ไดผ้ า่ นการตรวจประเมินคุณภาพจากสานกั งานคณะกรรมการอาชีวศึกษา ประจาปี งบประมาณ พ.ส 2562 คร้ังท่ี 1ประกาศลาดบั ที่50 รหัสวชิ า 20204-2002 หนงั สือเลม่ นีเ้ รยี บเรยี งตามจดุ ประสงคร์ ายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชา หลกั สตู รประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.)พทุ ธศกั ราช 2562 ของสานกั งานคณะกรรมการ อาชีวศกึ ษา กระทรวงศกึ ษาธิการ คอมพวิ เตอร์และการบารุงรักษา (Computer and maintenance)
คำนำ หนงั สือเรียนวิชา คอมพิวเตอร์และการบารุงรักษา รหสั 20204-2002 เล่มน้ี เรียบเรียงข้ึนเพอื่ ใชป้ ระกอบการจดั การเรียนการสอนที่เนน้ ผเู้ รียนเป็นสาคญั ตาม หลกั สูตรประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวช.)พุทธศกั ราช 2562 ของสานกั งาน คณะกรรมการการอาชีวศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ เน้ือหาของหนงั สือมีท้งั หมด 8 หน่วยประกอบดว้ ยหลกั การทางานของอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์และ อปุ กรณ์ตอ่ พว่ ง การประกอบเครื่องคอมพวิ เตอร์การติดต้งั โปรแกรมตามลกั ษณะงาน การ บารุงรักษา อุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ การตรวจและกาจดั ไวรัสการแกป้ ัญหา คอมพวิ เตอร์ดว้ ยโปรแกรมอรรถประโยชน์ . สารองและป้องกนั ความเสียหาย ของขอ้ มลู และการกูค้ ืนขอ้ มลู พร้อมแบบฝึกหดั แบบทดสอบหลงั เรียน และใบ งานเพ่ือใหผ้ เู้ รียนไดฝ้ ึกทกั ษะ การคิดและแกป้ ัญหา และบูรณาการกบั การทางานตามสาขาอาชีพ ตา่ ง ๆ ต่อไป ผเู้ รียบเรียงและฝ่ ายวิชาการ ศูนยห์ นงั สือ เมืองไทย หวงั เป็นอยา่ งยง่ิ ว่า หนงั สือเรียนวิชา คอมพิวเตอร์ และการบารุงรักษาเลม่ น้ี จะสามารถใหค้ วามรู้ และเกิดประโยชนแ์ ก่ผสู้ อน ผเู้ รียน ตลอดจนผสู้ นใจศึกษา ทว่ั ไปเป็นอยา่ งดีหาก มีขอ้ ผดิ พลาดประการใดผเู้ รียบเรียงและฝ่ ายวิชาการ ศูนยห์ นงั สือ เมืองไทยขอ นอ้ มรับคาติชมเพื่อเป็นประโยชน์ในการปรับปรุงแกไ้ ขในโอกาสตอ่ ไป
หลกั สูตรประกำรนียบัตรยวชิ ำชพี พทุ ธศักรำช 2562 ของสำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศกึ ษำ กระทรวงศกึ ษำธกิ ำร รหสั วิชา ช่ือวิชา ท-ป-น คอมพิวเตอรแ์ ละการบารุงรกั ษา 2-2-3 20204- 2002 จุดประสงค์รายวชิ า เพื่อให้ 1.เขา้ ใจเก่ียวกบั หลกั การทางานและการใชง้ านอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 2 .สามารถปรับปรุง (Upgrade) และบารุงรักษาคอมพิวเตอร์ 3. สามารถตรวจสอบและแกป้ ัญหาคอมพิวเตอร์ดว้ ยโปรแกรม อรรถประโยชน์ 4. มีเจตคติและกิจนิสยั ท่ีดีในการปฏิบตั ิงานคอมพิวเตอร์ดว้ ยความละเอียด รอบคอบ และถกู ตอ้ ง สมรรถนะรายวชิ า 1.แสดงความรู้เก่ียวกบั หลกั การทางานของคอมพิวเตอร์และการใชง้ าน อปุ กรณ์ตอ่ พ่วง 2. ปรับปรุง (Upgrade) อุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 3. บารุงรักษาอุปกรณ์ และแกป้ ัญหาคอมพิวเตอร์โดยใชโ้ ปรแกรม อรรถประโยชน์ คาอธิบายรายวชิ า ศึกษาและปฏิบตั ิเกี่ยวกบั หลกั การทางานของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์และ อปุ กรณ์ต่อพว่ ง ประกอบ องคอมพวิ เตอร์และติดต้งั โปรแกรมตามลกั ษณะ งาน การบารุงรักษาอปุ กรณ์คอมพวิ เตอร์ จดั ไวรัส แกป้ ัญหาคอมพิวเตอร์ดว้ ย โปรแกรมอรรถประโยชน์ สารองและป้องกนั ความเสียหา และการกคู้ ืน ขอ้ มูล
สำรบญั หน้ำ 1 หน่วยที่ 1 หลกั การทางานของอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์และอุปกรณ์ต่อพ่วง 3 1.1 ระบบคอมพิวเตอร์. 45 1.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์. 53 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 1 หลกั การทางานของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ 56 และอปุ กรณ์ต่อพว่ ง 61 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 1 63 ใบงานที่ 1 ส่วนประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ หน่วยท่ี 2การประกอบเคร่ืองคอมพวิ เตอร์. 65 2.1 ข้นั เตรียมเคร่ืองมือและอปุ กรณ์. 66 2.2 การติดต้งั แผงวงจรหลกั (Main Board). 68 2.3 การติดต้งั หน่วยประมวลผลกลาง (CPU). 73 2.4 การติดต้งั RAM 73 2.5 การต่อสายสญั ญาณ. 73 2.6 การติดต้งั ฮาร์ดดิสก์. 77 2.7 การติดต้งั Disk Drive. 78 2.8 การติดต้งั Extension Card. 80 2.9 การติดต้งั อุปกรณ์ต่อพว่ ง 81 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 2 การประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ 87 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 2 89 ใบงานท่ี 2 การติดต้งั อุปกรณ์และเมนบอร์ด 91 ใบงานที่ 3 การติดต้งั อุปกรณ์อื่นบนเครื่องคอมพิวเตอร์ 93 หน่วยท่ี 3 การตดิ ต้งั โปรแกรมตามลกั ษณะงาน 3.1 การติดต้งั ระบบปฏิบตั ิการ Windows 7. 95 97
3.2 การติดต้งั โปรแกรมประยกุ ต.์ หน้า แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 3 การติดต้งั โปรแกรมตามลกั ษณะงาน 140 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 3 148 ใบงานท่ี 4 การต้งั ค่า BIOS 150 ใบงานที่ 5 การติดต้งั ระบบปฏิบตั ิการWindows 7. 152 ใบงานท่ี 6 การติดต้งั โปรแกรม MS-Office 154 หน่วยท่ี 4 การบารุงรักษาอุปกรณ์คอมพวิ เตอร์ 156 4.1 การดแู ลรักษา และตรวจสอบเครื่องคอมพิวเตอร.์ 4.2 โปรแกรมบารุงรักษาเคร่ืองคอมพิวเตอร์ 158 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 4 การบารุงรักษาอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์ 160 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 4 163 ใบงานท่ี 7 การใชโ้ ปรแกรม Disk cleanup. 183 ใบงานท่ี 8 การใชโ้ ปรแกรม Disk defragmenter. 185 187 หน่วยที่ 5 การตรวจและกาจดั ไวรัส 189 5.1 ไวรัสคอมพิวเตอร์ 5.2 การป้องกนั ไวรัสคอมพิวเตอร.์ . 191 5.3 การกาจดั ไวรัสคอมพิวเตอร์ 193 5.4 การใชโ้ ปรแกรม MS Security Essentials. 194 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 5 การตรวจและกาจดั ไวรัส 195 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 5 197 ใบงานที่ 9 การใชโ้ ปรแกรม MS SecurityEssentials สแกนไวรัส 210 212 หน่วยท่ี 6 การแก้ปัญหาคอมพวิ เตอร์ด้วยโปรแกรมอรรถประโยชน์. 214 6.1 System Information. 216 6.2 Resource Monitor. 219 6.3 Windows Task Manager. 220 6.4 Error Checking. 221 223
6.5 Snipping Tool หน้า 6.6 Magnifier 226 6.7 Paint. 228 6.8 Notepad. 230 232 6.9 เคร่ืองคานวณ 6.10 7-Zip. 234 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 6 การแกป้ ัญหาคอมพิวเตอร์ดว้ ยโปรแกรมอรรถ ประโยชน์ 245 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 6. 247 ใบงานที่ 10 การแกป้ ัญหาคอมพิวเตอร์ดว้ ยโปรแกรมอรรถประโยชน์. 249 252 หน่วยที่ 7 สารองและป้องกันความเสียหายของข้อมูล 254 7 1 ความหมายของการสารองขอ้ มูล 255 7.2 การสารองขอ้ มลู ดว้ ยส่ือบนั ทึกขอ้ มลู 257 7.3 การสารองดว้ ย Windows 7. 267 7.4 การสารองขอ้ มลู ดว้ ย Acronis. 280 แบบฝึกหดั หน่วยที่ 7 สารองและป้องกนั ความเสียหายของขอ้ มลู 282 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยที่ 7 284 ใบงานท่ี 11 การทาแผน่ System Repair. 286 288 หน่วยที่ 8 การกู้คืนข้อมูล 288 8.1 ความหมายของการกคู้ ืนขอ้ มูล 290 8.2 การกูค้ ืนขอ้ มลู จาก Recycle Bin ใน Windows 7. 295 8.3 การกคู้ ืนจากการสารองขอ้ มูลดว้ ย Windows 7. 306 8.4 วิธีการกคู้ ืนขอ้ มูลที่ลบท้ิงดว้ ยโปรแกรมกูค้ ืนขอ้ มลู Recuva. 308 แบบฝึกหดั หน่วยท่ี 8 การกูค้ ืนขอ้ มูล 310 แบบทดสอบหลงั เรียนหน่วยท่ี 8 312 ใบงานท่ี 12 การกขู้ อ้ มูลจาก 'ถงั รีไซเคิล' ใน Windows 7. บรรณานุกรม
หัวข้อเรื่อง Topics 1.1 ระบบคอมพิวเตอร์ 1.2 ประเภทของคอมพิวเตอร์ แนวคดิ สาคญั Main Idea คอมพวิ เตอร์ เป็นอุปกรณ์อเิ ลก็ ทรอนิกสท์ ี่มนุษยใ์ ชเ้ ป็นเคร่ืองมอื ช่วยในการจดั การกบั ขอ้ มูลท่ีเป็นสญั ลกั ษณ์ท่ีใชแ้ ทนความหมายในสิ่งต่าง ๆ ท่ีสามารถกาหนดโปรแกรมได้ ทาใหค้ อมพวิ เตอร์ทางานไดห้ ลากหลายรูป4 ความเขา้ ในหลกั การทางานของคอมพิวเตอร์ ควรเริ่มจากระบบคอมพวิ เตอร์ที่ประกอบดว้ ย ฮาร์ดแวร์ และขอ้ มูล โดยท้งั 4 ส่วนจะตอ้ ง ทางานประสานกนั จึงจะเป็นระบบท่ีสามารถทางานไดอ้ ยา่ งสมบูรณ์ในหน่วยน้ีจะกล่าวถึง รายละเอยี ดของหลกั การทางานของอปุ กรณค์ อมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ต่อพว่ งที่เป็น ส่วนประกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ สมรรถนะย่อย Element of Competency แสดงความรู้เกี่ยวกบั หลกั การทางานของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์และอุปกรณต์ ่อพ่วง จุดประสงคเ์ ชิงพฤตกิ รรม Behaviral Objectives 1.บอกองคป์ ระกอบของระบบคอมพวิ เตอร์ได้ 2.บอกความหมายของ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) ในระบบคอมพวิ เตอร์ได้ 3.บอกหนา้ ท่ีและส่วนประกอบหลกั ของแผงวงจรหลกั ได้ 4.อธิบายหนา้ ที่ของหน่วยรับขอ้ มลู ได้ 5.บอกคุณลกั ษณะทวั่ ไปของอุปกรณร์ ับขอ้ มูลได้ 6. อธิบายหนา้ ที่ของหน่วยประมวลผลกลางได้ 7. อธิบายหนา้ ที่ของหน่วยความจาได้ 8. บอกคุณลกั ษณะทวั่ ไปของหน่วยความจาแบบต่าง ๆ ได้ 9. อธิบายหนา้ ท่ีของหน่วยแสดงผลได้ 10. บอกคุณลกั ษณะทวั่ ไปของหน่วยแสดงผลแบบต่าง ๆ ได้ 11. บอกความหมายของชอฟตแ์ วร์ได้ 12. บอกความหมายของพีเพิลแวร์ได้ 13. บอกความหมายของขอ้ มลู ได้ 14. จาแนกประเภทของคอมพิวเตอร์ได้
คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือที่ประกอบดว้ ยอปุ กรณ์อิเลก็ ทรอนิกส์ตา่ ง ๆ ทางานตามชดุ คาสงั่ หรือโปรแกรมที่กาหนดไว้ เป็นส่วนหน่ึงของเทคโนโลยี สารสนเทศที่เก่ียวขอ้ งกบั การจดั การขอ้ มลู ตา่ งเพื่อตอบสนองการใชง้ านที่ หลากหลาย ในการศึกษาดา้ นคอมพิวเตอร์จะตอ้ งเรียนรู้เก่ียวกบั หลกั การทางาน ของอปุ กรณ์คอมพิวเตอร์และอปุ กรณ์ตอ่ พว่ งเพอื่ การใชง้ านที่มีประสิทธิภาพ 1.1 ระบบคอมพวิ เตอร์ระบบคอมพวิ เตอร์ ระบบคอมพวิ เตอร์ระบบคอมพิวเตอร์ (Computer System) หมายถึง องคป์ ระกอบ หลกั ท่ีทาให้เครื่องคอมพวิ เตอร์ไดอ้ ยา่ สมบรู ณ์ ถา้ ขาดองคป์ ระกอบสวนใดสวน หน่ึงคอมพิวเตอร์จะไม่สามารถทางานของคอมพิวเตอร์ประกอบดว้ ย 4 ส่วน ดงั น้ี 1. ฮาร์ดแวร์ (Hardware) อปุ กรณ์และชิ้นส่วนของคอมพิวเตอร์ 2. ซอฟตแ์ วร์ (Software) โปรแกรมหรือชดุ คาสงั่ 3. บุคลากร (Peopleware) บุคลากรในงานดา้ นคอมพิวเตอร์ 4. ขอ้ มูล (Data) ตวั ของขอ้ เทจ็ จริงท่ีป้อนใหค้ อมพิวเตอร์ทางาน 1.1.1 ฮาร์ดแวร์ ฮาร์ดแวร์ (Hardware) หมายถึง อุปกรณ์ต่าง ๆท่ีประกอบข้ึนเป็นเครื่อง คอมพวิ เตอร์ มีลกั ษณะเป็นโครงร่างสามารถมองเห็นดว้ ยตาและสมั ผสั ได้ เชน่ จอภาพ คียบ์ อร์ด เคร่ืองพิมพ์ เมาส์ เป็นตน้ ซ่ึงสามารถแบง่ ออกเป็นส่วนตา่ ง ๆ ตามลกั ษณะการทางานได้ 4 หน่วย คือ หน่วยรับขอ้ มูล (Input Unit) หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU (Central Processing Unit) หน่วยแสดงผล (Output Unit) หน่วยความจา(Memory Uni) ซ่ึงรวมไปถึงหน่วย เก็บขอ้ มูลสารอง (Secondary Storage) โดยอุปกรณ์แตล่ ะหน่วยมีหนา้ ท่ี การทางานแตกตา่ งกนั รูปที่ 1.1 ฮาร์ดแวร์ (Hardware)
การทางานของคอมพิวเตอร์แบง่ การทางานออกเป็น 4 ส่วน ดว้ ยการรับ ขอ้ มลู เขา้ จะเขา้ ขอ้ มลู เช่น คียบ์ อร์ด ไมโครโฟนหรือแกนเน เพ่ือส่งให้หน่วย ประมวลผลกลางหรือประมวลผล โดยจะมีการแลกเปลี่ยนขอ้ มูลเพอ่ื การประมวลผล กบั หน่วยความจา แลว้ ส่งผลการประมวลไปยงั หน่วยแสดงผลเพื่อนาผลไปแสดงยงั อุปกรณ์แสดงผล เชน่ จอภาพ เครื่องพิมพ์ หรือลาโพง มีดงั น้ีรูปท่ี 1.2 หน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU เป็นองคป์ ระกอบสาคญั ในการ ทางานของระบบคอมพิวเตอร์เปรียบเสมือนกบั สมองของมนุษย์ ซ่ึงกระบวนการ ทางานต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์น้ีจะเกี่ยวขอ้ งกบั ส่วนประกอบอ่ืนอีกมาก เพื่อใหเ้ กิด การทางานท่ีสมบรู ณ์ ดงั ต่อไปน้ี1. แผงวงจรหลกั (Main Board) เป็นแผงวงจรขนาด ใหญ่ท่ีสุดในเคร่ือง ซ่ึงทาหนา้ ท่ีเช่ือมตอ่ อุปกรณ์ตา่ ง ๆ เช่น หน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU RAM การ์ดเสียง การ์ดจอภาพและอื่น ๆ เขา้ ดว้ ยกนั แผงวงจรหลกั จะมีชอ่ งเสียบอปุ กรณ์ เรียกวา่ สลอ็ ต (SIot) และชอ่ งเช่ือมตอ่ กบั อปุ กรณ์อื่นๆ เรียกว่า พอร์ต (Port) ดงั น้นั ควรเลอื กแผงวงจรหลกั ที่สามารถประสานการทางานร่วมกบั อปุ กรณ์และ รองรับอปุ กรณ์ที่สนบั สนุนกบั เทคโนโลยใี หมใ่ นอนาคตได้ ซ่ึงส่วนประกอบตา่ ง ๆ ท่ีสาคญั ของแผงวงจรหลกั มีดงั น้ี
(1) ชิปเซ็ต (Chipsel) เป็นหวั ใจหลกั ของแผงวงจรหลกั ท่ีถูก ติดต้งั มากบั แผงวงจรหลกั ชิปเซ็ตจะบอกถึงความสามารถในการรองรับ หน่วยประมวลผลกลางและอปุ กรณ์ต่าง ๆ อีกท้งั ยงั เป็นตวั กาหนด ประสิทธิภาพของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ เช่น ความเร็วบสั การแสดงผลของ การ์ดจอ เป็นตน้ ชิปเซ็ตบนแผงวงจรหลกั โดยทวั่ ไปมีอยู่ 2 ตวั คอื North Bridge และ South Bridge ซ่ึงแบ่งควบคมุ การทางานของกลุ่ม อุปกรณ์ต่าง ๆ กนั ดงั น้ี ก. North Bridge Chipset เป็นส่วนที่ทาหนา้ ทค่ี วบคุมอุปกรณ์ท่ี ทางานดว้ ยความเร็วสูง ซ่ึงตาแหน่งของอุปกรณ์เหล่าน้ีจะอยรู่ อบ ชิป เช็ต ไดแ้ ก่ หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) RAM และสลอ็ ต AGP สาหรับตดิ ต้งั การ์ดแสดงผล ข. South Bridge Chipset เป็นซิปท่ีมีขนาดเลก็ กวา่ North Bridge Chipset อยดู่ า้ นล่างของแผงวงจรหลกั ทาหนา้ ท่ีควบคมุ อปุ กรณท์ ่ีมคี วามเร็วใน การทางาน ตา่ กวา่ เช่นฮาร์ดดิสกด์ ิสกไ์ ดวต์ ่างๆ คยี บ์ อร์ด เมาส์ ชิปไบออส ช่อง เชื่อมต่อตา่ งๆ รวมท้งั สลอ็ ตติดต้งั การ์ดตา่ ง ๆ
ผผู้ ลิตชิปเชต็ ในปัจจุบนั ไดแ้ ก่ Inte ซ่ึงผลิตชิปเชต็ สาหรับ แผงวงจรหลกั ท่ีทางานกบั หน่วยประมวลผลกลางจาก Intel เช่น Celeron, Pentium 4 เป็นตน้ ชิปเซตของ AMD ที่ผลิต ร่วมกบั หน่วยประมวลผลกลาง AMนอกจากน้นั ยงั มีชิปเซตจาก VIA และ SIS ท่ีผลิตข้ึนสาหรับท้ั แผงวงจรหลกั ที่ทางานกบั หน่วยประมวลผลกลางของ Inte lและ AMD ซ่ึงมีประสิทธิภาพและราคาท่ี แตกตา่ งกนั ไป (2) CPU Socket เป็นที่สาหรับติดต้งั หน่วยประมวลผลกลาง (CPU) บนแผงวงจรหลกั การเลือก แผงวงจรหลกั จะตอ้ งเลือกรูปแบบของ CPU Socket ให้ตรงกบั รุ่นและรูปแบบของ หน่วย ประมวลผลกลางดว้ ย เพราะแผงวงจรหลกั แต่ละอนั จะมี CPU Socket เพียง ชนิดเดียวเทา่ น้นั CPU Socket แตล่ ะรูปแบบจะสนบั สนุนการติดต้งั หน่วประมวลผล กลางจากแตล่ ะคา่ ยแต่ละรุ่นแตกตา่ งกนั ไป ดงั ต่อไปน้ี ตารางท่ี 1.1 CPU Socket และ CPU รุปแบบตา่ ง Socket CPU ภาพ Socket และ CPU Socket LGA 775 Intel Celeron Intel Pentuim Intel core 2 Socket LGA Intel core i3 1156 Intel core i5 Intel core i7 Socket LGA 1366 Intel core i7 (Quad core and Hexa Core)
Socket CPU ภาพ Socket และ CPU Socket LGA Intel core i3 1155 Intel core i5 Intel core i7 (Dual Core and Quad Core) Socket LGA Intel (Hexa Core 1356 And Octa Corn) Socket LGA Intel (Quad 211 Core, Hexa Core and Octa Core Socket LGA Intel Core I 4 1150 Genreation Socket AM2 AMD Sempron AMD Athlon AMD Phenom
ตารางที่1.1 (ต่อ) CPU Socket และ CPUรูปแบบต่างๆ SOCKET CPU ภาพ Socket และ CPU SOCKET AM3 AMD Sempron SocketFM1/AM2 AMD Fusion APU (3) สลอ็ ต สาหรับติดต้งั RAM หรือชอ่ งเสียบแผงวงจรหน่วยความจา RAM บนแผงวงจรหลกั ซ่ึงปกติลกั ษณะรูปร่างของ RAM แต่ละชนิดจะมี ความแตกต่างกนั ท้งั ความยาว จานวนขาและรอยบากเวา้ ท่ีไมต่ รงกนั ดงั น้นั สลอ็ ต สาหรับติดต้งั RAM บนแผงวงจรหลกั จึงตอ้ งมีรูปแบบเฉพาะของRAM แต่ละชนิดน้นั ๆ ดว้ ย ซ่ึงรูปแบบของชอ่ งเสียบ RAM สามารถจาแนกตามชนิด ของจานวนขาของRAM ที่ใชอ้ ยใู่ นปัจจบุ นั ไดด้ งั น้ี(n) DIMM (Dual In-line Memory Module) แบบ 168 pin เป็นสลอ็ ตมีหนา้ สมั ผสั ท้งั สองขา้ ง มีบากร่อง 2 ร่อง ใชก้ บั หน่วยความจาประเภท SDRAM(ข) DIMM (Dual In-line Memory Module) แบบ 184 pin เป็นสลอ็ ตมีหนา้ สัมผสั ท้งั สองขา้ ง มีบากร่อง 1 ร่อง ใชก้ บั หน่วยความจาประเภท DDR-SDRAM(ค) RIMM (Rambus in- line Memory Module) แบบ 184 pin ใชก้ บั หน่วยความจาประเภท RDRAM (Rambus DRAM)
2. หน่วยรับขอ้ มลู (Input Unit) เป็นหน่วยท่ีรับสญั ญาณเขา้ มาจากอุปกรณ์รับ ขอ้ มูลเขา้ แลว้ ปลงใหเ้ ป็นสญั ญาณท่ีหมาะสมเพื่อส่งใหห้ น่วยประมวลผล กลางทาการประมวลผล อปุ กรณ์รับขอ้ มลู กนั ส่วนใหญ่ ไดแ้ ก่ แป้นพิมพ์ (Keyboard) และเมาส์ (Mouse) นอกจากน้ียงั มีอุปกรณ์รับขอ้ มลู เขา้ อื่น ๆดงั น้ี (1) แป้นพิมพ์ (Keyboard) เป็นหน่วยรับขอ้ มลู ท่ีใชก้ นั มากท่ีสุดเพราะ เป็นอปุ กรณ์มาตรฐาน ในการป้อนขอ้ มลู สาหรับคอมพิวเตอร์โดยทวั่ ไปจะมี ลกั ษณะคลา้ ยกบั แป้นพิมพด์ ีด แตม่ ีจานวนแป้นมากกว่า โดยแบ่งแป้นกด ออกเป็น 4 กล่มุ ดว้ ยกนั คือ ก.แป้นอกั ขระ (Character Keys)มีลกั ษณะการจดั วางตวั อกั ษรเหมือน แป้นกดบนเคร่ืองพิมพด์ ีด ข. แป้นควบคุม (Control Keys) เป็นแป้นกดที่มีหน้าที่สง่ั งานโดยใช้ งานร่วมกบั แป้นกดอ่ืน ค. แป้นฟังกช์ นั่ (Function Keys) คือ แป้นท่ีอยแู่ ถวบนสุดมีสญั ลกั ษณ์ เป็น F1-F 12ซอฟตแ์ วร์แตล่ ะชนิดอาจกาหนดแป้นเหล่าน้ีให้มีหน้าที่เฉพาะ อยา่ งแตกต่างกนั ไป ง.แป้นตวั เลข (Numeric Keys) เป็นแป้นที่แยกจากแป้นอกั ขระมาอยู่ ทางดา้ นขวามีลกั ษณะคลา้ ยเคร่ืองคิดเลขชว่ ยอานวยความสะดวกในการ บนั ทึกตวั เลขเขา้ สู่เครื่องคอมพิวเตอร์
ป้ันพิมพ์ (Keyboard) ท่ีนิยมใชก้ นั ในปัจจุบนั จะใชร้ หสั 8 บิตแทนตวั อกั ษร หน่ึงตวั สามารถแทนตวั อกั ขระไดท้ ้งั หมด 256 ตวั ซ่ึงเพียงพอสาหรับการใชง้ านท้งั อกั ขระภาษาไทยและภาษาองั กฤษ(2) เมาส์ (Mouse) เป็นอปุ กรณ์ซี่ตาแหน่งและกด คาสง่ั บนหนา้ จอ มีขนาดและมีรูปร่างแตกต่างกนั ไปโดยปกติจะมีขนาดเท่ากบั ฝ่ ามือ มีป่ ุมกดจานวนสองป่ มุ ใชส้ ่งขอ้ มลู เขา้ สู่หน่วยความจาหลกั โดยการใชแ้ สงตรวจจบั การเคลื่อนทเี่ พอ่ื เป็นการเลือ่ นตวั ช้ีตาแหน่ง หรือ Cursor บนจอภาพไปยงั ตาแหน่งท่ี ตอ้ งการบนจอภาพ ทาให้การโตอ้ บระหวา่ งผใู้ ชก้ บั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ทาให้รวดเร็ว กว่าแป้นพิมพ์ (3) Track Bal, Tack Point และ Touch Pad เป็นอปุ กรณ์ทที่ าหน้าท่ีเหมือน เมาส์จะต่างกนั ท่ีอปุ กรณ์ท้งั 3 แบบน้ีไม่ตอ้ งเคล่ือนท่ีเหมือนเมาส์ และใชพ้ ้ืนท่ี ในการทางานนอ้ ยกว่าเมาส์ อปุ กรณ์ท้งั สามแบบจะมีลกั ษณะที่แตกตา่ งกนั ดงั น้ี
(ก) Track Ball มีลกั ษณะคลา้ ยเมาส์ มีหลกั การทางานเช่นเดียวกบั เมาส์แตจ่ ะใช้ วิธีการกล้ิงลกู บอลเลก็ ๆ ท่ีอยดู่ า้ นบนเพ่ือเลื่อนตาแหน่งเคอร์เซอร์บนจอภาพ แลว้ กดป่ มุ ดา้ นขา้ งเพ่ือสงั่ งานเชน่ เดียวกบั เมาส์ รูปที่ 1.8 ลกั ษณะของ Track Ball (ข) Track Point จะมีลกั ษณะเป็นแห่งพลาสติกเลก็ อยตู่ รงกลางแป้นพิมพบ์ งั คบั โดยใชน้ ้ิวมือโยกแทง่ Track Point เพอ่ื เล่อื นตาแหน่งของตวั ช้ีตาแหน่งบนจอภาพ แลว้ กดป่ ุมดา้ นลา่ งเพ่ือสง่ั งานเช่นเดียวกบั เมาส์ รูปท่ี 1.9 ลกั ษณะของ Track Point (ค) Touch Pad มีลกั ษณะเป็นแผน่ สี่เหลี่ยมท่ีวางอยหู่ นา้ แป้นพิมพ์ สามารถใช้ น้ิวสมั ผสั แลว้ วาดไปมาเพื่อเล่ือนตาแหน่งของตวั ช้ีตาแหน่งบนจอภาพ แลว้ กดป่ มุ ดา้ นลา่ ง 2 ปูม เพ่ือสง่ั งานเชน่ เดียวกบั เมาส์
รูปที่ 1.10 ลกั ษณะของ Touch Pad (4) JoystickK เป็นกา้ นสาหรับใชโ้ ยกข้ึนลง ซา้ ยขวาเพื่อยา้ ยตาแหน่งของตวั ช้ี ตาแหน่งบน จอภาพ มีหลกั การทางานเช่นเดียวกบั เมาส์แตจ่ ะมีเป็นกดเพิ่มเติมมา จานวนหน่ึงสาหรับสงั่ งานพิเศษ นิยม ใชก้ บั การเลน่ เกมส์คอมพิวเตอร์หรือควบคมุ หุ่นยนต์ รูปท่ี 1.11 ลกั ษณะของ Joystick 5.จอภาพระบบสมั ผสั (Touch Screen) เป็นจอภาพแบบพิเศษที่ผใู้ ชแ้ ตะ ปลายน้ิวลงบน จอภาพในตาแหน่งที่ตอ้ งการเพื่อเลือกการทางานที่ตอ้ งการ ซอฟตแ์ วร์จะคน้ หาวา่ ผใู้ ชเ้ ลือกสิ่งใดและ ทางานตามน้นั หลกั การน้ีใชก้ บั เครื่อง ไมโครคอมพิวเตอร์เพ่ือชว่ ยใหผ้ ทู้ ี่ใชเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์สามารถเลือก ขอ้ มลู ที่ตอ้ งการไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเร็ว
รูปที่ 1.12 ลกั ษณะของจอภาพระบบสมั ผสั (Touch Screen) (6) อุปกรณ์กวาดขอ้ มูล เป็นอุปกรณท์ ี่ใชร้ ะบบวิเคราะห์แสง ช่วยในการอา่ น ขอ้ มลู เขา้ สู่เครื่องคอมพวิ เตอร์ดว้ ยการใชล้ าแสงกวาดผา่ นขอ้ ความหรือสญั ลกั ษณ์ ต่าง ๆ ที่พิมพไ์ ว้ เพอื่ นาไปแยกแยะ รูปแบบตอ่ ไป ในปัจจุบนั มีการประยกุ ตใ์ ชใ้ น งานต่าง ๆ กนั (ก) เครื่องอ่านรหสั บาร์โคด้ (Bar Code Reader)เป็นเคร่ืองอา่ นรหสั ท่ีอยใู่ นรูป แถบ สีดาและขาวตอ่ เนื่องกนั เพ่อื เรียกขอ้ มลู ของส่ิงท่ีตอ้ งการ เชน่ ขอ้ มลู รายการ สินคา้ ที่ประกอบดว้ ยชื่อสินคา้ ราคาสินคา้ จานวนที่เหลืออยใู่ นคลงั สินคา้ ออกมาจาก ฐานขอ้ มูลแลว้ จึงทาการประมวลผลขอ้ มูลรายการ น้นั และทางานต่อไป ในปัจจุบนั เครื่องอ่านรหสั บาร์โคด้ ไดร้ ับความนิยมอยา่ งมากเนื่องจากไม่ตอ้ งพิมพข์ อ้ มูลเขา้ ดว้ ยแป้นพิมพ์ จึงลดความผดิ พลาดของขอ้ มลู และประหยดั เวลาไดม้ าก ) รูปที่ 1.13 ลกั ษณะของเครื่องอา่ นบาร์โคด้ )
(ข) สแกนเนอร์ (Scanner) เป็นอุปกรณ์ที่ใชอ้ า่ นหรือสแกน (Scan) ขอ้ มูลบน เอกสาร เขา้ สู่เครื่องคอมพิวเตอร์โดยใชว้ ิธีส่องแสงไปยงั วตั ถทุ ่ีตอ้ งการสแกนแสงท่ี สองไปยงั วตั ถุแลว้ สะทอ้ นกลบั มา จะถกู ส่งผา่ นไปท่ีเซลลไ์ วแสง ซ่ึงจะทาการ ตรวจจบั ความเขม้ ของแสงท่ีสะทอ้ นออกมาจากวตั ถแุ ละแปลง ใหอ้ ยใู่ นรูปของ ขอ้ มูลทางติจิตอล เอกสารที่อ่านอาจประกอบดว้ ยขอ้ ความหรือรูปภาพกราฟิ กกไ็ ด้ สแกนเนอร์ที่ไดร้ ับความนิยมในปัจจุบนั อาจแบ่งตามวิธีใชง้ านดงั น้ี สแกนเนอร์มือถอื (Handhold Scanner) มีขนาดเลก็ สามารถพกพาไดส้ ะดวก การ ใชส้ แกนเนอรุ่นมือถอื น้ีผใู้ ชต้ อ้ งถอื ตวั สแกนเนอร์กวาดไปบนภาพหรือวตั ถทุ ี่ ตอ้ งการ รูปท่ี 1.14 ลกั ษณะของสแกนเนอร์มือถือ (Handheld Scanner) เป็นสแกนเนอร์ที่ผใู้ ชต้ อ้ ง สอดภาพหรือเอกสารเขา้ ไปยงั ช่องสาหรับอา่ นขอ้ มลู เครื่องสแกนเนอร์แบบสอดกระดาษน้ีจะเหมาะสม สาหรับการอา่ นเอกสารที่เป็น แผน่ เท่าน้นั ขอ้ plustek รูปท่ี 1.15 ลกั ษณะของสแกนเนอร์แบบสอดกระดาษ
สแกนเนอร์แบบแท่น (Flatbed Scanner)เป็นสแกนเนอร์ที่นิยมใช้ โดยที่ผใู้ ช้ ทาให้ใชง้ านไดง้ ่ายและสามารถสแกนเอกสารท่ีเป็นเลม่ ได้ รูปท่ี 1.16 ลกั ษณะของสแกนเนอร์แบบแทน่ (Flatbed Scanner) การนาสแกนเนอร์มาใชใ้ นการแปลงเอกสารใหเ้ ป็นขอ้ มลู ดิจิตอล เป็นการเก็บรักษา ขอ้ มูลท่ีคงทน ไม่มีการเปล่ียนแปลงตามสภาวะแวดลอ้ มเหมือน เอกสาร อีกท้งั ยงั สามารถนาขอ้ มูลท่ีตกแตง่ แกไ้ ขตามความตอ้ งการ อยา่ งไรกด็ ี สแกนเนอร์แตล่ ะรุ่นมีความสามารถ และรายละเอียดที่แตกตา่ ง กอ้ ง กนั ท่ีจะทาให้ ขอ้ มลู ท่ีไดม้ ีคณุ ภาพ ดงั น้ี 1. ความละเอียดในการสแกนมีหน่วยเป็นจุดตอ่ นิ้ว(Dot per inch) หรือ dpi จานวน สม จุดต่อนิ้วยิ่งมากจะหมายถึงย่ิงมีความละเอียดสูง 2. จานวนสีจะเป็นการแยกแยะความแตกต่างสีท่ีอ่านไดป้ กติแลว้ สีที่ อา่ นเขา้ จะมีการ จดั เก็บเป็นบิต 3. ความเร็วในการสแกนจะข้ึนกบั ความละเอียดในการสแกนและ จานวนสีดว้ ย ปกติ จะระบเุ ป็นมิลลิวินาทีตอ่ บรรทดั (ms/line) (7) กลอ้ งถา่ ยภาพดิจิตอลหรือ Digital Cameraเป็นอปุ กรณ์ที่ใช้ สาหรับถ่ายภาพแบบ ไม่ตอ้ งใชฟ้ ิ ลม์ โดยเก็บภาพท่ีถา่ ยไวใ้ นลกั ษณะขอ้ มลู ดิจิตอล ดว้ ยอปุ กรณ์ CCD (Charge Couplesce) ภาพไดส้ ามารถนาเขา้ เคร่ืองคอมพิวเตอร์เพื่อใชง้ านได้ โดยไมต่ อ้ งใชอ้ ุปกรณ์สแกน เป็นอปุ กรณ์ที่ไดร้ ับความนิยมเน่ืองจากไม่ตอ้ งใชฟ้ ิ ลม์ ในการถา่ ยภาพและสามารถดูผลลพั ธไ์ ดจ้ ากจอที่ติด อยกู่ บั กลอ้ งไดท้ นั ที
รูปท่ี 1.17 กลอ้ งถ่ายภาพดิจิตอล กลอ้ งวดี ีโอดิจติ อลหรือDigital Video Camera เป็นอุปกรณ์ทใ่ี ช้ สาหรับบนั ทกึ ภาพเคลื่อนไหวและเกบ็ เป็ นขอ้ มูลแบบดิจิตอลในรูปแบบ ไฟลว์ ดี ีโอตา่ ง ๆ เช่น ไฟล์ MPEG-2 หรือไฟลแ์ บบ DVD โดยตรง รูปที่ 1.18 กลอ้ งวดี ีโอแบบดิจิตอล การเลือกกลอ้ งถ่ายวดี ีโอแบบดิจิตอลมาใชง้ านตอ้ งคานึงถึงการ ใชง้ านแบบทวั่ ไปหรือ แบบมืออาชีพ ความละเอียดของภาพท้งั แบบ SD (Standard Definition) และแบบ HD(high Definition) รูปแบบการ บนั ทึกเสียง ความสามารถพเิ ศษอื่น และงบประมาณ 3. หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ยอ่ มาจาก Central Processing Unit เป็นอุปกรณ์ท่มี ี ความสาคญั เสมือนสมองขอคอมพิวเตอร์ มีหนา้ ทหี่ ลกั ในการประมวลผลขอ้ มูล โดยรับขอ้ มูลจากผใู้ ชผ้ า่ น อุปกรณ์ ตา่ ง ๆ เช่น เมาส์ และคยี บ์ อร์ด จากน้นั จงึ ทาการประมวลผลและส่งผลลพั ธ์ ออกมาทางอุปกรณ์ สดงผล เช่น ทางจอภาพ ลาโพงหรือเคร่ืองพมิ พห์ น่วย ประมวลผลกลางประกอบดว้ ยส่วนประสาคญั 3
1.หน่วยคานวณและตรรกะ หรือ ALU (Arthmetic & Logical Uni) ทาหนา้ ที่เกี่ยวซอ้ ง กบั การคานวณทางคณิตศาสตร์ เช่น บวก ลบ คุณ หารนอกจากน้ี ยงั สามารถเปรียบเทียบตามเงื่อนไขเพื่อใหไ้ ดค้ าตอบตามเง่ือนไข เซ่น เปรียบเทียบ มากวา่ นอ้ ยกวา่ เท่ากนั ไมเ่ ทา่ กนั ของจานวน 2 จานวน เป็นตน้ (2) หน่วยควบคมุ หรือ CU(Control Uni) ทาหนา้ ท่ีควบคมุ ลาดบั ช้นั ตอนการประมวลผล และการทางานของอปุ กรณ์ตา่ ง ภายในหน่วยประมวลผลกลาง และรวมไปถึงการประสานงานในการ ทางานร่วมกนั ระหว่างหน่วยประมวลผล กลางกบั อุปกรณ์นาเขา้ ขอ้ มูล อปุ กรณ์แสดงผล และหน่วยความจาสารองดว้ ย (3) หน่วยความจา Cache เป็นระบบหน่วยความจาความเร็วสูงที่เกบ็ ขอ้ มลู บางส่วนของ Main Memory ในทางกายภาพแลว้ Cache จะอยตู่ รงกลาง ระหว่าง Main Memoryกบั หน่วยประมวลผล กลางเพราะวา่ Cache มีความเร็วสูง กว่า Main Memory ทาใหเ้ ป็นการเพิ่มประสิทธิภาพในการทางานของ ระบบ เพราะ ถา้ ไมม่ ีหน่วยความจา Cache แลว้ หน่วยประมวลผลกลางจะเสียเวลาในการหยดุ รอ ขอ้ มูล จาก RAM ซ่ึงทางานชา้ กวา่ Cache มาก รูปท่ี 1.19 ส่วนประกอบของ CPU (1)โครงสร้างของหน่วยประมวลผลกลาง หน่วยประมวลผลกลาง ประกอบดว้ ยทรานซิสเตอร์ จานวนมากประกอบเป็ นหน่วยประมวลผล ทรานซิสเตอร์น้ีเกิดจากสารก่ึงตวั นาประเภท Pและ N มาประกอบ กนั และถูกจบั อดั ลงอยบู่ นเวเฟอร์ (Wafer) หรือแผน่ ซิลิกอนท่ีมีลกั ษณะเป็นแผน่ กลม ๆ บาง ๆ ท่ี นามาทา ชิป จากน้นั ผผู้ ลิตชิปจะไปซ้ือเวเฟอร์เหล่าน้ีมาเขา้ สู่กระบวนการผลิตชิปอีก ที
รูปท่ี 1.20 โครงสร้างภายใน CPU (2) จานวน BIs ใน CPU BI มาจากคาว่า Binary Digi! หมายถึง เลขฐานสองท่ีมี 0 กบั 32 บิต หรือขนาด 64 บิต โดยหน่วยประมวลผลขนาด 8 บิต จะใชเ้ กบ็ รหสั ขอ้ มูลไดเ้ ท่ากบั 2 ประมวลผลขนาด 16 บิต จะใชก้ บ็ หสั ขอ้ มลู ได้ เท่ากบั 26 = 65,536 ค่าหน่วยประมวล กบ็ รหสั ขอ้ มลู ไดเ้ ทา่ กบั 2'2 = 4,294,967.296 ค่าและหน่วยประมวลผลขนาด 64 บิ รหสั ขอ้ มลู ไดเ้ ทา่ กนั 18,446,744,073,709,551,616 ค่า จะเห็นไดว้ า่ จานวน Bits ใน CPU จะเป็นตวั บอก ความสามารถในการเกบ็ รหสั ขอ้ มูล (3) ความเร็วในการประมวลผล ใชห้ น่วยวดั เป็นสญั ญาณนาฬิกา เนื่องจากหน่วย ประมวลผลกลางทางานเป็นรอบคาสงั่ โดยจะวดั รอบคาสง่ั ใน 1 วินาที มีหน่วยเป็น Hertz มีคา่ เป็นรอบต่อ วินาที เชน่ 80 H2 เท่ากบั 80 รอบต่อวินาที ปัจจุบนั หน่วยประมวลผลกลางมีหน่วยเป็น GHz ซ่ึงมีค่าเป็น พนั ลา้ นรอบต่อวินาที นอกจากน้ีหน่วยประมวลผลกลางสมยั ใหม่ท่ีใชก้ ารทางานแบบ Multi-threading และ Muti Core เชน่ Quad Core, Dual Core ท่ีมีหลายแกนในตวั เดียว ทาใหส้ ามารถ ทางานไดม้ ากข้ึน (4) การทางานของหน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU ใชห้ ลกั การเกบ็ คาสง่ั ไวท้ ี่ หน่วยความจา โดยที่หน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU จะอา่ นคาสง่ั จาก หน่วยความจามาแปลความหมาย และกระทาเรียงกนั ไปทลี ะคาสง่ั การทางานของ หน่วยประมวลผลกลางแบง่ ออกตามหนา้ ที่ไดเ้ ป็น 5 กลมุ่ โดยทางานทีละคาสงั่ จาก คาสง่ั ที่เรียงลาดบั กนั ไวต้ อนท่ีเขียนโปรแกรมดงั น้ี
(ก) Fetch.-.การอา่ นชดุ คาสงั่ ข้ึนมา 1 คาสง่ั จากโปรแกรม (ข) Decode –การตีความ 1 คาสง่ั น้นั ดว้ ยวงจรถอดรหสั (ค) Execute - การทางานตาม 1 คาสง่ั น้นั (ง) Memory-การติดตอ่ กบั หน่วยความจา (จ) Write back – การเขียนขอ้ มูลกลบั รูปท่ี1.21 การทางานของหน่วยประมวลผลกลางแบบพ้ืนฐาน (5) การจาแนกหน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU น้นั ถา้ แบง่ ตาม ยห่ี อ้ หรือบริษทั ผผู้ ลิตที่ ส่วนใหญใ่ นตลาดจะพบเห็น Inte! และ AMD เป็นหลกั ซ่ึง แตล่ ะยหี่ ้อจะแบ่งออกเป็นรุ่นต่าง ๆ ท่ีอาจจะใช้ ตวั เลขอนุกรมเป็นรหสั รุ่นหรือใช้ ช่ือเฉพาะ และในแต่ละรุ่นอาจแบง่ เป็นรุ่นยอ่ ย 1 อีกหรือแบ่งตามความเร็ว ของหน่วยประมวลผลกลาง หรือแบ่งตามการเช่ือมตอ่ หรือ Socket เป็นตน้ หน่วย ประมวลผลกลางหรือ CPU รุ่นต่าง ๆ ของคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คลทว่ั ไปมีดงั น้ี (ก) CPU ของ Intel I ntel เป็นบริษทั ผผู้ ลิตหน่วยประมวลผลกลาง หรือ CPU ของสหรัฐอเมริกา ผลิต และพฒั นา CPU มาอยา่ งต่อเนื่อง ต้งั แต่ตระกูล x86 จนถึงตระกลู Core I ในปัจจุบนั ดงั ตวั อยา่ งรุ่นตา่ ง ๆ – 80486 เป็นหน่วยประมวลผลกลางท่ีมีการพฒั นามาจาก 80386 โดย มีการเปล่ียนแปลงโครงสร้างภายในทาใหป้ ระสิทธิภาพการทางานดีข้ึน เช่น หน่วยความจาแคซ L1 เพ่ิมข้ึนเป็น 16 KB และมีหน่วยประมวลผลทางคณิตศาสตร์ ไวภ้ ายในตวั - Pentum 2 เป็น CPU ท่ีตอ่ ยอดมาจากรุ่น Pro และ MMX โดยรุ่น แรกมีช่ือรหสั วา่ Kamath มนั ทางานกบั บสั 66 MHz โดยมีความเร็ว 233 MHz ถึง 300 MHz และรุ่น Deschutes ที่ใช้ เทคโนโลยีการออกแบบ 0.25 ไมครอน และ ทางานกบั บสั 100 MHz ของหน่วยประมวลผลกลางIntel ดงั น้ี
Pentum 3 เป็น CPU ที่ใชส้ ถาปัตยกรรม Katma มีความเร็ว 450 MHz บนบสั โนโลยใี หม่ 4 ชนิด คือ Hyper Pipelined Technology, Rapid Execution Engine, Execu Pontum 4 เป็น CPUที่ใชส้ ถาปัตยกรรมใหมท่ ่ีเรียกวา่ Net Burst ซ่ึง ประกอบดว้ ย Cache และความเร็วบสั 400 MHz สามารถทางานทางดา้ นกราฟิ กและ การเลน่ เกมไดด้ ีข้ึน Celeromเป็นผลิตภณั ฑร์ ะดบั ล่าง าคาถูกท่ีพฒั นาภายใตพ้ ้ืนฐานเดี ณ m 2ที่ถูกลดความเวลา หน่วยความจาแคชที่นอ้ ยลง สามาถทางานไดเ้ หมือนตวั อ่ืน ประสิทธิภาพต่ากว่าตอ่ มาไดพ้ ฒั นาบนฐานของ Pentium 3, Pentium 4,Pentium M และ Core 2 Duo ตามลาดบั Intel Core 2 เป็น CPU แบบผสมระหวา่ ง 32 bit และ 64 bit เพราะ Core 2 น0 เป็นท้งั แบบ 32 bit และ 64 bit ที่มีการทางาน 1, 2 หรือ 4แกนร่วมกนั มี การลดอตั ราสญั ญา และลดการใชพ้ ลงั งานลงโดยเพ่ิมประสิทธิภาพมากข้ึน .Intel Core เป็น CPU ท่ีใชเ้ ทคโนโลยี 32 กm ส่วนใหญจ่ ะมีแผง ควบคุมวงจรแรมในตวั และบางตวั มีกราฟิ กชิพเซ็ทในตวั ดว้ ย และมี Hyper Threadingที่เป็นการจาลองหน่วย ประมวลผลกลางใหเ้ หมือนวา่ มีหน่วยประมวลผล กลางเพิ่มข้ึนทาใหใ้ ชห้ น่วยประมวลผลกลางไดเ้ ตม็ ที่มาก ข้ึน หน่วยประมวลผล กลางหรือ CPU ตระกูล Core i จะใชต้ วั เลขในการบอกรุ่นและสมรรถนะแทน เช่น Core i3, Core i5 และ Core i7 เป็นตน้ รูปที่ 1.22 CPU ของ Intel ในตระกลู Core i... (ข) CPU AMD ยอ่ มาจากช่ือเตม็ ของบริษทั Advanced Micro Devicesซ่ึงเป็น บริษทั ผผู้ ลิต หน่วยประมวลผลกลางหรือ CPU ของเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คล คู่แข่งของบริษทั Intel พฒั นา CPU มา
อยา่ งตอ่ เน่ือง รองรับการประมวลผลท้งั แบบ 32 bts และแบบ 64 bits ผลิต CPU ทางเลอื กราคาต่ากวา่ Intel และชว่ ยให้ราคาเครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบคุ คลราคา ต่าลง ดงั น้ีตวั อยา่ งวุ่นตา่ ง ๆ ดงั น้ี K6 เป็น CPU ในรุ่นที่ 6 ของทาง AMD มีสถาปัตยกรรมโครงสร้างภายใน รูปแบบของ RISC CPU ใชง้ านบน Socket 7 มีรุ่นยอ่ ยต้งั แต่ K6-2, K62+ และ K63+ - Athionn เป็นหน่วยประมวลผลบนชอ็ คเก็ต A และสลอ็ ต A สาหรับ ตลาดทว่ั ไปเป็น CPU ที่มี Cache ระตบั 1 ขนาด 128 K มี Cache ระดบั 2 ขนาด 512 K ติดต้งั อยภู่ ายนอก ทางานที่ ความเร็ว FSB 200 MHz และยงั มีว่นุ Athion Thunderbird เป็น CPU ท่ีใชเ้ ทคโนโลยีการผลิตขนาด 0.18 ไมครอน โดยจะมี Cache ระดบั 2 แบบ On-Chip ทางานดว้ ยความเร็วเดียวกนั กบั CPU ที่ขนาด 512 K เป็น CPU ตวั สุดทา้ ยท่ีใชง้ านบน Slot-A Phenom 2เป็น CPU รุ่นตอ่ จาก Phenom ดว้ ยเทคโนโลยขี นาด 45 nm สนบั สนุน DDR2 และ DDR3 แบบ Dual Channe! จากน้นั ไดม้ ีการปรับ โครงสร้างภายในให้สามารถ สนบั สนุน DDR3 แบบ Triple Channel ใชง้ านบน Socket AM2 และ Socket AM3 - Duron เป็นหน่วยประมวลผลกลางทีอ่ อกแบบมา สาหรับกล่มุ ผใู้ ชท้ ่ีมีกาลงั ซ้ือ นอ้ ยมีความเร็วต้งั แต่ 600-750 MHZ ใชอ้ ินเทอร์เฟช แบบ Slot A ใชเ้ ทคโนโลยี AMD PowerVow! ซ่ึงชว่ ย ยึดอายกุ ารใชง้ านของ แบตเตอร่ี มีประสิทธิภาพในการรันซอฟตแ์ วร์ต่าง ๆ ไม่วา่ จะเป็นซอฟตแ์ วร์ดา้ น มลั ติมีเดีย หรือแอพพลิเคชนั สาหรับใชง้ านในออฟฟิ ต 4. หน่วยความจาเป็นอปุ กรณ์เกบ็ สถานะขอ้ มลู และชุดคาสงั่ เพ่ือใช้ ในการประมวลผลของ คอมพิวเตอร์ หรือใชเ้ กบ็ ขอ้ มลู เพอ่ื ใชง้ านภายหลงั แบ่ง ออกเป็นประเกทตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1.หน่วยความจาภายในเป็นหน่วยความจาท่ีติดต้งั อยบู่ น แผงวงจรหลกั ในเคร่ือง คอมพิวเตอร์ ท้งั แบบที่ติดอยกู่ บั แผงวงจรหลกั และแบบถอด ประกอบได้ ประกอบดว้ ย (ก) หน่วยความจาแบบ RAM (Random Access Memory) เป็นหน่วยความจา ชวั่ คราวท่ีใชส้ าหรับเก็บขอ้ มูลหรือโปรแกรมท่ีกาลงั ใชง้ านอยขู่ ณะน้นั ท้งั การนาเขา้
เสมอความเร็วของ SDRAM จะมีหลายขนาดซ่ึงตอ้ งเลอื กความเร็วของ SDRAM ให้ สอดคลอ้ งกบั ความเร็วบสั หน่วยประมวลผลกลางดว้ ยการเลือกซ้ือ SDRAM น้นั ควร เลือกที่มีความเร็วบสั เดียวกนั หรือมากกว่าความเร็วบสั ของหน่วยประมวลผลกลางก็ ได้ แต่ควรให้มีขนาดความจุเพียงพอกบั งานดว้ ย รูปที่ 1.23 หน่วยความจา RAM ชนิด SDRAM -RAM ชนิด DDR-SDRAM (Double Data Rate SDRAM) เป็ น RAM ที่พฒั น มาจาก SDRAM คร้ังแรกถกู พฒั นาข้ึนมาใชก้ บั Graphic Card เท่าน้นั แต่ภายหลงั ไดม้ ี การตดั แปลงใหใ้ ชก้ บั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ส่วนบคุ คลดว้ ย ซ่ึงในการสงขอ้ มูลของ DDR SDRAM จะทาการรับส่งสญั ญาณท้งั ทางข้ึนและขาลง ทาให้สามารถทางานได้ เร็วเป็น 2 เท่าของ SDRAM แผงวงจรหลกั ส่วนใหญจ่ ะมีสลอ็ ตสาหรับติดต้งั แรมชนิด น้ีมาดว้ ยเน่ืองจากประสิทธิภาพที่สูงกว่า SDRAM และราคาที่ต่ากว่า RDRAM รูปที่ 1.24 หน่วยความจา RAM ชนิด DDR-SDRAM - RAM ชนิด RDRAM (direct RAM bus DRAM) เป็น RAM ที่มี ความเร็วในกทางานสูงกวา่ SDRAM ถกู ออกแบบมาใชก้ บั แผงวงจรหลกั ชิป เซ็ต 850 ของอินเทลส่วนสนบั สนุนในรับส่งขอ้ มูลใหท้ ดั เทียมกบั การทางาน ของหน่วยประมวลผลกลางที่มีความเร็วสูงแต่ไม่นิยมใชง้ านมากเพราะมี ราคาสูงและประสิทธิภาพที่ไม่ดีมากนกั
รูปท่ี 1.25 หน่วยความจา RAM ชนิด RDRAM - RAM ชนิด DDR2 เป็นหน่วยความจาที่ถกู พฒั นามาจาก DDR-SDRAM โดย ในช่วงแรกน้นั DDR2 ถูกผลิตข้ึนมาเพ่ือใชง้ านบนการ์ดแสดงผลประสิทธิภาพสูง แลว้ จึงนาน่วยความจาของระบบ RAM ชนิด DDR2 พฒั นาข้ึนเพ่ือลดขอ้ จากดั ของ DDR ลโดยเพ่ิมความการทางานของ RAM ให้สูงข้ึน ลดไฟเล้ียงลงและใชจ้ านวน ขาพิน 240 พิน รูปท่ี 1.26 หน่วยความจา RAM ชนิด DDR2 - RAM ชนิด DDR3 เป็นหน่วยความจาที่เป็นววิ ฒั นาการใหมข่ องเทคโนโลยี หน่วยความจาคูท่ ่ีผสมผสานเทคโนโลยขี อง DDR และ DDR2 เขา้ เอาไวด้ ว้ ย ความจา DDR3รับการออกแบบให้สามารถรองรับหน่วยประมวลผลแบบสี่แกนท่ี ตอ้ งใชแ้ บนดว์ ิทสาหรับขอ้ ทาใหม้ ีประสิทธิภาพและความเร็วท่ีเพิ่มข้ึน ไม่สะสม ความร้อนและใชพ้ ลงั งานต่า รูปท่ี 1.27 หน่วยความจา RAM ชนิด DDR3
ในการเลือกหน่วยความจาแบบ RAM น้นั นอกจากดปู ระเภท RAM ใหต้ รง กบั สลอ็ ตบนแผงวงจรหลกั แลว้ ส่ิงท่ีผใู้ ชท้ ว่ั ไปควรใหค้ วามสาคญั คือความเร็ว ขนาดและอตั ราการรับส่งขอ้ มูลของRAM ซ่ึงเป็นปัจจยั สาคญั ท่ีตอ้ งนามาพิจารณา ดว้ ย 1. ความเร็วของ RAM มีหน่วยเป็น MHz (เมกะเฮิร์ซ) การเลือกความเร็ว ของRAM จะตอ้ งเลือกใหส้ อดคลอ้ งกบั ความเร็วบสั ท่ีแผงวงจรหลกั หรือใหต้ รง กบั บสั ของหน่วยประมวลผลกลางท่ีติดต้งั บนแผงวงจรหลกั 2. ขนาดของ RAM เป็นการเลอื กตามความตอ้ งการใชง้ าน และงบประมาณ ท่ีกาหนด ปัจจุบนั RAM มีขนาดต้งั แต่ 32 MB ไปจนถึง 2 GB บนแผงวงจรหลกั จะมีสลอ็ ตสาหรับติดต้งั RAM ไวห้ ลายช่อง ในการติดต้งั RAM สามารถติดต้งั RAM หลายตวั และหลายขนาด แต่ตอ้ งเป็นชนิดเดียวกนั ไดต้ ามที่ชอ่ งสลอ็ ตติดต้งั จะมีให้ โดยขนาดของ RAM ของระบบจะเทา่ กบั ผลร่วมจากขนาดของRAท้งั หมด ท่ีติดต้งั อยู่ 3. อตั ราการรับส่งขอ้ มูล (Bandwidth) เป็นตวั บอกประสิทธิภาพการทางาน ของRAM มีหน่วยเป็น MB/s หมายถึง ขนาดของชอ่ งทางกรรับส่งขอ้ มลู ที่ทาได้ ภายในเวลา 1 วินาที (ข) หน่วยความจาแบบ ROM (Read Only Memory) เป็นหน่วยความจาถาวรที่ อา่ นไดอ้ ยา่ งเดียว ไม่สามารถบนั ทึกขอ้ มลู ได้ ถึงแมว้ ่าจะปิ ดเครื่องหรือไฟฟ้าดบั ขอ้ มลู ท่ีเกบ็ ไวจ้ ะยงั คงอยโู่ ดยทวั่ ไปจะใชเ้ กบ็ ขอ้ มลู ที่ไมต่ อ้ งมีการแกไ้ ขอีก เช่น โปรแกรม BIOS หรือเฟิ ร์มแวร์ท่ีควบคุมการทางานของคอมพวิ เตอร์ใชเ้ กบ็ โปรแกรมเคร่ืองคิดเลขใชก้ ็บโปรแกรมควบคุมในเคร่ืองซกั ผา้ โปรแกรมควบคมุ ระบบรถยนต์ เป็นตน้ รูปที่ 1.28 หน่วยความจาแบบ ROM
(2) หน่วยความจาสารอง หมายถึง หน่วยความจาที่ใชเ้ กบ็ บนั ทึกขอ้ มลู เอาไว้ อยา่ งถาวรเพือ่ ใหง้ านภายหลงั นาส่งหรือแลถเปล่ียนขอ้ มูลกบั ผอู้ ื่น ซ่ึงสามารถ แกไ้ ขเปลี่ยนแปลงขอ้ มลู ท่เี ก็บให้ตลอดเวลา ไดแ้ ก่ เทปแมเ่ หลก็ จานแม่เหลก็ และแผน่ จานแสง ดงั น้ี (ก) ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นจานแม่เหลก็ ชนิดแขง็ แบบติดแน่น ไม่มี การเคลื่อนท่ีสามารถบรรจุขอ้ มูลไดจ้ านวนมาก โดยส่วนใหญฮ่ าร์คคิสก็มีขนาด 3.5 น้ิว ที่ใชก้ บั เครื่องคอมพวิ เตอร์ดง้ โตะ๊ หรือเคร่ืองแมข่ า่ ย และขนาด 2.5 น้ิว ท่ี ใชก้ บั เครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพาซ่ึงจะมีความจุต้งั แต่ MB.GB และ TB รูปท่ี 1.29 Hard disk - ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) ประกอบดว้ ยส่วนประกอบตา่ งไดแ้ ก่ แผน่ จานแม่เหลก็ (Disk Platter) หวั อ่าน (Head) ทปี่ ระกอบอยบู่ นแขนหวั อา่ น (Actuator AIm) จานวน เทา่ กบั แผน่ สาหรับอ่านและบนั ทึกชอ้ มูลบนแผน่ จานแม่เหลก็ ดงั รูปท่ี 1.30 รูปท่ี 1.30 ส่วนประกอบภายในฮาร์ดดิสก์
- ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) อาศยั หลกั การเปลี่ยนสถานะทางแมเ่ หลก็ บนผิว ของสื่อบนั ทึกขอ้ มลู เพื่อใชใ้ นการอ่านและเขียนขอ้ มูลโดยสถานะน้นั จยงั คง อยตู่ ลอดเพื่อรอการนามาใชง้ านภายหลงั รูปที่ 1.31 การจดั ลาดบั แม่เหลก็ บนแผน่ จานฮาร์ดดิสก์(Hard Disk) - ฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) เป็นอปุ กรณ์สารองขอ้ มูลทเี่ ขา้ ถึงขอ้ มูลแบบโดยตรง แต่ละดา้ นของแผน่ จานจะมีการแบง่ แผน่ จานเป็นวงช้นั ซอ้ นกนั เรียกวา่ Track แต่ ละ Track จะมีการกาหนดหมายเลขไว้ แผน่ จานฮาร์ดดิสก์ (Hard Disk) จะตอ้ ผา่ น การฟอร์แมตก่อนนาไปใชง้ าน ซ่ึงแผน่ จานจะถกู แบ่งอกเป็นส่วน ๆ เทา่ ๆ กนั ใน ทุก Track เรียกวา่ Sector ที่ใชใ้ นการบนั ทึกขอ้ มูลจากการนาส่วนยอ่ ยของ Track ต้งั แต่ 2 ถึง 8 Track ข้ึนไปรวมกนั เรียกว่า Cluster ดงั รูปที่ 1.32 รูปที่ 1.32 โครงสร้าง Track Sectors Cluster
(ข) จานแสง (Optical Disk) หมายถึง จานพลาสติกเคลือบผวิ ท่ีใช้ เทคโนโลยเี ซอร์ เพ่ือการอา่ นหรือเขียนขอ้ มลู ทาให้สามารถเกบ็ ขอ้ มลู ได้ จานวนมาก ราคาไมแ่ พง มีขนาดเลก็ พกไดส้ ะดวก จานแสง (Optical Disk) แบง่ เป็นชนิดต่าง ๆ ดงั น้ี - CD-ROM ยอ่ มาจาก Compact Disc Read Only Memory เป็นอปุ กรณ์ บนั ทึกอมูลประเกทจานแสงชนิดอา่ นไดอ้ ยา่ งเดียว ไม่สามารถเขียน ลบ หรือ แกไ้ ขขอ้ มูลได้ ส่วนใหบนั ทึกขอ้ มลู มาจากโรงงานแลว้ เช่น แผน่ CD เพลง ภาพยนตร์ หรือโปรแกรมตา่ ง ๆ เป็นตน้ รูปท่ี 1.33 ลกั ษณะ CD ROM - CD-R หรือ Compact Disk Recordable เป็นแผน่ CD ท่ีสามารถบนั ทึก ได้ แต่ไมส่ ามารถแกไ้ ขขอ้ มูล ลบขอ้ มลู หรือบนั ทึกขอ้ มูลช้าได้ จึงเหมาะสาหรับ การจดั เกบ็ ขอ้ มูลที่ไมต่ อ้ งการแกไ้ ขแลว้ ในการใชง้ านจริงน้นั สามารถบนั ทึก ขอ้ มลู เพ่ิมเติมลงไปในแผน่ CD-R ไดอ้ ีกหลายคร้ัง จนกวจ่ ะเตม็ พ้ืนที่ โดยการ บนั ทึกแตล่ ะคร้ังจะถูกแยกออกเป็นส่วน ๆ ท่ีเรียกว่า Session และสุดสิ้นสุดการ บนั ทึกขอ้ มลู แลว้ ทาการปิ ด Session จากน้นั แผน่ CD-R จะเปล่ียนสภาพเป็น CD- ROM ท่ีสามารถใชอ้ ่านขอ้ มูลไดอ้ ยา่ งเดียว ไมส่ ามารถแกไ้ ขขอ้ มูลใด ๆ ไดอ้ ีก รูปที่ 1.34 ลกั ษณะ CD-R
- CD-RW หรือ Compact Disk Rewitableเป็นแผน่ CD ท่ีสามารถเขียนขอ้ มลู แลว้ สามารถลบ แกไ้ ข เขียนใหม่ได้ รูปที่ 1.35 ลกั ษณะแผน่ CD-RW - DVD (Digital Versatile Disk) เป็นแผน่ ขอ้ มลู แบบบนั ทึกดว้ ยแสง (OpticalDisc) ท่ีพฒั นามาใชแ้ ทน CD มีขนาดเดียวกนั แตใ่ ชก้ ารบนั ทึกขอ้ มลู ท่ี แตกต่างกนั และความละเอียดในการบนั ทึกที่หนาแน่นกว่าจึงสามารถบนั ทึก ขอ้ มลู ไดม้ ากกว่า รูปที่ 1.36 ลกั ษณะแผน่ DVD (ค) เทปแม่เหลก็ (Magnetic Tape) เป็นอปุ กรณ์สารองขอ้ มูลที่มีหลกั การ ทางานคลา้ ยเทปบนั ทึกเสียง ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แบบเมนเฟรมจะใชส้ ื่อบนั ทึก ขอ้ มูลเป็นแบบมว้ นเทป ซ่ึงเป็นวงลอ้ ขนาดใหญ่ ในเคร่ืองคอมพวิ เตอร์แบบ มินิคอมพิวเตอร์จะใชส้ ื่อบนั ทึกขอ้ มลู เป็นแบบคาร์ทริดจ์เทปซ่ึงมีลกั ษณะคลา้ ย วีดีโอเทป
รูปที่ 1.37 เทปแมเ่ หลก็ (Magnetic Tape) (ง) สื่อบนั ทึกขอ้ มลู แบบอน่ื ๆ - Flash Drive หรือ USB Flash Drive เป็นอปุ กรณ์เกบ็ ขอ้ มูลโดยใช้ หน่วยความจาแบบแฟลช ทางานร่วมกบั พอร์ต USB มีขนาดเลก็ น้าหนกั เบา มี ความจุหลายขนาด สามารถทางานไดใ้ นหลายระบบปฏิบตั ิการ Flash Drive มีช่ือ เรียกอื่นอีก เชน่ Handy Drive, Thumb Drive หรือ USB Drive รูปที่ 1.38 แสดงลกั ษณะของ Flash Drive - Compact Flash (CF Card) เป็นการ์ดหน่วยความจาที่ไดร้ ับความนิยม มากเนื่องจากมีขนาดเลก็ หาซ้ือไดง้ ่าย และราคาถกู เม่ือเทียบกบั การ์ดชนิดอ่ืน มี ใชท้ ้งั ในกลอ้ งถ่ายภาพดิจิตอล
รูปที่ 1.39 ลกั ษณะของ Compact Flash (CF Card) Smart Media Card เป็นการ์ดหน่วยความจาอีกชนิดหน่ึงท่ีไดร้ ับ ความนิยมมาก เชน่ กนั แตย่ งั ไมเ่ ท่ากบั Compact Flash ขอ้ ดีของ Smart Media Card Smart Media Card คือ ความบาง ซ่ึงบางเพียง 0.76 มิลลเิ มตร มีน้าหนกั เพียง 2 กรัม เท่าน้นั รูปท่ี 1.40 ลกั ษณะของ Smart Media Card Memory stick เป็นการ์ดหน่วยความจาอีกชนิดหน่ึง ซ่ึงปัจจุบนั มีใช้ เฉพาะ ในกลอ้ งของ Sonyเป็นผผู้ ลิตจุดเดน่ ของ Memory Stick คือความเลก็ กะทดั รัด และความทนทาน สามารถ พกพาไดส้ ะดวก Memory Sick ยงั สามารถหลดขอ้ มูลได้ ค่อนขา้ งเร็วดว้ ย รูปที่ 1.41 ลกั ษณะของ Memory Stick
Microdrive เป็นการ์ดบนั ทึกขอ้ มลู ที่ใชก้ ารเชื่อมตอ่ แบบเดียวกบั Compact sh ส่วนมากกลอ้ งที่ใช้ Compact Flashจะสนบั สนุน Microdrive ดว้ ย จึงมี การจดั ประเภท dive ใหเ้ ป็น Compact Flash Type การ์ดชนิดน้ีถกู พฒั นาข้ึนโดย IBM รูปท่ี 1.42 ลกั ษณะของ Microdrive SD Memory Card หรือ Secure Digital Memory Card เป็น หน่วยความจา แบบแฟลชที่มีตน้ กาเนิดจาก Muttimedia Card แต่มีขนาดทหี่ นากวา่ มีอตั ราการรับ-ส่งขอ้ มูลสูงกว่า มกั มี ป่ มุ ป้องกนั การเขียนขอ้ มลู ทบั การ์ด หน่วยความจาชนิดน้ีเป็นการ์ดที่เนน้ ในเร่ืองความปลอดภยั ของขอ้ มลู เป็นสาคญั โดยเฉพาะขอ้ มูลทางดา้ นลิขสิทธ์ิเพลง รูปที่ 1.43 ลกั ษณะของSD Memory Card Multimedia Card เป็นการ์ดหน่วยความจาที่มีลกั ษณะเหมือน SD Memory Card โดยมีขนาดเทา่ กนั และใชร้ ูปแบบการเช่ือมตอ่ เหมือนกนั โดยทว่ั ไป กลอ้ งท่ีใช้ SD Memory Card จะ สามารถใช้ Mulimedia Card ไดด้ ว้ ย ขอ้ ดีของ Multimedia Card ในเร่ืองของขนาดท่ีเลก็ และเบา ทาให้ อปุ กรณ์ท่ีใช้ Multimedia Card มีขนาดเลก็ ลงดว้ ย
รูปท่ี 1.44 ลกั ษณะของ Multimedia Card 5. หน่วยแสดงผล (Output Unit) ทาหนา้ ท่ีนาผลจากการประมวลผล มาแปลงเป็นสญั ญาณท่ี เหมาะสมเพ่ือใชแ้ สดงผลแก่ผใู้ ชท้ างอุปกรณ์แสดงผลโดยมี อุปกรณ์ตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1.จอแสดงผล หรือ Monitor ทาหนา้ ท่ีรับขอ้ มลู ที่ส่งมาจากหน่วย ประมวลผลกลางเพื่อ นามาแสดงบนจอภาพให้ผใู้ ชเ้ ห็นและทางานได้ มีรูปแบบและ การทางานท่ีตา่ งกนั ดงั น้ี (ก) ภาพแบบ CRT หรือ Cathode Ray Tube เป็นจอภาพท่ีใชห้ ลอด ภา ออกมาแสดงเป็นภาพ จอประเภทน้ีนิยมกนั มานาน เพราะมีราคาถกู และมีความ ชดั เจนเพียงพอ แตป่ ัจจุบนั ไม่มีการใชง้ านหรือมีการใชง้ านนอ้ ยมากเน่ืองจากใช้ พ้ืนที่ค่อนขา้ งมาก น้าหนกั เยอะ กินไฟและมีผลต่อ สายตา รูปท่ี 1.45 จอแสดงผลแบบ CRT)
(ข) จอภาพแบบ LCD (Liquid Crystal Display) ใชก้ ารแสดงผลภาพ ดว้ ยหลอดไฟ ขนาดเลก็ วางเรียงตวั กนั ในแนวนอนของหนา้ จอ เพื่อใหก้ าเนิดแสงสวา่ งที่จะไปกระทบกบั ผลึกคริสตลั ชนิด ก่ึงแขง็ ก่ึงเหลวบน หนา้ จอ จึงทาใหไ้ ดจ้ อแสดงผลแบบแบนและบาง มีพ้ืนที่ในการมองมากกว่าจอแบบ CRT ไม่มีการแผร่ ังสีออกมาจึงสบายตา สามารถทางานไดน้ าน ประหยดั พ้ืนท่ีใน การวางบนโตะ๊ ทางาน ปัจจุบนั จอภาพแบบ LCD น้นั ใชก้ นั อยา่ งแพร่หลาย รูปท่ี 1.46 จอแสดงผลแบบ LCD (ค) จอภาพแบบ LED (Light Emitting Diod) เป็นจอภาพที่มลี กั ษณะ คลา้ ยกบั จอภาพแบบ LCDแตใ่ ชห้ ลอด LED ขนาดเลก็ ท่ีสามารถเปลง่ แสงสีไดม้ าก ตามตอ้ งการ ซ่ึงหลอด LED น้ีมี คณุ สมบตั ิกินไฟนอ้ ย แต่ใหส้ ีสันที่ชดั เจนและมี ความสวา่ งสูง จึงทาให้จอภาพแบบ LEDแสดงสีไดส้ มจริง และมีความสวา่ งกวา่ จอภาพแบบ LCD รูปที่ 1.47 จอแสดงผลแบบ LED
การเลือกจอภาพเพื่อการใชง้ านในปัจจุบนั คงไม่สามารถหาซ้ือ จอภาพแบบ CRT แลว้ ส่วนใหญ่จะเป็นจอภาพแบบ เCD กบั จอภาพแบบ LED แทบ ท้งั สิ้น ดงั น้นั องคป์ ระกอบตา่ ง ๆ ท่ีตอ้ ง คานึงถึงเมื่อจะตอ้ งเลือกซ้ือจอภาพมีดงั น้ี 1. ขนาดหนา้ จอ ซ่ึงมีหน่วยวดั เป็นน้ิวโดยวดั ในแนวเสน้ ทแยงมมุ 2. ความละเอียด (Resolution) ถา้ ความละเอียดมากจะทาให้ภาพมี ความคมชดั ไป ดว้ ย เชน่ ความคมชดั ระดบั HD คา่ Resolution เป็น 1920 x 1080 3. สดั ส่วนหนา้ จอ (Aspect Ratio) ส่วนใหญจ่ ะเป็นจอภาพแบบ Widescreen ซ่ึงมี ขนาดสดั ส่วน 16 : 9 4. ขนาด Pxel Pich ขนาดยง่ิ เลก็ ยิง่ มีความคมชดั สูงข้ึน 5. คา่ ความคมชดั หรือ Contrast ยิ่งมาก ย่งิ คมชดั 6. ความมืด ความสว่าง หรือ Brightness จะอยปู่ ระมาณ 200-300 cd/m 7. พอร์ต (Ports) การเชื่อมตอ่ ท่ีสามารถรองรับการใชง้ านได้ เชน่ VGA/DVI/D-Sub และ HDMI ท่ีรองรับความคมชดั ระดบั HD 8. เวลาในการแสดงผล (Response Time) ส่วนใหญ่อยปู่ ระมาณ 5 ms (2) เคร่ืองพิมพ์ (Pinter) เป็นอุปกรณท์ ีท่ าหน้าที่แสดงผลท่ีไดจ้ ากการ ประมวลผลของ เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ใหอ้ ยใู่ นรูปของอกั ษร หรือรูปภาพที่จะไป ปรากฎอยบู่ นกระดาษ โดยเครื่องพิมพแ์ บง่ ออกเป็น 4 ประเภท ดงั น้ี (ก) เคร่ืองพิมพแ์ บบดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer) เป็น เครื่องพิมพท์ อี่ าศยั การ กระแทกหวั เขม็ พิมพผ์ า่ นผา้ หมึกลงกระทบกระดาษเกิดเป็น ตวั อกั ษรหรือรูปภาพตามท่ีตอ้ งการ เคร่ืองพิมพ์ ชนิดน้ียงั มีใชอ้ ยตู่ ามงานต่าง ๆ ท่ีไม่ ตอ้ งการคณุ ภาพการพิมพท์ ่ีสูงนกั โดยเฉพาะการพิมพก์ ระดาษโรเนียวที่ ยงั ตอ้ ง อาศยั คณุ สมบตั ิการพิมพข์ องเคร่ืองพิมพแ์ บบดอตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer) อยู่
รูปที่ 1.48 เครื่องพิมพด์ อตแมทริกซ์ (Dot Matrix Printer) ความละเอียดของงานพิมพจ์ ากเคร่ืองพิมพแ์ บษ Dot Matix น้นั ข้ึนอยู่ กบั จานวน หวั เขม็ และความห่างระหว่างหวั เขม็ ถา้ จานวนจุดยง่ิ มากจะทาใหส้ ิ่งที่ พิมพล์ งบนกระดาษยง่ิ คมชดั มากข้ึน โดยปัจจุบนั ไดม้ ีการพฒั นาประสิทธิภาพและ ความเร็วในการพิมพใ์ ห้มากข้ึน เครื่องพิมพแ์ บบ Dot Matix เหมาะสาหรบั งานท่ี พิมพแ์ บบฟอร์มที่ตอ้ งการชอ้ นแผน่ ก๊อปป้ี หลายช้นั หรือตน้ ฉบบั กระดาษโรเนียว หรือใช้ กระดาษต่อเน่ืองในการพิมพ์ เครื่องพิมพช์ นิดน้ียงั คงมีใชใ้ นองคก์ รราชการ ทว่ั ไป (ข) เคร่ืองพิมพแ์ บบพ่นหมึก (Ink-Jet Printer) เป็นเคร่ืองพิมพท์ ี่นิยม กนั แพร่หลายใน ปัจจุบนั เพราะสามารถพิมพง์ านไดท้ ้งั สีและขาวดาไม่ว่าจะเป็น เรื่องของการพิมพง์ านทางดา้ นกราฟิ กและ งานเอกสารทว่ั ไป อาศยั หลกั การทาให้ กระดาษเกิดไฟฟ้าสถิตตามลกั ษณะของขอ้ มลู ท่ีตอ้ งการแลว้ พ่นน้า หมึกลงบน กระดาษ ทาให้เกิดเป็นภาพหรือขอ้ มลู ตามตอ้ งการ รูปที่ 1.49 ส่วนประกอบภายในเครื่องพิมพแ์ บบพน่ หมึก (Ink-Jet Printer)
(ค) เคร่ืองพิมพแ์ บบเลเซอร์ (Laser Pinter) เป็นการนาเอาเทคโนโลยี แสงเลเซอร์มา ประยกุ ใชใ้ นงานดา้ นการพิมพเ์ อกสาร เครื่องพิมพแ์ บบเลเซอร์ (Laser Printer) น้ีใชเ้ ทคนิคและวิธีการ มีหลกั การทางานคลา้ ยกบั เคร่ืองถ่ายเอกสาร สามารถพิมพง์ านไดอ้ ยา่ งรวดเร็ว มีความละเ คมชดั สวยงาม มีคณุ ภาพท่ีดี รูปท่ี 1.50 ลกั ษณะของเคร่ืองพิมพแ์ บบเลเซอร์ (Laser Printer) (ง) พลอ็ ตเตอร์ (Plotter) เป็นเครื่องพิมพช์ นิดท่ีใชป้ ากกาในการเขียน ขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ลงบนกระดาษ ทางานโดยใชว้ ิธีการจบั ปากกาเล่ือนตาแหน่งไปตาม แกน X แกน Y เพ่อื ขีดลากเสน้ ไปบน กระดาษหรืออาจจะเลอื่ นกระดาษไปดว้ ย เหมาะสาหรับงานเกี่ยวกบั การเขียนแบบทางวิศวกรรม รูปที่ 1.51 ลกั ษณะของเครื่องพลอ็ ตเตอร์ (Plotter)
กระดาษที่ใชส้ าหรับการพิมพจ์ ะเรียกตามน้าหนกั ของกระดาษ เช่น 80 แกรม มายถึงกระดาษท่ีมีน้าหนกั 80 แกรมต่อตารางเมตร ซ่ึงสามารถแบง่ ตาม การใชง้ าน 1.Plain Paper เป็นกระดาษทว่ั ไป เช่น กระดาษขนาด 70 หรือ กระดาษขนาด 80 แกรม 2. Glossy Paper เป็นกระดาษมนั ท่ีมีขนาดต้งั แต่ 90 แกรมข้ึนไป รองรับการ พิมพท์ ่ีมีความละเอียดสูง โดยน้าหมึกจะไมซ่ ึมไปดา้ นหลงั กระดาษ 3.Matte Finish Paper หรือกระดาษแบบดา้ นสาหรับพิมพภ์ าพกราฟิ ก มีคณุ สมบตั ิ กนั น้า แตไ่ ม่สะทอ้ นแสง 4.Photo Paper เป็นกระดาษที่ใชก้ บั การพิมพภ์ าพถา่ ย มีความหนา และกนั น้าไดก้ ารเลือกใชง้ านเครื่องพิมพน์ ้นั จะตอ้ งคานึงถึงจุดประสงคค์ วาม เหมาะสมใน การใชง้ าน งบประมาณ เพราะการพฒั นารูปแบบการทางานของ เครื่องพิมพน์ ้นั ยอ่ มแตกตา่ งและสนบั สนุน การทางานที่มีรูปแบบแตกตา่ งกนั และที่ สาคญั จะตอ้ งคานึงถึงรูปแบบการเช่ือมต่อเครื่องพิมพก์ บั คอมพิวเตอร์ดว้ ย (3) การ์ดแสดงผล หรือ Graphic Card หรือ Display Card หรือ VGA Card เป็นอปุ กรณ์ ที่ใชแ้ ปลงสญั ญาณทางดิจิตอลให้เปล่ียนเป็นสญั ญาณภาพท่ีใช้ แสดงผลบนจอคอมพิวเตอร์ ชนิดของการ์ด แสดงผลจะเป็นตวั กาหนดความเร็วใน การแสดงผล ความละเอียดและความคมชดั ของกราฟฟิ ก รวมท้งั จานวนสีที่สามารถ แสดงผลดว้ ย รูปที่ 1.52 ลกั ษณะของการ์ดแสดงผล
การ์ดแสดงผลจะประกอบดว้ ยสวนต่าง 7 ซ่ึงจะสนบั สนุนส่วนเชื่อมต่อแบบ ใดข้ึนอยู่ กบั คุณสมบตั ิของการ์ดรุ่นน้นั ส่วนเชื่อมต่อของการ์ดแสดงผลจะประกอบดว้ ย 1.VGA ใชเ้ ช่ือมต่อจอภาพทวั่ ไป 2. DV ใชเ้ ช่ือมต่อจอภาพที่มี Intertace แบบ DVI โดยเฉพาะจอภาพแบบ LCO 3. Vdeo-in ใชเ้ ชื่อมต่อกบั กลอ้ งวิดีโอเพอ่ื รับไฟสวดี ีโอเขา้ 4. video-out ใชเ้ ช่ือมต่อกบั อุปกรณ์ภายนอกเพอื่ แสดงไฟลว์ ดี ีโอ 5. TV-out ใชเ้ ชื่อมต่อเขา้ กบั ทีวี ในกรณีท่ีเป็นการ์ดแบบTV-Tuner 6. HDMI ใชเ้ ช่ือมต่อจอภาพที่มี Interiace แบบ HDMI A หรือ LED รูปที่ 1.53 ชอ่ งตอ่ ต่าง ๆ ของการ์ดแสดงผล คอมพิวเตอร์รุ่นประหยดั ในปัจจุบนั จะมชี ิปสาหรับแสดงผลติดต้งั มาพร้อม กบั แผงวงจรหลกั หรือเรียกวา่ Video on Board ซ่ึงส่วนเชื่อมต่อต่าง ๆ ที่ออกมาทางดา้ นหลงั ของแผงวงจรหลกั จะมีเพยี งพอร์ต VGA สาหรับต่อเขา้ กบั สายสญั ญาณจากจอภาพเท่าน้นั การทางานของการ์ดแสดงผลน้นั จะอาศยั หน่วยความจาบนการ์ดแสดงผลจะ ทาหนา้ ที่ รับขอ้ มลู ท่ีมาจากหน่วยประมวลผลกลางเพือ่ ใชป้ ระมวลเป็นสญั ญาณภาพแสดงบน จอภาพและถา้ หน่วยความจาบนการ์ดแสดงผลมคี วามจุมากกจ็ ะสามารถรับขอ้ มลู ที่มาจาก หน่วยประมวลผลกลางไดม้ าก ซ่ึงจะช่วยใหก้ ารแสดงผลบนจอภาพมคี วามเร็วสูงข้นึ ฉะน้นั การพจิ ารณาหน่วยความจาบนการ์ดแสดงผล น้นั ควรพิจารณาประเภท RAMและขนาด RAM ที่ใชบ้ นการ์ดแสดงผลดว้ ย นอกจากน้นั มาตรฐานการ เชื่อมต่อการ์ดแสดงผลกบั แผงวงจรหลกั เป็นส่ิงสาคญั ท่ีตอ้ งคานึง เพราะบางคร้ังจดั หาการ์ดแสดงผลมาแต่
ไมส่ ามารถใชก้ บั เคร่ืองคอมพวิ เตอร์ได้ ปัจจุบนั มีรูปแบบการเช่ือมต่อแบบ PCI Express แทนรู บบ AGP โดยรูปแบบการเช่ือมต่อแบบ PCI Express จะมีความเร็วในการโอนถ่ายขอ้ มูล 4) การ์ดเสียง หรือ Sound Card เป็นอุปกรณ์ที่ใชแ้ ปลงสัญญาณจากการประ ส่งใหอ้ ุปกรณ์แสดงผลประเกทเสียง เช่น ลาโพง ขบั เป็นเสียงออกมา นอกจากน้นั การ์ดเสียง กแหล่งกาหนดเสียงภายนอก เช่น ไมโครโฟน เคร่ืองเลน่ เสียงต่างๆ เขา้ มาใชใ้ นการ ประมวลผลไดด้ ว้ ย แผงวงจรหลกั ท่ีมชี ิปสาหรับการทางานดา้ นเสียงติดต้งั มาดว้ ยเรียกวา่ Sound on Bar ช่องต่ออุปกรณ์ต่าง ๆ ออกมาทางดา้ นหลงั เคส มคี ุณภาพดา้ นเสียงในระดบั ปาน กลาง รูปที่ 1.54 ลกั ษณะของการ์ดเสียงบนแผงวงจรหลกั (Sound on Board) การติดต้งั การ์ดเสียงกบั แผงวงจรหลกั จะมีรูปแบบที่คลา้ ยกบั การติดต้งั การ์ดชนิด อ่ืนโดยท่ีการ์ดจะมีบสั สาหรับเสียบเขา้ กบั ช่องสลอ็ ตบนแผงวงจรหลกั และดา้ นหลงั ของการ์ดจะมีชอ่ งต่อหรือ พอร์ตสาหรับเชื่อมตอ่ กบั อปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ท่ีไมซ่ บั ซอ้ นมาก และมีขอ้ ความอธิบายชอ่ งเชอื่ มต่อบนการ์ดดว้ ย ซ่ึงในการ์ดแตล่ ะรุ่นอาจเรียงลาดบั ชอ่ งเชื่อมตอ่ เหลา่ น้ีไม่เหมือนกนั
รูปที่ 1.55 ลกั ษณะของการ์ดเสียง (Sound Card) รูปที่ 1.56 ชอ่ งเชอ่ื มตอ่ ของการ์ดเสียง (5) ลาโพง (Speaker) เป็นอปุ กรณ์แสดงผลขอ้ มูลเสียงที่ตอ้ งใชง้ านคกู่ บั การ์ด เสียง (Sound Card) ลาโพงจึงเป็นอุปกรณ์แสดงผลในรูปของเสียงโดยการแปลงสญั ญาณไฟฟ้า ที่ไดจ้ ากการ์ดเสียงใหเ้ ป็นเสียง ดงั น้นั คณุ ภาพเสียงท่ีไดจ้ ึงข้ึนอยกู่ บั การ์ดเสียงและลาโพง ลาโพงที่มใี ชก้ นั ในปัจจุบนั มหี ลาย รูปแบบตามลกั ษณะการใชง้ าน ดงั น้ี
(ก)ลาโพงแบบฟูลเรนจ์ (Full Range) เป็นลาโพงที่ใชก้ บั คอมพิวเตอร์ทว่ั ไป ซ่ึงจะตอบสนองต่อความถี่เสียงแบบกวา้ งๆ และยงั ไมส่ ามารถชบั เสียงในช่วงความถ่ีต่าและ ช่วงความถส่ี ูงไดท้ ้งั หมด จึงไม่สามารถใหเ้ สียงเบสและเสียงแหลมตามตน้ กาเนิดเสียงท่ีเหมือน จริงได้ รูปที่ 1.57 ลาโพงแบบฟลูเรนจ์ (Full Range) (ข) ลาโพงแบบ 2.1 เป็นชุดลาโพงท่ีมาพร้อมกบั Subwoofer สาหรับขบั เสียง ในช่วง ความถีต่ ่า และเสียงแหลมใสจากลาโพงเลก็ คู ลาโพงแบบ 2.1 จะเป็นการแยกลาโพง ออกเป็น 3 จุด คือ แยกเป็นเสียงซา้ ย-ขวา และลาโพงตวั กลาง Subwoofer สาหรับแสดงเสียงทุม้ รูปท่ี 1.58 ลาโพงพร้อมกบั Subwoofer
(ค) ลาโพงแบบ 5. 1 หรือชุดลาโพงระบบเสียงรอบทิศทาง เหมาะสาหรับงานโฮมเธียเตอร์ ใหไ้ ดเ้ สียงแบบรอบทิศทางโดยภายในชุดลาโพงจะตอ้ งมีขดุ ขยายเสียงท่ีจะขบั พลงั เสียงใหก้ บั ลาโพงเพอื่ เพิ่มคุณภาพของเสียงท่ีไดอ้ กี ดว้ ยสามารถปรับระดบั ความดงั และปรับคุณภาพเสียง ทุม้ กลาง และแหลม เพ่ือเพ่ิมคุณภาพของเสียงไดอ้ กี ดว้ ย โปรแกรรูปท่ี 1.59 ชุดลาโพงระบบเสียงรอบทิศทาง นอกจากน้ียงั มีลาโพงในแบบ 7.1เพ่อื ตอบสนองความถี่เสียงท่ีตอ้ งการความสมจริง รอบทิศทางมากยง่ิ ข้นึ ประกอบดว้ ยลาโพงที่วางรอบตวั ผฟู้ ัง 7จุด และ Subwoofer อีก 1ตวั ปัจจุบนั มลี าโพงรุ่นใหม่ท่ีสามารถเชื่อมต่อเขา้ ทางพอร์ต USBไดโ้ ดยไม่ตอ้ งต่อเขา้ กบั การ์ด เสียงโดยตรงสญั ญาณเสียงท่ีไดจ้ ะเป็นสญั ญาณดิจิตอลที่ยงั ไมม่ กี ารรบกวนใดๆ ซอฟตแ์ วร์(Sofware) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสงั่ ที่เขียนข้นึ เพ่อื ใหเ้ คร่ือง คอมพิวเตอร์ปฏิบตั ิตาม แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. ซอฟตแ์ วร์ระบบ (System Software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสงั่ ทค่ี วบคุมการทางาน ของคอมพวิ เตอร์ เป็นส่ือกลางที่ประสานการทางานระหวา่ งโปรแกรมประยกุ ตก์ บั เครื่อง คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยในการจดั การทรัพยากรของคอมพิวเตอร์ ไดแ้ ก่ ระบบปฏบิ ตั ิการ เช่น DOS, Windows, MAC และUNIX
2. ซอฟตแ์ วร์ประยกุ ต์ (Application Software) หมายถึง โปรแกรมหรือชุดคาสงั่ ท่ีเขยี นข้นึ มาอใหเ้ คร่ืองคอมพิวเตอร์ทางานตามที่ผใู้ ช้ ตอ้ งการซ่ึงจะตอ้ งทางานอยบู่ นระบบปฏิบตั ิการอกี ทีโปรแกรมสาเร็จรูปต่างๆแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ (1) โปรแกรมสาเร็จรูป (Package Program) เป็ นโปรแกรมหรือชุดคาสง่ั ที่เขียน หรือนาข้นึ มาโดยบริษทั หน่วยงาน ท่ีมวี างขายตามทอ้ งตลาดทวั่ ไปเช่น MS-Office 2013, Aหรือ Kaspersky Antivirus เป็นตน้ (2) โปรแกรมเฉพาะงาน (User Program) เป็นโปรแกรมหรือชุดคาสง่ั ที่เขียนหรือ พฒั นาข้ึนโดยผใู้ ช้ เพ่อื สนองการใชง้ านเฉพาะอยา่ ง เช่น โปรแกรมระบบเงินเดือน โปรแกรมระบบงานพสั ดุเป็นตน้ รูปท่ี 1.60 ไดอะแกรมประเภทของซอฟตแ์ วร์ รูปที่ 1.61 บรรจุภณั ฑซ์ อฟตแ์ วร์ประยุกตแ์ บบต่าง ๆ
บุคลากร (Peopleware) หมายถงึ บุคคลที่เกี่ยวขอ้ งกบั คอมพิวเตอร์ดา้ นต่าง ๆ ท่ีมี ความรู้ (1) ผจู้ ดั การระบบ (System Manager) เป็นผวู้ างนโยบายการใชค้ อมพิวเตอร์ใหเ้ ป็นไป ตาม เป้าหมายของหน่วยงาน (2) นกั วิเคราะห์ระบบ (System Analyst) เป็นผทู้ ี่ศกึ ษาระบบงานเดิมหรืองานใหม่ความ เป็นไปไดใ้ นการใชค้ อมพวิ เตอร์กบั ระบบงานเพือ่ ใหโ้ ปรแกรมเมอร์เป็นผทู้ ี่เขียนโปรแกรม ใหก้ บั ระบบงานน้นั ๆ (3) โปรแกรมเมอร์ (Programmer) เป็นผเู้ ขียนโปรแกรมสงั่ งานเคร่ืองคอมพิวเตอร์เพ่ือให้ ทางานตามความตอ้ งการของผใู้ ชต้ ามแผนผงั หรือรูปแบบที่นกั วิเคราะหร์ ะบบไดอ้ อกแบบไว้ (4) ผใู้ ช้ (User) เป็นผใู้ ชง้ านคอมพวิ เตอร์ทวั่ ไป ที่ตอ้ งเรียนรู้วิธกี ารใชเ้ ครื่องและวิธกี ารใช้ งานโปรแกรม เพอ่ื ใหโ้ ปรแกรมที่มอี ยสู่ ามารถทางานไดต้ ามท่ีตอ้ งการ รูปที่ 1.62 บคุ คลทเ่ี กี่ยวขอ้ งกบั ระบบคอมพวิ เตอร์ ขอ้ มูล (Data) เป็นองคป์ ระกอบที่สาคญั อยา่ งหน่ึงในระบบคอมพิวเตอร์ เป็นส่ิงที่ ตอ้ งป้อนเขา้ ไปในคอมพวิ เตอร์พร้อมกบั โปรแกรมเพ่ือผลติ ผลลพั ธท์ ี่ตอ้ งการออกมา ขอ้ มูลที่สามารถนามาใชก้ บั คอมพวิ เตอร์ประกอบดว้ ยขอ้ มลู ตวั เลข (Numeric Data) ขอ้ มลู ตวั อกั ษร (Text Data) ขอ้ มูลเสียง (Audio Data) ขอ้ มลู ภาพ (Images Data) และขอ้ มลู ภาพ เคล่อื นไหว (Video Data)
Search
Read the Text Version
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
- 6
- 7
- 8
- 9
- 10
- 11
- 12
- 13
- 14
- 15
- 16
- 17
- 18
- 19
- 20
- 21
- 22
- 23
- 24
- 25
- 26
- 27
- 28
- 29
- 30
- 31
- 32
- 33
- 34
- 35
- 36
- 37
- 38
- 39
- 40
- 41
- 42
- 43
- 44
- 45
- 46
- 47
- 48
- 49
- 50
- 51
- 52
- 53
- 54
- 55
- 56
- 57
- 58
- 59
- 60
- 61
- 62
- 63
- 64
- 65
- 66
- 67
- 68
- 69
- 70
- 71
- 72
- 73
- 74
- 75
- 76
- 77
- 78
- 79
- 80
- 81
- 82
- 83
- 84
- 85
- 86
- 87
- 88
- 89
- 90
- 91
- 92
- 93
- 94
- 95
- 96
- 97
- 98
- 99
- 100
- 101
- 102
- 103
- 104
- 105
- 106
- 107
- 108
- 109
- 110
- 111
- 112
- 113
- 114
- 115
- 116
- 117
- 118
- 119
- 120
- 121
- 122
- 123
- 124
- 125
- 126
- 127
- 128
- 129
- 130
- 131
- 132
- 133
- 134
- 135
- 136
- 137
- 138
- 139
- 140
- 141
- 142
- 143
- 144
- 145
- 146
- 147
- 148
- 149
- 150
- 151
- 152
- 153
- 154
- 155
- 156
- 157
- 158
- 159
- 160
- 161
- 162
- 163
- 164
- 165
- 166
- 167
- 168
- 169
- 170
- 171
- 172
- 173
- 174
- 175
- 176
- 177
- 178
- 179
- 180
- 181
- 182
- 183
- 184
- 185
- 186
- 187
- 188
- 189
- 190
- 191
- 192
- 193
- 194
- 195
- 196
- 197
- 198
- 199
- 200
- 201
- 202
- 203
- 204
- 205
- 206
- 207
- 208
- 209
- 210
- 211
- 212
- 213
- 214
- 215
- 216
- 217
- 218
- 219
- 220
- 221
- 222
- 223
- 224
- 225
- 226
- 227
- 228
- 229
- 230
- 231
- 232
- 233
- 234
- 235
- 236
- 237
- 238
- 239
- 240
- 241
- 242
- 243
- 244
- 245
- 246
- 247
- 248
- 249
- 250
- 251
- 252
- 253
- 254
- 255
- 256
- 257
- 258
- 259
- 260
- 261
- 262
- 263
- 264