 สร้างแบบสอบถามความพึงพอใจ ตามเป้าหมายที่กำหนด แบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดบั จำนวน 15 ข้อ ซึง่ ปรับปรงุ และพฒั นาจากแบบวดั ความสนใจของ สายใจ เรอื งวุฒิ (2547 : 122 – 123) และ แบบสอบถามความพงึ พอใจของ ศุภวรรณ ทับทิมจรญู (2548 : 116 – 118)

7 4.4 นำแบบสอบถามความพึงพอใจ ที่สร้างข้ึนเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน พิจารณาเพอ่ื ตรวจสอบลักษณะข้อความ ความสอดคล้องกับคุณลกั ษณะท่ตี ้องการ และความเหมาะสมในการใชภ้ าษา แล้วนำมา ปรบั ปรงุ แกไ้ ขตามคำแนะนำของผู้เชีย่ วชาญ 4.5 ได้แบบสอบถามความพงึ พอใจ จำนวน 15 ข้อ ทม่ี ีคา่ ความสอดคลอ้ ง 4.6 นำผลการทำแบบสอบถามความพึงพอใจ มาตรวจใหค้ ะแนน โดยมเี กณฑ์การให้ คะแนน ดังน้ี 1 คะแนน : มีความพึงพอใจกับขอ้ ความนน้ั อยใู่ นระดับนอ้ ยท่สี ุด (ระดบั ความสนใจ 1) 2 คะแนน : มีความพงึ พอใจกบั ข้อความนน้ั อยใู่ นระดับนอ้ ย (ระดบั ความสนใจ 2) 3 คะแนน : มีความพึงพอใจกับขอ้ ความนนั้ อยใู่ นระดบั ปานกลาง (ระดับความสนใจ 3) 4 คะแนน : มีความพงึ พอใจกบั ข้อความนัน้ อยู่ในระดบั มาก (ระดบั ความสนใจ 4) 5 คะแนน : มีความพึงพอใจกบั ข้อความนนั้ อยใู่ นระดับมากท่สี ดุ (ระดับความสนใจ 5) 4. การเก็บรวบรวมข้อมลู การศึกษาผลการเรียนรู้โดยใช้ชดุ แบบฝกึ ทักษะเพ่ือพัฒนาการเรยี นรู้ เรือ่ ง การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก และการลบจำนวนเตม็ สำหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 โรงเรยี นป่าแดดวิทยาคม อำเภอป่าแดด จงั หวัด เชยี งราย ปีการศกึ ษา 2564 ระยะเวลาต้งั แต่ 21 มถิ ุนายน 2564 รวมท้งั หมด 8 ครงั้ ครั้งละ 1 ชวั่ โมง โดยมีข้ันตอน ในการดำเนินการ ดงั น้ี ตารางที่ 1 ขน้ั ตอนในการดำเนนิ การ วันที่ ครงั้ ที่ กิจกรรม ภาพกจิ กรรม 21 มถิ ุนายน 2564 1 ใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบ กอ่ นเรยี น

ตารางท่ี 1 (ต่อ) 8 วันที่ ครง้ั ที่ กิจกรรม ภาพกิจกรรม 23 มิถนุ ายน 2564 2 จัดการเรยี นการสอนตาม แผนการจดั การเรียนรู้ เรอื่ ง โจทยป์ ญั หาการบวก จำนวนเต็ม 25 มถิ ุนายน 2564 3 1. จัดการเรยี นการสอน ตามแผนการจัดการเรยี นรู้ เร่อื ง โจทย์ปัญหาการบวก จำนวนเตม็ 2. ให้นักเรียนทำแบบฝึก ทกั ษะ เร่ือง โจทย์ปัญหา การบวกจำนวนเตม็

ตารางท่ี 1 (ต่อ) 9 วนั ท่ี ครั้งที่ กิจกรรม ภาพกิจกรรม 28 มถิ ุนายน 2564 4 จดั การเรยี นการสอนตาม แผนการจดั การเรียนรู้ เรอ่ื ง โจทย์ปญั หาการลบ จำนวนเต็ม 30 มถิ ุนายน 2564 5 1. จัดการเรียนการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เร่อื ง โจทย์ปญั หาการลบ จำนวนเตม็ 2. ใหน้ กั เรยี นทำแบบฝึก ทกั ษะ เรื่อง โจทยป์ ญั หา การลบจำนวนเต็ม

ตารางที่ 1 (ต่อ) 10 วนั ที่ คร้งั ที่ กจิ กรรม ภาพกิจกรรม 2 กรกฎาคม 2564 6 จัดการเรยี นการสอนตาม แผนการจดั การเรยี นรู้ เร่ือง โจทย์ปญั หาการบวก และการลบจำนวนเตม็ 5 กรกฎาคม 2564 7 1. จดั การเรียนการสอน ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง โจทย์ปญั หาการบวก และการลบจำนวนเต็ม 2. ใหน้ ักเรียนทำแบบฝกึ ทกั ษะ เรอ่ื ง โจทย์ปัญหา การบวก และการลบ จำนวนเต็ม 7 กรกฎาคม 2564 8 1. ให้นกั เรียนทำ แบบทดสอบหลงั เรียน 2. ใหน้ กั เรยี นทำ แบบสอบถามความพึง พอใจทมี่ ีตอ่ นวัตกรรม

11 5. การวิเคราะห์ขอ้ มลู นำขอ้ มลู ทไ่ี ด้จากการเก็บรวบรวมข้อมลู มาวิเคราะห์โดยใช้โปรแกรม IBM SPSS Statistics และดำเนนิ การ วิเคราะหต์ ามวตั ถุประสงคด์ ังน้ี ตอนท่ี 1 วิเคราะหป์ ระสิทธภิ าพของการใช้แบบฝึกทกั ษะ เพ่ือสง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เร่อื ง การแกโ้ จทยป์ ัญหา การบวก และการลบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนป่าแดดวิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย โดยการหาคา่ ร้อยละของคะแนนระหวา่ งเรยี นและคะแนนหลงั เรยี น แล้วนำผลการมาวเิ คราะห์ ตอนที่ 2 วิเคราะหค์ ะแนนก่อนเรียนและคะแนนหลงั ของการใช้แบบฝึกทักษะ เพอ่ื สง่ เสริมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นป่าแดดวิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย โดยการหาคะแนนเฉลี่ยกอ่ นเรียนและหลงั เรียนแล้วนำคะแนนเฉลีย่ ก่อนเรียน และ หลงั เรยี นมาเปรยี บเทยี บกนั ตอนที่ 3 วิเคราะห์เปรยี บเทียบคะแนนก่อนเรียนและหลังเรียนของการใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อส่งเสริมการ เรยี นรู้ เรอื่ ง การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก และการลบจำนวนเตม็ โดยการหาค่า t-test และคา่ sig(two-tailed) ตอนที่ 4 วิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผลของการใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง การแก้โจทย์ ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเต็ม โดยการหาคา่ รอ้ ยละของคะแนนความกา้ วหน้า ตอนที่ 5 วิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนจากการใช้แบบฝึกทักษะ เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง การ แกโ้ จทย์ปญั หาการบวก และการลบจำนวนเตม็ โดยการหาค่าเฉลยี่ และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวจิ ัย ตารางท่ี 2 ผลการวิเคราะหป์ ระสทิ ธิภาพของชุดแบบฝึกทกั ษะ คะแนนระหวา่ งเรียน (E1) คะแนนหลังเรียน (E2) จำนวนนักเรียน (30 คะแนน) (20 คะแนน) คะแนนเต็ม รอ้ ยละ คะแนนเตม็ รอ้ ยละ 28 688 81.90 472 84.29 จากตารางที่ 2 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า ประสิทธิภาพของการใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการ เรียนรู้ (E1/E2=82/84) เป็นไปตามเกณฑท์ ีก่ ำหนด 80/80 ตารางที่ 3 ผลการวเิ คราะหค์ ะแนนก่อนและคะแนนหลังของการใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ นักเรียนคนท่ี คะแนน คะแนน รอ้ ยละ กอ่ นเรยี น แบบฝึกทกั ษะ หลงั เรียน ความกา้ วหน้า ความก้าวหนา้ คะแนนรวม 247 693 472 225 1125 คะแนนเฉล่ยี 8.82 24.75 16.86 8.04 40.18 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.198 4.178 2.731 1.875 9.377 จากตารางที่ 3 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล พบว่า หลังใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ มี ความก้าวหนา้ เฉลยี่ เท่ากับ 8.04 คดิ เปน็ ร้อยละความกา้ วหนา้ 40.18

12 ตารางที่ 4 ผลการวิเคราะหเ์ ปรยี บเทยี บคะแนนผลการเรียนรู้กอ่ นและหลงั ของการใช้ชดุ แบบฝกึ ทกั ษะเพอ่ื ส่งเสรมิ การเรยี นรู้ คะแนน N x S.D. t Df Sig. การทดสอบ กอ่ นเรียน 28 8.82 3.198 22.673 27 .000* หลังเรียน 28 16.86 2.731 *แตกตา่ งอยา่ งมีนัยสำคญั ทางสถติ ิทรี่ ะดับ .05 จากตารางท่ี 4 ผลการวิเคราะหข์ อ้ มูล พบว่า ผลการเรยี นรูห้ ลงั ใช้ชุดแบบฝกึ ทกั ษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ สูงกวา่ ก่อนเรยี นอยา่ งมนี ัยสำคญั ทางสถิตทิ ่รี ะดบั .05 ตารางที่ 5 ผลการวเิ คราะห์คา่ ดัชนีประสทิ ธผิ ลของการใชช้ ุดแบบฝกึ ทักษะเพื่อสง่ เสริมการเรยี นรู้ จำนวนนกั เรียน คะแนนเตม็ คะแนน คา่ ดัชนปี ระสิทธิผล (EI) กอ่ นเรยี น หลงั เรียน 28 20 247 472 0.719 จากตารางที่ 5 ผลการวเิ คราะห์ข้อมูล พบว่า ค่าดัชนีประสทิ ธิผลของการใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นรู้ เทา่ กับ 0.719 แสดงวา่ นักเรยี นมีความรเู้ พิ่มขึน้ 0.719 หรอื คดิ เปน็ รอ้ ยละ 71.88 ตารางที่ 6 ผลการวิเคราะหค์ วามพงึ พอใจของนกั เรียนทมี่ ีตอ่ การใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพือ่ สง่ เสรมิ การเรียนรู้ รายการความพงึ พอใจ x S.D. ระดับความพึงพอใจ ด้านแบบฝกึ ทกั ษะ 1. ความน่าสนใจของแบบฝึกทักษะ 4.79 0.49 มากท่สี ดุ 2. ความยากง่ายของเน้ือหาในแบบฝกึ ทักษะ 4.21 0.98 มาก 3. มีการแก้ปญั หาทางคณิตศาสตร์ 4.57 0.68 มากที่สุด 4. ส่งเสรมิ ความเขา้ ใจในการเรยี นคณิตศาสตร์ 4.54 0.73 มากทสี่ ดุ 5. ส่งเสรมิ ให้นักเรียนไดร้ บั การฝึกฝนทกั ษะกระบวนการทางคณติ ศาสตร์ 4.82 0.54 มากที่สุด 6. ความยาก งา่ ยของแบบทดสอบก่อนเรยี น และหลงั เรียน 4.54 0.78 มากที่สุด 7. คำชี้แจงเข้าใจง่าย ชัดเจน 4.64 0.89 มากทสี่ ดุ 8. ความสวยงาม ความชดั เจนของแบบฝึกทกั ษะ 4.86 0.35 มากทส่ี ุด 9 .เวลาทีใ่ ชใ้ นการทำแบบฝึกทกั ษะ 4.25 0.87 มาก รวม 4.58 0.70 มากทส่ี ุด ด้านการจัดการเรียนรู้ 10. มสี ่วนร่วมในการทำกิจกรรม 4.89 0.31 มากทสี่ ุด 11 .มคี วามกระตอื รือรน้ ในการเรยี น 4.82 0.47 มากที่สุด 12. ผู้สอนเปดิ โอกาสใหม้ กี ารซกั ถาม 4.61 0.67 มากท่ีสดุ รวม 4.77 0.48 มากท่ีสดุ

13 ตารางที่ 6 (ตอ่ ) รายการความพึงพอใจ x S.D. ระดับความพงึ พอใจ ดา้ นสภาพแวดล้อม 13. ห้องเรยี นมคี วามสะดวกสบาย 4.79 0.56 มากท่ีสุด 14. มอี ุปกรณแ์ ละสอ่ื การเรยี นการสอนครบถ้วน 4.75 0.63 มากที่สุด 15. บรรยากาศในห้องเรียนเหมาะสมต่อการเรยี นรู้ 4.82 0.47 มากทส่ี ุด รวม 4.79 0.55 มากทีส่ ุด ภาพรวม 4.66 0.63 มากทสี่ ดุ จากตารางที่ 6 พบว่านักเรียนมีความพึงพอใจเฉลี่ยอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.66, S.D. = 0.63) โดย ด้านแบบฝึกทักษะมคี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดับมากทีส่ ุด ( x = 4.58, S.D. = 0.70) ด้านการจัดการเรยี นรู้มีความพึง พอใจอยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.77, S.D. = 0.48) และด้านสภาพแวดล้อมมีความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สดุ ( x = 4.79, S.D. = 0.55) โดยมีความพงึ พอใจสูงที่สดุ ในด้านการจดั การเรียนรู้ นกั เรยี นมสี ่วนรว่ มในการทำกจิ กรรม อยู่ในระดับมากที่สุด ( x = 4.89, S.D. = 0.31) และมีความพึงพอใจน้อยที่สุดในเรื่องความยากง่ายของเนื้อหาใน แบบฝึกทกั ษะอยใู่ นระดับมาก ( x = 4.21, S.D. = 0.98) สรุปผลการวจิ ัยและอภปิ รายผล สรปุ ผลการวิจยั 1. ประสิทธิภาพของการใช้ชดุ แบบฝึกทักษะเพอื่ สง่ เสริมการเรียนรู้ เรอ่ื ง การแกโ้ จทย์ปญั หาการบวก และ การลบจำนวนเต็ม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 พบว่า E1/E2 เท่ากับ 81.90/84.29 เป็นไปตามเกณฑ์ที่ กำหนด 80/80 2. การใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อเพือ่ ส่งเสริมการเรียนรู้ พบว่า คะแนนก่อนการเรียนรู้อยู่ระหว่าง 5 ถึง 17 คะแนน และมคี ะแนนหลังเรยี นอยูร่ ะหว่าง 13 ถึง 20 คะแนน ซงึ่ มคี ะแนนความก้าวหน้าเฉลีย่ เท่ากบั 8.04 คิดเป็น รอ้ ยละความกา้ วหนา้ 40.18 3. ผลการเปรียบเทียบคะแนนก่อนการเรียนรู้และหลังเรียน ของการใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการ เรียนรู้ สงู กวา่ กอ่ นเรยี น อยา่ งมนี ยั สำคัญทางสถิติทร่ี ะดบั .05 4. ค่าดัชนีประสิทธิผล (EI) ของการใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เท่ากับ 0.72 แสดงว่า นักเรียนมีความรเู้ พ่มิ ข้นึ 0.719 หรือคิดเปน็ รอ้ ยละ 71.88 5. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ชดุ แบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสริมการเรยี นรู้ พบวา่ มคี วามพึงพอใจ ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดในด้านการจัดการเรียนรู้ นักเรียนมีส่วนร่วมในการทำกิจกรรมอยู่ในระดับมากที่สุด และความพึง พอใจทีม่ ีค่าเฉลยี่ น้อยที่สดุ ได้แก่ ความยากง่ายของเน้อื หาในแบบฝกึ ทกั ษะอยใู่ นระดบั มาก อภปิ รายผล จากผลการศึกษา เร่อื ง การใช้แบบฝกึ ทกั ษะเพอื่ สง่ เสรมิ การเรยี นรู้ เรื่อง การแกโ้ จทยป์ ญั หาการบวก และ การลบจำนวนเต็ม สามารถอภิปรายไดด้ ังน้ี 1. ผลการวิเคราะห์เปรียบเทยี บคะแนนกอ่ นการเรยี นรแู้ ละคะแนนหลงั เรียนของการใชช้ ดุ แบบฝกึ ทักษะ เพอื่ สง่ เสรมิ การเรียนรู้ เร่ือง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเตม็ สำหรบั นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่

14 1 หลังใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง การแก้โจทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเต็ม สูงกว่า ก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทั้งนี้อาจเป็นเพราะการจัดการเรยี นการสอนที่มีการใช้ชุดแบบฝึก ทักษะ ทำให้นักเรียนมีความเขา้ ใจในเนื้อหา และสามารถแก้โจทยป์ ัญหาอย่างเป็นขั้นเป็นตอนมากย่ิงขึ้น เนื่องจาก ชุดแบบฝึกทักษะเปน็ การสรปุ วิธีการและขั้นตอนของการแกโ้ จทย์ปัญหาการบวก และการลบจำนวนเตม็ ทำให้มีผล การเรียนรู้ที่สูงขึ้นตามด้วย ซึ่งสอดคล้องกับการวิจัยของวิยดา มุขประดับ (พ.ศ.2561) ที่ได้ทำการวิจัยเรื่อง การ พัฒนาความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ ซึ่งพบว่า ผลการเรียนรู้ของนักเรียนนักเรียนชั้น มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 หลงั เรยี นโดยใช้แบบฝกึ ทักษะคณิตศาสตร์ สงู กว่ากอ่ นเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 พิชาญ พรหมสมบัติ (2548 : 60) ทไ่ี ดศ้ กึ ษาผลการใชแ้ บบฝกึ คณติ ศาสตร์ เรื่องการแก้โจทย์ปญั หาสมการ ซึ่งพบว่า นักเรียนที่ได้รับการฝึกด้วยแบบฝึกคณิตศาสตร์ มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น หลังจากได้รับการฝึกอย่างมี นัยสำคญั ทางสถิติทีร่ ะดับ 0.1 2. ความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ชุดแบบฝึกทักษะเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง การแก้โจทย์ ปญั หาการบวก และการลบจำนวนเต็ม พบว่า นกั เรยี นมคี วามพงึ พอใจอยูใ่ นระดับมากทสี่ ดุ ท้ังนี้อาจเป็นเพราะ ชุด แบบฝึกทักษะเพ่ือส่งเสรมิ การเรยี นรู้ เปน็ ชุดแบบฝึกทกั ษะทมี่ ีรูปแบบสวยงาม ชัดเจน คำชแ้ี จงเข้าใจงา่ ย ชุดแบบฝกึ ทักษะมขี นาดท่ีเหมาะสมตอ่ การใช้งาน รวมถงึ สง่ เสรมิ การฝกึ ฝนกระบวนการทางคณิตศาสตร์ ทำให้นกั เรยี นมีความ สนใจและกระตือรือร้นต่อการใช้ชุดแบบฝึกทักษะนี้ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจัยของปิยฉัตร อินทร์นุช (2559 : บทคัดยอ่ ) ไดศ้ ึกษาวจิ ยั การพัฒนาชดุ กิจกรรมการเรยี นรูค้ ณิตศาสตร์ ผลการวิจัยพบวา่ นักเรยี นมีความพึงพอใจต่อ การเรียนอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ซึ่งนักเรียนได้ฝกึ คิดฝึกปฏิบัติด้วยตนเอง มีการเลือกวิธีแก้โจทย์ปัญหาตาม ความถนัดและความสนใจ รวมท้งั มีการออกมานำเสนอผลงานซึง่ จะทำใหผ้ ้เู รียนเกดิ เจตคตทิ ี่ดี และมคี วามภาคภมู ใิ จ ในผลงาน ทำให้เกิดความกระตือรือร้นสนใจการเรียนรู้แล้วยังส่งผลให้ผู้เรียนเกิดแรงจูงใจที่เข้าร่วมกิจกรรมด้วย ความเต็มใจไม่เบื่อหน่าย มีการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศในชั้นเรียน ผู้เรียนจึงเกิดความสนใจในการปฏิบัติกิจกรรม มากขน้ึ สนุ นั ทา ประเสรฐิ ศรี (2546) ได้ศกึ ษาผลการใช้แบบฝึกทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่อื งการคณู และการหารจำนวน ทต่ี วั ต้ังมีสองหลัก พบวา่ นักเรียนมคี วามพงึ พอใจตอ่ การใช้แบบฝึกทกั ษะในระดับมาก ข้อเสนอแนะการนำผลวิจยั ไปใช้ 1. ชุดแบบฝึกทักษะเพอื่ ส่งเสริมการเรยี นรู้ สามารถส่งเสริมการเรยี นร้ขู องนักเรียนได้ ดงั นั้นควรมีชุดแบบ ฝกึ ทักษะใหน้ กั เรียนทำในหนว่ ยการเรียนร้อู ่นื ดว้ ย เพอ่ื ส่งเสริมการเรียนรขู้ องนักเรยี นและผลการเรยี นรูท้ ่ดี ีย่งิ ขึ้น 2. ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ควรมีสื่อที่หลากหลายเพื่อกระตุ้นให้เด็กเกิดความสนใจและสื่อที่มีความ หลากหลายจะช่วยส่งเสริมบรรยากาศในการเรียนให้นกั เรยี นเกิดความสนุกสนาน ไม่นา่ เบือ่ ข้อเสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป 1. การศึกษาวิจัยครั้งต่อไปควรศึกษาสภาพการณ์ด้านสถานที่และด้านนักเรียนให้ครอบคลุมทุกด้าน เช่น สภาวะแวดล้อมทางกายภาพบรเิ วณรอบห้องเรียนและในห้องเรียนท่จี ะส่งผลต่อการจดั กิจกรรมการเรียนรู้ 2. ในระหว่างการจัดการเรียนรู้แต่ละครั้งผู้สอนควรมีการสังเกตนักเรียนอย่างทั่วถึง รวมถึงให้คำแนะนำ นักเรียนท่มี ีขอ้ สงสัยในชดุ แบบฝึกทักษะ กิตติกรรมประกาศ ขอขอบพระคุณผู้อำนวยการ คณะครู บุคลากร และนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนป่าแดด วิทยาคม อำเภอป่าแดด จังหวัดเชียงราย ที่ให้ความอนุเคราะห์และให้ความร่วมมือเป็นอย่างดี และอาจารย์ ดร. สุธาสินี ศรีวิชัย ซึ่งเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาที่ได้กรุณาให้ความรู้ แนวทางการศึกษา คำปรึกษาในการจัดทำวิจัยและ

15 แก้ไขข้อบกพร่องต่างๆ ให้ข้อเสนอแนะ แนะนำเอกสารตำราต่างๆ ให้ศึกษาค้นคว้าแก่ผู้จัดทำข้อมู ล จนทำให้ การศกึ ษาครงั้ นส้ี ำเร็จลลุ ว่ งไปไดด้ ว้ ยดี บรรณานุกรม กรมวชิ าการ. (2560). หลกั สูตรการศกึ ษาข้นั พ้นื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง 2560). พิมพค์ รั้งที่ 3. กรงุ เทพฯ : คุรสุ ภาลาดพร้าว. กรมวิชาการ. (2545). การวิจยั เพ่ือพฒั นาการเรยี นรตู้ ามหลักสตู รการศกึ ษาขนั้ พนื้ ฐาน. กรุงเทพฯ : คุรุสภาลาดพร้าว. กลุม่ สง่ เสรมิ การเรยี นการสอนและประเมนิ ผล. (2548). การประเมินคุณลกั ษณะอนั พึงประสงค์ ตามหลักสตู ร การศกึ ษาขั้นพนื้ ฐาน พทุ ธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์รบั สง่ สินคา้ และพสั ดภุ ณั ฑ.์ บญุ ชม ศรีสะอาด. (2554). หลักการวจิ ยั เบ้อื งต้น. พมิ พ์คร้ังที่ 9. กรงุ เทพฯ : สวุ ิริยาสาสน์ . __________. (2546). ความสำคญั ของคณติ ศาสตร์. กรุงเทพฯ : สำนักทดสอบทางการศึกษา. ปยิ ฉัตร อนิ ทร์นชุ . (2559). การใชช้ ดุ กจิ กรรมการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เรอื่ ง สมการและการแกส้ มการทเ่ี นน้ การ จัดการเรยี นรตู้ ามกระบวนการแกป้ ัญหา. กลุ่มสาระการเรียนรคู้ ณติ ศาสตร์, โรงเรียนบา้ นศาลาสามคั คี. พชิ าญ พรหมสมบัต.ิ (2548). การศึกษาผลของการใช้แบบฝกึ คณิตศาสตร์ เรอ่ื ง การแกโ้ จทย์ปญั หาสมการ สำหรับนักเรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 6. สารนิพนธก์ ารศกึ ษามหาบณั ฑิต, สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา, บณั ฑิตวิทยาลยั , มหาวิทยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ. วิยดา มุขประดับ. (2561). การพัฒนาความสามารถในการแกโ้ จทย์ปัญหาทางคณติ ศาสตร์ เรื่อง การบวก ลบ คณู หารระคน ของนกั เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 3 โดยใชแ้ บบฝึกทักษะ. ศุภวรณ ทบั ทิมจรูญ. (2548). ศกึ ษาความพงึ พอใจที่มตี ่อรูปแบบของบทเรียนคอมพวิ เตอร์ ชว่ ยสอนวชิ า คณติ ศาสตร์ สำหรับนักเรยี นช้ันอนุบาลปที ี่ 2. วทิ ยานพิ นธ์ศึกษามหาบัณฑติ , นครปฐม, มหาวทิ ยาลยั ศิลปากร. สถาพร บุตรใสย์. (2558). การสร้างชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้คู ณิตศาสตร์. อา้ งองิ ใน การพัฒนาชุดกจิ กรรมการ เรยี นรคู้ ณิตศาสตร์ โดยใช้เทคนิค TAI รว่ มกับเทคนิค KWDL เรือ่ ง อัตราส่วนและรอ้ ยละ สำหรบั นักเรียนชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 2. โรงเรียนระยองวิทยาคม, สำนักงานเขตพืน้ ท่ีการศึกษามัธยมศกึ ษา เขต 18. สายใจ เรืองวฒุ ิ. (2547). การสรา้ งแบบสอบถามความพงึ พอใจ. งานนิพนธก์ ารศึกษามหาบณั ฑติ , สาขาวิชา คณติ ศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวทิ ยาลัยทักษณิ . สมทรง ดอนบวั แกว้ . (2538). พฤติกรรมการเรียนการสอนคณติ ศาสตร์ในระดบั ประถมศึกษา. มหาสารคาม, วิทยาลยั ครมู หาสารคาม. สุนนั ทา ประเสรฐิ ศรี. (2546). การใชแ้ บบฝกึ ทกั ษะคณิตศาสตร์ เร่ืองการคณู และการหาร จำนวนท่ีตวั ตัง้ มีสอง หลกั . อ้างองิ ใน การใช้แบบฝกึ ทักษะการแก้โจทยป์ ญั หา เรื่องเศษสว่ นทมี่ ีต่อผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน คณติ ศาสตร์. วิจยั ในชน้ั เรียน. โรงเรียนบ้านคำสรอ้ ย, จังหวัดมุกดาหาร.