คำนำ การแสดงออกในสง่ิ ใดส่ิงหนึ่งทก่ี อ่ ให้เกดิ การส่อื สาร จากผู้หนึง่ ถงึ อีกผ้หู นง่ึ เป็นกระบวนการท่ีสำคญั ใน การดำรงชีวิตของมนษุ ย์ทีอ่ ย่รู ่วมกันในสังคม หนง่ึ ในน้ันเป็นวิธีทใ่ี ชม้ าต้งั แต่อดตี จนถึงปจั จบุ ันคอื การจดบันทึก หรือการเขยี นขอ้ ความ เป็นการใชภ้ าษาที่ขึน้ อยู่กับบุคคลท่ีจะสือ่ สารและบคุ คลทร่ี ับสาร ที่ตอ้ งรจู้ ักเขา้ ใจใน ภาษาท่ใี ชใ้ นการเขียนสือ่ สารครงั้ นัน้ ๆ การเขียนเหลา่ น้ีมปี ระโยชน์อยา่ งมากตอ่ ศาสตรว์ ิชาต่าง ๆ ซงึ่ หนงึ่ ในนน้ั คือวชิ าด้านศลิ ปะ ที่จะร่วมเอาการถา่ ยทอดการสอนและการวจิ ารณ์ศิลปะในแง่มมุ ตา่ งๆ ท่จี ะตอ้ งอาศัยผู้ทม่ี ี ประสบการณ์ แนวคดิ การแก้ไขปญั หา การมองหาทางออกร่วมกัน ทจี่ ะตอ้ งเปน็ ผ้ทู ่ีมปี ระสบการณ์ ผู้ถ่ายทอด แนวคิดผา่ นงานเขียนที่ตอ้ งใช้ภาษาท่ชี ดั เจน เหมาะสม สื่อสารเข้าใจง่าย ซึ่งเรียกอีกช่อื หน่งึ วา่ บทความทาง วิชาการ บทความคือการกลัน่ กรองภาษาการเขียนท่เี กิดจากทศั นคติ ประสบการณ์ แนวความคดิ เห็นที่มีตอ่ เรอื่ งน้นั ๆ สงิ่ ต่าง ๆ เหล่านี้สำคัญอยา่ งมากที่จะมาประกอบกันเขา้ ไปเป็นบทความ ส่วนบทความนน้ั มีหลาย ประเภททีส่ ามารถเขียนขึ้นได้ ซงึ่ แตล่ ะประเภทของบทความน้นั ต่างก็ทำหน้าทใี่ ห้ประโยชน์ต่อผ้อู ่านไม่มากก็ นอ้ ยในเรอ่ื งน้ัน ๆ บทความมีหน้าทีใ่ นการสร้างความคดิ สร้างแรงบนั ดาลใจให้กับผูอ้ า่ น แล้วยังเป็นข้อมูลทีด่ ีใน การเป็นแนวทางแกป้ ญั หาทเี่ กดิ ขนึ้ และยงั เป็นแนวทางการรับมอื กบั ปัญหาต่างๆ ที่อาจจะเกดิ ขนึ้ มาในภายภาค หนา้ จากความคิดทขี่ องผเู้ ขยี นบทความแตล่ ะคน ผู้อ่านจะได้ทราบถงึ มุมมองในการมองปัญหาทีห่ ลากหลาย ทั้ง การอา่ นบทความยังสง่ เสรมิ ใหเ้ กิดนิสัยรกั การอ่านอกี ด้วย ในส่วนของเล่มรวบรวมบทความสมั มนาน้ี นัน้ จะรวมบทความเกย่ี วกบั ศลิ ปศกึ ษาหรือการจดั การเรียน รูใ้ นกล่มุ สาระศลิ ปะรวมไปถงึ การจัดการชัน้ เรียนรวม การเสนอแนวคดิ ในการจดั การเรยี นรูร้ ปู แบบใหม่ ๆ การ นาํ ปัญหาเดิมทเ่ี กดิ ขน้ึ ระหว่างการจัดการเรียนรู้ศลิ ปะมาให้แนวทางการแกไ้ ขหรือการแสดงจุดยนื และแสดง ความเห็นท่ีเปน็ อยกู่ บั ความเป็นศิลปศึกษา ท้ังในอดีตทเ่ี คยลองผิดลองถูก ปจั จบุ ันท่ี กาํ ลังพัฒนา และอนาคตที่ กาํ ลงั ใกลจ้ ะถึง โดยนกั ศึกษาสาขาศลิ ปศึกษาชนั้ ปีท่ี 4 ได้รวบรวม บทความทเ่ี กยี่ วข้องกบั ศลิ ปะในด้านตา่ งๆ 5 ดา้ น ไดแ้ ก่ ปัญหาดา้ นปรัชญา(Philosophical Area) ด้านสงั คมวิทยา(Sociological Area) ดา้ นเนอ้ื หา(The Content Area) ดา้ นการศกึ ษาและจติ วทิ ยา หรอื การเรียนการสอน(The Educational- Psychological or teaching and learning Area) ดา้ นหลกั สตู ร(The Curriculum or Program Area) เพื่อศกึ ษาและนําไปปรับ ใช้ในการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ทั้งในสาระการเรยี นรู้ศิลปะหรอื บูรณาการกับสาระการเรียนรู้อนื่ ๆ ให้ผู้เรียน เกดิ การเรยี นร้มู ากยงิ่ ข้ึน ฝ่ายเอกสาร 1
สารบัญ หนา้ 1 เน้ือหา 3 - ครูเดก็ พเิ ศษ คอื ครธู รรมดาที่มดี วงตาพิเศษสอนอยา่ งปกติด้วยความเขา้ ใจ 5 ธรรมชาตขิ องเด็กนัน้ 6 (พ.ญ.วนาพร วัฒนกูล) 7 - จากใจผปู้ กครองเด็กพเิ ศษ 9 (ชลีรตั น์ เหล่าจมู ) 11 1.ด้านปรชั ญา (Philosophical Area) 13 14 - ความแปรผนั 16 (กรวิชญ์ อันทรินทร์) - ความรักในศิลปะทจี่ างหายไป 18 (สกุ ลั ยา เกตธุ านี) 19 - ศิลปะพดู ได้? 21 (อุมาภรณ์ วงษศ์ รีแก้ว) 23 - ศลิ ปะของเขา ศลิ ปะของเรา (มณนี ชุ อุดมลาภ) - ศลิ ปะ ขับเคลอ่ื นชีวิตมนษุ ย์ (ณฐั นันฑ์ สุตะโคตร) - ศลิ ปะเกี่ยวข้องกับเราไดอ้ ยา่ งไร (วัลลภา เทยี นทอง) - หากคุณตอ้ งการชัยชนะ คุณจะแพใ้ ห้กบั ตัวเอง (อัษฎาวุธ โคตรมา) 2.ดา้ นสังคมวิทยา (Sociological Area) - ศลิ ปะกบั การสร้างสรรคส์ งั คม (กนกพร ไชยสิทธางกูร) - รางวลั ของศลิ ปะ (ชญามนิ ทร์ เกตุเมฆ) - ศิลปะ...กระจกสะท้อนความจริง (ฐติ ิมา ดวงสวุ รรณ์) 2
สารบัญ (ตอ่ ) หนา้ 25 เนื้อหา 27 - ศิลปะเช่ืองโยงกับสงั คมอย่างไร ไกล หรอื ใกลต้ ัว 29 (อรัญญา ผวิ ทอง) 30 - สารทสี่ ง่ ไปไมถ่ ึงเปรยี บได้เหมือนกบั อัตลักษณ์ที่ยงั ไมไ่ ด้แสดงออก 32 (เสาวภาคย์ เพช็ รหงษ์) 34 36 3.ด้านเน้อื หา(The Content Area) 37 - ความเปน็ ตัวตนกับศลิ ปะในโรงเรยี น (พนดิ า ภู่ทอง) 38 - วชิ าศิลปะกบั การถูกละเลย (ธรี จ์ ุฑา คดิ ฉลาด) 41 - ศิลปะใช้ได้จรงิ (หรอื ?) 43 (จรุ รี ัตน์ โนราช) 45 - ศิลปะกบั กจิ กรรมการเรียนการสอนท่ีสง่ เสรมิ พฒั นาการของผูเ้ รียน ตามแต่ละช่วงวยั (ปาลติ า วรรณศริ ิ) 4.ด้านการศึกษาและจติ วิทยา หรอื การเรยี นการสอน (The Educational- Psychological or teaching and learning Area) - การเรียนการสอนศิลปะ เพ่ือการเรยี นรทู้ ่ีมุ่งใหผ้ เู้ รียนสามารถดำรงชีวติ อยรู่ ่วมกับผู้อนื่ ในสังคมพหุวัฒนธรรมไดอ้ ย่างมคี วามสขุ (ภทั รพรรณ ทองแย้ม) - ทำไมเดก็ ต้องเรยี นรศู้ ิลปะ (ภาสกร กลางเหลอื ง) - ศิลปะกบั Constructivism มีความสำคญั อย่างไรใน ศตวรรษที่ 21 (ภรู ินท์ กัลยารัตน์) - อนาคตทางการศกึ ษาและการจดั การเรียนการสอนศลิ ปะในวิกฤตกิ ารแพรร่ ะบาด ของไวรสั โควดิ -19จะเปน็ อยา่ งไรตอ่ ไป? (พลพจน์ ฉ่ัวตระกลู ) 3
สารบญั (ตอ่ ) หนา้ 47 เนอื้ หา 48 50 5.ด้านหลักสูตร(The Curriculum or Program Area) 54 - การศกึ ษาไทยหรือใครกนั ทที่ ำให้คุณภาพเดก็ ไทยแย่ลง 56 (พมิ ลพรรณ แสนนาม) - ปญั หาของหลกั สูตรและการจดั หอ้ งเรยี นศลิ ปะในปจั จุบัน 58 (รตั นมณี คงคูณ) 59 - ศิลปะกับวิชาท่ีถกู มองข้าม 65 (ศริ ิยากรณ์ ทาทอง) 66 - หลกั สตู รและการจดั การเรียนการสอนศลิ ปะกับความต้องการของผเู้ รียน (นริศรา บุญหวา) 67 ภาคผนวก - โครงการสมั มนาวิชาการทางศิลปศึกษา “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกญุ แจสหู่ ้องเรียนรวมศลิ ปะ” - กำหนดการ โครงการสมั มนาวชิ าการ “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกุญแจส่หู ้องเรยี นรวมศลิ ปะ” - คำกล่าวของประธานในพิธี โครงการสมั มนาวิชาการ “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกญุ แจสู่ห้องเรียนรวมศิลปะ” - คำกลา่ วของประธานโครงการ โครงการสมั มนาวิชาการ “KEY to success of special needs in Art classroom : ไขกุญแจสู่ห้องเรียนรวมศิลปะ” 4
“ครูเดก็ พิเศษ คือครูธรรมดาทีม่ ดี วงตาพเิ ศษ สอนอย่างปกติด้วยความเข้าใจธรรมชาตขิ องเดก็ นัน้ ” พ.ญ.วนาพร วัฒนกลู (ขอ้ ความทีผ่ ู้เขยี น รวบรวมจากความปรารถนาที่จะให้สิง่ นี้ปรากฏ) ในมุมมองผู้เขียนเด็กพิเศษ คือ เด็กตามธรรมชาติ เกิดมาตามกลไกอนั เปน็ ปกติ หากวา่ มีความตอ้ งการ การดูแลท่ีแตกตา่ ง อาจเพราะเด็กพิเศษเป็นประชากรกลุม่ น้อย ต่างจากความคาดหวงั จากคำนยิ าม ‘เป็น ปกต’ิ ของสังคมโดยท่วั ไป และดูเหมือนวา่ ความเปน็ ธรรมชาตนิ น้ั สร้างความไมส่ ะดวกสบายให้ผู้คนรอบข้าง อาจไม่ถูกยอมรบั ไม่ไดร้ บั ความเขา้ ใจและไม่ได้รับโอกาสจากคนบางกลุ่มหรือบางพื้นท่ี แตน่ ั้นย่อมไม่ใช้กบั ครู โดยเฉพาะกบั ครูของเด็กพเิ ศษ ครขู องเดก็ พิเศษ คือ ครูธรรมดา ทมี่ ีความรู้ความสามารถในการสอน มีดวงใจแหง่ ความเมตตาตอ่ ศิษย์ และมคี วามปรารถนาให้ศิษยเ์ รยี นรู้ พัฒนาและเติบโต ทว่า ความพิเศษในตัวครู คือมี ‘ดวงตาพิเศษ’ ทสี่ ามารถ มองเหน็ สิง่ ที่คนท่ัวไปอาจมองไม่เห็น คือ เหน็ ถงึ ความปรารถนาที่เด็กทกุ คนต้องการ อนั ได้แก่ ความรัก ความ อบอุ่น ความปลอดภยั การยอมรับ และความต้องการการหลอ่ เลยี้ งเพ่ือการเติบโต นอกจากน้ี ครยู งั สามารถ ออกแบบการเรยี นร้ทู ส่ี อดคล้องกลมกลืนกบั ความเป็นธรรมชาติของเด็กแตล่ ะคนอยา่ งพอดี พองาม ด้วยเดก็ พิเศษ มีความหลากหลายในตัวเอง จากประกาศของกระทรวงศึกษาธิการ เรือ่ งกำหนด ประเภทและหลักเกณฑข์ องคนพิการทางการศึกษา พ.ศ.2552 แบง่ เด็กพิเศษออกเปน็ 9 ประเภท ครจู ึงต้อง ศกึ ษาและทำความเข้าใจเด็กพเิ ศษแต่ละกลุ่ม รจู้ ักลกั ษณะของความเป็นพิเศษและความต้องการของเด็กแต่ละ กลมุ่ นั้นเปน็ พ้ืนฐาน อย่างไรก็ตาม ต้นไม้ในปา่ แมพ้ นั ธเ์ุ ดียวกนั ก็มิได้เตบิ โตได้พร้อมกันหรอื มลี กั ษณะ เหมือนกนั ทุกประการ แตล่ ะตน้ มีการแตกกิ่ง แตกตา แตกต่างกนั ฉันใดก็ฉนั นนั้ เดก็ พิเศษแมน้ จะจัดอยู่ใน กลุ่มเดียวกัน แต่ก็มีความแตกตา่ งกันในแตล่ ะคน ครจู งึ มิอาจจดั การสอนแบบเหมาโหล สอนดว้ ยรูปแบบ เดียวกันไดห้ มด ครเู ด็กพิเศษ ควรฝกึ ทักษะ ‘การสงั เกต’ ความเป็นธรรมชาตขิ องเดก็ แต่ละคน สงั เกตพฤติกรรมการ แสดงออก สหี น้า ทา่ ทาง แววตา การพดู การสอื่ สารท้ังวาจาและภาษาท่าทาง ในอิรยิ าบถตา่ ง ๆ อยา่ งละเอียด และมคี วามประณีตในการพิจารณาวเิ คราะห์ ความหมายของการปรากฏการณ์เหลา่ น้นั นอกจากนี้ ครูตอ้ งมี ทักษะใน ‘การสื่อสาร’ กับผคู้ นรอบขา้ งของเด็ก โดยเฉพาะอยา่ งย่ิง ผ้ปู กครองของเด็กพเิ ศษท่ีอาจมีความคดิ ความกังวล ความต้องการ ความคาดหวงั ท่ีแตกตา่ งจากความคาดหวังของครู การส่อื สารที่เปดิ เผยอารมณ์ ความรูส้ ึก ความต้องการ การได้บอกเล่าถึงขอ้ ติดขดั หรืออุปสรรคในการพฒั นาเดก็ นา่ จะชว่ ยให้เกดิ ความ เขา้ ใจระหวา่ งผปู้ กครองและครูมากขนึ้ และจะสง่ ผลดตี ่อการพัฒนาเดก็ ในที่สดุ 1
จากประสบการณ์ของผู้เขียน เมอื่ มโี อกาสจดั การอบรมศิลปะใหก้ ับเด็กพเิ ศษกลุ่มออทิสติกและ ผ้ปู กครอง พบว่า ความแตกต่างของเด็กแต่ละคนคือความสวยงาม เดก็ พเิ ศษทุกคนสามารถพัฒนาไดไ้ มท่ างใดก็ ทางหน่งึ การเปดิ ใจ เปดิ โอกาสใหเ้ ราได้ไปสัมผัสความเปน็ มนษุ ยแ์ บบเขาอย่างแท้จริง อาจเปน็ วาระอันวเิ ศษ สุด เพราะช่วยใหเ้ ราได้เหน็ โอกาสแหง่ การพฒั นาตวั ตน และนัน้ คือ ของขวัญสดุ วเิ ศษ ทเ่ี ดก็ พเิ ศษไดม้ อบใหเ้ รา ทุกคนค่ะ 2
จากใจผูป้ กครองเด็กพเิ ศษ ชลรี ัตน์ เหล่าจูม วทิ ยากรรับเชิญ ลูกชายคุณแม่เป็นออทสิ ติกค่ะ น้องธนชั ชนม์ เหล่าจมู ชอื่ เลน่ ธนะ ปจั จุบนั อายุ 17 ยา่ ง 18 ปี ได้รบั การวนิ จิ ฉัยว่าเป็นออทสิ ติกเมื่ออายุ 3 ขวบคร่ึง ตอนเด็ก ๆ นอ้ งพูดไม่ได้ ไมส่ บตา ต่ืนตัวตลอดเวลา รกั ใครไม่ เป็น ไม่สนใจสง่ิ แวดล้อม ทานน้อย นอนน้อย หงุดหงิดงา่ ย อาละวาดตลอดเพราะสื่อสารไม่ได้ พดู ไม่ออก บอก ไม่ถูกว่าตวั เองรู้สึกอยา่ งไร ระบบประสาทสัมผสั ทง้ั ห้ารบั รผู้ ิดปกติไม่เหมือนคนทว่ั ไป (เป็นแผลเดนิ เลือดหยดใน บ้านไม่รู้สกึ เจ็บ) ทำให้ ธนะ มีพฤติกรรมทีแ่ ปลกแตกตา่ งจากคนทวั่ ไป ทำใหก้ ารเลยี้ งดคู ่อนขา้ งยาก เม่อื น้องไดร้ บั การชว่ ยเหลอื ด้วยการฝึกจากโรงเรยี นศนู ย์การศกึ ษาพิเศษเขต 9 และ ฝึกกับนกั แก้ไข การพูด นักกจิ กรรมบำบัด และพบคุณหมอพัฒนาการเด็ก และการฝกึ อย่างต่อเนื่องจากทางครอบครัวเป็น ประจำ นอ้ งมพี ฒั นาการทด่ี ีขึ้นอย่างช้า ๆ ในทุก ๆ ดา้ น คุณแม่เฝ้าสังเกตุธนะตลอดเวลาว่าควรชว่ ยเหลือดา้ น ไหน นอ้ งยงั บกพร่องดา้ นไหนอยู่ ก็จะเพ่ิมการฝกึ ในสว่ นนน้ั โดยปรึกษา นกั กจิ กรรมบำบัดเป็นหลกั ในด้าน สมองและรา่ งกาย และกลบั มาฝึกต่อท่ีบา้ นอย่างตอ่ เน่ือง ท่ีโรงเรยี น ได้รับความชว่ ยเหลอื จากคุณครผู ู้ดูแล จาก ศนู ยว์ จิ ยั ออทิสติก มข. ใหส้ ามารถเรียนร่วมในชนั้ เรยี น ซ่ึงมปี ญั หาเกดิ ขนึ้ ทีโ่ รงเรยี นเรื่อย ๆ ในชว่ งอนบุ าล ประถม กไ็ ด้รับการช่วยเหลือจากคณุ ครทู ี่ตามเข้าไปช่วยเหลือในชั้นเรยี นรวม ให้สามารถเรียนรวมกับเพ่ือน ๆ ได้ ส่วนทางบ้านกพ็ ยายามฝกึ ให้น้องใช้ชีวติ ประจำวนั ทำกิจวัตรส่วนตัวได้เอง และเสริมด้านตา่ ง ๆ ที่ บกพร่อง เช่น ไมม่ สี มาธิ หนุ หนั พลนั แลน่ คุณแม่ก็พาไปวัด ทำบุญ ไปหาหลวงปฝู่ กึ นั่งสมาธิ ซง่ึ นอ้ งฝึกนงั่ สมาธิ ต้ังแต่ปี 2558 เรมิ่ จากหา้ นาที นงั่ ก่อนนอนทกุ คืนและเพิ่มเวลานง่ั สมาธเิ ร่ือย ๆ จนปัจจุบันนอ้ งนั่งสมาธิ วนั ละ 1 ชม. ก่อนนอนทกุ คนื โดยใช้โทรศพั ท์จบั เวลา น้องธนะชอบพต่ี นู บอด้สี แลม เมื่อปี 2560 นอ้ งฝนั อยากวงิ่ มาราธอนเหมือนพี่ตูน ทางครอบครวั ก็ สนับสนนุ ทนั ที โดยมคี ณุ พ่อพาวิ่ง ซ่งึ น้องก็ซ้อมวิ่งทุกเย็นหลังเลิกเรยี นและวนั หยดุ และลงงานว่งิ ตา่ ง ๆ ได้ถ้วย หลายรายการ และในทีส่ ดุ นอ้ งธนะกว็ ง่ิ มาราธอน 42 กม.ได้สำเรจ็ เม่ือวันที่ 27 มีนาคม 2564 โดยมีโค้ชหมีกับ โคช้ โตโต้เป็นบ๊ดั ด้พี าไปจนจบมาราธอน นอ้ งธนะตีกลองได้ แต่เรยี นแบบไม่รโู้ นต๊ โดยมคี รมู าสอนท่ีบ้านสัปดาห์ละครัง้ น้องธนะ ทำขนมได้ ทำอาหารได้ มีคุณแม่ฝกึ ทำตัง้ แต่นอ้ งอยชู่ ั้น ป.4 นอ้ งธนะช่วยทำงานบา้ นได้ ซักผา้ ซักถุงเท้า ตากผ้า ลา้ งจาน ล้างรถ รดน้ำตน้ ไม้ ให้อาหารแมว ดูแล แมว (ความรู้สึกรักและสงสารสัตว์ เกิดข้นึ ได้ จากที่ไดเ้ ล้ียงแมว) 3
งานศิลปะ น้องไม่ไดส้ นใจและชอบตัง้ แต่แรก คุณแมค่ ิดว่า สมาธิ ดนตรี ศลิ ปะ จะช่วยให้น้องนิง่ ขึน้ สงบขึน้ จึงตัง้ ใจสง่ เสรมิ โดยฝกึ นอ้ งวาดภาพตามแบบ (ใหว้ าดเองน้องคิดไม่ออก วาดไม่เป็น ตอ้ งวาดตามแบบ เท่าน้นั ) วาดตามแบบแล้วระบายสี วาดสวยไมส่ วยไม่เปน็ ไร แตค่ ุณแมพ่ าทำซ้ำเร่ือย ๆ หาแบบอนื่ ๆ จากยูทูป มาลองทำเรือ่ ย ๆ น้องก็ทำออกมาดีขน้ึ นิ่งขน้ึ ตง้ั ใจข้ึน และ สงบในช่วงเวลาทีท่ ำงาน ในการท่ีอยู่กับธนะตลอดเวลา คณุ แม่เร่ิมเขา้ ใจและรจู้ ักลูกชายตวั เองมากข้นึ นอ้ งธนะเหมอื นฟองน้ำ ท่พี ร้อมจะดูดซับสง่ิ ท่ปี ้อนเข้ามา ทั้งดีและไม่ดี พร้อมรบั ตลอด ซ่งึ ต้องเลือกใหท้ ำแตส่ ่ิงที่ดี และพยายามตดั สื่อ ที่ไมด่ ีไมเ่ หมาะสมออก เพราะนอ้ งธนะจะจำและเอาไปใชไ้ ม่ถกู กาละเทศะ สงิ่ ทค่ี ุณแม่เหน็ พัฒนาการของนอ้ งธนะ เมื่อให้โอกาสพาทำซำ้ บ่อย ๆ จะเกิดความชำนาญและทำไดด้ ี ขึ้นเร่อื ย ๆ พฒั นาข้นึ ไดต้ ลอดเวลา คณุ แมร่ วู้ า่ ลูกชายตัวเองไมม่ ีพรสวรรคใ์ ด ๆ เลย แตส่ งิ่ ทีธ่ นะทำได้เกิดจากการพาทำบ่อย ๆ ใสใ่ จ ให้ เวลา ใจเยน็ ให้โอกาส และคอยเปน็ โคช้ ที่ดีให้ ให้กำลังใจ ชมเชย จะทำให้ธนะสามารถกา้ วขา้ มขดี จำกดั ของ ตวั เองในหลายๆ เร่ืองได้ สำหรบั ความคาดหวังในช้ันเรียน คณุ แม่อยากใหส้ อบถามพัฒนาการเดก็ พิเศษจากครู iep หรือ ครทู ใ่ี ห้ ความชว่ ยเหลือในช้ันเรียน ว่าน้องทำงานได้แค่ไหน ใหง้ านทีเ่ หมาะกบั พัฒนาการตอนน้ัน งานไม่ยากเกิน ความสามารถเกินไปเพราะจะเกดิ ความเครียดและมปี ญั หาพฤติกรรมตามมา คุณครูชว่ ยเปน็ โค้ช แนะนำ และ ให้กำลังใจด้วยการชมงานครั้งตอ่ ไปอาจจะให้งานยากกวา่ งานเดิมทลี ะน้อย กจ็ ะเปน็ โอกาสในการค่อย ๆ พัฒนาต่อไปค่ะ 4
5
ความแปรผัน กรวชิ ญ์ อันทรนิ ทร์ เวลานศี้ ลิ ปะท่ีเราชอบมากทส่ี ุดคือเสียงเพลง เสยี งดนตรีที่ฟังได้ตลอดเวลา ได้ฟังทีไรก็รู้สึกเหมอื นเป็น การได้ผ่อนคลาย มีอารมณค์ วามสดใส ความสุข สบายใจ บางทีก็เศร้าไดต้ ามที่ใจตอ้ งการ แทนทเี่ ม่ือก่อนที่มี ความช่นื ชอบในเรือ่ งของทัศนศิลป์ การวาดภาพระบายสี ที่ไมร่ ู้ทำไมความชื่นชอบหรอื ความอยากทำมนั ค่อย ๆ เลือนลางจางหายไป จากทก่ี ่อนเคยอยากจับดนิ สอและสีมาวาดภาพสง่ิ ที่อยากวาด แตต่ อนนีค้ วามรู้สึกน้นั แทบไม่มีอยู่เลย ถึงเราจะคดิ วา่ ไมร่ ู้ทำไมถึงเป็นแบบน้ี แตเ่ อาเข้าจริง ๆ แล้วเราก็พอจะรสู้ าเหตุซ่งึ อาจจะเปน็ เพราะว่าเราได้มา ทำส่งิ ทเี่ ราอยากจะทำ แต่สิง่ ท่ที ำเหมือน “ไม่ใช่ส่ิงทต่ี ้องการ” ซ่ึงความต้องการของเราจรงิ ๆ แลว้ คอื การวาด และทำสิง่ ที่เราชอบเพยี งเท่านนั้ แตต่ อนน้ีกลายเป็นว่าเรานำสิ่งทเี่ ราชอบเข้ามามีบทบาทในชวี ติ มากเกนิ ไป มี ตวั กำหนด กฎเกณฑ์ มีคะแนน มีการแข่งขนั ท่ีเพิม่ เขา้ มา และมีความรู้สกึ โดนเปรียบเทยี บเรือ่ งของทักษะ โดย บางทมี ันอาจจะเกดิ จากความคิดไปเองของเรา ซ่ึงทีก่ ล่าวมาท้งั หมดน้ีกถ็ กู แล้วเพือ่ ท่เี ราจะได้มกี ารพฒั นาและมี ศักยภาพเพ่มิ ขึ้นบนเสน้ ทางท่ีเราเลือก แต่ไมเ่ คยคดิ มาก่อนว่าสงิ่ ท่เี ราเคยชอบหรือสนใจมันได้หยดุ ไวแ้ ล้ว ในตอนนี้ เราสามารถวาดมันไดแ้ ตค่ วามรู้สึกในขณะท่ีทำนนั้ ไมไ่ ด้รู้สกึ อยากทำมันเลย และเราคิดว่าหรือมนั อาจจะกลับมาก็ได้ในตอนทเ่ี ราทงิ้ มนั ไปนาน ๆ และอยากจะทำมันอีกครง้ั เม่ือที่ใจต้องการโดยที่ไม่ต้องคำนึงถึง ความถูกตอ้ งหรือถูกมองว่าจะเป็นยงั ไงในสายตาของคนอ่ืน และตอนน้ีอย่างท่ีบอกว่ามีความชน่ื ชอบใน เสยี งเพลงซ่ึงมันกเ็ ปน็ เร่ืองที่ค่อย ๆ ซมึ ซับมาตั้งแต่เดก็ เช่นกัน เราติดตามศลิ ปนิ นักร้อง ผแู้ ตง่ สไตล์เพลงทีเ่ รา ช่นื ชอบ เรียนรู้การทำงานของเขาจนเปน็ แรงบนั ดาลใจ เมื่อได้เปน็ ผรู้ ับแล้วก็อยากมสี กั ครั้งทม่ี ผี ลงานเป็นของ ตัวเอง ชว่ งทผ่ี ่านมาเราจำเป็นทตี่ อ้ งทำงานดา้ นทศั นศลิ ป์อีกครงั้ แต่เรามองไมเ่ หน็ แนวทางท่เี ราช่นื ชอบเลย ณ เวลานั้น ไมม่ ีอะไรทั้งนน้ั ที่อยากจะทำ จนพอถงึ เวลาทตี่ ้องตัดสนิ ใจแน่ ๆ จรงิ ๆ แล้ว ก็พอมีเศษเสี้ยวของความ สนใจอยู่บ้าง บวกกบั วธิ ีหาแรงบัลดาลใจ ศกึ ษาแนวทางตามหาผลงานท่เี ราประทับใจ เหมือนกบั ท่เี ราสนใจ เสียงเพลงท่ีเราชอบ ทำให้เราได้มองเหน็ สิ่งที่คดิ ว่านา่ จะเหมาะกบั เรามากท่ีสดุ ในตอนน้ีแลว้ ซ่งึ นน่ั ก็คือศิลปะ ลัทธอิ ิมเพรสช่นั นิสม์ (Impressionism) เป็นงานที่เราเห็นว่ามีชวี ติ ชวี า ดูสนุก มคี วามสดใส สร้างความ ประทบั ใจให้กับตัวเอง กเ็ ลยอยากจะทำงานศลิ ปะแบบนี้ออกมาเป็นผลงานของตัวเองบา้ ง จะเหน็ ว่าไม่ว่าจะทำอะไรก็ตามเราตอ้ งมีแรงบันดาลใจเสมอเพ่ือทจี่ ะเปน็ แรงจูงใจในการทำส่งิ ๆ น้ัน ออกมาได้ เพียงแคเ่ ราคอ่ ย ๆ หา สง่ิ ทที่ ำนัน้ ไม่จำเปน็ ต้องเปน็ ทน่ี ยิ ม หรือเปน็ ท่ที ีค่ นสว่ นใหญย่ อมรบั แต่เป็นสิ่ง ท่ีเราพอใจสบายใจท่ีอยากจะทำมันออกมา และมีความสุขกับมนั โดยไม่ได้สร้างความเดือดรอ้ นใหก้ บั ผู้อื่น แต่ ชว่ งนข้ี อพักงานวาดภาพไว้ก่อน มอี ารมณ์สนุ ทรียเ์ ม่ือไหร่ค่อยกลบั มาเจอกันอีกครั้ง เราสามารถหนไี ปหาสิ่งใหม่ ๆ ท่ีเราชอบได้ตลอดเวลา แต่กต็ ้องไม่ทิ้งหน้าที่ของเราในปัจจบุ นั 6
ความรกั ในศิลปะท่ีจางหายไป สุกลั ยา เกตุธานี ในวนั ท่ีเราเรมิ่ รู้สกึ หมดใจในการทำงานศิลปะ มันไดก้ ลายเปน็ ปญั หาทก่ี ่อตัวขน้ึ มาเพื่อทำลายแรง บนั ดาลใจในการทำงานของเรา และคิดว่านีค่ งไม่ใชท่ างทีเ่ ราถนดั อีกตอ่ ไปแลว้ แตค่ วามเป็นจรงิ มันขน้ึ อยทู่ ี่เรา เลอื กเองต่างหาก วา่ จะหันหน้ากลบั มาสูต้ ่อหรือจะยอมแพ้ให้กบั จิตใจที่ออ่ นแอของตวั เอง ไม่มที างเลือกไหนที่ ผิดหรอก เพราะมนั เปน็ ชีวติ ของเรา คนเราเกิดมาก็มักจะมีทัง้ เรอื่ งท่ดี ีและไม่ดีปะปนอยู่ในชีวติ ของเราอย่เู สมอ ในบางครัง้ จิตใจของเราก็เต็มเปยี่ มไปด้วยความสุข ความม่งุ มั่นในการทำงานเปน็ อยา่ งมาก แต่บา่ งชว่ งจังหวะ ของชีวติ เราทกุ คนย่อมมโี อกาสท่ตี ้องเจอกับอุปสรรคปญั หาท่ีจะเข้าบัน่ ทอนกำลังใจและพลังกายของเราไดเ้ ปน็ เรื่องธรรมดาอยแู่ ลว้ และเมื่อปัญหาทางความรู้สึกมันได้เกิดข้ึนมาแลว้ กจ็ ะรู้สึกวา่ ทุกอย่างมนั กำลงั มาถงึ ทาง ตัน คดิ หาทางออกไม่ได้ ไม่ร้วู ่าจะทำยงั ไงต่อไปดี จะทำอะไรก็เหมือนกบั วา่ มนั ซ้ำ ๆ เดิม ๆ จมอยกู่ ับท่ี เอาแต่ คดิ วนเวียนอยู่อย่างนน้ั จนลืมคดิ ไปเลยว่า เรากำลงั ปล่อยให้เวลาทมี่ ีคุณค่ากับชวี ิตให้ลว่ งเลยไปอย่างนา่ เสยี ดาย ในบทความน้ีผู้เขียนจงึ อยากชวนใหค้ ุณลองย้อนมองจิตใจของตนและพิจารณาใหช้ ัดเจน เมอ่ื ต้อง ประสบกบั ปัญหาทางความร้สู ึกเชน่ น้ี หากตอนนีง้ านศลิ ปะท่คี ุณกำลงั ทำอยู่นน้ั มนั ย่ิงทำให้คณุ รู้สกึ หา่ งไกลกบั ความรักทีเ่ คยมีในศลิ ปะคุณก็ ลองหยดุ แลว้ มองให้ชัดก่อนเถอะว่า จติ ใจของคุณตอนนเี้ ป็นเช่นไร คณุ ยังอยากทจี่ ะทำมันอย่ไู หม ถ้าตอนนยี้ งั ไม่อยากทำกห็ ันไปทำอย่างอื่นก่อน เพราะถา้ ฝืนท่ีจะทำต่อไป มันอาจทำให้คุณหมดใจจากมันไปอยา่ งถาวรก็ได้ และถ้าหากมนั ยงั เป็นความรักของคณุ จรงิ ๆ คุณจะโหยหาเมื่อขาดมนั ไปเอง แล้ววันนนั้ คณุ จะรับรไู้ ด้อย่างเต็ม หวั ใจวา่ สง่ิ ทีค่ ณุ กำลังร้สู ึกเบื่อหน่ายอย่นู ้ัน มันจะช่วยเยียวยาจติ ใจหรอื เปน็ ตวั ทำลายความสขุ ของคุณอยู่กันแน่ คณุ ยงั นกึ ถึงความรสู้ ึกแรกท่ีคุณเริ่มทำงานศิลปะไดห้ รือไม่ จุดม่งุ หมายในการทำงานศิลปะของคุณคืออะไร คณุ ยงั จำมนั ได้อยไู่ หม เราเชื่อวา่ ตอนนนั้ ทคี่ ุณไดเ้ รม่ิ เข้ามาทำงานศิลปะ มนั เต็มไปด้วยแรงบันดาลใจ ความสนุก ความมุ่งมน่ั และมีพลังทจ่ี ะถ่ายทอดความคิด ความรูส้ ึก ออกมาผา่ นผลงานได้เป็นอยา่ งดี มีคนมากมายทเี่ ลือก ทางเดินของตวั เอง และมคี วามสขุ อยู่กับสิ่งทีต่ นเลือก แตเ่ มื่อเระยะเวลาผ่านไปซักพัก ความสนกุ ความมุ่งมนั่ มนั กลบั แปรผันไปเป็นความเบ่ือหนา่ ยลงในทส่ี ุด และมันมักจะทำใหเ้ ราต้องหันกลบั มาต้ังคนถามกบั ตวั เองอีก คร้ังว่าทางทเี่ ราเลอื กเดนิ มาน้ัน เราเลือกผดิ เองหรือไม่ ถ้าหากคุณกำลงั ตกอยกู่ ับภาวะความรู้สึกแบบนี้ เราอยากจะชวนให้คุณคดิ ทบทวนอีกนิด และลอง ยอ้ นกลับไปนกึ ถึงความรสู้ ึกที่เมื่อคุณไดล้ งมอื ทำมนั คุณมีความสขุ มากแคไ่ หน ลองคิดดวู า่ กวา่ จะเดนิ ทางมาอยู่ ตรงน้ไี ด้นนั้ คุณผา่ นความรู้สึกอะไรมาบ้าง ลองคิดดูสิว่าคุณเกง่ ข้ึน หรอื พัฒนาตัวเองมาไดม้ ากแค่ไหนแลว้ จาก จุดเรม่ิ ตน้ ลองหยดุ แลว้ พิจารณาความรู้สกึ ใคร่ครวญ ไตร่ตรอง อยา่ งคนท่ีมีสติ วา่ ทางเดินท่ีเราเลอื กนี้ เป็น ทางทเ่ี ราเลือกผดิ จรงิ หรอื เพียงแคม่ ีปจั จยั บางอย่างทีเ่ ข้ามาทำใหเ้ ราเหน่ือยลา้ ลงเท่านั้น 7
อา้ งอิง Ataman Thongyou. (2561). ถา้ คณุ หมดไฟมาทางน้ี นี่คือวธิ จี ุดไฟในตัวคณุ อีกครั้ง. สบื คน้ วนั ท่ี 10 เมษายน พ.ศ.2564, จาก https://www.salika.co/2018/03/13/take-the-new-inspirations/ 8
ศลิ ปะพดู ได้? อมุ าภรณ์ วงษ์ศรีแกว้ ในอดีตจนถึงปจั จบุ นั คำว่า “ศิลปะ” ได้มีผใู้ ห้ความหมายไว้หลากหลายรปู แบบ ในบทความนผี้ เู้ ขยี น ขอยกเอาความหมายท่ีวา่ “ศิลปะ คอื สิ่งท่ีมนุษย์สรา้ งข้ึนเพ่ือแสดงออกซึ่งอารมณ์ ความรสู้ กึ ปญั ญา ความคดิ หรือความงาม” ซ่ึงตรงกบั ส่งิ ท่ศี ลิ ปินดังระดบั โลกอยา่ ง ปาโบล ปิกาโซ ได้กล่าวไว้วา่ “ฉันไม่ได้พดู ทกุ ๆ สิ่ง แต่ ทุกๆ สงิ่ ของฉันได้ถูกพูดผ่านศิลปะ” (“I don’t say everything, but I paint everything”) ดงั นนั้ ผูเ้ ขยี นจงึ ได้หยบิ ยกเอาประเด็นนมี้ านำเสนอวา่ “ศิลปะพดู ไดอ้ ย่างไร?” “ศิลปะพดู ได”้ คำว่า “พูด” ในทีน่ ไ้ี ม่ได้หมายถึงกริ ยิ าทีเ่ ปล่งเสยี งออกมาเปน็ ถ้อยคำ แต่เราได้ เปรียบเทียบความหมายของการพูด คือการส่ือสารและการแสดงออก ทั้งในด้านอารมณ์ ความร้สู ึก ปัญญา ความคดิ หรือความงาม โดยใชง้ านศลิ ปะเปน็ ตัวเลา่ เรื่องน้นั ๆ งานศลิ ปะทเ่ี กดิ มาในรูปแบบท่หี ลากหลายไม่ว่า จะเป็น งานจิตรกรรม งานประตมิ ากรรม งานภาพพมิ พ์ ภาพถา่ ย ฯลฯ งานศิลปะเหล่าน้ีลว้ นสามารถนำมาใช้ เพอ่ื เป็นสื่อกลางในการส่ือ-สาร แสดงออกและสะท้อนอารมณ์ ความคิด ความร้สู กึ ของผสู้ รา้ งผลงานได้ ผสู้ รา้ ง งานแตล่ ะคนลว้ นมจี ุดประสงคแ์ ละจุดมุ่งหมายของการสร้างผลงานศลิ ปะ ที่หลากหลายแตกต่างกันออกไปตาม บทบาทและความต้องการ เช่น การวาดภาพชวี ประวัติเพื่อเป็นสือ่ ให้ความรู้ การวาดภาพรณรงค์ LGBT เพ่ือ เป็นสือ่ กลางในการเรียกร้องความเปน็ ธรรมใหก้ ับบุคคลกลุ่มนี้ และศลิ ปนิ ดงั ระดับโลกหลายคน ทีไ่ ด้ใชว้ าดภาพ เพือ่ เป็นการส่อื สารความรสู้ ึกนึกคิดของเขา ยกตวั อยา่ ง เชน่ ผลงาน “The Starry Night” ของวินเซนต์ แวน โกะ๊ ห์ ซงึ่ เปน็ ภาพที่มชี อื่ เสียงมากภาพหนงึ่ ของโลก วินเซนต์ แวนโกะ๊ ห์ ไดถ้ ่ายทอดอารมณค์ วามร้สู ึกของเขา ผ่านภาพ The Starry Night ท่ีเขาส่ือถงึ ความเหงา ความโดดเดีย่ ว ความทุกข์ทรมาน และพลงั ความ เคลอ่ื นไหวท่ีอยู่ในความหยุดนิง่ ของบรรยากาศ ตลอดจนเป้าหมายท่ตี ้องการจะเดนิ ทางไปสู่สรวงสวรรคด์ ้วย ความตาย เป็นตน้ การส่อื สารเป็นสิง่ ท่ีจำเปน็ อย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นมนษุ ยห์ รือสตั วเ์ อง ก็จำเปน็ จะต้องใชก้ ารสื่อสาร ดว้ ยกันทง้ั นน้ั การสื่อสารเองจงึ มีจดุ ประสงคแ์ ละจดุ มุ่งหมายทีห่ ลากหลาย แตกตา่ งกนั ออกไปตามความบรบิ ท และความต้องการ เชน่ การสือ่ สารเพ่ือการอยู่รอดของสตั ว์ การสอ่ื สารเพื่อให้ความรแู้ ละเพือ่ โนม้ นา้ วใจของ มนุษย์ ฉะนน้ั จึงเห็นไดว้ ่าเร่ืองราว อารมณ์ ความร้สู ึก ปัญญา ความคิด ความงามหรือไมว่ ่าจะเป็นประเด็นใด ๆ น้นั จงึ ไม่มีความจำเปน็ ทจี่ ะต้องแสดงออกและสือ่ สารดว้ ยการพดู ท่เี ป็นการเปลง่ เสียงออกมาเปน็ ถ้อยคำเทา่ นัน้ เพราะนอกจากการสอ่ื สารรูปแบบอื่นแล้ว ศลิ ปะกย็ งั เปน็ อีกหนงึ่ หนทาง ในการ“พดู ”จากผูส้ ร้างสรรค์ศลิ ป์ ไปสผู่ ูเ้ สพศิลป์ 9
อา้ งอิง สมาพร คล้ายวเิ ชียร. ภาษาภาพ : คืนทมี่ ีดาวพราวฟ้า VISUAL LANGUAGE : THE STARRY NIGHT [ออนไลน์]. ปี 2552. แหล่งท่ีมา : http://www.samaporn.com/?p=1334 [10 เมษายน 2564] โรงเรยี นศลิ ปะเดก็ ไทยสร้างสรรค.์ ความหมายและคำนิยามของศลิ ปะ [ออนไลน]์ . ปี 2556. แหลง่ ทีม่ า :http://www.dekthaischool.com/index.php?lay=show&ac=article&Ntype=3&Id= 538977593 [10 เมษายน 2564] Quotefancy. Pablo Picasso Quotes [ออนไลน์]. ปี 2548. แหล่งท่ีมา : https://quotefancy.com/quote/ 884251/Pablo-Picasso-I-don-t-say-everything-but-I-paint-everything [10 เมษายน 2564] 10
ศิลปะของเขา ศิลปะของเรา มณนี ุช อุดมลาภ “ศลิ ปะ เป็นคำท่ีมีความหมายทั้งกว้างและจำเพาะเจาะจง” ดูเปน็ คำอธิบายทย่ี ้อนแย้ง แต่เปน็ ความ จริงที่ทศั นะของนักปราชญแ์ ต่ละคน หรอื ศลิ ปนิ แตล่ ะคน รวมทั้งความเชื่อแนวคิดในแตล่ ะยุคสมยั นน้ั มีความ แตกต่างกันจนกลายเป็นขอ้ โต้แยง้ หรอื ข้อถกเถยี งกนั ไดต้ ลอดเวลา อะไรคือศิลปะกนั แน่? จะนำศิลปะไปใช้ในแวดวงทีก่ ว้างขวางหรือจำกัดได้อยา่ งไร? ทผี่ า่ นมาเรามองวา่ ศิลปะ คือการถ่ายทอดความคดิ ประสบการณ์ หรอื คำพูดของเราออกมาเป็น ผลงาน และเรยี กสง่ิ น้ันวา่ ศิลปะ แต่ก็มหี ลายครัง้ ที่ผู้คนไม่ได้มองว่าผลงานของเราเป็นศิลปะ อาจเน่ืองดว้ ย เหตุผลที่ว่า ผลงานน้นั เข้าใจยากเกินไป ผลงานนน้ั ซับซ้อนเกินไป หรือแมแ้ ต่ดูไม่มีคุณคา่ อะไรเลยดไู ม่ใชศ่ ลิ ปะ เลย แล้วอะไรล่ะ? คือศลิ ปะท่ีแท้จรงิ ในวัยเด็ก ศิลปะสำหรบั เราคือการแสดงออกอยา่ งอสิ ระเสรี เต็มไปด้วยจินตนาการและความคิด สรา้ งสรรค์ ความบริสทุ ธิ์ จริงใจ เปิดเผย และตรงไปตรงมา แม้จะเปน็ การขีดเขยี นบนกระดาษทไ่ี ม่เปน็ รูปทรง ชัดเจน เพยี งเพราะยังมีประสบการณ์ไมเ่ พียงพอ ยังไม่สามารถถา่ ยทอดจนิ ตนาการในหัวออกมาใหผ้ ใู้ หญเ่ ห็น ไดอ้ ยา่ งชัดเจน คณุ จะตัดสินเลยหรือไม่ ว่านน่ั ไม่ใชศ่ ลิ ปะ เพราะเมอื่ มาถงึ วยั ผใู้ หญ่ ความเป็นศิลปะของหลายๆ คนถูกเปล่ยี นแปลงไปให้ศลิ ปะเปน็ ความงดงาม ความเปน็ เลิศ ศิลปะต้องดูอลังการ มีกระบวนการสรา้ งงาน หรือมีแนวคิดที่ลกึ ซง้ึ และซบั ซ้อน ศลิ ปะแบบนีส้ ิ จงึ จะมีคณุ คา่ ศิลปะแบบน้สี ถิ ึงจะมีมูลค่ามหาศาล น่ีสิ คอื ศลิ ปะท่ีแทจ้ รงิ ดงั นน้ั แลว้ ศิลปะท่ีไมม่ ีความงดงาม ไม่มคี วามซับซ้อน ลกึ ซึ้ง จงึ ไม่ไดถ้ กู มองเปน็ ศลิ ปะอยา่ งงั้น เหรอ ผู้ใหญ่มกั บอกเด็ก ๆ วา่ ห้ามระบายสีออกนอกเส้น ห้ามระบายสที ้ิงสขี าวไว้ ต้องระบายไปทางเดยี วกนั ตอ้ งระบายใหเ้ นยี นกว่านี้ โดยท่คี ุณอาจไมร่ เู้ ลยว่า เด็กอาจอยากให้งานของเขามีสีขาวก็ได้ เดก็ อาจอยากใหง้ าน ของเขาไมอ่ ยู่ในเส้นกไ็ ด้ คุณบอกแบบนนั้ เพราะคุณกำหนดไวแ้ ลว้ วา่ ศลิ ปะของคณุ ต้องเป็นแบบนนั้ ซึ่งน่าแปลก ท่ีเมือ่ เดก็ ๆโตขึ้น พวกเขาจะไดพ้ บกับภาพสาดสี ภาพจุดสีแดงจุดเดยี วบนเฟรมใหญ่ โถฉ่ี การยืนแกผ้ า้ อยเู่ ฉย ๆ การเอาแกว้ มาปาใหแ้ ตกลงพื้น เอากล้วยมาติดบนผนงั ภาพกระป๋องซุป ถังขยะ และอีกมากมายทกี่ ็เป็นศลิ ปะ เหมอื นกนั น่.ี ..แลว้ ที่ผ้ใู หญเ่ คยบอกล่ะ ไหนละ่ ...งานท่ีอยู่ในเสน้ ไหนละ่ ...งานท่ีไมม่ ีสีขาว ทำไมต้องให้เด็กมา เรยี นร้เู อาตอนโตดว้ ยล่ะ วา่ ศิลปะมีความหลากหลายขนาดไหน แทนที่จะได้รู้ไดเ้ ห็นต้ังแต่แรก พวกเขาจะได้ไม่ ตกใจมาก เราเองก็จะได้ไมต่ กใจมากว่าไมต่ ้องอยู่ในเส้นกเ็ ป็นศิลปะได้ ไม่ต้องปดิ ขาวทัง้ หมดก็เป็นศิลปะได้ ให้ เขาได้รวู้ ่าทุกอย่างมนั เป็นศิลปะได้เหมอื นกนั นะ เปน็ ความง่ายทเี่ ราหยิบมาบอกเลา่ เปน็ หลกั ฐานถงึ ความ 11
สวยงามของโลกท่ีเราอยู่ ไดส้ นุกไปกบั ความสร้างสรรค์บนโลก และอะไรอกี มากมายที่กส็ ามารถมีคุณค่าในตัว ของมันได้เหมือนกัน ตัวเราในฐานะคนที่ทำงานด้านศลิ ปะ เราสนใจในการเปลี่ยนแปลงทางแนวคิดน้ีอยตู่ ลอดเวลา เพราะ ศิลปะแตกแขนงไปหลากหลาย เราจำเป็นตอ้ งคดิ เปดิ กวา้ ง มีหตู ากว้างไกล และสำนึกไว้เสมอวา่ ศลิ ปะก็เกิด จากความคิดของผู้คน ศิลปะของเราก็มีเพยี งเราทีเ่ ขา้ ใจความงามไดอ้ ย่างแทจ้ ริง ศลิ ปะของเขาก็มเี พียงเขาท่ี เข้าใจความงามได้อย่างแทจ้ ริงเช่นกัน ดงั นั้นให้ชนื่ ชมและเพลดิ เพลินไปกบั สิ่งทผ่ี ูค้ นถ่ายทอดออกมานัน่ แหละ ส่วนการตัดสนิ กใ็ หค้ นสร้างงานเขาเปน็ คนตดั สนิ ไปแลว้ กัน เพราะ \"ศลิ ปะ\" ไม่ได้ต้องการคำยอมรบั จากคนท่ไี ม่เขา้ ใจศิลปะ แตเ่ ป็นบคุ คลท่ใี ช้เวลากับศลิ ปะเพอื่ ศลิ ปะเท่านั้นจึงจะเข้าใจความงามอยา่ งแท้จริง อา้ งอิง Virunphat Bangroy. ความหมายของศลิ ปะ. จาก https://sites.google.com/site/virunphatart/khwam- hmay-khxng-silpa ประกิต กอบกจิ วัฒนา. Art IS Art Art IS Not Art อะไร(แมง่ )กเ็ ป็นศิลปะ. จากhttps://minimore .com/ b/art-is-art/1 12
ศลิ ปะ ขับเคล่ือนชวี ิตมนษุ ย์ ณฐั นันฑ์ สุตะโคตร ศลิ ปะ คือ ผลงาน รวมถงึ กระบวนการที่มนุษยเ์ ฉกเชน่ พวกเราไดส้ ร้างขึ้น เพอื่ ถา่ ยทอด ส่ือสาร แสดง ถงึ อารมณแ์ ละแนวคิดออกมาให้ผชู้ มงานไดต้ ีความ จากความหมายขา้ งตน้ ของคำว่าศลิ ปะอาจจะดเู ป็นเคร่อื งมือทแ่ี สดงแนวคิด เพ่ือสื่อสารต่าง ๆ แต่ แทจ้ ริงแลว้ ศิลปะ เป็นตัวแปรสำคญั ในการขับเคล่ือนชีวิตมนษุ ย์ ลองนึกภาพตามว่าในขณะท่เี ราอยยู่ ุคดิจิทลั มกี ารวาดภาพบนจอแสดงผล มีเทคโนโลยีไวส้ รา้ งผลงานออนไลน์ ไว้อำนวยความสะดวกติดตอ่ ส่ือสาร แต่เรา เรม่ิ จากยคุ สมยั สองพันปกี ่อนยงั ใช้แค่เลือดของสัตวใ์ นการส่ือสารและประดิษฐต์ วั อักษรขึ้นมา ศลิ ปะเป็นเครื่องมอื ในการขบั เคลื่อนสังคม หรอื เรยี กได้ว่า ศลิ ปะเปน็ ปัจจยั หนึ่งในการดำรงชีวติ โดย อาศยั มนุษยเ์ พื่อให้ศลิ ปะนั้นถูกเรียกว่าเปน็ ศิลปะอย่างสมบูรณ์ ศลิ ปะเปน็ ผลงานที่มีการบนั ทึกผา่ นภาพท่ีเขียน จากฝาผนัง ผืนผ้าใบ ตลอดจนบนหน้าจอเคร่ืองมือส่ือสาร ถ่ายทอดถงึ ความคดิ จติ ใจ เหตุการณส์ ำคัญ สะท้อน มายังสงั คมให้ตระหนักถงึ คณุ ธรรม ค่านิยม การดำรงชีวิตในแต่ละวนั ตลอดจนมีการพัฒนา การปรบั ปรงุ แก้ไข เพอ่ื ใหส้ ่ิงแวดล้อมและมนุษยชนมีความเจริญก้าวหน้ามากขึ้น โดยยังสานต่อสงิ่ ที่ควรมไี วใ้ นยคุ สงั คมปัจจบุ ัน เปรยี บเทยี บคือ ศลิ ปะอย่ใู นทุกแห่งทุกสาขา เศรษฐกจิ การงาน อาชพี การศึกษา สังคม รวมถงึ คุณธรรม จริยธรรม ล้วนแล้วถกู ศลิ ปะเข้ามาแทรกแซง เข้ามายกชูให้เจริญขึ้น หากจะคิดภาพให้ง่าย ๆ เช่น การพูดโนม้ นา้ วจติ ใจคนกเ็ ป็นศิลปะการพูด วาทกรรม หรอื จะเปน็ การ ทำธรุ กิจผลติ สินค้าก็ต้องใชค้ วามงาม คุณภาพของผลติ ภณั ฑ์ หรือ การออกแบบตามความต้องการของผูบ้ ริโภค รวมไปถึง การชุมนุมเพื่อสทิ ธเิ สรภี าพ ก็เป็นศิลปะการแสดงออกเชิงสญั ลักษณ์ ก็เรยี กไดว้ ่าเปน็ ศิลปะ ซ่งึ จะ สง่ ผลทางสงั คมทั้งทางตรงและทางออ้ ม จุดเลก็ ๆทีร่ วมกนั เป็นหลายจดุ ต่อกันเป็นเส้น เช่ือมโยงรวมกันเป็น รปู ร่างข้ึนมา เปน็ โครงสรา้ งเป็นรากฐานเพื่อต่อยอดพัฒนาต่อไป แต่อย่างไรกต็ ามศิลปะเปน็ เพียงเครอื่ งมอื หนึง่ ทีม่ นุษย์นำมาใชเ้ พ่ือให้สงั คมเกิดการขบั เคลื่อน โดย ขึ้นอยกู่ ับผสู้ ร้างศิลปะผู้นนั้ อยู่ต้องการให้สงั คมขบั เคล่ือนไปในทศิ ทางใด โดยเปน็ ไปไดท้ ้ังเชิงบวกและเชิงลบ จุดประสงคข์ องผลงานกเ็ ป็นไปตามการดำเนนิ การของผู้สร้าง ศลิ ปะจะไม่ถกู เรยี กว่าศลิ ปะ หากขาดความคดิ สรา้ งสรรค์ ขาดความหมายในการทำงาน และขาดกระบวนการทำงานของมนษุ ยเ์ ฉกเชน่ พวกเรา 13
ศลิ ปะเกย่ี วขอ้ งกับเราได้อยา่ งไร วลั ลภา เทยี นทอง หากจะกล่าวถงึ จุดเร่ิมต้นในโลกของศลิ ปะแล้ว คงตอ้ งย้อนไปเมื่อหลายพันปีกอ่ นทม่ี นุษย์เร่ิมประดิษฐ์ ส่ิงของเครอื่ งใช้ อปุ กรณ์ลา่ สตั ว์ สรา้ งสง่ิ อำนวยความสะดวกและเพอื่ ความปลอดภยั สำหรับการดำรงชีพและ การอยู่ รอดของมนุษย์ เห็นไดจ้ ากภาพวาดฝาผนงั หรอื ภาพเขยี นโบราณท่ีถูกคน้ พบภายในถำ้ นอกจากไม่ เพียงแต่เปน็ ช่างเขยี นแลว้ ยงั เป็นชา่ งในทางจติ รกรรมและการแกะสลักอีกด้วย ทงั้ นี้ยังในเรื่องของความเช่ือ ความกลวั ธรรมชาติ และสง่ิ แวดล้อมก่อใหเ้ กิดพธิ กี รรม การรวมกลมุ่ กันจนเกิดเปน็ สังคม การคดิ ริเริ่ม การรบั รู้ ในส่งิ ที่มีอทิ ธิพลต่อจิตใจ การอยากตอบสนองความต้องการของตัวเอง ทำให้เกดิ การสร้างสรรค์และการ แกป้ ัญหาในการสร้างศลิ ปวัตถทุ ่ี แตกต่างไปจากลักษณะของธรรมชาติ เป็นรากฐานทำให้มนุษยแ์ ต่ละสมัยเกดิ แรงกระตุ้นและแรงบันดาลใจในการ ทำงานศลิ ปะต่อไป นับว่าเปน็ การเร่มิ ต้นของการสรา้ งสรรค์งานศิลปะใน ยคุ ต่าง ๆ (วิรตั น์ พิชญไพบูลย.์ 2524) ศิลปะ คืออะไร? ทำไมคนเราถงึ ตอ้ งเกย่ี วข้องกับศลิ ปะ ซ่ึงจรงิ ๆแลว้ ศิลปะเกิดขึ้นมาได้ก็เพราะเปน็ สิ่งที่ มนุษยค์ ดิ ค้นขนึ้ มาโดยแสดงออกมาจากความร้สู กึ อารมณ์ จากจนิ ตนาการ การเลียนแบบตน้ แบบ หรอื การ สร้าง จากความคิดที่คิดขน้ึ มาเอง มีการใชค้ วามรู้ความสามารถ ความเข้าใจ การคิดวิเคราะห์แกป้ ัญหา ความคดิ สร้างสรรคแ์ ละเป็นเคร่ืองมือระบายถา่ ยทอดมนั ออกมา ในเร่อื งของสุนทรียภาพ ความประทับใจ เรอื่ งราว และมี ความสำคัญเป็นอย่างมาก ศลิ ปะจะมีส่วนชว่ ยเสรมิ สรา้ งจิตใจของมนุษยใ์ หส้ ูงข้นึ กล่อมเกลาจติ ใจให้ ออ่ นโยนทำใหเ้ กิดความกลมกลนื ความรักสามคั คีต่อกนั ในขณะเดียวกันก็มสี ่วนชว่ ยเสรมิ สร้างและพฒั นา สตปิ ญั ญาของมนุษย์ ดว้ ย เมอ่ื หันมาทบทวนดจู ะพบวา่ ลกึ ๆแล้วชีวิตของตัวเราก็มีความเก่ียวข้องกบั ศิลปะ ซง่ึ เรามีโอกาสสมั ผัสกบั ศิลปะ ท้ังทางตรงและทางอ้อม รวมทั้งไดร้ บั อิทธพิ ลจากสง่ิ รอบตวั ครอบครัว สังคม เศรษฐกิจ การเมือง วฒั นธรรม ศาสนา ธรรมชาติ ทัศนคติ ความเชอ่ื ค่านิยม ความชอบ ความไมช่ อบ ทำให้ มนษุ ยม์ ีการรับรใู้ นเรอ่ื งศลิ ปะ สุนทรยี ภาพในจติ ใจ เพยี งแต่ไม่เทา่ กนั ทำให้มนษุ ย์มีความหลากหลาย แหลาย คนก็ไม่เหน็ ความสำคญั ของศิลปะ อาจเพราะดว้ ยประสบการณ์ ความพร้อมอะไรหลายๆ อยา่ งท่ีไม่เอ้ือต่อการ รับรู้เกย่ี วกับศิลปะ ทำให้ไม่เข้าใจ แบง่ แยกเอาศลิ ปะออกจากชวี ติ ทงั้ ๆ ทม่ี นั ศลิ ปะกับชีวิตก็คอื ส่ิงท่ีเก่ียวข้อง กนั ศิลปะทเ่ี ห็นได้ง่ายๆในชวี ติ ประจำวันเกย่ี วของในเร่ืองของความงามทส่ี ามารถมองเหน็ ได้ดว้ ยตา เช่น การสือ่ สาร ไม่ว่าจะเปน็ การพูด การใชท้ ่าทาง การใชส้ ญั ลักษณ์ เปน็ การใชศ้ ิลปะในการสื่อสารเพ่ือใหเ้ กิดการ 14
สื่อสารทดี่ ี เข้าใจ ส่ือความหมายไดอ้ ย่างเจนและยังสร้างทศั นคติในเชิงบวกใหเ้ กิดขนึ้ ได้ด้วย ซ่งึ หากสอ่ื สารไมด่ ี กอ็ าจจะทำใหเ้ กดิ ปัญหาตามมา, การแต่งกาย เปน็ สง่ิ ท่ีอยู่ภายนอก บง่ บอกถงึ ลกั ษณะของผู้ใส่ ช่วยสง่ เสรมิ เรอื่ งของรูปลกั ษณ์ บุคลิกภาพ ชว่ ยให้ม่นั ใจ ให้ดดู ีขน้ึ ได้ ซึ่งแต่ละคนก็มสี ไตลก์ ารแต่งตวั ของตวั เองที่เกดิ จาก ความชอบ ความเหมาะสม ความจำเปน็ ของผู้ใส่ ศลิ ปะก็จะมาช่วยในเร่อื งของการออกแบบเครอื่ งแตง่ กาย เพือ่ ให้เหมาะกบั แต่ละบคุ คล รวมไปถงึ ขา้ วของเคร่ืองใชท้ ่มี ีหลากหลายให้เลอื ก, ดนตรี เพลง หนงั ภาพถา่ ย ภาพวาด วรรณกรรม นิยาย ประตมิ ากรรม สิ่งเหลา่ นก้ี เ็ กิดจากการใช้ความรู้สึก อารมณ์ การสร้างสนุ ทรยี ภาพ ข้นึ มาใหเ้ กดิ เป็นงานศลิ ปะชนิดหนึ่งเพ่ือจรรโลงใจ ให้ข้อคิด ให้จินตนาการ ถ่ายทอดอะไรบางอยา่ งออกมาสคู่ น ที่ฟัง ดู และอ่าน, วฒั นธรรม ประเพณี ที่เกิดข้นึ ประจำท้องถ่ิน ประจำชาติ กเ็ ป็นศิลปะท่ีเกยี่ วข้องกับชวี ิตของ คนในชุมชน เกดิ เป็นภมู ปิ ญั ญา งานชา่ งหลาย ๆ แขนง การสรา้ งส่ิงกอ่ สรา้ ง/สถาปตั ยกรรมต่าง ๆ นอกจากจะ สร้างเพอื่ เป็นทีอ่ ยู่อาศัยแล้วก็ยงั ตอ้ งนึกถงึ ความงามดว้ ย เพื่อเปน็ การสร้างบรรยากาศให้น่าอยู่ เหมาะสมกบั สภาพพ้ืนที่ เป็นต้น จะเห็นได้ว่าจรงิ ๆ แล้ว ถงึ เราจะไม่รู้ตัววา่ ศิลปะเข้ามาอยู่กับเราต้ังแต่เมื่อไหร่ แตม่ นั ก็เป็นสงิ่ ทอ่ี ยู่กับ เรามาตลอด มีความเกย่ี วขอ้ งกับมนษุ ยเ์ ราและมีความสำคัญท่จี ะทำใหช้ วี ติ เรามกี ารพัฒนาไปในหลาย ๆ ดา้ น ในทางท่ดี ีขนึ้ อา้ งอิง วิรัตน์ พชิ ญ์ไพบลู ย.์ (2524). ความเข้าใจศิลปะ (พมิ พ์คร้งั ท่ี 1). กรุงเทพมหานคร : บรษิ ัทสำนกั พิมพ์ ไทย วฒั นาพานชิ . ศลิ ปะมาจากไหน. (มปป). สบื คน้ เมอ่ื วน้ ที่ 8 เมษายน 2564 จากhttps://sites.google.com/site/phorjan 05/silpa-ma-2 ต้นกำเนิดของศลิ ปะ. (มปป). สบื คน้ เมือ่ วันท่ี 8 เมษายา 2564 จาก https://sites.google.com/site/artistryl ifesnakubz/bth-thi1-tn-kaneid-khxng-silpa ศิลปะคืออะไร. (มปป). สบื คน้ เมื่อวนั ท่ี 8 เมษายน 2564 จาก https://sites.google.com/site/reuxngphes suk/silpa-khux-xari 15
หากคุณต้องการชัยชนะ คณุ จะแพ้ให้กับตัวเอง อัษฎาวุธ โคตรมา สังคมในปัจจุบัน เต็มไปดว้ ยการแขง่ ขัน นบั ต้ังแตต่ ื่นเช้าจนถงึ การพกั ผอ่ นในเวลากลางคืน เราต้องคอย คดิ แผนการหรอื วิธีการต่าง ๆ มากมายเพื่อทจี่ ะแข่งขนั กบั ผู้อ่นื อยู่ทุกวนั และเวลา แม้กระท่งั ในวงการการศึกษา ก็ยงั มกี ารแข่งขนั บางคร้งั เราก็ชนะและบางคร้งั เรากแ็ พ้เช่นเดียวกนั และทกุ อย่างล้วนมีผลทตี่ ามมา เราทกุ คนบนโลก สว่ นใหญ่โหยหาชยั ชนะ และเกลียดความพ่ายแพ้ เพราะความรู้สึกชนะมันช่างรู้สึกดี เสียเหลอื เกิน มนั ทำใหเ้ ราได้ทุกสิ่งที่เราต้องการ ไมเ่ หมือนกับการพ่ายแพ้ มนั ชา่ งรูส้ ึกหดหู่ เดียวดาย ไม่เป็นที่ ต้องการของสังคม ความรสู้ กึ เหลา่ น้ลี ว้ นมตี ้นกำเนิดมาจากการถูกปลกู ฝังตัง้ แต่เดก็ ๆ เชน่ การวิ่งแข่ง การแข่ง ทักษะวิชาการ การประกวดกิจกรรมต่าง ๆ ความคาดหวงั ของครอบครัว เป็นต้น ทำให้เกิด “ภาวะแพ้ไม่เปน็ ” ซ่งึ อาจจะทำให้เราใชช้ ีวิตลำบากมาก ๆ เมือ่ เราเรม่ิ เป็นผูใ้ หญ่ และยงั หาทางกำจดั ความรูส้ กึ น้ีไม่ได้ ความรู้สกึ แพ้ไม่เปน็ จะสร้างตัวตนหน่ึงของเราขึ้นมา เม่ือเราไดท้ ำงานร่วมกบั ผู้อ่ืน เราจะคอยสังเกตคน รอบข้างอย่ตู ลอด เพราะเมือ่ ไหร่ท่ีคนคนนน้ั มีผลงานดีเด่นมากกว่าของเราในชัน้ เรียนหรือในกลุม่ เราจะเร่ิมนับ คนคนนั้นเป็นคู่แข่งที่ต้องเอาชนะทันที ส่งที่ตามมานั้นคือความเครียด เครียดที่จะต้องหาทางว่า ทำอย่างไร ผลงานเราจึงจะเหนือกว่าคนคนนั้น จนทำให้เราลืมความเป็นเพื่อนกับคนคนนั้นไป และหากทุก ๆ วันมีคนที่ ผลงานดี ๆ เพม่ิ ขนึ้ ศตั รูของเราก็จะเพิ่มมากขนึ้ จนในทสี่ ดุ เราก็กลายเป็นคนท่ไี ม่มีเพื่อน จมอยู่กับความพ่าย แพ้ที่ติดในจิตใจ ส่งผลกระทบต่อร่างกายและการทำงานที่มีประสิทธิภาพลดลง แต่ทุกสิ่งล้วนมีทางออกเสมอ เพียงแตเ่ ราต้องต้งั ใจทจ่ี ะเปลย่ี นแปลงตวั เองเพ่ือบางสง่ิ เราไม่มีทางลืมสิ่งใด ๆ ได้ แต่เราสามารถเรียนรู้ที่จะอยู่กับมันได้ การแก้ไขความรู้สึกแพ้ไม่เ ป็นมีอยู่ หลากหลายวธิ ี แต่วิธที ผี่ ้เู ขยี นจะนำเสนอคือ 1. การมเี หตุและผลให้มากขนึ้ กลา่ วคอื การนำความรู้สึกของเรามาวเิ คราะหว์ า่ อะไรทำให้เราคิดท่ีจะ เอาชนะ และเราจะไดอ้ ะไรนอกจากความรู้สกึ เหนือกว่า แล้วสงิ่ ท่ีได้พัฒนาอะไรในตัวเราได้ 2. การเรียนรู้จากคนที่ประสบความสำเร็จ คือการศึกษาชีวประวัติ หรือแนวความคิด แนวทางการใช้ ชีวิต แล้วนำเอาสว่ นนั้นมาปรับใช้กับตนเอง 3. การสร้างแรงบันดาลใจให้ตนเองในการใช้ชีวิต จากการดูหรือฟังวิทยากรหรือผู้มีความรู้ หมอ และ สื่อออนไลน์ เพื่อการสรา้ งความเข้าใจ และดึงเอาคุณคา่ ที่มีอยูใ่ นตนเองออกมา การคิดที่จะเอาชนะ หากเราชนะ ความรู้สึกมันช่างหอมหวาน แต่ถ้าแพ้เราก็จะเศร้าและผิดหวังใน ตัวเอง ตัดพ้อและอยากจะชนะให้ได้ ความทะเยอทะยานนั้นเป็นสิ่งที่ดี แต่หากเราใชไ้ ม่ถกู วิธี มันอาจจะสร้าง ผลร้ายมากกว่าผลดีแก่เราได้ เราไม่จำเป็นที่จะต้องชนะทุกคนที่อยู่รอบตัวเรา แต่จงชนะจิตใจที่แข็งกระด้าง ของเราใหไ้ ด้ และเปลยี่ นใหเ้ ปน็ จติ ใจที่อ่อนโยน สามารถอย่รู ่วมกบั ผู้อ่ืนได้ เราจะไม่โหยหาชัยชนะเพ่ือชิงความ 16
เป็นใหญ่ แต่เราจะทำให้ตัวเองมีความสุขระหว่างการใช้ชีวิตนี้ให้มากที่สุด สิ่งที่ผู้เขียนได้แนะแนวทางในการ ปรบั เปลี่ยนตัวเอง อาจไมใ่ ช่สำหรับบางคน แตผ่ ้เู ขียนกห็ วงั ว่าบทความนจ้ี ะสามารถช่วยได้ไม่มากกน็ อ้ ย 17
18
“ศิลปะกบั การสรา้ งสรรคส์ ังคม” กนกพร ไชยสทิ ธางกูร ความสุข ที่ได้เรียนรู้ ได้ทำงานในสิ่งท่ีตนเองรักนัน้ กเ็ ปรยี บเสมอื นกับการได้รดนำ้ พรวนดินให้กบั ดอกไม้ที่ตนเองรัก ตอ้ งคอยดูแลเอาใจใส่ ฟมู ฟัก ประคบประหงม และในซักวันดอกไมน้ ้ันกจ็ ะออกดอกผลบิ าน งดงาม เช่นเดียวกบั การท่เี ราน้นั ไดพ้ ยายามทำในส่งิ ทีม่ ีความสขุ ไม่ว่าจะเปน็ งานอะไรในภายภาคหน้าถา้ เรานัน้ ไดพ้ ยายามมากพอ ผลจากความพยายามท่ีมาจากความรกั นั้นจะทำให้เราประสบความสำเร็จไดอ้ ย่างแน่นอน ส่วนพลงั หรอื ความสามารถของผูท้ จ่ี ะไขวค่ ว้าความสุขมาเปน็ ของตัวเองได้นั้น ขึ้นอยู่กับสมรรถภาพของตัวเอง และสมรรถภาพของสงั คม ซ่ึงหมายถึงวา่ พลงั นั้นจะเกดิ ข้ึนไดม้ ากน้อยแค่ไหน ต้องอยทู่ ่คี วามร่วมมือของคนใน สังคมและตัวตนของแต่ละบุคคลเปน็ สำคัญอยา่ งเร่ืองของศิลปะ ท่คี นส่วนมากน้นั ตระหนักดวี า่ มนั เปี่ยมลน้ ไป ดว้ ยความงาม ดังนนั้ ศิลปะ จึงสามารถนบั เปน็ ปจั จยั หนึ่งท่ีสร้างสรรคป์ ระเทศ ลดความเหล่อื มลำ้ และสร้าง ความเปน็ ธรรมในสังคมได้เป็นอยา่ งดี ท่ีมนษุ ยชาติน้นั ไม่ควรปลอ่ ยให้มนั ไร้คณุ คา่ ภายในสังคมมีการพฒั นา กา้ วหน้าของเทคโนโลยี หรือโลกาภิวัฒน์ ศลิ ปะและสังคมของมนษุ ย์นัน้ ไดม้ ีการเกดิ ขน้ึ มาพรอ้ มกันในทกุ ยุคทุกสมยั อย่างเชน่ การดำรงชวี ิตของ มนุษย์ในยคุ โบราณหรือยคุ หนิ น้นั ได้มีการทำเครื่องมือจากเศษวัสดทุ ่ีทำขึน้ มาจากธรรมชาติและส่ิงรอบตัว เอา มาเหลาใหแ้ หลมคมคล้ายบั มีดพรา้ ทำให้จบั ถนดั มือเพื่อเอาไว้ใช้ในการทำมาหากนิ เชน่ ล่าสัตวห์ ุงหาอาหาร ป้องกนั ศตั รู ป้องกันตวั จากสัตวร์ า้ ย เป็นตน้ เม่ือไดส้ ัตวม์ ากจ็ ะนำเลือด มาขีดเขยี นไวภ้ ายในท่อี ยู่อาศยั ของตน เช่น ภายในถำ้ จะเหน็ ไดว้ ่าภาพเขยี นฝาผนังในถำ้ ทหี่ ลากหลายในแตล่ ะประเทศนั้น มีการใช้ สีจากเลอื ดของ สตั ว์ ยางไม้ ดิน และสีจากธรรมชาติอ่ืน ๆ อีกมากมาย สงั คมไทยในปัจจุบนั นัน้ ได้มีพัฒนาการเกดิ ขน้ึ เป็นอย่างมาก ซึง่ ผลท่ตี ามมาน้นั กค็ ือเกิดการเหลือ่ มล้ำ ขน้ึ ภายในสังคม ไม่เว้นแม้กระทั่งในดา้ นของศลิ ปะ ซ่ึงการพฒั นาศิลปะและตวั บุคคลคือศลิ ปินเองนนั้ จะตอ้ งมี การพัฒนาควบคกู่ ันไปตามยุคตามสมัยใหท้ ันโลก เน่ืองจากมนุษย์เราแตกตา่ งจากสตั ว์อน่ื อกี ทง้ั ยังมสี มองท่เี ลอ เลศิ มคี ุณภาพสูงสุดกว่าสัตวท์ ุกชนิด ทำให้สามารถประดิษฐ์คิดค้นอะไรออกมาได้อย่างมากมายมหาศาล ไมว่ า่ จะเป็นไปได้หรอื ไม่ได้ การเกิดขน้ึ ไดย้ ่อมมีความเป็นไปได้สูงกวา่ ล้มเหลว ตอ้ งดำรงตนไปตามแนวคิดทย่ี ึดถือได้ ว่าดว้ ยความเปน็ จรงิ ความดี ความงามหรือสนุ ทรียศาสตร์ และน่จี ึงเปน็ สง่ิ ท่ีพิสจู นไ์ ดว้ า่ มนษุ ย์นั้นสามารถใช้ งานศลิ ปะมาเปล่ยี นแปลงสงั คมได้ ดังนนั้ จึงมีการรวมตวั ของกลุม่ ศลิ ปนิ ผู้สร้างงานศิลปะขึน้ พวกเขาได้ต้ังปณิธานท่จี ะเดินสายสญั จรไป ทัว่ ประเทศเพ่ือใชค้ ณุ ค่าทางศิลปะสร้างสรรคแ์ ละพัฒนาสงั คมและตัวบุคคลใหเ้ กิดความสขุ ในชีวติ ข้นึ มา (ปานมณ,ี 2554) 19
สุดท้ายแล้วกส็ รุปได้วา่ ศลิ ปะกบั การสร้างสรรค์สงั คมนั้นเป็นของคู่กนั มาตงั้ แต่อดีต เชือ่ มโยงไปกบั ทุกยุคทกุ สมัย และศิลปะจะเปน็ ตัวขบั เคลอ่ื นสังคมให้ไปในทิศทางใด ข้ึนอยกู่ ับความก้าวหน้าและการพฒั นา ของคนในยุคน้นั ๆ ซ่ึงยคุ สมยั นี้นั่นก็คือการทน่ี ำเอาเทคโนโลยเี ขา้ มามสี ่วนช่วยเหลือให้ศิลปะน้ันมีการเติบโต และยกระดับขน้ึ จากแต่ก่อนทใี่ นอดตี ศลิ ปะน้ันยังไม่ถกู พสิ ูจน์และถูกเพิกเฉยวา่ มนั เปน็ สิ่งท่ไี มจ่ ำเปน็ ต่อ สังคมไทย แตใ่ นยุคสมยั น้ศี ลิ ปะกลบั ถูกพูดถงึ และนำมาเป็นตัวช่วยในการขบั เคล่ือนและสรา้ งสรรค์สงั คมเพมิ่ มากยิง่ ขึ้น การสรา้ งศลิ ปะเพ่ือสะท้อนปัญหาในสงั คม เช่น การทำงานศลิ ปะท่ีเกีย่ วข้องกับโรคระบาด covid- 19 ในปัจจบุ นั ขึน้ มา เพื่อใหผ้ ู้ท่เี สพงานหรือพบเห็นงานศิลปะชนิ้ น้ี ได้ยำ้ เตือนสติ ตระหนักถึงการป้องกนั ตัวเอง การเฝ้าระวงั และการร่วมมอื กันข้ามผา่ นวกิ ฤตในคร้ังนีไ้ ปให้ได้ นี่เปน็ เพียงสว่ นหนึ่งทก่ี ลา่ วถงึ การนำศิลปะมาประยุกต์ใช้ใหเ้ ขา้ กบั สงั คมไทยในปจั จบุ ัน ยังมีประเดน็ อีกหลาย ๆ ประเดน็ ที่ยังไมถ่ ูกพูดถึงและยกมาตั้งคำถาม ตั้งข้อสงสัยและข้อสงั เกต การอ้างถงึ หรือการหา คำตอบอกี มากมาย อา้ งอิง “ความงดงามทางศิลปะ จรรโลงใหโ้ ลกเต็มไปดว้ ยความสขุ ” , หนงั สือพิมพ์แนวหนา้ โดย ปานมณี, (2554) วนั ท่ีสืบค้น 9 เมษายน 2564 [ออนไลน์] เขา้ ถึงไดจ้ าก https://www.thaihealth.or.th/ “ศลิ ปะกบั สังคมมนษุ ย์” , วรี ะยุทธ โพธิ์ศร,ี (2554) วันทสี่ บื คน้ 9 เมษายน 2564 [ออนไลน]์ เข้าถงึ ไดจ้ าก https://arnantana.wordpress.com/ 20
รางวลั ของศิลปะ ชญามนิ ทร์ เกตุเมฆ ศลิ ปะเปน็ ส่งิ ทช่ี ว่ ยพัฒนาความคดิ รเิ ร่มิ สรา้ งสรรค์ของมนษุ ย์ เปน็ การแสดงออกอย่างเสรี แตน่ ่า เสยี ดายที่ในสังคมปจั จบุ ันผู้คนส่วนหนึ่งมองวา่ ศิลปะมไี วเ้ พื่อแข่งขันเพ่ือรางวัล เพราะศลิ ปะมักจะมรี างวลั เปน็ ส่ิงลอ่ ใจ โดยเฉพาะครูศลิ ปะบางคนทีย่ งั ขาดความเข้าใจเกี่ยวกับปรัชญาศิลปะและมักจะเข้าใจผดิ คดิ ว่าการจะ พัฒนาเด็กต้องให้เดก็ แขง่ ขันกันเองโดยใช้รางวัลมาล่อ เพือ่ กระตนุ้ ให้เดก็ เข้าร่วมการแขง่ ขัน ครูบางคนวาด ภาพขนึ้ มาเป็นตัวอยา่ งเพือ่ ให้เดก็ ๆ ลอกตาม โดยไม่คำนึงถงึ ความคิดจรงิ ๆ ของเดก็ เลยดว้ ยซ้ำ เพียงเพื่อท่ี ชนะการแข่งขนั ด้วยค่านยิ มแบบนนี้ ีเ่ องที่ทำใหเ้ ด็ก ๆมองชีวิตเป็นการแข่งขัน แข่งขนั กบั คนอืน่ ยังไม่พอ ยงั ตอ้ งแขง่ ขนั กบั ตวั เองดว้ ย โดยทัว่ ไปรางวลั เปรียบเหมือนเปน็ ดาบสองคม มที ั้งคณุ และโทษ ขึ้นอยูก่ บั ผ้ใู ชว้ า่ จะมสี ติปญั ญารู้จัก เลือกใช้ใหเ้ กิดคุณประโยชนห์ รอื ไม่ ในส่วนของ ข้อดี คือ รางวัลอาจเป็นตัวกระตุ้นใหเ้ กดิ แรงผลักดัน เกิดการสร้างแรงจงู ใจ (Motivation) เพื่อชกั จงู ให้เกิดการรว่ มงาน เป็นตวั เร่งเรา้ ให้เกิดความกระตือรือร้น นอกจากนี้ รางวัลยังเป็น สัญลกั ษณข์ องการยอมรับและยกย่องในด้านฝีมอื และความสามารถ โดยเฉพาะคนบางคนทีม่ ปี มดอ้ ยต้องการ ลบล้างปมดอ้ ยเหลา่ นน้ั เพอ่ื สร้างปมเดน่ ให้กับตนเอง ซึ่งเป็นเร่อื งท่ีดีท่ีเพราะถือว่าเปน็ การพัฒนาตนเองไปใน ตวั เป็นการเพื่อทดแทนในส่ิงทต่ี วั เองยังไม่มีหรือสว่ นทข่ี าดไป ทำให้เกดิ ความภาคภูมิใจและมั้นใจในตนเอง มากขึน้ และในส่วนที่เปน็ ข้อเสยี คอื ทำให้คนเห็นแกต่ ัว คดิ ว่าตัวเองเหนอื กว่าผูอ้ ื่น ทำอะไรก็จะคำนงึ ถงึ แต่ ผลประโยชน์ จนอาจลืมไปว่าจดุ ประสงคท์ ี่แทจ้ ริงของการทำงานศิลปะคืออะไร สง่ ผลเสียให้แกศ่ ิลปะโดย สว่ นรวม นอกจากน้ยี งั เปน็ การแบ่งแยกคนท่ีรักศลิ ปะออกเป็น 2 ฝ่าย มีท้ังฝ่ายชนะ และฝ่ายแพ้ คนท่ชี นะก็ ร้สู ึกอยากจะชนะไปเรอ่ื ย ๆ คนท่ีแพ้ก็รูส้ กึ เกลยี ดศลิ ปะไปเลยกไ็ ด้ การใหร้ างวลั มอี ทิ ธิพลหรือก่อใหเ้ กดิ เปน็ แรงจูงใจท่ีจะกระตุ้นให้เด็ก ๆ ทุ่มเทกำลงั กายและเวลาปฏิบัติงานอย่างเตม็ กำลงั มขี วัญกำลงั ใจท่ีดี รกั และ หวงแหนผลงาน ถึงอยา่ งไรก็ตาม การทเ่ี ด็กมุ่งเน้นถงึ รางวัลมากจนเกินไปอาจเป็นการสร้างคา่ นิยมผิดๆทำให้ สังคมมองศิลปะเป็นเรื่องยากและไกลตัวมากขึน้ ไปอกี การใหร้ างวลั จงึ ต้องให้อยา่ งเหมาะสมและระมัดระวงั เพือ่ ให้มีคุณค่า มีความความหมายตอ่ ผู้ท่ีไดร้ ับ ไม่เช่นนั้นจะเกิดความแตกแยก เพราะมุ่งรางวลั มากกว่าการ ทำงานดว้ ยใจรกั ดังนนั้ การใหร้ างวลั จะต้องเช่ือมโยงใหเ้ กิดความตระหนักเหน็ คุณค่าของตนเองต่องานศิลปะ และทุ่มเทการทำงานอย่างเต็มที่ เดก็ บางคนท่ีได้รางวลั จะรู้สึกภาคภูมใิ จตัวเอง เมอ่ื ได้รางวลั มาครง้ั หน่งึ แลว้ ก็ อยากจะได้อกี เปน็ ครัง้ ทสี่ องและสามทำให้เกดิ ความคาดหวังและกดดันกับตัวเอง จงึ กลายเป็นวา่ การแขง่ ขัน 21
ไมไ่ ดท้ ำให้เด็กวาดภาพอยา่ งมีความสขุ อกี ต่อไป รางวัลจากฝมี ือของครศู ลิ ปะทีท่ ำลายความคิดจนิ ตนการ ความบรสิ ทุ ธ์ไร้เรยี งสาของเด็กเพื่อแลกกบั ชอื่ เสยี ง รางวลั โล่ ใบประกาศนยี บัตรเอามาติดประดบั ไวใ้ นตู้โชว์ ของโรงเรียน บรรยากาศของการแขง่ ขันในปจั จบุ นั ประกอบกับมีการใช้ทฤษฎกี ารสร้างแรงจูงใจกนั มากขนึ้ กเ็ รม่ิ มี การใหร้ างวลั เป็นการกระตนุ้ เพ่ือให้ผู้คนเกิดความสนใจ เขา้ ร่วมการแขง่ ขัน ซง่ึ ก็เปน็ การดีไมไ่ ดผ้ ดิ อะไร แต่ก็ ตอ้ งระวัง เพราะถา้ มากไปไม่มีความพอดี ก็อาจทำให้หลกั การเพย้ี นไปได้ เพราะหลายต่อหลายครั้งกลายเปน็ ว่าถา้ ไม่มีรางวลั เปน็ ตวั จูงใจก็จะไม่คอ่ ยให้ความสำคญั กบั การศิลปะหรอื การใชค้ วามคิดสร้างสรรค์ จนลืมไปว่า บางจุดประสงค์ทแ่ี ท้จริงของการแขง่ ขนั นั้นเพ่ืออะไร นเ่ี ปน็ บทความที่บอกใหร้ วู้ ่ารางวัลยอ่ มเปน็ ดาบสองคมมที ้ังขอ้ ดแี ละข้อเสยี ขึ้นอยกู่ ับผู้รับและผูใ้ หพ้ ึง ใช้สติปญั ญาคิดใคร่ครวญใหถ้ ่ีถว้ น อยา่ หลงระเริง งมงายยึดติดกับสงิ่ ของท่ีอยู่นอกกาย การแขง่ ขันน้ันจดั ข้ึนไม่ ผิดอะไรแต่จดุ ประสงคท์ ี่แทจ้ รงิ ของการแข่งขนั คอื อะไร ไม่ใช่การพัฒนาตนเองหรอกหรือ แข่งขันกับคนอนื่ ก็ ยังมตี วั เองเป็นเพ่ือน แตแ่ ข่งขันกบั ตนเองแล้วจะมีใครเปน็ เพื่อนอกี อนั รางวัลใด ๆ ในโลกนัน้ ล้วนสร้างข้นึ เพื่อ จงู ใจเป็นแรงกระตนุ้ ในการสร้างสรรค์ เปน็ ผลพลอยไดเ้ ท่านั้น แต่จุดหมายที่แทจ้ ริง คือการพัฒนาความคิด จินตนาการอนั ไร้ขอบเขตจำกัด (Infinity) น่ันเอง อา้ งอิง “ศิลปะเด็ก : ดอกไม้ในกำมือของผใู้ หญ่”โดยรองศาตราจารย์เลิศ อานนั ทนะ ,วันทส่ี ืบคน้ 9 เมษายน 2564 [ออนไลน]์ เขา้ ถงึ ได้จาก https://www.thaiartstudio.com 22
ศิลปะ...กระจกสะท้อนความจรงิ ฐิตมิ า ดวงสุวรรณ์ ศลิ ปะเกิดข้ึนมาเมื่อใด อาจจะไม่มีใครหาคำตอบและท่ีมาของจดุ กำเนดิ ของศิลปะได้แน่ชัด แตส่ ่งิ ที่ผกู ตดิ มาด้วยกันกับศลิ ปะอย่างหนึ่งทเี่ ราเห็นได้อย่างชดั เจนนั้นกค็ อื สังคม ถือไดว้ า่ ศิลปะและสังคมเปน็ ส่วนหนึ่ง ของกันและมาโดยตลอดยากทจี่ ะแยกออกจากกนั ได้ หากจะยอ้ นกลับไปหาคำตอบถึงท่มี าของศลิ ปะ ก็คงต้อง หาคำตอบของจดุ เรมิ่ ต้นของคำวา่ สงั คมก่อน แตก่ ระนน้ั เกิดขึน้ เม่ือใด อาจไมส่ ำคัญมากนกั แต่ประเดน็ ทเ่ี ปน็ จดุ นา่ สนใจคือ ศิลปะกบั สงั คมเกิดขน้ึ เพราะอะไร? ภายใตว้ ิถชี ีวิตผู้คนในสงั คมปัจจบุ ันเราตา่ งพบเจอกบั ปัญหามากมาย ไมว่ ่าจะนอ้ ยหรือใหญ่ ไมว่ า่ จะ เปน็ คณุ ภาพชวี ติ ความเหลื่อมลำ้ ทางสงั คม,สภาพแวดลอ้ มท่เี ส่ือมโทรม, ปัญหาขยะพลาสติก, โรครา้ ยแปลก ใหม่ ปญั หาอาชญากรรม, ปญั หาทจุ รติ คอรร์ ปั ชั่น ปญั หาดา้ นการเมือง,หรอื แม้แต่มิตรภาพของผู้คนทีจ่ ืดชืดแห้ง แลง้ เป็นตน้ ปญั หาเหลา่ นี้ตา่ งถกู นำมาเป็นประเด็นในการสรา้ งสรรค์ผลงานศลิ ปะโดยใช้ศลิ ปะเปน็ เคร่ืองมือ เพือ่ สะท้อนสงั คม ดังนน้ั เราจึงมักจะสงั เกตเหน็ ไดว้ ่า “ศิลปะทีไ่ ด้รับอิทธพิ ลจากสภาพความเป็นจริงของสงั คม ที่ศลิ ปินไดส้ ัมผัสดว้ ยตวั เอง ซ่ึงศิลปินได้นำเอาความรสู้ ึกเหล่านน้ั มานำเสนอ และถา่ ยทอดอารมณ์ความรสู้ กึ โดยผ่านผลงานศิลปะในรปู แบบตา่ ง ๆ และสอดแทรกเนือ้ หาแนวความคดิ ท่สี ะท้อนให้เห็นถงึ สภาพ หรือเหตุ ความเป็นจรงิ ทีเ่ กิดขึ้นในสงั คม และปลกู จิตสำนึกเพ่ือกระตุน้ เตือนให้ผ้คู นไดต้ ระหนกั ถึงคุณค่าของคุณธรรม ความดงี าม ความถูกตอ้ ง ซง่ึ เปน็ สิ่งทีข่ าดไมไ่ ด้ และมีความจำเป็นตอ่ สงั คม” (วิละสัก จนั ทลิ าด, 2562) ซึ่งแต่ ละศลิ ปินก็มีแนวทางในการส่ือสารปญั หาออกมาในรูปแบบที่หลากหลายและแตกต่างกัน แตเ่ ม่ือมคี วามจรงิ ท่ี ปรากฏข้ึนจากการสะทอ้ นนั้นก็ยอ้ มมที งั้ ผู้ที่รบั ความจริงได้และรบั ความจรงิ ไม่ได้ งานศิลปะบางอย่างท่ีมเี นือ้ หา กระทบกับใครคนหน่ึงหรือเป็นการเรยี กร้อง การตีแผ่ สะท้อนออกมาเปน็ ผลงานศิลปะ อาจไมไ่ ดเ้ ปน็ อสิ ระเสรี ในการแสดงออกต่อไป งานศิลปะบางอย่างท่ีมผี ู้คนกลุม่ หน่ึงไม่ยอมรับ ศลิ ปะจงึ ถูกกดทับภายใต้กฎเกณฑท์ ี่มี คนสร้างขน้ึ มา “เราทำงานศิลปะเหมือนลมหายใจ เราทำประจำ ทำทุกวัน ทำตลอดเวลา แต่แลว้ วนั หนึ่ง มคี น สั่งห้ามเราทำงานศลิ ปะ มันเหมอื นมีคนอดุ จมกู ไม่ให้เราหายใจ” (มือบอน, 2563) ศิลปะเปน็ อาวธุ ทางปญั ญาอย่างหน่งึ ท่ีทำใหเ้ ราเหน็ ภาพรวมของความเป็นจรงิ และหากนำมาใช้ให้เกิด ประโยชน์ เราจะเหน็ ไดว้ า่ ประโยชนข์ องศิลปะนอกจากจะเปน็ เหมอื นกระจกสะท้อนภาพออกมาให้เราได้ ตระหนกั เหน็ ถึงปญั หาแลว้ ส่งิ ทสี่ ำคัญคือมนุษยจ์ ะยอดรบั มองเห็นปัญหาและนำไปแกไ้ ขปญั หาทเ่ี กดิ ข้นึ ได้ ศิลปะคืออาวุธทางปญั ญาเปน็ สง่ิ ทท่ี ำให้เราสามารถตระหนักคดิ และมองเหน็ ถงึ ปญั หาทเ่ี กดิ ขึ้นจรงิ ได้ “ศลิ ปะมปี ระโยชนแ์ ละมีหลายฟังก์ชนั คือไม่ได้ทำได้แคเ่ สนอความงามเท่านัน้ แตส่ ามารถใหป้ ัญญา คน หรือทำให้คนรนุ่ ใหม่ได้มองเหน็ ปญั หาและเข้าใจสิง่ ที่เกิดขนึ้ ในสังคม ดังน้นั ศิลปนิ หรือศิลปะจึงคล้ายกับ กระจกที่ส่องสะท้อนภาพของสงั คม” (สาธติ า เจษฎาภัทรกุล, 2563) ปัญหาที่สะทอ้ นออกมามีท้ังคนทีม่ องเห็น สามารถยอมรับ เปดิ ใจกับสิง่ ทส่ี งั คมกำลังเผชิญอยู่ และตระหนักเพอ่ื แก้ไขปัญหาเหลา่ น้ันใหด้ ขี ้ึน และผู้ที่ไม่ 23
มองเห็น หรืออาจจะมองเหน็ อยู่ แตไ่ มไ่ ด้ใสใ่ จและให้ความสำคญั และสุดท้ายอาจมผี ู้ที่ไม่ไดเ้ ห็นดว้ ยและ ยอมรบั กบั ปญั หาท่สี ะท้อนออกมา ศลิ ปะท่สี ะทอ้ นออกมาอาจถกู วพิ ากษ์วจิ ารณ์ ถกู ทำลายใหส้ ้นิ แม้กระทง้ั ผลงานศลิ ปะท่เี ปน็ ทรพั ย์สนิ ส่วนบุคคลกอ็ าจถูกขโมย หรอื ถูกนำมดั ใส่ถงุ ดำไปท้ิงจากกลุ่มคนที่ไมย่ อมรบั ในการ แสดงออกของศลิ ปะและไมไ่ ด้มองเหน็ คุณคา่ เคารพในผลงานของศลิ ปิน กระจกบานนน้ั ทศี่ ิลปนิ สร้างข้ึนมา อาจไมไ่ ด้มีความหมายและใช้ไม่ได้ผลกับผู้คนบางกลมุ่ แลว้ คุณมองเห็นภาพสงั คมปัจจบุ ันในกระจกเป็นอย่างไร ....? อ้างอิง “ศลิ ปะล้อเลยี นสงั คม” , วลิ ะสกั จันทลิ าด, (2562) วันทส่ี ืบคน้ 9 เมษายน 2564 [ออนไลน]์ เขา้ ถึงไดจ้ าก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jfa/article/view/163578 “ศลิ ปนิ กบั ศิลปะคือกระจกสะท้อนภาพของสงั คม” – มือบอน , สาธิตา เจษฎาภทั รกลุ , (2563) วันที่สบื ค้น 9 เมษายน 2564 [ออนไลน]์ เข้าถงึ ได้จาก https://www.the101.world/mue-bon-interview/ 24
ศิลปะเชอ่ื งโยงกับสังคมอย่างไร ไกล หรอื ใกลต้ วั อรัญญา ผวิ ทอง ศิลปะกับสังคมนั้น อยู่คู่กันมาช้านานทุกยุคทุกสมัยทุกหนทุกแห่ง รอบตัวเรา ตั้งแต่ผนังโบสถที่ สวยงาม ไปจนถึงกำแพงงวัด หรือศิลปะแขนงอื่นๆ ที่คอยขัดเกลาจิตใจมนษุ ย์ และสร้างความจรรโลงใจให้แก่ โลกที่โหดร้ายใบน้ี ไม่ว่าจะเป็นการใช้รูปวาดบันทึกเรื่องราว จารึกบุคคล ในประเทศฝั่งตะวันออกนั้น ให้ ความสำคญั กับศิลปะมากแตม่ ีหลายคนบอกว่างานศลิ ปะเขา้ ใจยาก เปน็ เรื่องไกลตัว หลายคนกลวั ศิลปะ หลาย คนไม่เคยเข้าหอศิลป์ และอีกหลายคนอาจลืมไปว่าชวี ติ ของมนุษย์ล้วนมคี วามสุนทรียภาพทีเ่ กิดจากศิลปะเขา้ มาเกี่ยวข้องเสมอ จงึ ทำให้สงั คมไทยในปัจจุบันมแี ต่ศลิ ปนิ ทส่ี ร้างงาน แตก่ ลบั มคี นดูหรือเสพงานศิลปะน้อยลง ทุกที คุณชลิดา เอื้อบำรุงจิต ผู้อำนวยการหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน) ได้กล่าวว่าศิลปะในประเทศเรา นั้นถูกผลักออกไปอยู่ข้างๆเสมอ เหมือนถูกมองว่าเป็นสิ่งที่ฟุ่มเฟือยของชีวิต แต่จริงๆแล้ว ศิลปะเป็นสิ่งที่เปน็ พืน้ ฐานของทุกอย่าง ไม่จำเปน็ ท่ีจะต้องมาแยกมองวา่ จำเปน็ หรือไม่ เพราะจำเป็นอยู่แล้ว และก็สามารถอยู่กับ ทุกคนได้ ไม่จำเปน็ ตอ้ งมองว่าตวั เองเปน็ คนติสท์ (artist) หรอื วา่ เด็กศิลปห์ รือเปล่า แตจ่ ะทำยังไงให้พื้นท่ีของ ศิลปะเป็นพื้นที่ทีม่ คี วามสำคัญ “ ถ้ามองในมุมของ หน่วยงานภาครฐั ก็จะต้องรับใช้ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี แต่ ในยุทธศาสตรช์ าติ 20 ปี ศลิ ปวัฒนธรรมแทบจะไมม่ ีที่อยเู่ ลย การเชือ่ มโยงจึงเปน็ เรือ่ งทีย่ าก เพราะ บางทีส่ิงที่ ไมไ่ ด้อยใู่ นนโยบายกจ็ ะยากท่ีจะขบั เคลือ่ น จากเหตุการณ์ความไม่ชัดเจนบีบรัดด้วยข้อจำกัดเวลา และเส้นตายขีดไว้ที่เดือนสิงหาคม 2564 ที่กรุงเทพมหานคร ต้องตัดสินใจว่า จะให้มูลนิธิหอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร บริหารจัดการ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร หรือ หอศิลป์กรุงเทพฯ ต่อหรือไม่ ทำให้หลายคนที่ติดตามข่าวเร่ิม วิตกกังวล ถึงอนาคตชีพจรของหอศิลป์ใจกลางเมืองแห่งนี้ว่าจะเดินต่อ หรือถอยหลัง หรือจะเปลี่ยนถ่ายไปสู่ พื้นที่ศิลปะในรูปแบบใดต่อจากนี้ไป ทั้งนี้อนาคตของ หอศิลป์กรุงเทพฯ ไม่ได้มีความสำคัญแค่ว่าใครจะเข้ามา นั่งแท่นบริหาร แต่อนาคตของ หอศิลป์กรุงเทพฯ ยังเป็นคำตอบสำคัญของการจัดการพื้นที่ศิลปะในเมืองไทย รวมทงั้ ยงั เปน็ บทพิสจู น์ว่า ศิลปะนัน้ ยนื ยาวกว่าชวี ิตดังวลีคลาสสิกจริงหรือไม่ (ลักขณา คณุ าวิชยานนท์.2564) และเหตุการณ์ในครั้งนี้อาจกำลังตอกย้ำว่าการทำให้คนสามารถเข้าถึง เชื่อมโยง และบูรณาการศิลปะเข้ากับ ศาสตร์อื่น ๆ หรือการทำให้คนเข้าใจและเห็นคุณค่าของศิลปะ อาจเป็นสิ่งสำคญั ท่ีสุดในการสรา้ งอนาคต และ ต่อลมหายใจให้กับวงการศิลปะไทยให้คงอยู่ต่อไป การสร้างคนดูงานศิลปะ จึงเป็นสิ่งหนึ่งที่ควรทำให้เกิดขึ้น ซึ่งหอศิลป์เป็นพื้นที่ปลอดภัยในทางสุนทรียภาพ ของคนในสังคม หมายความว่าการมชี ีวิตอยู่ในประเทศ หรือ เมืองเมืองหนึ่ง มีหลายมิติ เช่นมิติในการดำรงอยู่ได้ในเชิงเหตุผลและเหตุผล อีกอย่างหนึ่งคือเหตุผลทาง ศลี ธรรมและอันทีส่ าม เปน็ เหตผุ ลทสี่ ำคัญกับการมีชวี ติ ของมนษุ ย์ คอื เหตุผลในเชงิ สุนทรียศาสตร์ สุนทรียภาพ ซึ่งไม่ใช่เหตุผลในเรื่องของผิดหรือถูกแต่มันเป็นเรื่องของรถสนิยม เป็นเหตุผลว่าเราชอบอะไร ไม่ชอบอะไร 25
พ้ืนที่แบบนีเ้ ปน็ พนื้ ที่ที่ไม่ไดถ้ ูกใช้บ่อยในเมืองของเรา ประเทศของเรานัก หอศลิ ปเ์ ป็นพืน้ ท่ีท่ีปลอดภัยในไม่กี่ท่ี ที่ทกุ คนมีสิทธิท์ จี่ ะเขา้ มาดงู าน สอ่ื สาร แลกเปลย่ี นความคดิ ปญั หาหลกั ท่ที ำให้คนในสังคมมองว่า ศิลปะเปน็ เร่อื งไกลตวั อาจเปน็ เพราะเข้าใจแคว่ า่ ศลิ ปะคือการ แสดงออกซงึ่ ความคิด ความรู้สึกของคนทำ และเป็นความสวยงาม แต่สิง่ ทเี่ พมิ่ ข้ึนมาทห่ี ลายคนอาจจะมองข้าม คือส่วนที่สามส่วนตัวมองว่าศิลปะเป็นสิ่งที่เชื่อม การเป็นสื่อเชื่อมความเข้าใจ ระหว่างกัน ทั้งในระดับสังคม ระดับเพื่อนบ้านหรือไม่ก็ทั้งในระดับประเทศ ศิลปะนั้นมีความสำคัญในตัวของมันอยู่แล้วแต่ แต่ความรู้ความ เข้าใจเหล่านี้มันยังไม่ส่งถึง ยังไปไม่ถึงคนทั่วๆไป คนทั่วไปยังเข้าใจอยู่ว่า คนที่ทำงานศิลปะหรือชมงานศิลปะ เป็นคนที่มีความติสท์ซึ่งมองว่ามันไม่ควรจะมองแบบนี้จะต้องเข้าใจว่าศิลปะเป็นสิ่งที่ทุก คนสามารถคิดได้ สรา้ งสรรคไ์ ด้ ทำได้เหมือนกันไมใ่ ช่แคต่ ัวศิลปนิ สง่ิ ท่ีจะต้องทำก็คือ จะต้องทำให้ทุกคนรับรู้และเข้าใจว่าศิลปะ เป็นเรื่องของทุกคน ทุกคนสามารถเข้าถึงได้ ทุกคนสามารถเป็นได้ทั้งสามบทบาทคือ การเป็นศิลปินผู้ สร้างสรรค์งาน บทบาทท่ีเป็นผ้ชู มผลงานรบั รู้ผลงาน และผู้อำนวยกระบวนการระหว่างตรงกลาง ศลิ ปะควรถูก มองว่าเปน็ สิง่ ท่เี ข้าถงึ ไดจ้ ับตอ้ งได้ สิ่งที่เป็นปัญหาอีกคือ อาจเป็นเพราะการเรียนการศึกษาของเราด้วย ตั้งแต่ประถมจนถึงมัธยม เรา สอนศิลปะใหเ้ ด็กวาดรูป เตน้ นาฏศิลป์ไทย หรอื ตา่ ง ๆ นานา แต่เราไม่เคยสอนให้เด็กเน้น art appreciation เราเลย ไม่สามารถเช่ือมโยงศิลปะเขา้ กับวิชาอื่น ๆ ได้ พอพื้นฐานเราเป็นแบบนี้ หอศิลป์จึงเป็นตัวกลางสำคัญ ที่ทำให้คนทั่วไปเห็นว่ามีกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับอย่างอื่นด้วย เพื่อให้คนที่มองเห็นสามารถได้ใช้สมองทั้งสอง ดา้ น หอศิลป์ก็เปรียบได้กบั ห้องสมุดแห่งประสบการณ์ ทไ่ี มไ่ ด้เกิดจากการอา่ นเพยี งอย่างเดียว แต่อย่างไรก็ตามคนที่ใกล้ชิดกับเยาวชน ที่จะเป็นอนาคตของชาติ ที่จะเติบโตไปพัฒนาประเทศชาติ ต่อไป กค็ อื ตัวของครูศลิ ปะเอง ฉะนน้ั ครูจะตอ้ งทำให้การสอนศลิ ปะ หรอื ตัวศลิ ปะเปน็ สิง่ ท่ถี ูกบอกเล่า ส่ือสาร ให้กับ สังคมให้เหน็ วา่ ศิลปะเป็นเรื่องใกล้ตวั มันไม่ใช่เรื่องของศลิ ปนิ หรอื ไม่ใชแ่ คเ่ รอื่ งของคนรกั ศิลปะ เท่านั้น มันเป็นเรื่องของทุกคน และบทบาทหน้าที่ระหว่างผู้เสพผู้ทำหรือผู้อำนวยการระหว่างตรงกลาง สิ่งเหล่าน้ี สามารถสลับหน้าที่กันได้หมด เมื่อไหร่ก็ได้ ภาพจากต่างประเทศที่มองเข้ามาจริง ๆ แล้วศิลปะเป็นเหมือนกับ ภูมิทัศน์ทางสังคม เปน็ ภาพท่ีทำให้ขา้ งนอกไดม้ องเห็นว่า ปจั จุบนั น้หี รือ ณ วนั น้ี สังคมของเราพูดถึงเร่ืองอะไร และส่ิงที่สำคญั คอื เปน็ สงิ่ ท่เี ชื่อมโยงตอ่ ระหว่างคน ในสงั คม คนในประเทศและระหวา่ งประเทศ อา้ งอิง bacc channel. (8 ธันวาคม 2563). TALK: เสวนา “หวัง/สิน้ หวังของพ้นื ทศี่ ลิ ปะในประเทศไทย\" (2020). [Video file]. สืบคน้ จาก https://www.youtube.com/watch?v=AEwSIEJKHXA. ลกั ขณา คุณาวิชยานนท์. 2564 .ศิลปะ (อาจไม่) ยนื ยาว เช็คชพี จร หอศิลป์กรงุ เทพฯ กับปญั หาพน้ื ที่ศิลปะใน เมอื งไทย. สบื คน้ จาก : https://www.sarakadeelite.com/arts_and_culture/save-bacc/. 26
สารทส่ี ่งไปไมถ่ ึงเปรียบได้เหมือนกับอตั ลักษณท์ ย่ี ังไม่ได้แสดงออก เสาวภาคย์ เพ็ชรหงษ์ บนโลกนที้ มี่ ีผ้คู นมากมาย คนเราล้วนมีความความแตกตา่ งและหลากหลาย ท้งั ด้านรูปลกั ษณ์ ลกั ษณะ อุปนิสยั รวมถงึ แหล่งท่ีเราอยู่อาศัยและเติบโตมา ซ่ึงเราเรยี กมันวา่ สงั คม มันคอื การอยรู่ วมกนั ของมนษุ ยโ์ ดยมี ลักษณะความสมั พนั ธ์ซง่ึ กนั และกนั หลายรูปแบบ ซง่ึ ปฏเิ สธไมไ่ ด้ว่าสงั คมคือสว่ นหน่งึ ท่หี ลอ่ หลอมให้มนษุ ณ์ เป็นไปในรูปแบบใด โดยเฉพาะในดา้ นพฤติกรรมและคา่ นิยม แลว้ เหตุใดมนุษย์จึงต้องตอบสนองต่อค่านิยมใน สังคมนัน้ ด้วย อาจจะเพราะมนุษย์ต้องการ การเป็นท่ยี อมรับเพราะมนั คือเงื่อนไขหน่งึ ของสงั คม การที่มผี คู้ น มากมายหลากหลายท้งั เหมอื นหรือแตกต่างกนั สังคมคมจงึ เป็นแนวทางปฏบิ ตั ิใหม้ นุษยต์ ้องอาศยั อยูร่ ่วมกนั โดยไม่แปลกแยก น่ีจงึ เปน็ เหตผุ ลว่าทำไมเราถึงต้องการการยอมรับและกลัวท่จี ะแตกต่างจากผคู้ นสว่ นมากใน สังคม แตก่ ป็ ฏิเสธไม่ไดว้ ่ายังมผี ้คู นอีกจำนวนหน่งึ ท่ีเลอื กอาศัยอยู่ในสังคมโดยเดนิ บนเสน้ ทางของความ แตกตา่ ง ซึ่งความแตกต่างท่ีว่านนั้ คอื การแสดงอตั ลกั ษณ์ความเปน็ ตวั ตนของตนเองออกมาถึงความหลากหลาย ของมนุษย์ แต่ความหลากหลายนนั้ กบั โดนสงั คมหล่อหลอมใหจ้ ำเปน็ ต้องทำหน้าทีห่ รือรับบทบาทตา่ ง ๆ ในสง่ิ ที่คนในสงั คมสมมติขึ้นมา หากกลา่ วในทางที่ดแี นน่ อนว่ามันช่วยจดั ระเบียบใหค้ นในสังคมมคี วามสงบเรยี บร้อย เดินไปในทิศทางเดยี วกันในการอยรู่ ่วมกนั แต่ถ้าเป็นในด้านของจติ ใจ สำหรับคนทย่ี อมรับมันไดแ้ น่นอนว่านนั่ ไมใ่ ช่ปญั หา แต่คนท่ปี ฏบิ ตั ติ นตามกรอบของสังคมแล้วแตย่ ังรสู้ ึกว่า เหตุใดจติ ใจความรู้สึกในการเปน็ ตวั ของ ตวั เองในการทจ่ี ะแสดงอัตลักษณ์ของตนเองออกมากลบั ต้องโดนกดทบั ตามไปดว้ ย การแสดงออกจึงเปน็ สิง่ สำคัญในการเรยี กรอ้ งส่ิงเหลา่ น้ี เมอื่ เรานึกถึงการแสดงออกหรือการเรยี กร้องในเชิงสัญลกั ษณ์ คำวา่ “ศลิ ปะ” คอื คำทต่ี อบโจทยไ์ ดด้ ีทีส่ ุด เพราะการสง่ เสียงไมใ่ ชท่ างทด่ี ีที่สดุ เสมอไปในการสง่ สาร เสียงของคนเราเพียงลำพงั มนั ไม่สามารถดังพอท่ที ำใหผ้ ้คู นได้ยนิ และจดจำมนั ไดน้ าน การรับร้ขู องผคู้ นในสงั คม จงึ จำเป็นตอ้ งมีเครอื่ งมือ มอื ในการส่งเสยี งหรือสารน้นั ออกไปให้ผูค้ นในสงั คมไดร้ บั รู้ แตใ่ ช่ว่าศลิ ปะจะเปน็ เคร่ืองมือทีม่ ีประสิทธิภาพและ ไดผ้ ลมากเพียงพอ หากผคู้ นในสงั คมยังไม่รูจ้ กั และไมค่ ิดทีจ่ ะเรยี นรู้เคร่ืองมือนใ้ี ห้ดีพอวา่ ศิลปะมหี นา้ ท่อี ย่างไร ไมร่ วู้ ่าศลิ ปะคอื อะไร และมีประโยชน์อย่างไร สารที่อยบู่ นงานศลิ ปะก็ย่อมไร้ค่าและไร้ความหมาย ในทาง กลับกนั คุณค่าของมนั กลับไปอยู่ท่เี ปลือกนอกหรือรูปลักษณ์ของงานศิลปะแทน ซึ่งไมผ่ ดิ ท่ีจะคิดหรอื ให้คา่ มัน แบบนั้น แตต่ ิดทวี่ ่าแล้ววิชาศิลปะใหอ้ ะไรกับคนในสังคมไปบ้าง ส่งิ ทีไ่ ดเ้ รียนร้ใู นการเรียนวชิ าศลิ ปะคอื ต้องวาด ภาพให้สวยเพียงอยา่ งเดยี วหรอื ไม่ หากจะวาดภาพเพื่อสอ่ื ความหมายเพอื่ เรยี กรอ้ งการแสดงออกในความ หลากหลายของมนษุ ย์ให้เกิดการยอมรับและเท่าเทยี มแต่มันดันไปขดั กบั คา่ นยิ มของสงั คม เราจะยงั เรยี กมนั วา่ เป็นศลิ ปะได้หรือไม่ ซง่ึ ขา้ พเจ้าเชื่อว่าหลายคนอาจมคี ำตอบอยใู่ นใจเปน็ ของตัวเองแลว้ 27
ดงั น้ันคนทเี่ ปน็ ครูศลิ ปะควรส่งสารหรือแสดงอตั ลกั ษณ์ของความเปน็ ครูศิลปะที่ควรจะเป็นนนั้ ใหถ้ งึ ผู้เรยี นหรือผ้คู นในสงั คม คือการทำให้คนในสังคมได้รู้จกั ได้เรยี นรแู้ ละตระหนักถงึ คุณค่าจรงิ ๆ ของคำวา่ ศิลปะ เพ่อื ให้มันเป็นเคร่ืองมือท่ีมีคุณคา่ และมปี ระสิทธิภาพในการเรียกร้องหรือสง่ เสรมิ ใหส้ ังคมดีขน้ึ สงั คมท่ีวา่ นค้ี ือ ผู้คน ทย่ี งั ต้องการการยอมรับในความแตกต่างและต้องการมชี ีวติ ทดี่ ขี ้ึน ถึงแมว้ า่ สารท่วี ่าจะเปน็ งานศิลปะ ประเภทจติ กรรม หรือภาพวาดทม่ี ันอาจจะไม่มเี สียง แตผ่ ู้คนสามารถไดย้ ินและรบั รู้ได้ หากครศู ลิ ปะได้ทำ หนา้ ท่ีในการสอนใหผ้ ูค้ นได้เรียนรู้และเขา้ ใจในความหมายของคำวา่ ศิลปะที่แท้จรงิ แล้วผ้คู นจะไมร่ สู้ ึกถึงคำว่า ศลิ ปะเปน็ เรื่องท่ีไรส้ าระหรือไมจ่ ำเป็น กลบั กนั มนั จะเปน็ คำท่รี สู้ ึกว่าวิเศษมากสำหรบั คนทรี่ กั และศรทั ธาใน ศิลปะ 28
29
ความเปน็ ตวั ตนกับศลิ ปะในโรงเรียน พนดิ า ภูท่ อง ศิลปะนบั วา่ เป็นศาสตร์ที่มปี ระวัติศาสตรย์ าวนาน ต้งั แต่มีมนุษยเ์ กดิ ขึ้นในอดีตจนถงึ ปัจจุบัน มี เร่ืองราวศลิ ปะหรือสิง่ ตา่ ง ๆ เกิดขนึ้ มากมาย ดังน้ันจงึ มศี ลิ ปะแตกแขนงมากมายหลายสาขา เมอ่ื ศิลปะได้ถูก นำมาบรรจุใหอ้ ยู่ในหลกั สูตรการศึกษาแล้วนั่น จึงเกดิ ปญั หาในเร่อื งขอบเขตของเนื้อหา การศึกษาไทยจึงนำเอา ทฤษฎีพหุศิลปศกึ ษาเชงิ แบบแผนมาปรบั ใช้ในหลกั สูตรรายวชิ าศิลปะ ได้แก่ ประวตั ศิ าสตร์ศิลป์ (Art History) สุนทรยี ศาสตร์ (Aesthetics) ศิลปวจิ ารณ์ (Art critisism) และศิลปะสร้างสรรค์ (Art Production) โดย จดุ มุ่งหมายคือมุ่งเนน้ การสร้างความสมดลุ ในการรบั รู้ ความคิดสรา้ งสรรค์ และสนุ ทรยี ศาสตร์ เนื้อหาท้ัง 4 แกนนีม้ ีปจั จัยทเ่ี ก่ียวข้องเชน่ คา่ นิยม สังคม ระบบการศกึ ษา เปน็ ตน้ และเมื่อใดกต็ ามที่ปัจจัยเหล่านเี้ ข้ามามี อิทธพิ ลเหนือการรบั รู้ ความสรา้ งสรรค์ และสุนทรยี ศาสตร์ หรืออย่างใดอย่างหนึง่ ก็จะขาดความสมดุลทาง ศิลปะ โดยเริม่ ตัง้ แตร่ ะบบการศึกษาท่เี ข้ามามบี ทบาทสำคัญในดา้ นเน้ือหารายวิชาศลิ ปะ ถึงแม้จะนำเอา ทฤษฎพี หุศลิ ปศกึ ษาเชงิ แบบแผนมาปรบั ใช้กบั หลกั สูตรแกนกลาง หลักสตู รนั้นมเี น้ือหาที่มากเกินพอดี เม่ือ สถานศกึ ษานำมาปรบั ใช้ บวกกบั จำนวนชว่ั โมงเรยี นศิลปะที่นอ้ ยเกินไปเมื่อเทยี บกับเน้อื หาที่มี สง่ ผลให้เป็น ภาระทง้ั ต่อตัวผู้สอนและผ้เู รียน ผสู้ อนรบั บทหนกั ในการสอนแต่ละครง้ั และผเู้ รียนเกดิ การเรยี นรไู้ ด้ไม่ตรงตาม จุดมุ่งหมายทตี่ ้ังไว้ เน่ืองจากเนื้อหาเยอะเกินกว่าทผ่ี ู้เรยี นจะสามารถเรยี นรู้ได้ภายในชว่ั โมงเรียน แม้การปรับกิจกรรมการเรียนเรียนรใู้ หเ้ หมาะสมกบั เวลา และเหมาะสมกบั ผู้เรยี นนนั้ จะเป็นหนา้ ท่ขี อง ผู้สอนแลว้ แตห่ ากหลกั สตู รมีการตัดเนอื้ หาศิลปะบางส่วนออกไป หรือลดความซำ้ ซ้อนของเนอื้ หาในแต่ละ ระดับชั้นลง หรือแม้แต่สถานศึกษาเองก็ควรจะเพิม่ จำนวนชวั่ โมงเรยี นศิลปะต่อสปั ดาห์ เพอ่ื ช่วยให้ผูส้ อนมีเวลา ทมุ่ เทกับการจดั กิจกรรมการเรียนการสอนในแต่ละครั้งมากยง่ิ ขึ้น เน่อื งจากศลิ ปะจำเปน็ ตอ้ งจัดกิจกรรมที่ให้ ผ้เู รยี นสร้างสรรค์ผลงานและเกิดความสนุ ทรีไปกับการเรียนศิลปะ นอกจากระบบการศึกษาทีเ่ ป็นปัจจัยท่สี ง่ ผลต่อเนื้อหาทก่ี ล่าวไวข้ ้างตน้ แลว้ ยังมใี นด้านสงั คมท่ีมี มมุ มองความคดิ หรือค่านยิ มทวี่ ่าศลิ ปะนั้นประยกุ ต์ใช้ในชวี ติ จริงได้ยาก อย่างไรกต็ ามส่วนใหญ่จะนึกถึงการ ประกอบอาชีพท่ีมีความเกี่ยวขอ้ งกบั ศิลปะโดยตรงเช่น นักออกแบบ สถาปนิก จิตรกร เป็นต้น แตใ่ นความเป็น จริงเราทกุ คนกส็ ามารถเป็นผู้สร้างและเปน็ ผูช้ มงานศลิ ปะได้ เชน่ การเลือกสีส่ิงของ การปลูกตน้ ไม้ หรือแม้แต่ การทำอาหารที่มีการจัดตกแต่งจาน เป็นตน้ ดังนน้ั สงิ่ ท่คี วรเพ่มิ เติม หรือสอดแทรกเข้าไปดา้ นเนอื้ หา โดย ผูส้ อนต้องปลูกฝังใหผ้ ูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้ เช่อื มโยง และเห็นคุณค่าของการนำศลิ ปะไปประยกุ ตใ์ ช้ใน ชวี ติ ประจำวัน กจิ กรรมหรือส่ิงใดท่ที ำให้ผู้คนเกิดสนุ ทรียะภาพ ถือว่าเปน็ ศลิ ปะท้งั สิน้ เพราะศลิ ปะน้นั อยู่ รอบตัวเรา 30
อา้ งอิง ณัฐนันท์ อนิ สง. (2562). พหุศลิ ปศกึ ษากับการศึกษาปฐมวัย. สบื คน้ เมอ่ื 9 เม.ย. 2564 จาก https://www.gotoknow.org/posts/658592 วิกพี เี ดีย สารานุกรมเสร.ี (2561). ศลิ ปะ. สืบค้นเม่ือ 9 เม.ย. 2564 จาก https://th.wikipedia.org 31
วชิ าศลิ ปะกับการถูกละเลย ธีรจ์ ฑุ า คดิ ฉลาด ศลิ ปะ ความธรรมดาท่แี สนจะพิเศษรอบตัวเรา ศลิ ปะแฝงตัวและรายล้อมอยู่รอบๆตัวเรา ทกุ ที่ที่เราไป ทุกทท่ี ี่เราจร ล้วนมศี ลิ ปะท้ังสิน้ เราเรียนร้อู ะไรเกย่ี วกบั ศิลปะในโรงเรียนบา้ ง เราวาดรปู อยา่ งเดียวอย่างนัน้ หรอื ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 ระบุ ความสำคญั ของหลักสูตรไว้อยาง ชัดเจนว่ากลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะเปน็ กลุ่มสาระท่ีช่วยพัฒนาใหผ้ เู้ รียนมี ความคิดสรางสรรคมจี นิ ตนาการทาง ศลิ ปะ ชืน่ ชมความงาม มีสนุ ทรียภาพ ความมีคุณคา่ ซึ่งมีผลตอ่ คุณภาพ ชีวติ มนุษย์ อันเป็นพ้นื ฐานใน การศึกษาต่อหรือ ประกอบอาชีพได้ โดยกำหนดเปน็ มาตรฐานท่ี ศ.1.1 และ ศ.1.2 อันเปน็ ทศิ ทางที่จะนําไปสู่ เป้าหมายของ หลักสูตรทจี่ ะทำใหผู้เรยี นสรา้ งสรรคง์ านทัศนศลิ ป์ตามจนิ ตนาการ และความคิดสร้างสรรค์ วเิ คราะห์ วพิ ากษ์ วจิ ารณคุณคา่ งานทัศนศลิ ป์ ถ่ายทอดความรสู้ กึ ความคิดตองานศิลปะอยา่ งอิสระ ชื่นชม และประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจำวัน เข้าใจความสมั พันธ์ระหว่างทัศนศิลป์ ประวตั ิศาสตร์ และวัฒนธรรม เหน็ คุณ คางานทัศนศิลป์ที่ เป็นมรดกทางวฒั นธรรม ภมู ปิ ญั ญาทองถิน่ ภมู ิปัญญาไทยและสากล (กระทรวงศกึ ษาธิการ, 2551) จากข้อความข้างตน้ การเรียนศิลปะนนั้ ดูจะมีเนื้อหาใจความและส่งิ ตา่ งๆให้เราไดเ้ รยี นรู้อยมู่ ากมาย หากแตใ่ นความเปน็ จรงิ นนั้ เราไดเ้ รยี นร้สู ่งิ เหลา่ น้ันจรงิ ๆ หรอื โดยสว่ นตวั แล้วสำหรบั ปญั หาในการเรียนวชิ า ศิลปะในปัจจบุ นั นั้น มปี ัญหาอยู่ค่อนข้างมาก สาเหตหุ ลกั ๆนนั้ มาจากค่านิยมของผคู้ นในสังคมทีว่ ่า ศิลปะนัน้ ไม่ สำคญั และย่ังยืนเทา่ กับการลงทนุ กับวทิ ยาศาสตรห์ รือคณติ ศาสตร์ ค่านิยมดังกล่าวน้นั สง่ ผลตอ่ การเรยี นศลิ ปะ ในหลาย ๆ ด้าน ท้ังในสว่ นของเวลาสำหรับช่วั โมงการเรียนในรายวชิ าศิลปะทม่ี ีอย่นู อ้ ยนดิ เสยี จนทำใหบ้ ริหาร จัดการไดย้ าก ตลอดไปจนถงึ ปัญหาครูศลิ ปะจำเป็นผู้ซึ่งไม่ได้จบศลิ ปะโดยตรง การเรยี นศลิ ปะน้ันเป็นสิ่งทีถ่ ูกละเลยมาเป็นเวลานาน และถูกลดบทบาทลงเร่ือย ๆ เนอ่ื งจากผู้คนไม่ได้ ให้คณุ ค่ากบั มนั อย่างทคี่ วรจะเป็น ซำ้ ร้ายในบางโรงเรยี นได้มีการลดเวลาคาบเรียนศลิ ปะหรอื ได้มีการขอคาบ เรยี นศลิ ปะเพ่ือให้เวลากบั การทำกจิ กรรมในรายวชิ าอ่ืนอกี ด้วย ศลิ ปะสำคัญน้อยกวา่ วิชาอืน่ อย่างไรกัน ดังที่ กล่าวข้างต้นในเรื่องของชว่ั โมงในการเรยี นการสอน ศิลปะไมใ่ ช่สตู รท่องจำหรือเปน็ เพยี งแค่บะหม่กี ง่ึ สำเร็จรปู ที่ สามารถทำเสรจ็ หรอื เรียนรไู้ ด้ภายในเวลาอันส้นั การเรียนรทู้ กุ อย่างเกดิ จากการทดลองและลงมอื ปฏิบัติ เช่น เดยี วกบั วทิ ยาศาสตร์ การจำกดั เวลาหรอื เวลาทีน่ อ้ ยนิดน้ันไม่ไดท้ ำให้เกดิ การเรยี นรู้ท่แี ท้จริง ซง่ึ สงิ่ เหลา่ นเ้ี อง ส่งผลกระทบต่อเน้ือหาและการจดั การเรียนการสอนอีกด้วย เมอื่ การเรียนในหนึง่ คาบเรียนไม่เพยี งพอ พวกเขา แบง่ เปน็ สองและจากสองเปน็ สาม และถา้ หากว่าไม่มีการจัดสรรเวลาท่ดี จี ากครูผู้สอนนักเรียนก็จะพลาดเนื้อหา อกี คร่ึงท่เี หลือไป ปญั หาเหลา่ นีพ้ บไดบ้ ่อยครั้งจากหลาย ๆ โรงเรียน จากการสอบถามเพ่ือนและคนรจู้ ัก ทุกคน จะเรียนตามบทเรยี นในชว่ งแรก ก่อนท่คี รผู ู้สอนจะพบวา่ พวกเขาไม่มีเวลาสำหรับส่วนที่เหลอื ท้ังหมด บางทอี าจ 32
เป็นเพราะการจัดการท่ีไมด่ ีของครผู สู้ อน หรือจริงๆแลว้ มนั อาจเป็นปญั หาทหี่ ลักสูตรหรือเปลา่ ทำไมเรายังได้ เรยี นเนอ้ื หาเดมิ ๆ เร่ืองเดิม ๆ ในขณะทเี่ ราเลื่อนช้ันข้ึนมาแล้ว ทำไมบทเรยี นยังคงสอนเราแต่เรอ่ื งวงจรสีซำ้ ๆ ทงั้ ท่ีเน้ือหาไม่ได้แตกตา่ งไปจากตอนทีเ่ ราได้เรียนเม่ือปีท่ีแล้ว เพ่ือใหเ้ ราเข้าใจมันอย่างลึกซง้ึ ขึ้นอยา่ งน้นั หรือ หรอื เป็นเพราะไมม่ ีอะไรทน่ี ่าสนใจมากพอให้ใส่เข้าไปในบทเรียนได้อีกแล้ว อย่างไรก็ตามมีคำกล่าวทวี่ า่ ศิลปะคือส่งิ ท่แี สดงถึงความเจริญงอกงามของบ้านเมือง สอดคล้องกับท่ี เฟรเดรคิ เจมส์ เกร๊ก ได้เขียนไวใ้ นคำนำสจู บิ ตั รการแสดง Armory show ในอเมริกาเมื่อ ค.ศ. 1913 ตอนหน่ึง กล่าวว่า “ศิลปะ คือ เคร่ืองหมายแห่งชวี ติ ” ( Art is sign of life) และไมว่ ่าเราจะคน้ หาในเวบ็ ไซต์หรือหนังสือ เล่มไหนในประเทศเรากจ็ ะค้นพบวา่ ศิลปะนัน้ ถูกยกย่อง สรรเสริญเยินยอตา่ ง ๆ นานา ซึ่งขดั กบั คา่ นยิ มและ ความเป็นจริงทางสงั คมที่มองว่าศิลปะเปน็ งานของคนขเี้ กียจหรอื คนเขลาท่ีไมส่ ามารถเรียนสายวทิ ยไ์ ด้เท่านน้ั ถงึ เวลาหรือยัง ทเ่ี ราจะใหค้ วามสำคญั กับศิลปะ และใหศ้ ลิ ปะอยูใ่ นทท่ี ีม่ นั ควรจะอยู่ อ้างอิง วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยศิลปากร ปีท่ี 17 ฉบับท่ี 1 (มกราคม 2562 – มถิ ุนายน 2562) สบื ค้นเม่ือ 9 เม.ย. 2564 จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/suedujournal/issue/view/13169 ศิลปะคืออะไร. สบื ค้นเม่อื 9 เม.ย. 2564 จาก sites.google.com/site/reuxngphessuk/silpa-khux-xari 33
ศลิ ปะใชไ้ ด้จริง (หรือ?) จรุ ีรตั น์ โนราช “เรยี นศิลปะไปเพอื่ อะไร” หลายทา่ นอาจจะเคยไดย้ ินคำกล่าวดังขา้ งต้น ซ่งึ เปน็ ถอ้ ยคำทีเ่ ราหลายคน ตา่ งกค็ ุน้ เคย ไมว่ า่ จะมาจากเสียงบน่ ของเหลา่ นักเรียนระดับมัธยมศกึ ษา ผ้ใู หญ่ที่ไม่ไดใ้ ห้ความสำคัญกบั ศิลปะ หรอื อาจจะได้ยินแวว่ ๆ จากคนแปลกหน้าในบางสถานท่ี แม้กระท่งั การถกเถยี งในอินเทอร์เนต็ ประเดน็ เร่ือง รายวิชาทค่ี วรตดั ออกจากหลักสูตรการศึกษาไทยกม็ กั จะพบวา่ มีรายวิชาศิลปะเปน็ หน่งึ ในนน้ั อะไรท่ที ำให้ผคู้ น ละเลยวิชาศลิ ปะ อยู่นอกสายตาและถูกมองข้ามอยู่เสมอ ถึงแม้จะมีประโยค “ศิลปะใชไ้ ดจ้ รงิ ” แต่จะมสี กั ก่ีคน ทเ่ี หน็ ดว้ ย หากจะมองหาถงึ สาเหตุของปัญหาดงั กล่าวก็อาจจะต้องมคี วามความเก่ยี วของกบั อีกหลายประเดน็ ไม่ ว่าจะเป็นเรื่องของหลกั สูตร สงั คม ปรัชญา หรือจิตวทิ ยา และถ้าหากลองมองในมมุ ของบุคคลท่ัวไปท่ีไม่ได้ สนใจเฉพาะทางในดา้ นศิลปะแลว้ กจ็ ะเจอกับคำตอบง่าย ๆ วา่ “เรียนศิลปะแล้วไม่ได้ใช้” หลายตอ่ หลายครงั้ ที่ ผคู้ นพบวา่ เนื้อหาของรายวชิ าศิลปะที่ถูกบรรจุไวใ้ นหนังสือเรยี นหรอื สื่อการสอนตา่ ง ๆ นั้นไมไ่ ด้มเี น้ือหาที่ เช่ือมโยงเข้าสูช่ วี ติ จรงิ จนเกดิ ข้อสงสยั ว่าถ้าไม่ไดน้ ำไปใชแ้ ลว้ เราจะเรยี นไปทำไมกนั นะ? และอีกหนึ่งข้อสงสยั ท่ี มีผลตอ่ การดำเนินชีวติ มากท่ีสุดก็คอื “เราจะเอาความร้เู หลา่ น้ีไปใชต้ อนไหน?” เหลา่ ผูป้ กครอง นักเรียน และพลเมอื ง เราทุกคนตา่ งกค็ าดหวังว่าเมอ่ื ไดเ้ ข้ามาในอยู่ในการศึกษาข้ัน พื้นฐานทใี่ ชร้ ะยะเวลาในการเรยี นอันแสนยาวนานมากถึง 12 ปีแลว้ จะสามารถนำความรู้ท่ีได้จากการปลูกฝงั ส่งั สม และร่ำเรียนมาจากสถานศึกษาออกมาใช้ประโยชน์ในการดำเนินชีวติ ไมใ่ ชเ่ พียงแค่ในรายวิชาศลิ ปะ เทา่ นน้ั แตท่ ุกรายวชิ าลว้ นกถ็ ูกคาดหวังไม่ตา่ งกนั แตแ่ ลว้ การศกึ ษาขน้ั พน้ื ฐานกลับไม่สามารถตอบสนองความ คาดหวังนี้ให้กบั ผคู้ นในสงั คมได้เทา่ ที่ควร เป็นเร่ืองทน่ี ่าแปลกใจท่ีเน้ือหาท่ใี ชใ้ นการเรยี นการสอนส่วนใหญไ่ ม่วา่ จะเปน็ หนังสอื เรียนหรือสื่อการเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ล้วนแล้วแต่กล่าวถงึ สง่ิ ที่เป็นวชิ าการ เชน่ ทฤษฎที างศลิ ปะ หลักการจัดองค์ประกอบ และเนือ้ หาทางประวัติศาสตรศ์ ลิ ป์ ซ่ึงมักจะเป็นทฤษฎที ่ีมเี พ่ือนำมาใชใ้ นการ สรา้ งสรรคผ์ ลงานศิลปะ ประวตั ศิ าสตร์ หรอื การศึกษาที่ค่อนข้างเฉพาะทางเท่าน้นั แตก่ ลับไม่มีการนำเสนอ เน้ือหาท่เี ป็นการประยุกต์ใช้หรอื เก่ยี วเน่ืองกบั ชวี ติ ประจำวันของผ้คู น หากจะมกี ็เป็นเพยี งแค่สว่ นน้อยเท่านั้นที่ สอดแทรกการนำศลิ ปะไปประยุกตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำวนั และเม่ือส่ิงท่ีควรบรรจเุ น้ือหาที่ควรนำไปใชอ้ ย่างหนงั สือ และส่อื การเรียนรู้ขาดสิ่งทีจ่ ำเปน็ ที่สุดอย่างการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันไป หน้าทน่ี ีจ้ งึ ตกเป็นของครผู สู้ อน ท่ีจะต้องจัดการเรียนการสอนทีเ่ น้นการนำไปประยุกตใ์ ช้เพื่อเป็นการแกป้ ญั หาน้ีในขณะทห่ี นงั สือเรียนหรือสื่อ การเรยี นรูท้ ีค่ วรจะเปน็ แหลง่ ความรขู้ องผเู้ รยี นและช่วยอำนวยความสะดวกแกค่ รูผสู้ อนทำไดเ้ พียงแค่บรรจุ เนอ้ื หาที่สามารถสบื คน้ เองได้ในอนิ เทอรเ์ นต็ การเรยี นการสอนเปน็ ไปในลักษณะน้ีมานานในความทรงจำของ ผเู้ ขยี น เม่อื หนงั สือขาดส่งิ ทสี่ ำคญั ที่สุดอย่างการประยุกตใ์ ชไ้ ป จึงเป็นเหตใุ ห้ผูเ้ รียนขาดการนำความรเู้ ชื่อมโยง สู่การนำไปใชใ้ นชีวิตประวนั และดำเนินรูปแบบเชน่ นม้ี าจากรุ่นสูร่ ุ่นจนทำใหผ้ ู้คนท่ีทั้งผ่านการศกึ ษาขึ้นพืน้ ฐาน 34
และกำลังอยูใ่ นการศึกษาข้ันพนื้ ฐานเกดิ ความรสู้ ึกวา่ ไมม่ คี วามจำเป็นท่ีต้องเรียนวชิ าศิลปะ เพราะไม่สามารถ นำไปใชไ้ ด้จริง ถกู ต้องแลว้ หรอื ที่การศึกษาวิชาศลิ ปะจะยงั คงเปน็ เช่นนต้ี ่อไป ถงึ เวลาแล้วหรือยังที่ควรจะต้อง ปรบั ปรงุ เปลย่ี นแปลงเนอื้ หาและสาระการเรยี นรใู้ นรายวชิ าศิลปะที่บรรจุในหนงั สอื ให้มีความเช่อื มโยงกับชีวติ จรงิ มากย่งิ ขึ้น เนน้ การประยุกต์ใช้มากย่ิงขึ้น ลดทฤษฎีต่าง ๆ ท่ีคอ่ นข้างเฉพาะทางใหน้ อ้ ยลงเพ่อื ใหเ้ น้ือหาใน รายวิชาศลิ ปะถูกมองว่าสำคัญและสามารถนำไปใชไ้ ดจ้ ริง เชน่ การเพ่ิมเน้ือหาศลิ ปะท่ีสอดแทรกอยู่ใน ชวี ิตประจำวัน ศิลปะการแต่งกาย ศลิ ปะการตกแตง่ อาหาร เป็นตน้ หากในอนาคตเราสามารถปรับปรุงแก้ไขเน้ือหาการเรยี นในรายวชิ าศิลปะไดด้ ั่งท่ีกล่าวไปข้างต้นได้ สำเร็จ รายวชิ าศลิ ปะกจ็ ะถกู มองว่าเป็นรายวชิ าท่เี รียนแลว้ สามารถทำใหเ้ กดิ ประโยชนไ์ ด้ นำมาใชใ้ น ชีวิตประจำวันได้จริง จะเปน็ การนำรายวิชาศิลปะเขา้ ไปอยู่ในสายตาของผู้คน ถูกให้ความสำคญั ทำให้ศลิ ปะ แทรกซึมอยูใ่ นชวี ติ ประจำวันของผูค้ น ให้ศลิ ปะไดท้ ำหน้าที่ท่ีมากกวา่ การเป็นเพยี งแคช่ ิ้นงาน ลบคำถามที่วา่ “เรยี นศิลปะไปเพอื่ อะไร” และตอกย้ำวาทกรรม “ศลิ ปะใช้ได้จริง” ให้เป็นประโยคที่ทกุ คนตา่ งเหน็ ด้วยและ ยอมรบั 35
ศลิ ปะกบั กิจกรรมการเรยี นการสอนท่ีส่งเสริมพฒั นาการของผู้เรยี น ตามแตล่ ะช่วงวยั ปาลติ า วรรณศิริ เนอ้ื หารายวิชามกี ารเรยี นการสอนท่ีไม่เปน็ ขนั้ เป็นตอน จากการสอนถามผู้เรยี นการเรยี นการ สอนจะวนอยู่กบั ท่เี ด็กไมค่ ่อยมีกจิ กรรมเสริมความรู้ใหม่ ๆ ตามพัฒนาการของผเู้ รยี นในแตล่ ะช่วงวัย เพือ่ ส่งเสรมิ พฒั นาการดา้ นด้านรา่ งการและสมองอย่างเต็มท่ี การเรียนกรสอนในปจั จบุ นั ครูผู้สอนต้องปรับเปลย่ี น การสอนไปตามยุคเทคโนโลยีสมัยใหม่เพ่ิม เทคนิคต่าง ๆ มาใช้ในการจัดการเรยี นการสอนเพ่อื สร้างผเู้ รียนแต่ ละคนใหถ้ ึงจุดหมายสงู สุดของการเรยี นรู้ รว่ มกบั การนำเปา้ หมายของหลัดสตู รการศึกษาของแตล่ ะสถานศกึ ษา มาเป็นเปา้ หมายของการเรยี นรู้ จากท่กี ลา่ วมารายวิชาศลิ ปะเป็นรายวชิ าท่ีสามารถส่งเสริมในดา้ นร่างกายและ สตปิ ัญญาด้านความคดิ ไดด้ ีท่ีสุด ครูผู้สอนจำเปน็ ต้องนำหลกั จิตวทิ ยาการศึกษามาปรบั ใชก้ ับการเรยี นการสอนดว้ ยเช่นกัน เพ่อื ช่วยให้ การสอนเป็นไปตามทฤษฎีการเรียนรู้ตามช่วงวยั ของ (ซิกมันด์ ฟรอยด์) พัฒนาการตามวัย แบง่ ออกเปน็ 5 ขน้ั คือ 1 .ขนั้ ปาก (Oral Stage) อายุ 0-8 เดอื น 2. ขนั้ ทวารหนัก (Anal Stage) อายุ 18 เดือน – 3 ปี 3. ข้ัน อวัยวะเพศ (Phallic Stage) อายุ 3-5 ปี 4. ขั้นแฝง (Latence Stage) อายุ 6-12 ปี 5. ข้นั สนใจเพศตรงขา้ ม (Genital Stage) อายุ 12 ปีขึ้นไป พัฒนาการเปน็ การเปล่ยี นแปลงที่เกิดขึน้ ภายในตวั ของมนุษย์ ไม่ไดม้ แี คก่ ารเจริญเติบโตด้านรา่ งกาย เพยี งเท่านัน้ ยังรวมไปถึงวุฒิภาวะทเ่ี พ่มิ มากขน้ึ ตามช่วงอายุและการเรียนรูร้ ะหว่างการอย่ใู นสังคมน้ัน ๆ ที่ เกดิ ข้ึนตลอดเวลา การสรา้ งห้องเรยี นทีเ่ อื้อต่อการพัฒนาร่างกายและความรูท้ เ่ี หมาะสม สามารถพฒั นาให้ ผู้เรยี นเกดิ การเรยี นร้ทู ตี่ ่อเน่ืองและเปน็ ข้ันตอน ไม่สรา้ งความซับซ้อนดา้ นเนื้อหาทย่ี ากหรืองา่ ยเกนิ ไป เพ่อื สร้างแรงจูงใจให้ผ้เู รียนพร้อมทจี่ ะเรยี นรู้ การนำหลักจติ วิทยาไปประยุกตใ์ ชใ้ นการเรียนการสอนนั้น สามารถช่วยได้ท้ังครผู สู้ อนและตวั ผเู้ รยี น เอง การศึกษาและทำความเข้าใจในธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคนจึงมีความสำคัญที่จะชว่ ยให้ครูสามารถจดั การ เรยี นการสอนไดอ้ ย่างมปี ระสทิ ธภิ าพ ด้วยเหตุนเี้ ป็นรายวิชาศิลปะที่ไม่ได้สร้างเกณฑ์ทางความคดิ ให้แก่ผ้เู รียน ผสู้ อนสามารถออกแบบการสอนทีม่ ีความยืดหยุ่นในหลายด้าน เพอ่ื ส่งเสรมิ ให้ผู้เรียนสามารถถ่ายทอดความคิด ไดเ้ ตม็ ท่ีตา่ งจากวิชาอนื่ ๆ ที่ต้องอยู่ในเกณฑข์ องความถูกต้องตามหนังสอื เรยี น อ้างอิง เกรยี งไกร เรอื นน้อย(2553).ธรรมชาติและพัฒนาการของผเู้ รียนในแต่ละชว่ ง.สบื คน้ เมอื่ 10 เม.ย. 2564 จาก https://www.gotoknow.org/posts/327646 จติ วิทยาสำหรับคร.ู ทฤษฎีพฒั นาการ.สบื ค้นเมื่อ 10 เม.ย. 2564 จาก http://teacheryru.blogspot.com/p/blog-page_5.html 36
37
การเรยี นการสอนศิลปะ เพอื่ การเรียนรู้ที่มงุ่ ให้ผ้เู รียนสามารถดำรงชีวติ อยรู่ ว่ มกับผู้อื่น ในสังคมพหุวัฒนธรรมได้อย่างมคี วามสุข ภทั รพรรณ ทองแย้ม การศกึ ษาถูกยอมรับวา่ เปน็ เครอ่ื งมือทีส่ ำคัญในการพฒั นามนุษย์และสงั คม เน่ืองจากการศกึ ษาจะชว่ ย พัฒนามนษุ ย์ใหเ้ กิดคณุ ลกั ษณะทีด่ ี เปน็ ทย่ี อมรบั ในสังคมน้นั ๆ ทำให้มนุษยเ์ ป็นกำลงั สำคญั ในการพัฒนาสังคม ต่อไป เรียกได้วา่ การศึกษามบี ทบาทสำคญั ในการพัฒนามนุษยใ์ ห้เกดิ การเรยี นรู้ สามารถนำความร้ทู ีไ่ ดไ้ ปปรับ ใชใ้ นการใช้ชีวติ ให้สอดคล้องกบั สภาพสังคมทม่ี ีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา ปัจจุบันเรากำลงั อยใู่ นยุคศตวรรษ ที่ 21 เป็นยคุ ที่มีการเปลี่ยนแปลงอยา่ งรวดเรว็ ทำให้การศึกษาต้องปรบั เปล่ยี นอกี คร้ัง เพือ่ ให้การศึกษา สามารถพฒั นาคนใหม้ ลี ักษณะตามความเปลี่ยนแปลงทางสังคม ในบทความน้จี ะกลา่ วถงึ การเรียนการสอน ศิลปะเพอื่ ตอบสนองการเปล่ียนแปลงดา้ นสภาพของสังคมในปัจจบุ นั ในปัจจุบันมีกระแส มแี นวคิดที่เกย่ี วข้องกบั ความเป็นปจั เจกบคุ คลมากข้ึนอย่างเห็นไดช้ ัดเจน ผคู้ นกลา้ ออกมาแสดงความคดิ เหน็ กล้าแสดงจดุ ยนื ของตนเอง จนบางคร้ังเกิดอาจเกิดความขัดแย้งอันเนอ่ื งมาจากความ แตกตา่ ง ที่แตล่ ะฝ่ายยงั ไม่ยอมรับและเข้าใจซ่งึ กนั และกัน การศึกษาควรให้ความสำคัญกับการเปล่ยี นแปลงใน ดา้ นน้ี กค็ ือการเปลยี่ นแปลงสภาพสังคม การใชช้ วี ิตในสังคมอยู่น้ีต้องมีทักษะการการอยู่รว่ มกนั ในสังพหุ วฒั นธรรม ซ่ึงจดั ว่าเป็นหนึ่งในทักษะในศตวรรษที่ 21 นัน่ คอื Cross-cultural understanding (ทักษะด้าน ความเขา้ ใจต่างวฒั นธรรม ต่างกระบวนทัศน์) ผ้เู ขียนจึงขอยกแนวทางการจดั การศึกษาในศตวรรษท่ี 21 โดย อา้ งอิงจากรายงานของคณะกรรมาธิการนานาชาติวา่ ด้วยการศกึ ษาในศตวรรษท่ี 21 แห่งยเู นสโก ช่อื รายงานว่า “Learning : The Treasure Within” ถา้ แปลเปน็ ภาษาไทยก็คอื “การเรยี นรู้ : ขมุ ทรัพยใ์ นตน” ในรายงานม สาระสำคญั ไดก้ ล่าวถงึ “สเี่ สาหลกั ทางการศกึ ษา” เปน็ หลกั การในการจดั การศึกษา ประกอบไปดว้ ย 4 ขอ้ ดังนี้ 1. การเรียนเพอ่ื รู้ (Learning to know) หมายถึง การศึกษามงุ่ พัฒนากระบวนการคิด การแสวงหา ความรู้และวิธีการในการเรยี นรู้ เพื่อให้ผเู้ รยี นได้เรยี นรู้ พฒั นาตนเอง เพือ่ จะได้นำความรู้ที่ได้ไปใชเ้ พื่อ ดำรงชีวติ 2. การเรยี นร้เู พือ่ ปฏิบัติได้จริง (Learning to do) หมายถึง การศึกษามุ่งพัฒนาทกั ษะ ความสามารถ ความชำนาญ สามารถปฏบิ ัติได้ จนสามารถตอ่ ยอดในการประกอบอาชีพได้อยา่ งเหมาะสม 3. การเรียนรูเ้ พอื่ ท่ีจะอยู่ร่วมกัน (Learning to Live Together) หมายถึง การศึกษามุ่งให้ผ้เู รียนรู้จัก ใช้ชวี ติ รว่ มกันกบั ผู้อ่นื ในสังคมท่ีมคี วามหลากหลาย รจู้ กั พึ่งพาอาศัยซ่ึงกนั และกนั เคารพกนั และกนั เข้าในใน ความแตกตา่ ง 38
4. การเรยี นรู้เพือ่ ชีวิต (Learning to Be) หมายถงึ การศึกษามุง่ พัฒนา ผเู้ รยี นทกุ ด้านทั้งจิตใจและ รา่ งกาย สตปิ ญั ญา ให้ความสำคัญกับจนิ ตนาการและความคดิ สรา้ งสรรค์ ภาษา และวฒั นธรรม เพอ่ื พฒั นา ความเปน็ มนษุ ย์ที่สมบูรณ์ เข้าใจตนเองและผู้อื่น เปน็ ผู้ทมี่ เี หตผุ ล มที ักษะรู้จกั สอื่ สารกบั ผอู้ ืน่ จากหลักในการจดั การศกึ ษาท้งั 4 ด้านน้ี วิชาศิลปะสามารถมบี ทบาท ทำหน้าในการพัฒนาผเู้ รียนให้ บรรลตุ ามสเ่ี สาหลักทางการศึกษาได้ โดยการเน้นถึงความแตกตา่ งของผเู้ รียน ความสามารถ ความสนใจของ ผเู้ รียนแตล่ ะคนมีความแตกต่างกัน พอจะมีแนวทางในการจัดการศึกษา ดังนี้ - ไม่ควรตดั สินผลงานศิลปะของผ้เู รยี น อาจจะดว้ ยความแตกต่างจากผลงานท่มี ีเป็นส่วนใหญ่ หรือการ ตดั สินจากความสวยงามของผลงาน แต่ควรใหผ้ ูเ้ รียนได้แสดงแนวคดิ แสดงทัศนะของตนผ่านผลงาน สามารถ เชอื่ มโยงเขา้ สู่เนื้อหาทางด้านประวตั ศิ าสตรท์ างศิลปะกไ็ ด้ เพราะต้ังแต่อดตี จนถึงปจั จบุ นั ศิลปะกม็ ีความเปน็ พลวัต ศลิ ปะท่ีมกี ารเปล่ยี นแปลงทางดา้ นความคดิ การยอมรับเฉพาะกลุ่มแตกต่างกันไป ความเขา้ ใจในสว่ นน้ี จะช่วยใหผ้ ู้เรยี นมคี วามม่นั ใจกบั ตนเอง และได้เรยี นรู้ในการยอมรับในความคดิ เห็นท่ีแตกต่างจากความคิดของ ตน - เปดิ โอกาสให้ผู้เรียนได้มสี ่วนรว่ มในการกำหนดสิ่งทอ่ี ยากเรียนรู้ และช่วยกันออกแบบการเรียนกบั ครผู สู้ อน เพ่ือให้ส่ิงท่จี ะได้เรียนเกดิ จากความต้องการของผู้เรยี นเอง ทำใหผ้ ู้เรียนมีความสนใจท่ีจะเรยี นมาก ยิ่งขึน้ การเปดิ โอกาสในการช่วยกันจดั การเรียนรเู้ ช่นน้ี จะชว่ ยให้ผ้เู รยี นได้กล้าแสดงความตอ้ งการ ความ ประสงคต์ ามทตี่ นเองสนใจ และก็ต้องยอมรบั เปิดใจกบั ความตอ้ งการของผูอ้ ่นื หรือเพ่ือนร่วมชั้นดว้ ย เพื่อให้ เกดิ การเรียนร้ตู ามความสนใจและเกิดการเรียนรู้แบบแลกเปลีย่ นจากเพื่อนรว่ มชน้ั - เมื่อผู้เรยี นมกี ารแสดงออกทางศิลปะทแี่ ตกต่างกนั ไม่ควรนำบรรทัดฐานเดยี วกนั มาใช้เพื่อแบ่งแยก ควรใชโ้ อกาสน้ีแสดงใหเ้ ห็นเลยวา่ ทุกคนสามารถแสดงออกตามความสนใจ ความสามารถของตนเอง และควร หาเหตุผลมาสนับสนุนใหเ้ กิดความหนักแน่นทางความคดิ - ควรนำแนวคดิ ปรัชญาตา่ ง ๆ มาสอดแทรกในการจดั การเรียนรใู้ ห้มีมากขนึ้ กว่าเดิมในเพยี งแค่ช้ัน ระดับชั้นทสี่ งู แตร่ ะดับอ่นื กค็ วรให้ความสำคญั ด้วย ข้อดขี องปรชั ญากค็ ือสามารถช่วยให้เกดิ การแสวงหา คำตอบ การถกเถยี งอยา่ งมีเหตผุ ล แต่ข้อจำกัดก็คือปรชั ญาเป็นเรอ่ื งเกีย่ วขอ้ งกบั ความคดิ เปน็ สง่ิ ที่อยูภ่ ายใน เป็นการยากในการเขา้ ถึงความเขา้ ใจ ดงั น้นั ผู้สอนกค็ วรหาแนวทางในการนำปรัชญา แนวคดิ ต่าง ๆ มาใช้ให้ เหมาะสมเพ่ือให้เขา้ ถึงได้ง่าย ปรชั ญาทางดา้ นศลิ ปะ อยา่ งเชน่ สุนทรยี ศาสตร์ แนวคดิ เกี่ยวกบั ความงาม เพื่อใหผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรู้เก่ยี วกับมุมมองที่ดีข้ึนทางดา้ นความงาม สามารถนำมุมมองไปปรับใช้กบั ตวั เองในชีวติ เกดิ ความรูส้ กึ พอใจ และสามารถใช้เป็นเครื่องมือในการแสดงทัศนะตอ่ ความคิดในสังคมทม่ี ีความแตกต่าง หลากหลาย เพือ่ ลดอคติ การตีตรากบั สง่ิ ที่ไม่ได้ตัง้ อยบู่ นพ้ืนฐานกระแสสงั คมท่ีหลายคนยอมรับ จะเหน็ ไดว้ ่าการจดั การเรียนรู้ขา้ งตน้ จะเน้นเพื่อใหผ้ ู้เรยี นได้เรียนรู้จักการแสดงความคดิ เห็นของตนเอง และต้องรจู้ ักยอมรบั ในความคิดของผู้อนื่ ด้วย เพ่ือให้ผู้เรียนมีคณุ ลักษณะสอดคล้องกับการเปลยี่ นแปลงของ 39
สงั คม สามารถดำรงชีวติ อย่รู ่วมกับผู้อื่นทา่ มกลางพหุวัฒนธรรมได้อย่างมีความสุข ผ้สู อนจงึ มสี ว่ นสำคญั อยา่ ง มากในการเลือกแนวทางการจดั การเรียนรู้เพื่อใหเ้ กดิ ความประสบผลสำเร็จ อ้างอิง สุทธพิ งษ์. (2557). การเรียนรู้ขุมทรัพยใ์ นตน (Learning: The Treasure Within). ค้นเมอื่ 19 เมษายน 2564, จาก http://edu06550098.blogspot.com/2014/12/14-learning-treasure- within.html 40
“ทำไมเดก็ ตอ้ งเรียนรูศ้ ิลปะ” ภาสกร กลางเหลอื ง บางคนคิดว่า ศิลปะเปน็ เรื่องของคนท่มี ีพรสวรรค์ บางคนคิดวา่ เราสอนศิลปะเพื่อชว่ ยให้เด็กเบาสมอง แต่ทจ่ี ริงศิลปะเปน็ ผลงานอันเก่าแก่ท่ีสดุ ทีม่ นุษยไ์ ด้ทำมา เช่น ภาพเขียนตามผนังถำ้ และการประดิษฐ์ขวาน หม้อ เกวียน เหล่านีเ้ ป็นศิลปะทั้งส้นิ เด็กทุกคนสรา้ งงานศิลปะได้ และชอบงานศลิ ปะ การจะพฒั นาศิลปะและ การสร้างสรรคใ์ ห้เด็ก ต้องเขา้ ใจว่า ศลิ ปะก็คอื กระบวนการทีส่ มองถอดความคดิ ออกมาเปน็ ภาพ และชน้ิ งาน ตา่ ง ๆ น่ันเอง ถ้าสมองมีอะไรอยกู่ าร “ถอด” ความคิดออกมากเ็ ป็นไปได้ กระบวนการพัฒนาศลิ ปะและการ สร้างสรรคข์ องเด็ก จึงเน้นให้เด็กคิด และลงมือทำออกมา ศิลปะ เปรยี บเสมือนกระดาษทดแห่งจินตนาการ การแสดงออกทางศลิ ปะ เปรียบเสมือนการสรา้ งจนิ ตนาการเปน็ รปู รา่ งภายนอก แล้วป้อนกลับเขา้ สสู่ มอง ศลิ ปะจงึ เปรยี บเสมือนกระดาษทดแห่งจินตนาการ ทำให้สมองได้จัดการกับจนิ ตนาการต่าง ๆ ชัดเจนย่ิงข้ึน การทำศลิ ปะกเ็ หมอื นการใช้กรดาษทดคิดเลข การทำเลขบนกระดาษทดทำให้การคดิ เลขแจ่มชดั มากกวา่ การ คดิ ในใจ ศิลปะ หรือวา่ งานศิลป์น้ัน ไม่จำเป็นจะต้องเป็นการวาดรูปอย่างเดียว การร้องงเพลง การเต้น การ เรียนดนตรี สงิ่ เหล่านม้ี นั กถ็ ือวา่ เป็นงานศลิ ปะเหมือนกัน บางคนก็อาจจะคดิ วา่ ส่งิ ท่ีกล่าวมาขา้ งตน้ นัน้ มนั ก็ เปน็ กจิ กรรมที่ทำเพอ่ื ความสนุกช่ัวครูช่ วั่ ยามเท่าน้นั มันไม่สามารถเอามาใช้ได้จรงิ หรอื ว่าสามารถเอามาสร้าง รายได้ให้กบั ตัวเองได้ แต่ความเป็นจรงิ ศลิ ปะมนั สามารถท่ีจะทำเงิน สรา้ งกำไรให้กับคนทส่ี รา้ งสรรค์ผลงาน ศิลปะไดเ้ หมือนกนั อย่างทีเ่ ราเห็นศลิ ปนิ หลาย ๆ ทา่ นทท่ี ำงานศิลปะเหลา่ น้ีออกมา จนมีชอื่ เสียงโด่งดงั ก้อง โลกก็มี และศิลปะเอง ก็เปน็ อีกหน่ึงวิชาที่เรียนกนั ต้งั แต่เล็กแต่นอ้ ยเลยทเี ดียว บางคนเรยี นตง้ั แต่ยงั ไม่เขา้ โรงเรียนดว้ ยซำ้ โดยการสอนจากคนเป็นพ่อแมน่ น่ั เอง ซึง่ มันกถ็ ือว่าเปน็ วชิ าที่มีประโยชน์อย่างมาก ในด้านการ พัฒนาจติ ใจ และสงิ่ ต่าง ๆ ของเดก็ ศิลปะเด็ก เปน็ คำศัพท์ใหมท่ ่ียอมรบั กนั อย่างกว้างขวางในหลายทศวรรษทผี่ ่านมา และได้รับความ สนใจกันมากขึ้นว่า จติ ใจของเดก็ ยอ่ มสะท้อนออกมาในงานศิลปะที่เขาทำ จุดหมายสำคัญของ กระบวนการพฒั นาศลิ ปะและการสร้างสรรคข์ องเด็กคือ เพ่ือใหเ้ ดก็ ไดใ้ ช้การเชือ่ มโยงในสมอง คดิ จนิ ตนาการ อย่างเต็มที่ และผลโดยตรงทเ่ี ด็กไดร้ ับการพฒั นาดา้ นน้กี ็คอื ความรู้สึกพอใจมีความสุข ได้สัมผสั สุนทรียข์ องโลก ตงั้ แตย่ งั เยาว์ ศลิ ปศกึ ษา มีความสำคัญต่อการพัฒนาวงจรสมองทีท่ ำงานดา้ นอารมณข์ องเด็ก การจัดกิจกรรมการ เรยี นการสอนให้เด็กอย่างถูกตอ้ ง จะช่วยสรา้ งวงจรเซลลส์ มองให้มกี ารพัฒนาความรสู้ ึกตา่ ง ๆ ของเด็กได้เป็น อย่างดี การเร่ิมเรียนศิลปศึกษาในช่วงแรก ควรเร่มิ จากการฝึกใหเ้ ด็กสงั เกตธรรมชาติ และส่ิงแวดลอ้ ม สมองจะ จัดการประมวลสิ่งทเ่ี หน็ และรู้สึก แล้วจัดการถ่ายทอดความคิดออกมาในรูปแบบตา่ งๆสิ่งนจ้ี ะยอ้ นกลับไปขัด 41
เกลาตกแต่งจติ ใจของเด็ก การสง่ เสริมใหเ้ ด็กทำงานศลิ ปะเป็นส่ิงสำคัญ เดก็ ทุกคนมีกำลังใจเม่ือเขารู้ว่าตัวเขา ได้รบั การยอมรับ และรวู้ า่ เขามีความหมาย งานศิลปะเดก็ สะท้อนตัวเดก็ เอง เส้นหนักหรือเบา สีเขม้ หรืออ่อน ยังไม่ใชป่ ระเด็นทตี่ ้องวจิ ารณ์ ควรม่งุ ไปที่จิตใจ จิตวญิ ญาณของเด็กเป็นสำคัญ เราจะมาดูเหตุผลกนั วา่ ทำไม เรา จงึ ตอ้ งให้เด็กเรียนศลิ ปะ คนท่เี ปน็ พ่อแม่ หรือว่ามลี กู หลาน จะได้พาลูกไปเรยี นศิลปะบ้าง - ฝกึ ใหเ้ ด็กมคี วามคดิ กว้างไกล การใหเ้ ด็กเรยี นศิลปะ อย่างเชน่ การวาดภาพ ถือวา่ เปน็ การทำใหเ้ ด็ก ได้แสดงออก ถึงสิง่ ทอี่ ย่ใู นความคดิ ไม่ว่าจะเป็นความคดิ เร่ืองอะไรก็ตาม ถา้ ปลอ่ ยใหเ้ ดก็ วาดภาพอะไรก็ได้ ตามใจชอบ โดยที่ไม่บงั คบั วา่ จะต้องอยา่ งนนั้ จะต้องเป็นแบบนี้ มนั ก็สามารถทำให้เด็กแสดงออกมาได้อยา่ ง เตม็ ท่ี โดยทเ่ี ราไม่ต้องไปปิดกั้น เป็นการฝกึ ใหเ้ ด็กมีความคิดสร้างสรรค์ คิดการณ์ไกล มันจะมปี ระโยชน์อย่างยิ่ง เมื่อเขาโตขึ้น นิสยั เหลา่ นี้ก็จะติดตวั เด็กมาด้วยนน่ั เอง - ฝกึ ใหม้ คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ บางส่ิงบางอย่างที่อย่ใู นหวั ของเดก็ อาจจะเป็นสิง่ ท่ีผูใ้ หญบ่ างคนไม่ อาจจะเขา้ ใจได้ อยา่ งเชน่ รถทำไมมันถึงเป็นลักษณะแบบน้ี ผลสม้ ทำไมมนั เป็นลูกแบบน้ี สิ่งตา่ ง ๆ ทีเ่ ดก็ ได้ แสดงออกมา มันล้วนมาจากจินตนาการ และความคิดสร้างสรรคข์ องเด็กนั่นเอง และเมอ่ื เขาโตขน้ึ มา แด็กทเ่ี รา คดิ ว่าเขาวาดภาพแปลก ๆ เหลา่ น้ัน เขาอาจจะสร้างสงิ่ ท่ีย่งิ ใหญ่ให้กับโลกนี้ได้ โดยทไ่ี อเดียเหล่านนั้ มันไม่ซ้ำ ใครดว้ ย - ฝกึ ให้เป็นคนชา่ งสังเกต เมื่อเราแนะนำใหเ้ ด็กวาดภาพส่ิงของบางสง่ิ บางอยา่ ง โดยไปหาตน้ แบบมา ถ้าฝกึ บ่อยๆ จนเดเกสามารถวาดภาพไดเ้ หมือน และสวยงามด้วย แสดงวา่ เดก็ คนนัน้ เป็นคนทชี ่างสงั เกตแล้ว และเม่ือเขาเปน็ คนที่ชา่ งสงั เกต เวลาไปเรียนวิชาอะไร หรือวา่ ทำงานอะไรกต็ าม นสิ ยั ชา่ งสงั เกตก็จะตดิ ตัวไป ดว้ ย โดยทีเ่ ราไม่ตอ้ งบอกเลย มันจะมาเองโดยอัตโนมัติ - มคี วามสุข อนั นี้ถือว่าสำคัญมาก คนท่ีสามารถหาความสขุ จากสิ่งใกล้ตัว หรือวา่ เร่ืองเลก็ นอ้ ยได้ เขา ก็สามารถทจี่ ะอยบู่ นโลกนี้ ในสงั คมนีไ้ ด้ทุกแบบ ไม่กดดัน หรอื ไมเ่ ครยี ดแนน่ อน เพราะเหตุนี้ เราจึงใหเ้ ด็กฝึกการเรยี นศิลปะหรอื ว่าฝึกใหท้ ำงานศลิ ปะต้ังแตเ่ ด็ก เพราะมันส่งผลใน หลายดา้ นมาก และเมื่อเขาโตขน้ึ มา กใ็ หต้ ัดสนิ ใจเองว่า จะเรยี นศกึ ษาต่อเพ่ิม หรอื อย่างไรกแ็ ล้วแตเ่ ดก็ แต่ อยา่ งน้อยมนั ก็เป็นวิธีในการสรา้ งความสุขให้กับเด็กดว้ ย อา้ งอิง สำนักงานบริหารและพฒั นาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน).(2560). การจัดการเรยี นร้ตู ามหลักสตู ร Brain-Based Learning ด้านศลิ ปะและการสร้างสรรค.์ สบื ค้นเมอื่ วันที่ 20 เมษายน 2564, จาก http://www.okmd.or.th/bbl/documents/338/bbl-arts-creativity ทำไมถงึ ต้องใหเ้ ด็กเรยี นศลิ ปะ ศิลปะดีกับเดก็ อยา่ งไร.(2562).สบื ค้นเม่อื วันที่ 20 เมษยน 2564, จาก https://wilmington-film.com 42
ศิลปะกับConstructivism มีความสำคญั อย่างไรใน ศตวรรษท่ี 21 ภูรนิ ท์ กลั ยารัตน์ “ศตวรรษท่ี 21”เป็นคำท่ีหลายคนเคยได้ยนิ โดยเฉพาะคนในแวดวงการศึกษาท่ีมักไดย้ นิ คำนี้พว่ งทา้ ย คำว่า “การศึกษา” บอ่ ยครง้ั ซ่ึงคำว่าศตวรรษที่ 21นน้ั มาพรอ้ มกับความก้าวหนา้ ทางวทิ ยาศาสตร์ นวตั กรรม และ เทคโนโลยี ที่สร้างแรงสั่นสะเทอื นจนกระเพื่อมและเปลย่ี นแปลงหลายอยา่ งในชีวิตประจำวันของผคู้ น รวมทัง้ ยังเปล่ยี นแปลง กรอบแนวคิด ความเชือ่ ทัศนคติ ฯลฯ ซง่ึ เปน็ ผลมาจากการเขา้ ถึงข้อมูลมหาศาลได้ อยา่ งรวดเร็ว เพียงไม่ก่ีนาที การเปลย่ี นเหลา่ นี้ ทำให้ผู้คนสามารถวิเคราะห์ หรอื เรียนร้สู ่ิงรอบตัวด้วยเหตุผล และองคค์ วามรู้ท่หี าได้เอง และนเ้ี องต่อคำว่า “การศกึ ษา” จากคำว่า “การศกึ ษา” ท่ีพ่วงท้ายคำวา่ ศตวรรษท่ี 21 ข้างต้นจึงเกดิ นิยามใหม่ว่าการเรยี นรู้โดยใช้ เทคโนโลยี นวตั กรรม และความกา้ วหน้าทางวิทยาศาสตร์เข้ามามีบทบาทเกย่ี วข้องกบั การจัดการศึกษา เพือ่ ให้ ผู้เรยี นเกิดกระบวนการคิดวิเคราะห์ มเี หตุผล และสามารถค้นหาหรือเขา้ ถงึ แหลง่ ข้อมูลด้วยตนเอง หรือกลา่ ว อย่างง่ายวา่ “เรียนรู้ด้วยตนเอง ท่ีสอดคล้องกบั การเรยี นรู้ที่เนน้ ผู้เรยี นเปน็ สำคญั หรอื เน้นผู้เรียนเป็นศูนยก์ ลาง การเรยี นรู้ ทผ่ี เู้ รยี นจะแสวงหาความรูด้ ้วยตนเอง รวมถงึ การเปล่ยี นแปลงบทบาทในห้องเรียนทีค่ รูจะลด บทบาทของตนเองเป็นผใู้ ห้คำปรกึ ษาและผคู้ อยกระตนุ้ ส่วนผ้เู รยี นจะถูกเพ่ิมบทบาทให้รู้จักการแสวงหาความรู้ ด้วยตนเองและการท่จี ะทำให้ผเู้ รยี นเกิดกระบวนการหรอื บรรลเุ ปา้ ประสงค์ดงั กลา่ วจำต้องมสี ิง่ ที่สง่ เสริมและ สนับสนนุ หน่งึ ในนั้นคือ ทฤษฎีการสอนแบบ Constructivism ซ่งึ เช่ือวา่ การเรยี นรู้ เปน็ กระบวนการสรา้ ง มากกวา่ การรบั ความรู้ ดังน้นั เป้าหมายของการจดั การเรียนการสอนจะสนับสนุนการสร้างมากกว่าความ พยายามในการถ่ายทอดความรู้ ดงั น้ัน กลุ่มแนวคิดคอนสตรัคตวิ ิสต์ จะมุ่งเน้นการสร้างความรู้ใหม่อยา่ ง เหมาะสมของแตล่ ะบุคคล และเชอ่ื วา่ สิง่ แวดล้อมมคี วามสำคัญในการสร้างความหมายตามความเป็นจรงิ (Duffy and Cunningham, 1996) การสอนศิลปะทส่ี ามารทำให้ผูเ้ รียนเกิดกระบวนการหรือบรรลุเป้าประสงค์ ของการเรียนรูใ้ นศตวรรษท่2ี 1 ที่อาศยั ทฤษฎีการสอนแบบ constructivism เขา้ มาชว่ ยในการจดั การเรียนการ สอน ซ่ึงครจู ะต้องจดั กิจกรรมศิลปะทส่ี อดคล้องกับความต้องการของผูเ้ รียน ไมเ่ น้นการรูปเกง่ หรอื สวยงาม เท่าน้ัน แต่ต้องใหผ้ ู้เรียนเกดิ ความรักทแ่ี สวงหาความรู้ทางด้านศิลปะด้วย เช่นการใชก้ จิ กรรมท่ีเนน้ พัฒนา ทางดา้ นสนุ ทรยี ์โดยใชก้ ารเรียนร้แู บบ constructivism ไม่ว่าจะให้ผเู้ รยี นจบั กลมุ่ รว่ มมือเรียนรจู้ ากปญั หาท่ีครู กำหนดจะทำให้ผู้เรียนลงมือกระทำในการสรา้ งความรู้ หรือเรียกวา่ Actively construct มใิ ช่ Passive receive ท่ีเปน็ การรับข้อมลู หรอื สารสนเทศ และพยายามจดจำเทา่ น้ัน เพ่ือทผี่ ู้เรียนมีทักษะทางศิลปะท่ี สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในอนาคต ปรบั ปรงุ พฒั นา เทคโนโลยี ตลอดจนนวัตกรรม และหาความรู้เพิ่มเติมได้ ด้วยตนเอง 43
Search