Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการประเมินโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

รายงานผลการประเมินโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

Published by 174ed00079, 2020-09-17 10:22:33

Description: รายงานผลการประเมินโครงการเศรษฐกิจพอเพียง

Search

Read the Text Version

รายงานผลการประเมนิ โครงการ โครงการการจัดการศึกษาเพ่อื เรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตรพ์ ระราชาเพอ่ื การพฒั นาท่ีย่ังยนื (การเพาะต้นออ่ นออรแ์ กนิค) รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน วันท่ี 15 กรกฎาคม 2563 ณ กศน.ตาบลหลักสอง หมูท่ ่ี 7 ตาบลหลกั สอง อาเภอบ้านแพ้ว จงั หวัดสมทุ รสาคร ผู้รับผดิ ชอบโครงการ นางสาวสุรินธร นาคคมุ้ ครู กศน.ตาบลหลักสอง ศนู ย์การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศยั อาเภอบา้ นแพว้ สานักงานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั จังหวัดสมทุ รสาคร

บทสรปุ การดาเนินโครงการ การสรุปผลการดาเนินโครงการในปีงบประมาณ 2563 มีวัตถุประสงค์เพ่ือศึกษาความพึงพอใจ ของผู้เข้ารับการอบรมท่ีมีต่อโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ ฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (การเพาะต้นอ่อน ออร์แกนิค) กลุ่มเป้าหมายเชิงปริมาณ ได้แก่ผู้มีรายได้น้อยและประชาชนทั่วไป จานวน 10 คน เป้าหมาย เชงิ คณุ ภาพ เพอื่ ให้ผเู้ ขา้ รบั การอบรมมีความรคู้ วามเขา้ ใจเก่ียวกับการเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค สามารถเพาะต้น อ่อนออร์แกนิคได้ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ ผู้รับผิดชอบโครงการ นางสาวสุรินธร นาคคุ้ม ครู กศน.ตาบลหลกั สอง โครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ดาเนินการจัดกิจกรรม ตามขั้นตอนกระบวนการ วงจรคุณภาพ PDCA ได้แก่ (Plan) การวางแผนการดาเนินการ แต่งต้ังคณะทางาน จัดทาโครงการและขออนุมัติโครงการ ประชาสัมพันธ์โครงการ (Do) ข้ันดาเนินงาน โครงการการจัดการศึกษา เพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพอ่ื การพฒั นาที่ย่ังยืน (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนคิ ) (Check) ประเมินโครงการ ประเมินก่อนดาเนิน โครงการ ประเมินระหว่างดาเนินโครงการ ประเมินหลังเสร็จส้ินโครงการ (Action) ขั้นปรับปรุงแก้ไข ประชุม คณะกรรมการโครงการเพื่อสรุปผลการดาเนินงานโครงการ นาผลการดาเนินโครงการไปปรับปรุงและพัฒนา โครงการ ประชากรท่ีใช้ในการเก็บข้อมูล จานวน 10 คน เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบตรวจสอบ รายการ (Check List) ลักษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราส่วนประเมินค่า (Rating Scale) แบ่งเป็น 5 ระดับ การวิเคราะห์ขอ้ มลู ตอนท่ี 1 ข้อมลู เกยี่ วกับผู้ตอบแบบสอบถาม วิเคราะห์หาค่าความถ่ีและค่าร้อยละ ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจ ต่อโครงการนามาวิเคราะห์หาค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐานแล้วนามาแปล ความหมายโดยการเทียบเกณฑ์ และนาเสนอข้อมูลในรูปตารางประกอบความเรียงเกณฑ์การประเมินค่าเฉลี่ย ของคะแนน แบง่ เปน็ 5 ระดบั (ประคอง กรรณสูต, 2542 : 73) ผลท่ีได้จากการดาเนนิ โครงการพบว่า 1. ผู้เข้ารับการอบรมตามเป้าหมาย จานวน 7 คน ผลท่ีจัดได้จานวน 10 คน จบหลักสูตร จานวน 10 คน คดิ เป็นร้อยละ 100 2. ผลจากขอ้ มลู ผู้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจดาเนนิ งาน โครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาที่ย่ังยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) ในภาพรวมพบว่าผู้เข้ารับการอบรมเป็นหญิง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 90 มีช่วงอายุระหว่าง 15-29 ปี และช่วงอายุ 60 ปีข้ึนไป จานวนละ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30 มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 5 คน คิดเป็น ร้อยละ 50 ส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร จานวน 8 คน คิดเป็นร้อยละ 80 3. ผลจากการประเมินความพึงพอใจ พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัด การศึกษาเพอ่ื เรยี นรู้ หลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ สู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากที่สุด

( X =4.96) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจ ในระดับมากที่สุด ทุกด้าน โดยดา้ นบริหารจัดการ มคี ่าเฉล่ยี มากทส่ี ดุ คอื ( X =5.00) รองลงมาคอื ดา้ นประโยชน์ทีไ่ ด้รับ คือ ( X =4.97) และสุดท้ายด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ คือ ( X = 4.92) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง 0.00–0.14 แสดงว่าผ้เู ข้ารับการอบรม มีความพงึ พอใจสอดคล้องกนั โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 96.11 ข้อเสนอแนะ ผู้เข้ารับการอบรมมีความสนใจในการการเพาะต้นอ่อนออร์แกนิคเป็นอย่างดี และสอบถามครวู ่าวัสดอุ ปุ กรณ์จะหาซื้อได้ที่ไหน ซึ่งแสดงให้เห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความใส่ใจในการพัฒนา ตนเองและต่อยอดอาชีพเพือ่ สรา้ งเป็นอาชีพเสรมิ ได้เปน็ อยา่ งดี

ก คานา กศน.ตาบลหลักสอง จัดโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยืน (การเพาะ ต้นอ่อนออร์แกนิค) มีวัตถุประสงค์ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเพาะต้นอ่อน ออร์แกนิค สามารถเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ และได้ดาเนินโครงการ ดังกล่าวเพื่อทราบว่าการดาเนินโครงการบรรลุตามวัตถุประสงค์ ท่ีกาหนดไว้หรือไม่บรรลุในระดับใด และได้ จัดทาเอกสารรายงานประเมินโครงการ รายงานต่อผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้องเพื่อนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุงและ พฒั นาดาเนินโครงการให้ดีย่งิ ข้ึนตอ่ ไป ขอขอบคุณนางวรภร ประสมศรี รองผู้อานวยการสานักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสาคร รักษาการ ในตาแหน่ง ผู้อานวยการ กศน.อาเภอบ้านแพ้ว ท่ีให้คาแนะนา คาปรึกษาในการในการจัดทาเอกสารรายงาน ประเมนิ โครงการในคร้งั น้ี หวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารรายงานผลการประเมินโครงการการจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) ฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ปฏิบัติ ผู้ที่สนใจและเป็น แนวทางในการดาเนินกิจกรรมตอ่ ไป นางสาวสุรนิ ธร นาคคุม้ ครู กศน.ตาบลหลักสอง

ข สารบญั เรื่อง หน้า บทสรปุ การดาเนินโครงการ คานา ........................................................................................................................................................ก สารบัญ ........................................................................................................................................................ข สารบญั ตาราง .................................................................................................................................................ค สารบัญแผนภูมิ ................................................................................................................................................ง รายงานผลการประเมนิ โครงการ ..................................................................................................................... 1 1. ความเปน็ มา ....................................................................................................................................... 1 2. วตั ถปุ ระสงค์ ....................................................................................................................................... 2 3. เป้าหมาย ............................................................................................................................................ 2 4. วตั ถปุ ระสงคข์ องการประเมิน .............................................................................................................. 2 5. ประชากร ............................................................................................................................................ 2 6. เครอื่ งมือที่ใช้เกบ็ รวบรวมข้อมูล .......................................................................................................... 2 7. การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ........................................................................................................................ 3 8. การวิเคราะหข์ ้อมลู ............................................................................................................................. 3 9. ผลการวเิ คราะห์ข้อมลู ........................................................................................................................ 4 ตอนท่ี 1 ข้อมลู เกย่ี วกบั ผตู้ อบแบบสอบถาม ............................................................................................ 4 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจตอ่ โครงการการจดั การศึกษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รูปแบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพฒั นาที่ยงั่ ยนื (การเพาะต้นอ่อนออรแ์ กนคิ ) ................................................................................................................. 6 ตอนท่ี 3 ข้อคิดเหน็ ข้อเสนอแนะ ..........................................................................................................12 ภาพประกอบการจัดกจิ กรรม............................................................................................................................13

ค สารบัญตาราง เร่ือง หน้า ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผ้เู ข้ารับการอบรม ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการจดั การศึกษาเพื่อเรยี นรหู้ ลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ูศ่ าสตร์พระราชาเพอื่ การพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) จาแนกตามเพศ................................................................................................................................ 4 ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรม ทีต่ อบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการจดั การศกึ ษาเพอื่ เรียนรู้หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสศู่ าสตร์พระราชาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ัง่ ยืน (การเพาะต้นอ่อนออรแ์ กนิค) จาแนกตามอายุ .............................................................................................................................. 4 ตารางท่ี 3 จานวนและร้อยละของผเู้ ข้ารบั การอบรม ท่ีตอบแบบสอบถามความพงึ พอใจโครงการการจัด การศกึ ษาเพ่ือเรียนรู้หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสูศ่ าสตรพ์ ระราชาเพอ่ื การพฒั นาท่ียัง่ ยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) จาแนกตามระดบั การศึกษา.............................................................................................................. 4 ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผูเ้ ข้ารับการอบรม ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการการจดั การศกึ ษาเพอ่ื เรยี นรหู้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ่ศู าสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาทยี่ ัง่ ยนื (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนคิ ) จาแนกตามอาชีพ ............................................................................................................................ 5 ตารางท่ี 5 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบยี่ งเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจดั การศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพอ่ื การพฒั นาทีย่ ั่งยนื (การเพาะต้นออ่ นออร์แกนิค) ในภาพรวม ................................... 6 ตารางท่ี 6 คา่ เฉลย่ี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐานความพงึ พอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรูห้ ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพอ่ื การพฒั นาทีย่ ่ังยืน (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนิค) ดา้ นการบริหารจัดการ .................. 7 ตารางที่ 7 คา่ เฉลี่ยและส่วนเบีย่ งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจตอ่ โครงการการจดั การศึกษาเพื่อเรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ สู่ศาสตรพ์ ระราชาเพื่อการพัฒนาท่ยี ง่ั ยนื (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนิค) ด้านการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ .............................................................................................................. 7 ตารางที่ 8 คา่ เฉล่ยี และส่วนเบย่ี งเบนมาตรฐานความพงึ พอใจต่อ โครงการการจดั การศึกษาเพ่ือเรยี นรู้ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติส่ศู าสตร์ พระราชาเพอื่ การพฒั นาทย่ี ่งั ยืน (การเพาะต้นออ่ นออรแ์ กนิค) ด้านประโยชน์ที่ไดร้ ับ .................... 8

ง สารบัญแผนภมู ิ เรอื่ ง หน้า แผนภมู ิที่ 1 แสดงจานวนรอ้ ยละของผู้เขา้ รบั การอบรมโดยจาแนกตามเพศ .................................................. 9 แผนภูมทิ ี่ 2 แสดงจานวนรอ้ ยละของผู้เขา้ รับการอบรมโดยจาแนกตามอายุ .................................................. 9 แผนภมู ทิ ี่ 3 แสดงจานวนร้อยละของผเู้ ข้ารบั การอบรมโดยจาแนกตามระดับการศึกษา............................... 10 แผนภูมทิ ี่ 4 แสดงจานวนรอ้ ยละของผเู้ ขา้ รับการอบรมโดยจาแนกตามอาชีพ.............................................. 10 แผนภูมิที่ 5 แสดงจานวนร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมทม่ี ีต่อโครงการการจัดการศกึ ษา เพอ่ื เรียนร้หู ลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ สูศ่ าสตรพ์ ระราชาเพื่อการพัฒนาท่ียั่งยนื (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) .........................................11

1 รายงานผลการประเมนิ โครงการ โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เรยี นรหู้ ลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง รปู แบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ูศ่ าสตร์พระราชา เพอื่ การพฒั นาท่ียง่ั ยนื (การเพาะต้นออ่ นออรแ์ กนคิ ) กศน.ตาบลหลกั สอง 1. ความเป็นมา ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเป็นแนวทางการดาเนินชีวิตและวิถีปฏิบัติที่ พระบาทสมเด็จ พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร หรือ พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหา ภูมิพลอดุลยเดช เป็นพระมหากษัตริย์ไทย รัชกาลที่ 9 ทรงมีพระราชดารัสชี้แนะแก่พสกนิกรชาวไทยมานาน กว่า 30 ปี ดังจะเห็นได้วา่ ปรากฏความหมายเป็นเชิงนยั เป็นครง้ั แรกในพระบรมราโชวาทและพระราชดารัสของ พระบาทสมเด็จพระเจา้ อยู่หัว ในปี 2517 ทพ่ี ระองค์ได้ทรงเน้นย้าแนวทางการพฒั นาบนหลักแนวคิดพึ่งตนเอง เพ่ือให้เกิดความพอมี พอกิน พอใช้ของคนส่วนใหญ่โดยใช้หลักความพอประมาณ การคานึงถึงการมีเหตุผล การสร้างภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัวและทรงเตือนสติ ประชาชนคนไทยไม่ให้ประมาทตระหนักถึงการพัฒนาอย่างเป็น ขน้ั เป็นตอนท่ถี กู ต้องตามหลกั วชิ าและการมีคณุ ธรรมเปน็ กรอบในการปฏบิ ตั ิและการดารงชีวิตในช่วงท่ีประเทศ ไทยประสบกับภาวะวิกฤตเศรษฐกิจในปี 2540 นับเป็นบทเรียนสาคัญ ท่ีทาให้ประชาชนเข้าใจถึงผลจากการ พัฒนาที่ไม่คานึงถึงระดับความเหมาะสมกับศักยภาพของประเทศ เศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็นปรัชญาชี้ถึงแนว การดารงอยแู่ ละปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดบั ตั้งแต่ระดับครอบครวั ระดับชมุ ชนจนถงึ ระดับรัฐ สานักงาน กศน. จึงมีนโนบายกาหนดให้ กศน.ตาบลจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ผ่านกระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต ในรูปแบบต่าง ๆ ให้กับประชาชนเพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันสามารถยืนหยัด อยู่ได้อย่างม่ันคง และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสมตามทิศทางการพัฒนาประเทศ สู่ความสมดุลและย่ังยืน และเนื่องจากพื้นที่ตาบลหลักสอง ตาบลเจ็ดริ้ว และตาบลคลองตันเป็นพ้ืนที่ทาการ เกษตรกรรมเปน็ สว่ นใหญจ่ ึงดาเนนิ ชีวติ บนวิถชี วี ติ ตามหลกั ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี ง ดังน้ันการลดรายจ่าย ของครอบครัวเป็นสง่ิ สาคญั โดยเฉพาะรายจ่ายสาหรับซื้อผักสดเพื่อการบริโภคและเนื่องจากในปัจจุบันกระแส การบริโภคอาหารเพื่อสุขภาพกาลังได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในหมู่ผู้บริโภคที่ใส่ใจสุขภาพ กระแสการ รับประทานต้นอ่อนกาลังมาแรงเป็นที่ต้องการของตลาด ซึ่งต้นอ่อนของธัญพืชและพืชผักชนิดต่างๆก็จัดเป็น หน่ึงในผักสุขภาพ ท่ีกาลังได้รับความนิยมเพราะใช้เวลาสั้น ต้นทุนต่า และมีเทคนิควิธีไม่ยุ่งยาก ประกอบกับ มีงานวิจัยพบว่าการบริโภคต้นอ่อนหรือเมล็ดพืชงอกน้ัน ให้คุณค่าทางโภชนาการสูงกว่าเมล็ดพืชท่ียังไม่งอก โดยต้นอ่อนหรือเมล็ดพืชงอก ประกอบด้วยสารต้านอนุมูลอิสระ วิตามินที่เป็นประโยชน์ต่อร่างกายทาให้ผู้เข้า รับการอบรมสามารถทาไว้บริโภคกินเองได้และสามารถนามาเพาะปลูกเพ่ือสร้างรายได้ให้กับครัวเรือนได้อย่าง ยง่ั ยืนต่อไป

2 กศน.ตาบลหลักสอง อาเภอบ้านแพ้ว จังหวัดสมุทรสาคร จึงได้ให้ความสาคัญกับการปลูกฝังคุณธรรม สานึกความสานึกในความเป็นไทย และวิถีชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ให้แก่ประชาชนทั่วไปทุกคน จงึ สง่ เสริมสนบั สนุนใหก้ ลุ่มเป้าหมายให้มีความรู้เรื่องเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) ตามผลที่ได้จากการสารวจข้อมูลความต้องการของประชาชน และดาเนินการ ตามความตอ้ งการของกล่มุ เป้าหมายโดยจดั โครงการดงั กล่าวขน้ึ 2. วัตถปุ ระสงค์ 1. เพ่อื ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมมีความรคู้ วามเข้าใจเก่ยี วกับการเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนคิ 2. เพอ่ื ใหผ้ ูเ้ ขา้ รบั การอบรมสามารถเพาะตน้ อ่อนทานตะวันและต้นอ่อนผักบงุ้ ได้ 3. เพอื่ ใหผ้ ู้เข้ารับการอบรมนาความรูไ้ ปประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชนใ์ นชวี ติ ประจาวันได้ 3. เป้าหมาย เชงิ ปรมิ าณ ผ้มู ีรายไดน้ ้อยและประชาชนทว่ั ไป จานวน 7 คน เชงิ คุณภาพ 1. เพอื่ ให้ผู้เขา้ รบั การอบรมมีความร้คู วามเข้าใจเกีย่ วกับการเพาะต้นอ่อนออรแ์ กนคิ 2. เพอ่ื ให้ผูเ้ ข้ารับการอบรมสามารถเพาะตน้ อ่อนทานตะวันและตน้ อ่อนผกั บ้งุ ได้ 3. เพอ่ื ให้ผเู้ ข้ารบั การอบรมนาความรูไ้ ปประกอบอาชพี หรือใช้ประโยชนใ์ นชวี ิตประจาวันได้ 4. วัตถปุ ระสงค์ของการประเมิน เพื่อศึกษาความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรม ที่มีต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพื่อการพฒั นาที่ยัง่ ยนื (การเพาะตน้ ออ่ นออรแ์ กนิค) 5. ประชากร ไดแ้ ก่ ผมู้ ีรายได้น้อยและประชาชนทวั่ ไป จานวน 10 คน 6. เคร่ืองมือท่ีใชเ้ ก็บรวบรวมขอ้ มลู เคร่ืองมือท่ีใช้เก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสอบถามความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพือ่ การพฒั นาทยี่ ่ังยืน (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนิค) แบบสอบถามมี 3 ข้ันตอน ตอนที่ 1 ถามข้อมูลเกี่ยวกับผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 4 ข้อ ลักษณะแบบสอบถาม เป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) ตอนที่ 2 ความพงึ พอใจต่อโครงการการจดั การศกึ ษาเพ่อื เรยี นรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (การเพาะ ต้นอ่อนออร์แกนคิ ) จานวน 14 ขอ้ ซงึ่ ประเมนิ 3 ดา้ น คือ

3 ด้านบริหารจดั การ ดา้ นการจดั กิจกรรม ด้านประโยชนท์ ่ไี ด้รับ ลกั ษณะแบบสอบถามเป็นแบบมาตราสว่ นประเมนิ ค่า (Rating Scale) แบง่ เปน็ 5 ระดับดงั น้ี 5 มากท่สี ุด หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจมากทส่ี ุด 4 มาก หมายถึง มคี วามพึงพอใจมาก 3 ปานกลาง หมายถงึ มคี วามพึงพอใจปานกลาง 2 นอ้ ย หมายถงึ มคี วามพึงพอใจนอ้ ย 1 นอ้ ยทีส่ ุด หมายถงึ มคี วามพงึ พอใจน้อยท่ีสุด ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ จุดเด่นและจุดท่ีควรพัฒนาต่อโครงการการจัดการศึกษา เพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพอ่ื การพฒั นาท่ียงั่ ยืน (การเพาะต้นออ่ นออรแ์ กนิค) มีลักษณะเป็นแบบสอบถามปลายเปิด 7. การเก็บรวบรวมข้อมูล ได้ดาเนินการเก็บข้อมู ลหลังจากการจัด โครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่ือการพัฒนาท่ีย่ังยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) ในวันที่ 15 กรกฎาคม 2563 เก็บแบบสอบถามได้ จานวนทัง้ สนิ้ 10 ฉบบั คิดเป็นรอ้ ยละ 100 8. การวิเคราะห์ข้อมลู นาแบบสอบถามเพื่อประเมินความพึงพอใจ ท่ีดาเนินการสารวจเรียบร้อยแล้วมาตรวจสอบ ความสมบรู ณ์ของขอ้ มลู แลว้ นาไปวิเคราะหด์ งั น้ี 8.1 ตอนที่ 1 ถามข้อมูลเก่ียวกับผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 4 ข้อ วิเคราะห์หาค่าความถี่ และค่าร้อยละ 8.2 ตอนท่ี2 ความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค)นามาวิเคราะห์หาค่าเฉล่ีย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน แล้วนามาแปลความหมาย โดยการเทยี บเกณฑ์ และนาเสนอขอ้ มูลในรูปตารางประกอบความเรียง เกณฑ์การประเมินค่าเฉลี่ยของคะแนน แบ่งเป็น 5ระดบั ดังนี้ ( ประคอง กรรณสูต, 2542 : 73) มากท่สี ดุ มีค่าเฉลี่ย 4.50 – 5.00 มาก มีคา่ เฉลี่ย 3.50 – 4.49 ปานกลาง มคี ่าเฉลย่ี 2.50 – 3.49 นอ้ ย มีค่าเฉล่ยี 1.50 – 2.49 น้อยท่ีสุด มคี ่าเฉลยี่ 1.00 – 1.49

4 8.3 ตอนที่ 3 ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะ ใช้วิธีการวิเคราะห์และนามาประมวลให้เป็น ขอ้ ความโดยสรปุ 9. ผลการวิเคราะหข์ ้อมูล ในการดาเนินโครงการการจดั การศึกษาเพอื่ เรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบ ฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน (การเพาะต้นอ่อน ออร์แกนิค) ได้ดาเนินการรวบรวมข้อมูลจาก ผู้เข้ารับการอบรมทุกคน โดยใช้แบบสอบถาม ความพงึ พอใจ ซง่ึ เป็นกลุ่มประชากรจานวน 8 คน ข้อมลู สรปุ ไดด้ ังนี้ ตอนที่ 1 ขอ้ มลู เกยี่ วกับผตู้ อบแบบสอบถาม ตารางที่ 1 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรม ท่ีตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตร ธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพอ่ื การพฒั นาทยี่ ง่ั ยืน (การเพาะตน้ ออ่ นออรแ์ กนิค)จาแนกตามเพศ เพศ จานวน/คน ร้อยละ ชาย 1 10 หญิง 9 90 จากตารางท่ี 1 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมเป็นผู้หญิง จานวน 9 คน คิดเป็นร้อยละ 90 และเป็น ผู้ชาย จานวน 1 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 10 ตารางที่ 2 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรม ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการ การจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตร ธรรมชาตสิ ูศ่ าสตร์พระราชาเพือ่ การพัฒนาทีย่ ่งั ยืน (การเพาะต้นออ่ นออร์แกนิค) จาแนกตามอายุ ช่วงอายุ จานวน/คน รอ้ ยละ 15 - 29 ปี 3 30 30 - 39 ปี 1 10 40 – 49 ปี 2 20 50 – 59 ปี 1 10 60 ปขี ้ึนไป 3 30 จากตารางท่ี 2 พบว่าผู้เข้ารับการอบรมทั้งหมด มีช่วงอายุระหว่าง 15 – 29 ปี และ 60 ปีข้ึนไป จานวนช่วงอายุละ 3 คน คิดเป็นร้อยละ 30 รองลงมาได้แก่ ช่วงอายุระหว่าง 40 – 49 ปี จานวน 2 คน คิดเป็นร้อยละ 20 และสุดท้ายช่วงอายุระหว่าง 30 – 39 ปี และช่วงอายุ 50-59 ปี จานวนช่วงอายุละ 1 คน คิดเปน็ ร้อยละ 10

5 ตารางที่ 3 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรม ที่ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการ การจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตร ธรรมชาติส่ศู าสตร์พระราชาเพ่อื การพัฒนาท่ียัง่ ยนื (การเพาะต้นออ่ นออร์แกนิค) จาแนกตามระดบั การศกึ ษา การศกึ ษา จานวน/คน รอ้ ยละ ประถมศึกษา 4 40 มธั ยมศึกษาตอนตน้ 5 50 มัธยมศกึ ษาตอนปลาย 1 10 อนปุ ริญญา 00 ปริญญาตรี 00 อนื่ ๆ 0 0 จากตารางท่ี 3 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมส่วนใหญ่มีการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนต้น จานวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 50 รองลงมามีการศึกษาระดับประถมศึกษา จานวนละ 4 คน คิดเป็น รอ้ ยละ 40 และสุดทา้ ยระดับมธั ยมศกึ ษาตอนปลายจานวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 10 ตารางที่ 4 จานวนและร้อยละของผู้เข้ารับการอบรม ท่ีตอบแบบสอบถามความพึงพอใจโครงการ การจัดการศึกษาเพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตร ธรรมชาตสิ ูศ่ าสตร์พระราชาเพื่อการพัฒนาทย่ี ง่ั ยืน (การเพาะตน้ ออ่ นออรแ์ กนคิ )จาแนกตามอาชพี อาชีพ จานวน/คน รอ้ ยละ รับจา้ ง 1 10 คา้ ขาย 0 0 เกษตรกร 8 80 ลูกจ้าง/ข้าราชการหน่วยงาน 0 0 ภาครฐั หรอื เอกชน 0 0 อืน่ ๆ จากตารางที่ 4 พบวา่ ผู้เขา้ รับการอบรมส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกร จานวน 8 คน คดิ เปน็ รอ้ ยละ 80 รองลงมาไดแ้ กอ่ าชพี รับจ้าง จานวน 1 คน คดิ เปน็ ร้อยละ 10

6 ตอนท่ี 2 ความพึงพอใจต่อประชาชน โครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญา ของเศรษฐกจิ พอเพียง รูปแบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่อื การพัฒนาท่ยี ่งั ยืน (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนิค) ตารางท่ี 5 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพอ่ื การพฒั นาทยี่ งั่ ยืน (การเพาะตน้ อ่อนออร์แกนิค) ในภาพรวม รายการ คา่ เฉลย่ี สว่ นเบ่ียงเบน ระดบั ความ ร้อยละ X มาตรฐาน พงึ พอใจ S.D ดา้ นบริหารจัดการ 5.00 0.00 มากทีส่ ุด 100 ด้านการจัดกจิ กรรมการเรยี นรู้ 4.92 0.14 มากที่สุด 91.67 ดา้ นประโยชนท์ ี่ได้รับ 4.97 0.10 มากทีส่ ดุ 96.67 รวมทุกดา้ น 4.96 0.08 มากทส่ี ดุ 96.11 จากตารางท่ี 5 พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รปู แบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชาเพื่อ การพัฒนาทีย่ งั่ ยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) ในภาพรวม อยู่ในระดับ มากท่ีสุด ( X =4.96) เม่ือพิจารณา เป็นรายด้าน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจ ในระดับมากท่ีสุด ทุกด้าน โดยด้านบริหารจัดการ มีคา่ เฉลยี่ มากท่สี ดุ คอื ( X =5.00) รองลงมาคอื ดา้ นประโยชนท์ ีไ่ ดร้ ับ คือ ( X =4.97) และสุดท้ายด้านการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ คือ ( X = 4.92) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง 0.00–0.14 แสดงว่า ผ้เู ขา้ รับการอบรม มีความพึงพอใจสอดคลอ้ งกนั โดยคิดเปน็ ร้อยละ 96.11 ตารางที่ 6 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพ่ือการพัฒนาที่ยัง่ ยนื (การเพาะต้นอ่อนออรแ์ กนคิ ) ด้านการบรหิ ารจดั การ รายการ ค่าเฉลีย่ สว่ นเบ่ียงเบน ระดบั ความ ร้อยละ X มาตรฐาน พึงพอใจ S.D อาคารและสถานท่ี 5.00 0.00 มากทสี่ ดุ 100 สิง่ อานวยความสะดวก 5.00 0.00 มากที่สุด 100 กาหนดการและระยะเวลาในการดาเนินโครงการ 5.00 0.00 มากที่สุด 100 เอกสารการเรียนเรอื่ งการเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค 5.00 0.00 มากทส่ี ดุ 100 วทิ ยากรผู้ใหค้ วามรู้ 5.00 0.00 มากทสี่ ดุ 100 รวมทกุ ดา้ น 5.00 0.00 มากทส่ี ุด 100

7 จากตารางที่ 6 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพอื่ การพฒั นาที่ยั่งยืน (การเพาะตน้ ออ่ นออรแ์ กนิค) ดา้ นการบรหิ ารจดั การ อยู่ในระดับ มากที่สุด ( X = 5.00) เม่ือพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจ ในระดับมากที่สุด ทุกด้าน มีค่าเฉลี่ย มากที่สุด คือ ( X =5.00) โดยมีส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ที่ 0.00 แสดงว่าผู้เข้ารับการอบรม มคี วามพงึ พอใจสอดคล้องกัน โดยคดิ เปน็ ร้อยละ 100 ตารางท่ี 7 ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพ่อื การพฒั นาทย่ี ่ังยืน (การเพาะต้นออ่ นออรแ์ กนคิ ) ด้านการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ รายการ คา่ เฉลยี่ ส่วนเบยี่ งเบน ระดบั ความ รอ้ ยละ X มาตรฐาน พงึ พอใจ S.D ค ว า ม รู้ เ ก่ี ย ว กั บ ห ลั ก ป รั ช ญ า ข อ ง เศรษฐกจิ พอเพียง 5.00 0.00 มากทสี่ ุด 100 ก า ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี ท่ี เ ห ม า ะ ส ม กั บ การเกษตร 4.70 0.46 มากท่สี ดุ 70 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะต้น ออ่ นออร์แกนคิ 5.00 0.00 มากทสี่ ดุ 100 ช่องทางประกอบอาชีพการเพาะต้น อ่อนออรแ์ กนคิ 4.80 0.40 มากทสี่ ุด 80 ข้ันตอนการดูแลรักษาและเก็บผลผลิต จากการปลกู ตน้ อ่อนออรแ์ กนิค 5.00 0.00 มากทส่ี ุด 100 ประโยชน์ของการบริโภคต้นอ่อนออร์ แกนคิ 5.00 0.00 มากท่ีสดุ 100 รวมทุกด้าน 4.92 0.14 มากทสี่ ุด 91.67 จากตารางที่ 7 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพ่ือการพัฒนาที่ยั่งยืน (การเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค) ด้านการจัดกิจกรรมการเรียนรู้อยู่ในระดับมากที่สุด ( X = 4.92) เพ่ือพิจารณาเป็นรายขอ้ พบว่า ผู้เขา้ รับการอบรมมีความพึงพอใจในระดับมากที่สุดทุกข้อ โดยเร่ืองความรู้ เกี่ยวกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง, ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค, ข้ันตอน การดูแลรักษาและเก็บผลผลิตจากการปลกู ต้นออ่ นออร์แกนิค และประโยชนข์ องการบริโภคต้นอ่อนออร์แกนิค

8 มีค่าเฉล่ียมากท่ีสุด คือ ( X =5.00) รองลงมาได้แก่ ช่องทางประกอบอาชีพการเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค มีค่าเฉลี่ยคือ ( X =4.80) และสุดท้ายการใช้เทคโนโลยีท่ีเหมาะสมกับการเกษตร มีค่าเฉลี่ยคือ ( X =4.70) โดยมี สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ระหว่าง เป็น 0.00 – 0.46 แสดงว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจ สอดคล้องกนั โดยคิดเป็น ร้อยละ 91.67 ตารางท่ี 8 ค่าเฉล่ียและส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐานความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษา เพ่ือเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์ พระราชาเพ่ือการพัฒนาทีย่ ่ังยนื (การเพาะต้นอ่อนออรแ์ กนคิ ) ด้านประโยชน์ที่ไดร้ บั รายการ คา่ เฉลยี่ สว่ นเบ่ียงเบน ระดับความ รอ้ ยละ X มาตรฐาน พงึ พอใจ S.D ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ความเข้าใจ 4.90 0.30 มากท่สี ุด 90 เกี่ยวกับเพาะต้นออ่ นออร์แกนิค ผู้เข้ารับการอบรมสามารถเพาะต้น 5.00 0.00 มากท่ีสดุ 100 อ่อนออรแ์ กนิคได้ ผู้เข้ ารั บก ารอ บร ม น าคว าม รู้ไ ป ประกอบอาชีพหรือใช้ประโยชน์ใน 5.00 0.00 มากทีส่ ดุ 100 ชวี ิตประจาวนั ได้ รวมทุกด้าน 4.97 0.10 มากที่สดุ 96.67 จากตารางที่ 8 พบว่า ผู้เข้ารับการอบรมมีความพึงพอใจต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพื่อการพัฒนาท่ีย่ังยืน (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนคิ ) ดา้ นประโยชน์ท่ีได้รับ อยู่ในระดับ มากที่สุด ( X = 4.97) เพื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่าผู้เข้ารับการอบรม มีความพึงพอใจในระดับมากท่ีสุดทุกข้อ โดยผู้เข้ารับ การอบรมสามารถเพาะต้นอ่อนออร์แกนิคได้ และผู้เข้ารับการอบรมนาความรู้ไปประกอบอาชีพหรือใช้ ประโยชน์ในชวี ิตประจาวนั ได้ มีค่าเฉลย่ี มากท่ีสุด คือ ( X = 5.00) รองลงมาได้แก่ ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับเพาะต้นอ่อนออร์แกนิค มีค่าเฉลี่ย คือ ( X = 4.90) โดยมีส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) อยู่ท่ี 0.00 – 0.30 แสดงวา่ ผู้เขา้ รับการอบรมมคี วามพึงพอใจสอดคลอ้ งกัน โดยคดิ เป็นรอ้ ยละ 96.67

9 แผนภูมิแสดงความพงึ พอใจของผู้เขา้ รับการอบรม โครงการการจัดการศึกษาเพอื่ เรยี นรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รูปแบบฝกึ อบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาตสิ ศู่ าสตร์พระราชา เพ่อื การพฒั นาท่ียงั่ ยนื (การเพาะต้นออ่ นออรแ์ กนิค) กศน.ตาบลหลกั สอง แผนภมู ทิ ่ี 1 แสดงจานวนร้อยละของผ้เู ข้ารบั การอบรมโดยจาแนกตามเพศ แผนภูมทิ ่ี 2 แสดงจานวนร้อยละของผเู้ ข้ารบั การอบรมโดยจาแนกตามอายุ

10 แผนภมู ิที่ 3 แสดงจานวนร้อยละของผเู้ ขา้ รับการอบรมโดยจาแนกตามระดับการศึกษา แผนภูมิที่ 4 แสดงจานวนร้อยละของผู้เขา้ รับการอบรมโดยจาแนกตามอาชีพ

11 แผนภูมิที่ 5 แสดงจานวนร้อยละความพึงพอใจของผู้เข้ารับการอบรมท่ีมีต่อโครงการการจัด การศกึ ษาเพื่อเรียนรู้ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติ ส่ศู าสตรพ์ ระราชาเพ่อื การพัฒนาทีย่ ง่ั ยืน (การเพาะตน้ ออ่ นออรแ์ กนิค) ระดับความพึงพอใจของผเู้ รยี น 100 90 80 70 60 50 40 30 20 10 0 น้อยทสี่ ดุ มากทส่ี ุด มาก ปานกลาง น้อย 0 คิดเป็นร้อยละ 95.71 4.29 0 0

12 ตอนท่ี 3 ข้อคดิ เหน็ ขอ้ เสนอแนะ ข้อคิดเห็น ข้อเสนอแนะ จุดเด่น และจุดที่ควรพัฒนาต่อโครงการการจัดการศึกษาเพื่อเรียนรู้ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รูปแบบฝึกอบรมประชาชน โครงการเกษตรธรรมชาติสู่ศาสตร์พระราชา เพื่อการพฒั นาท่ยี ั่งยนื (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนคิ ) ข้อคิดเหน็ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในคร้ังน้ี จัดในรูปแบบของกลุ่มสนใจ เพ่ือให้ผู้เข้ารับการอบรมมีความรู้ ความเข้าใจสามารถทาการเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนิคเปน็ และสามารถนาไปใช้ในชีวิตประจาวนั ได้ ขอ้ เสนอแนะ ผู้เข้ารับการอบรมมีความสนใจในการการเพาะต้นอ่อนออร์แกนิคเป็นอย่างดี และสอบถามครูว่า วสั ดุอุปกรณจ์ ะหาซ้อื ไดท้ ไ่ี หน ซง่ึ แสดงให้เห็นว่าผู้เข้ารับการอบรมมีความใส่ใจในการพัฒนาตนเองและต่อยอด อาชีพเพ่อื สร้างเปน็ อาชีพเสรมิ ได้เปน็ อยา่ งดี จุดเด่นของโครงการ / กิจกรรม ในครั้งนี้ - ผู้เขา้ รบั การอบรมให้ความสนใจและตง้ั ใจปฏิบตั ิดี - วทิ ยากรเป็นผมู้ คี วามรูค้ วามสามารถเหมาะสม - สถานที่จัดกิจกรรมมีความเหมาะสม - กจิ กรรมทจี่ ดั ตรงตามความต้องการของประชาชนทส่ี นใจ - ผู้เขา้ รบั การอบรมสามารถนาไปใช้ในการจดั งานและกจิ กรรมตา่ งๆในชุมชนได้ - ผเู้ ข้ารบั การอบรมมคี วามพงึ พอใจในการจัดกิจกรรมอยู่ในระดบั มากท่ีสดุ จดุ ที่ควรพัฒนาของโครงการ / กิจกรรม ในคร้ังน้ี - ไมพ่ บจดุ ที่ควรพฒั นา ลงชอ่ื ผู้รายงาน (นางสาวสรุ ินธร นาคคมุ้ ) ครู กศน.ตาบลหลักสอง

13 โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน ปงี บประมาณ 2563 กศน.ตาบลหลักสอง กศน.ตาบลเจ็ดริ้ว และ กศน.ตาบลคลองตัน

14 โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน ปงี บประมาณ 2563 กศน.ตาบลหลักสอง กศน.ตาบลเจ็ดริ้ว และ กศน.ตาบลคลองตัน

15 โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน ปงี บประมาณ 2563 กศน.ตาบลหลักสอง กศน.ตาบลเจ็ดริ้ว และ กศน.ตาบลคลองตัน

16 โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน ปงี บประมาณ 2563 กศน.ตาบลหลักสอง กศน.ตาบลเจ็ดริ้ว และ กศน.ตาบลคลองตัน

17 โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน ปงี บประมาณ 2563 กศน.ตาบลหลักสอง กศน.ตาบลเจ็ดริ้ว และ กศน.ตาบลคลองตัน

18 โครงการการจัดการศกึ ษาเพอ่ื เรียนรูหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน ปงี บประมาณ 2563 กศน.ตาบลหลักสอง กศน.ตาบลเจ็ดริ้ว และ กศน.ตาบลคลองตัน

19 โครงการการจัดการศึกษาเพอ่ื เรยี นรหู ลกั ปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง รปู แบบการฝึกอบรมประชาชน ปีงบประมาณ 2563 กศน.ตาบลหลักสอง กศน.ตาบลเจ็ดร้วิ และ กศน.ตาบลคลองตัน โครงการเกษตรธรรมชาติสศู่ าสตร์พระราชาเพ่อื การพัฒนาทีย่ ง่ั ยนื (การเพาะตน้ อ่อนออรแ์ กนคิ ) วันท่ี 15 กรกฎาคม 2563 ณ กศน.ตาบลหลกั สอง หมู่ท่ี 7 ตาบลหลกั สอง อาเภอบ้านแพว้ จังหวัดสมทุ รสาคร

20


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook