พิมพ์ครง้ั ที่ 1 : พ.ศ. 2560 ภาพประกอบ : ปิยะนนั ท์ นนั ทพล เรียบเรยี งเนือ้ หา : โครงการพฒั นาชดุ ความรู้ส่อื สร้างสรรค์เพือ่ เดก็ คอมพิวเตอรก์ ราฟิก : วทันยา บงกชกาญจน์ และครอบครวั พิมพ์ที่ : พรรณกี ารพิมพ์ เน้อื หาวชิ าการ : สถาบนั ส่ือเดก็ และเยาวชน (สสย.) 28, 30, 32, 34, 36 ซอยกาญจนาภเิ ษก 008 แยก 10 แผนงานสรา้ งเสริมวฒั นธรรมการอ่าน บางแค กรุงเทพฯ 10160 แผนงานส่อื ศิลปวัฒนธรรมสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ สนบั สนนุ โดย : สำ� นักงานกองทนุ สนับสนุนการสร้างเสรมิ สุขภาพ บรรณาธิการ : ญาณนี ศริ วิ งศ์ ณ อยธุ ยา, วันทนีย์ เจียรสนุ นั ท์ (สสส.) พิสจู นอ์ ักษร : สุปรยี า ห้องแซง 3
บทนำ� วัยเรียน (6 – 12 ปี) เป็นช่วงหัวเล้ียวหัวต่อท่ีส�ำคัญอีกช่วง วัยหนง่ึ เป็นห้วงเวลาทีเ่ ด็ก ๆ จะกา้ วจากความเปน็ เดก็ เข้าสู่วยั ร่นุ สังคมที่เด็ก ๆ วยั เรียนตอ้ งเผชญิ เปน็ สงั คมท่เี ปดิ กว้างมากยิง่ ข้ึน กว่าเด็กปฐมวยั พบผ้คู นทห่ี ลากหลายมากกว่า มีหน้าที่และความ รับผดิ ชอบท่ีสูงข้ึน ไม่วา่ จะเป็นสังคมเลก็ ๆ ในครอบครวั สงั คมท่ี กวา้ งใหญข่ น้ึ ในรวั้ โรงเรยี น หรอื แมก้ ระทง่ั สงั คมของโลกเสมอื นจรงิ อยา่ งโลกสงั คมออนไลน์ ซง่ึ คนสำ� คญั ทจ่ี ะชว่ ยสนบั สนนุ สง่ เสรมิ ให้ เด็ก ๆ กา้ วเข้าสูส่ งั คมไดอ้ ยา่ งม่ันใจ ปลอดภัย และมคี วามสุข ก็คอื คณุ พ่อคณุ แมแ่ ละผ้ใู หญท่ ีอ่ ยูแ่ วดลอ้ มเดก็ นั่นเอง หนังสอื “10 Checklist เลย้ี งลกู ใหม้ ี ‘สุข’ ฉบับ วยั เรยี น (6 - 12 ป)ี เล่มที่ 2 : สุขสังคม เท่าทนั ส่อื ” ท่คี ณุ พ่อคุณแมก่ ำ� ลัง ถอื อยเู่ ล่มนี้ เป็น 1 ในค่มู ือความรชู้ ุด 10 Checklist เลี้ยงลูกให้มี ‘สขุ ’ ทจี่ ะชว่ ยแนะนำ� แนวทางใหค้ ณุ พอ่ คณุ แม่ ไดเ้ ลย้ี งดลู กู วยั เรยี น ให้เติบโต ก้าวสู่การเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ก้าวข้ามผ่านอารมณ์ ความกลัว ความวิตกกังวล เรียนรู้การเท่าทันสื่อ เท่าทันตนเอง เท่าทันสังคม สามารถอยู่กับความหลากหลายของสังคมรอบตัว ได้อยา่ งมีความสุข 4
เนอ้ื หาในหนงั สอื คมู่ อื ชดุ นี้ มาจากแนวคดิ 3 ดี : สอ่ื ดี พน้ื ทดี่ ี ภมู ดิ ี อนั เปน็ แนวคดิ ท่ี สำ� นกั งานกองทนุ สนบั สนนุ การสรา้ งเสรมิ สขุ ภาพ (สสส.) ได้พัฒนาขึ้น โดยโครงการพัฒนาชุดความรู้สื่อสร้างสรรค์ เพอ่ื เดก็ และครอบครวั ไดน้ ำ� แนวคดิ นมี้ าประยกุ ต์ และนำ� เสนอผา่ น ประเดน็ ปญั หาตวั อย่างทพ่ี อ่ แมผ่ ปู้ กครองมักพบเจอ โดยมที ฤษฎี พฒั นาการเดก็ หลกั จติ วทิ ยา และบทเรยี นจากภาคเี ครอื ขา่ ยตา่ ง ๆ ของ สสส. ซ่ึงท�ำงานเกี่ยวกับเด็กเป็นข้อมูลสนับสนุนส�ำคัญ จน ออกมาเปน็ ชดุ คมู่ อื ทจ่ี ะทำ� ใหค้ ณุ พอ่ คณุ แมเ่ ขา้ ใจงา่ ย นำ� ไปประยกุ ต์ ใช้ในชวี ติ ประจำ� วันได้จรงิ ชดุ นี้ สงั คมทกุ วนั นเ้ี ปลย่ี นแปลงไปอยา่ งรวดเรว็ ไมว่ า่ จะดว้ ยเหตผุ ล อะไรกต็ าม วันนี้เราคงไม่สามารถปิดประตกู น้ั ลูกออกจากสังคมได้ แตส่ งิ่ ทเ่ี ราทำ� ไดแ้ ละควรทำ� เปน็ อยา่ งยงิ่ คอื การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ ให้ลูกของเราเติบโต มีพัฒนาการทางสังคม มีความรู้เท่าทันส่ือ อย่างเหมาะสมและสอดคล้องกับวัย เพ่ือเป็นพื้นฐานในการบ่ม เพาะลกู ของเรา ใหเ้ ตบิ โตเป็นพลเมืองทด่ี ี มีคุณค่า และเตม็ เปยี่ ม ดว้ ยความสขุ ตอ่ ไปในอนาคต 5
สารบญั 08 18 24 โลกกวา้ ง Checklist 1 : Checklist 2 : ทางท้าทาย กลัวไปโรงเรียน เดย่ี วไม่ชอบ ขอกลุ่มดีกวา่ 30 36 44 Checklist 3 : Checklist 4 : Checklist 5 : เรยี นรู้กฎกตกิ า ‘เล่นแรง’ เรอ่ื งธรรมชาติ ทำ� ยังไงเม่อื ลกู ทะเลาะกบั เพอ่ื น 52 หรอื กา้ วรา้ ว หรือถกู รงั แก Checklist 6 : 59 65 เมอื่ ลูกไม่มเี พ่อื น Checklist 7 : Checklist 8 : 71 อา่ นใหม้ ากกวา่ 7 บรรทัด ฉลาดอ่านฉลาก Checklist 9 : 77 รู้ทนั สอ่ื โฆษณา Checklist 10 : ‘เกมคอมพวิ เตอร์’ เลน่ เท่าไรถงึ เหมาะ? 6
7
โลกกวา้ ง ทางท้าทาย กา้ วกึง่ เล็กกึง่ ใหญ่ ก้าวกลา้ ๆ กลวั ๆ เสน้ ทางสวยงามเชอ่ื มโยงเดก็ น้อย จากวยั เดก็ ....ก้าวสวู่ ยั รุ่น 8
ชว่ งเวลา 6 ปแี รกของชวี ติ ทเ่ี จา้ ตวั เลก็ คอยคลอเคลยี คณุ พอ่ คณุ แมอ่ ยตู่ ลอดคอ่ ยๆ เปลยี่ นไป เมอ่ื เดก็ ๆ เดนิ ทางเขา้ สชู่ ว่ งวยั เรยี น ชว่ งวยั นเี้ ปน็ ชว่ งเวลาทแ่ี สนสนกุ สดุ ทา้ ทายสำ� หรบั เดก็ ๆ ชวี ติ ทข่ี ยบั จงั หวะจากเดก็ นอ้ ยวยั อนบุ าล กลายเปน็ เดก็ ชนั้ วยั เรยี นประถมศกึ ษา ทา่ มกลางความ กระตอื รอื รน้ อยากรอู้ ยากเหน็ กแ็ อบมคี วามกลวั และความวติ กกงั วลในการกา้ วเขา้ สกู่ ารเปน็ สมาชกิ ใน กลมุ่ เพอ่ื นใหม่ สงั คมใหมท่ หี่ ลากหลายขน้ึ ไมใ่ ชเ่ รอ่ื งงา่ ยเลยทเี่ ดก็ ๆ จะรบั มอื ไดโ้ ดยลำ� พงั คณุ พอ่ คณุ แมช่ ว่ ยเขาไดด้ ว้ ยการเรยี นรถู้ งึ พฒั นาการของวยั เขา้ ใจตวั เขาอยา่ งทเี่ ขาเปน็ และคอยสนบั สนนุ เปน็ กำ� ลงั ใจใหล้ กู กา้ วไปขา้ งหนา้ อยา่ งมน่ั ใจ 9
ทกั ษะสำ�คญั ใน ศตวรรษที่ 21 เดก็ ยคุ น้เี ปน็ เดก็ ในยคุ ศตวรรษท่ี 21 บริบททาง สังคมรอบๆ ตวั ของเด็กๆ ก็มีการปรับตวั เปลีย่ นแปลง ให้สอดรับกบั ศตวรรษที่ 21 รวมถึงรูปแบบการเรยี น การสอนในโรงเรียนทีเ่ ปน็ โลกใบเล็กๆ ทส่ี ำ� คญั ของเดก็ วยั เรียนดว้ ย เดก็ ในยคุ ศตวรรษที่ 21 เน้นการเรียนรู้ ผา่ นทักษะการลงมอื ทำ� จนเกดิ เป็นความรู้ ในฐานะพอ่ แมข่ องเด็กศตวรรษท่ี 21 เราก็ตอ้ ง ปรบั เปลย่ี นทศั นคตคิ วามคดิ ของเราใหต้ ามทนั ดว้ ยนะคะ จะไดช้ ว่ ยเตรียมและสนับสนุนลกู ๆ ของเราไดถ้ ูกต้อง เหมาะสม และไปในทศิ ทางเดยี วกับสงั คมรอบตวั เขา 10
3 ทกั ษะทค่ี วรฝึกให้ เดก็ ในวยั เรยี น 01 ทกั ษะชวี ิตและการทำ�งาน รู้จกั การปรบั ตวั ยดื หยุน่ รเิ รม่ิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ตัว ของตัวเอง มีความรับผิดชอบ มภี าวะผู้นำ� 02 ทักษะการเรยี นรู้และนวตั กรรม มีความคดิ ริเรม่ิ สรา้ งสรรค์นวัตกรรม คดิ อย่าง มวี จิ ารณญาณ คิดแกป้ ัญหา ทักษะการสอื่ สารและ ความรว่ มมอื 03 ทกั ษะด้านสารสนเทศ สอ่ื และเทคโนโลยี ใช้และประเมินสารสนเทศได้อย่างเท่าทนั วเิ คราะห์ เลือกใช้สือ่ ได้เหมาะสม ใช้เทคโนโลยใี นทางท่ี มีประโยชนแ์ ละมปี ระสิทธิภาพ 11
ทันข่าวสาร จิตอาสา ช่วยเหลือคนอ่ืน อยู่ร่วมกับ เพื่อนที่แตกต่าง ในสังคมได้ 12
หากเด็กๆ ได้รับการส่งเสรมิ ทักษะท่เี หมาะสมและสอดคล้อง กบั วัยแล้ว เราจะเหน็ พฒั นาการของเด็กๆ ในวัยนีอ้ ยา่ งน่าชืน่ ใจ มเอีจ้ือิตเฟอาื้อสแาบ่งปัน มีวินตัยนคเอวงบไดคุ้ม วิเคใชร้สาื่อะหเป์ส็น่ือได้ รู้เท่าทันสื่อ คุณเดค็ก่าตจะนเเหอ็นง คยวอามมแรตับกต่าง ผู้อ่ืนปไฏดิบ้เหัตมิตาัวะกสับม ใฝ่รู้ คิดได้ คิดเป็น 13
10 เรอ่ื งนา่ รู้ ทไ่ี มค่ วรพลาด ! ถา้ อยากใหล้ กู สขุ สงั คม เทา่ ทนั สอ่ื 14
เด็กวัยเรียนเป็นวัยที่เริ่มอยากมีเพ่ือน มีกลุ่ม มีสังคมของ ตัวเอง คุณพ่อคุณแม่จะสังเกตได้ว่าเด็กจะมีความกระตือรือร้น อยากรู้อยากเห็น ร่าเริง อยากแสดงความสามารถของตัวเอง อย่างเต็มที่ คุณพ่อคุณแม่จ�ำเป็น (ขอย�้ำว่าจ�ำเป็นนะคะ) ที่จะต้องเข้าใจขอบเขตความสามารถที่เด็กมีและเด็กเป็นอย่าง แท้จริง การคาดหวังในตัวเด็กไม่ว่าจะมากหรือน้อยเกินไป จะส่ง ผลให้เกิดความเครียดทั้งต่อตัวเด็กและผู้ใหญ่ไปเสียเปล่า ๆ เวลาความสุขมันมีไม่เยอะค่ะคุณพ่อคุณแม่ สู้เราตักตวงกัน ให้เต็มท่ีจะดีกว่า และน่ีคือ 10 เร่ืองน่ารู้ ท่ีจะช่วยให้คุณพ่อ คุณแม่เข้าใจและช่วยสนับสนุนลูก ๆ ของเราได้อย่างเต็มที่และ เหมาะสมตามวัยของเขาค่ะ 15
10วไปโรงเรยี น เรอ่ื งนา่ รู้ 1 ก ัล ททำยั5 กว่า อก้าวร้าว 4 ‘เล่นแรงด่ียวไม่ชอบ ขอกลุ่มดี อนหรอื ถกู รงั แกรู้กฎกติกางไงเมอื่ ลกู ทะเลาะกบั เพื่ 2เ ’ เร่ืองธรรมชาติหรื 3 เรียน 16
ทไี่ มค่ วรพลาด ! 6 เมอื่ ลกู ไม่ ถา้ อยากใหล้ กู ก สขุ สงั คม ฉลาดอา่ นฉลา เทา่ ทนั สอ่ื มเี พอื่ น 10 ‘เกมคอม อา่ นใหม้ ากกวา่7 บรรทดั 7 ษณา 8 เหมาะ? พิวเตอร์’ เล่นเทา่ ไรถงึ 9 รู้ทันส่ือโฆ 17
Checklist 1 กลัวไปโรงเรียน 18
อา่ นแล้วอยา่ เพง่ิ ตกใจคะ่ คณุ พ่อคุณแม่ ไมใ่ ช่ว่าเดก็ ๆ เขาจะขเ้ี กียจ เกกมะเหรกเกเร หรือ ไมอ่ ยากเรียนหนังสือนะคะ แลว้ ก็ไม่ตอ้ งแปลกใจด้วยว่า เดก็ ๆ ผ่านจากโรงเรยี นอนบุ าลมาแลว้ ทำ� ไมยงั กลวั การไปโรงเรยี นอยู่อกี นะ เรอื่ งน้ีมีทม่ี าที่ไปค่ะ 19
ตน้ เหตมุ าจาก ความไมม่ น่ั ใจ แมจ้ ะผ่านการเรยี นในโรงเรียนอนบุ าลมาแล้ว แต่ พอขึ้นมาอย่ชู ั้นประถมศกึ ษา เดก็ ๆ ต้องเจอกบั ความ เปลีย่ นแปลง ท้งั เนื้อหาวิชาเรียน กิจกรรมทย่ี ากข้ึน ภาระ ความรบั ผดิ ชอบกม็ ากขึ้น แถมยงั ตอ้ งเจอสงั คม ใหม่ เพื่อนกลุม่ ใหม่ คณุ ครใู หม่ บางคนต้องยา้ ยโรงเรยี น ใหมด่ ้วย การตอ้ งปรบั ตัวหลายๆ อยา่ งพร้อมๆ กัน อาจ ทำ� ใหเ้ ด็กบางคนรสู้ ึกวติ กกงั วล ถา้ ย่งิ ต้องเจอกบั ความ คาดหวังจากคุณครู พอ่ แม่ หรือแม้แต่การคาดหวังของ ตวั เอง ก็อาจจะส่งผลท�ำให้เด็กรสู้ กึ ไม่ม่ันใจ ปรบั ตวั เข้า กบั เพอ่ื นๆ การเรียนหรอื กจิ กรรมตา่ งๆ ไดย้ าก หรือ ไมเ่ ป็นไปตามความคาดหวัง สุดท้ายกเ็ กดิ เป็นความรู้สกึ กลวั โรงเรียนข้ึนมา 20
ท้องเสีย อาเจียน หนูไม่สบาย... เวียนศีรษะ ปวดท้อง ไม่ใช่ข้ออ้าง... ไม่ได้โกหก เม่อื เดก็ ๆ เกดิ อาการกลวั โรงเรยี น มกั จะแสดงอาการทางกายออกมา ให้เห็น เช่น อาเจียน เวยี นศรี ษะ ปวดทอ้ ง ท้องเสยี หรอื อาการออ่ นแรง เม่ือเด็กเกดิ อาการเหล่านค้ี ุณพอ่ คณุ แม่ตอ้ งสังเกตใหด้ ี ดเู ดก็ ใหแ้ น่ใจวา่ อาการเหลา่ น้ันไมไ่ ด้มีผลมาจากรา่ งกายจริงๆ (ตรงนอ้ี าจใหค้ ุณครชู ว่ ย สังเกต และมีคณุ หมอเขา้ มาช่วยดูแลดว้ ยไดน้ ะคะ) อาการผิดปกติทางกายท่สี ะท้อนมาจากการกลัวโรงเรียน เมอ่ื เกดิ ทใ่ี จ กต็ อ้ งแกท้ ใี่ จ คณุ พอ่ คณุ แมไ่ มค่ วรดดุ า่ หรอื กลา่ วหาวา่ เดก็ ขเี้ กยี จ แกลง้ ทำ� หรอื โกหก จะยงิ่ ทำ� ใหเ้ ดก็ รูส้ ึกเครยี ด กดดัน และอาการยงิ่ แยล่ งไปอีก พงึ ระลกึ ไวค้ ะ่ วา่ ‘กลัวโรงเรยี น’ ไมใ่ ช่ขเี้ กยี จหรอื เกเรไมย่ อมไป โรงเรียนนะคะ เด็กขี้เกียจ เกเร จะไปโรงเรยี น แต่ชอบท�ำกิจกรรมอ่ืนมากกวา่ เรียนหนงั สอื ความแตกต่างสำ� คัญอยู่ตรงนี้ ถ้าคณุ พ่อคุณแมเ่ ขา้ ใจก็ จะสามารถช่วยเด็ก ๆ ไดค้ ่ะ 21
หาสาเหตุ และ ปรบั พฤตกิ รรม การแก้ไขอาการกลวั โรงเรียน หลักๆ ท�ำได้ 2 อย่างค่ะ 01 การคน้ หาสาเหตทุ ่แี ท้จริงใหเ้ จอ ขั้นตอนน้ีมคี ุณหมอหรอื ผเู้ ช่ียวชาญเขา้ มาชว่ ยคณุ พอ่ คณุ แม่อีกทาง ได้นะคะ คุณพ่อคณุ แม่จะไดร้ บั คำ� ปรกึ ษา ชว่ ยกนั หาสาเหตคุ วามวิตกกังวล ของเดก็ เพอื่ ท่ีจะวางแผนชว่ ยเหลือเด็กๆ ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมตอ่ ไป 02 การปรบั พฤติกรรม เมอื่ คุณพอ่ คุณแมร่ ู้สาเหตขุ องปัญหาแลว้ ว่าเป็นเรื่องของการกลัว โรงเรียนแน่ๆ คุณพอ่ คุณแมต่ ้องเขม้ แขง็ นะคะ ไม่ว่าเด็กจะแสดงอาการ ทางกายอยา่ งไร หรอื จะพูดวา่ เพอ่ื น ครู หรอื โรงเรียนไมด่ ีต่างๆ นานา อยา่ งไรกต็ าม คณุ พอ่ คุณแมก่ ็ต้องให้ลูกไปโรงเรียนอย่างตอ่ เน่ือง อยา่ ยอม อนุญาตใหล้ ูกอยู่บา้ นเฉยๆ (ยกเว้นกรณีถ้าเดก็ ไม่สบายจรงิ ๆ นะคะ) นอกจากนน้ั แลว้ ‘ก�ำลงั ใจ’ จากคณุ พอ่ คณุ แมเ่ ป็นยาวิเศษทจี่ ะเยียวยา ทกุ อาการของลกู คะ่ หมน่ั ใหก้ ำ� ลงั ใจ อย่เู คยี งขา้ งลูก ไมค่ าดหวงั หรือกดดัน ลูกจนเกนิ ไป ยอมรับในส่งิ ทลี่ ูกเปน็ เม่ือเห็นลูกพยายามหรอื ท�ำได้ดี อยา่ ลมื ชน่ื ชมในความพยายามของเขา สง่ิ เหลา่ น้ีจะค่อยๆ ท�ำให้เด็กกล้าท่ีจะ เป็นตัวของตวั เอง กลา้ ท่จี ะยอมรบั คนอ่ืนและปรับตัวกบั โรงเรียนและสิง่ ใหม่ๆ ในชวี ิตได้ 22
Ideas & Tips นิทาน & พื้นท่ี สรา้ งสรรคช์ ่วยได้ ปัญหาการกลัวโรงเรียนป้องกันได้ต้ังแต่ก่อนทเ่ี ด็กๆ จะต้อง ไปโรงเรียน คุณพ่อคณุ แมอ่ าจใช้นิทานเป็นตัวชว่ ยในการเตรยี ม ตวั ให้เดก็ นอกจากนี้ ก็อาจพาเด็กไปดหู รอื ทดลองไปโรงเรยี น โดยเริม่ จากชว่ งเวลาสนั้ ๆ ก่อนแล้วค่อยๆ เพิ่มเวลาขน้ึ เพอื่ ให้ เดก็ คุ้นเคยหรอื รู้ล่วงหน้าวา่ เมือ่ ตอ้ งไปโรงเรยี นเขาจะต้องเจอกับ อะไรบา้ ง พน้ื ทส่ี รา้ งสรรค์นอกบา้ น หรือในละแวกชุมชนก็ช่วยเดก็ ได้ เช่นกนั คณุ พ่อคณุ แมค่ วรลองพาเด็กๆ ไปสงั คมภายนอกบา้ น เช่น ตลาด หอ้ งสมดุ สวน ลานชุมชนฯลฯ เพื่อให้เดก็ ร้สู ึกเข้าใจกับ การปรบั ตวั กบั สงั คมนอกบา้ นได้อกี ทางหนงึ่ 23
Checklist 2 เดี่ยวไม่ชอบ ขอกลุ่มดีกว่า 24
เม่อื ถึงวัยเรียน คุณพ่อคุณแม่อาจจะออกอาการใจหายเล็กๆ เพราะเด็ก ๆ จะเริ่มผละออกจากคุณพ่อคุณแม่ออกไปอีกนิดหนึ่ง สังคมที่กว้างข้ึน ท�ำให้เด็ก ๆ กระหาย ตื่นเต้น อยากท่ีจะเรียนรู้ และเพื่อนใหม่ ๆ จะกระตุ้นให้เด็กรู้สึกสนุกและท้าทาย 25
เรมิ่ เกาะกลมุ่ เพอ่ื น เพศเดยี วกนั ตอ้ งการ การยอมรบั จากเพอื่ น หลงั อายุ 10 ปี เดก็ จะเร่มิ จบั กลมุ่ กับเพอื่ นเพศเดียวกนั อาจมีการสลบั สบั เปล่ยี นสมาชกิ บา้ งตามความสนใจของเดก็ ในช่วงเวลานัน้ ช่วงนเ้ี ดก็ จะชอบเลน่ หรอื ทำ� งานเป็นทมี ยอมท่ีจะปรบั พฤติกรรมตา่ งๆ ของตวั เองเพื่อให้เพ่อื น ๆ ยอมรบั เข้ากลมุ่ ช่วงน้จี ึงเป็นโอกาสทองของคุณพอ่ คณุ แมแ่ ละคณุ ครู ทจี่ ะช่วยสนับสนุนและพฒั นาเด็กๆ ใน เรอ่ื งของวินยั ความรับผิดชอบ การเคารพกฎกตกิ า ข้อตกลง เหตผุ ล เดก็ วยั นี้จะเขา้ ใจและเรียนรไู้ ด้ เปน็ อยา่ งดี พยายามแทรกและสอนสิ่งเหลา่ นใ้ี หเ้ ดก็ ผา่ นกจิ กรรมและการทำ� งานกลมุ่ จะทำ� ให้เด็กเรียนรู้ และเขา้ ใจได้โดยไมเ่ บ่อื หน่ายคะ่ 26
ชอบการแขง่ ขนั พสิ จู น์ ความสามารถของตวั เอง เดก็ วัยเรยี นชอบการแขง่ ขันค่ะ ชอบเปรียบเทยี บความสามารถ ของตัวเองกบั เพื่อน เพราะเป็นวยั ทีอ่ ยากจะพสิ ูจนค์ วามสามารถ ของตัวเอง ถ้าเดก็ ร้สู กึ วา่ ตัวเองประสบความส�ำเรจ็ เขาจะยิ่งร้สู กึ ม่นั ใจในตวั เอง เกดิ ความรสู้ ึกที่ดกี บั ตัวเอง เห็นคณุ คา่ ของตัวเอง เกดิ ความภาคภมู ใิ จ และแนน่ อนค่ะ ถา้ เด็กรู้สึกในทางตรงกนั ขา้ ม ความรู้สึก พ่ายแพ้ จะท�ำใหเ้ ด็กรูส้ กึ แย่กับตัวเอง รสู้ ึกวา่ ตวั เองด้อย ไมม่ คี วาม สามารถ ส่งผลท�ำให้ไม่กล้าทจี่ ะทำ� อะไร เพราะกลัวความผดิ พลาด นีจ่ งึ ถือเปน็ ชว่ งอ่อนไหวอีกช่วงของเด็กๆ ทา่ ทีของพ่อแม่ คุณครเู ป็นสิ่งส�ำคัญ ระมดั ระวังทา่ ทีและความคาดหวงั ของเราให้ ดีค่ะ ชนื่ ชมลูกไปในทิศทางทถ่ี ูกตอ้ ง พอเหมาะ ขณะเดยี วกัน อยา่ ทำ� ใหเ้ ขาเสียก�ำลังใจ พยายามสง่ เสริม หาพื้นที่ใหเ้ ขาไดค้ ้นพบสง่ิ ท่ี ตวั เองถนดั และท�ำไดด้ ี เดก็ ทกุ คนมคี วามสามารถแตกตา่ งกนั หาสงิ่ ทเ่ี ดก็ ถนดั แลว้ เขาจะเตบิ โตและเปลง่ ประกาย 27
คณุ ครู = ฮโี ร่ อยา่ เพิ่งหงดุ หงดิ ไปนะคะคุณพอ่ คณุ แม่ ช่วงวัยเรียนน้ี อาจจะต้อง ยอมยกต�ำแหน่งฮีโรใ่ นใจของเดก็ ๆ ไปใหค้ ุณครูของเขาเสยี ก่อนช่วั คราวคะ่ ธรรมชาติของเด็กวัยเรยี น คนทมี่ อี ทิ ธิพลต่อเดก็ ๆ มากที่สดุ คือ ‘คณุ ครู’ คะ่ เด็กๆ จะเช่ือฟังคณุ ครทู ่ีสุด หากคณุ ครชู ืน่ ชม เขาจะรู้สกึ ดีใจ มากๆ และเขาจะเสียใจมากเมือ่ โดนคณุ ครูต�ำหนิ สงิ่ ที่คณุ ครูบอกหรอื สัง่ จะเปน็ เหมือนค�ำศกั ด์ิสิทธิ์ทเี่ ดก็ ๆ พร้อมจะปฏบิ ตั ิตามอย่างเต็มใจ เพราะฉะนัน้ คณุ พ่อคุณแม่ควรจะผนึกก�ำลังร่วมมอื กบั คุณครู ช่วย กนั ส่งเสริมสนบั สนนุ ให้เดก็ พฒั นาทกั ษะตา่ งๆ รวมไปถึงการปรบั ปรงุ แกไ้ ขพฤติกรรมต่างๆ ที่ไมเ่ หมาะสมก็ยังได้ ใหค้ ณุ ครเู ปน็ ตวั ชว่ ยนะคะ รบั รองวา่ มแี ต่ ‘รงุ่ ’ แนน่ อนคะ่ 28
Ideas & Tips เรมิ่ ตน้ จาก เพอ่ื นเลน่ ใกลบ้ า้ น ชว่ งรอยตอ่ ของการเป็นเด็กเลก็ เขา้ สูว่ ัยเรียน เด็กอาจจะมปี ัญหา ความขดั แยง้ ในใจอยบู่ า้ ง ใจหนง่ึ อยากเล่นเปน็ กลุ่มกับเพอ่ื น แตก่ ไ็ ม่รจู้ ะ แสดงออกอยา่ งไร ไม่รูจ้ ะเลน่ ยังไง บางคนกอ็ าจจะมอี าการตดิ ทีจ่ ะหวง ของเลน่ ของตวั เองดว้ ย เคลด็ ลบั งา่ ยๆ คุณพอ่ คณุ แม่ชว่ ยเดก็ ๆ ได้ ดว้ ยการเริม่ ตน้ จาก เพื่อนเล่นวัยเดยี วกนั ของเด็กๆ ในละแวกบ้านกอ่ นก็ไดค้ ะ่ ลองชวนกนั มาเล่นเกมง่ายๆ ทต่ี อ้ งเล่นเป็นกลมุ่ เช่น เกมต่อไมบ้ ลอ็ ก บอรด์ เกม ตอ่ จิก๊ ซอว์ เล่นฟุตบอล หรืออาจจะพาลูกออกไปพืน้ ทสี่ รา้ งสรรคล์ ะแวกบ้านก็ได้ เช่น ลาน ละเล่นหรอื สวนสาธารณะของชุมชน ไปรว่ มกิจกรรมสนกุ ๆ ในชมุ ชน หรอื ไปรว่ มเลน่ กับเพือ่ นๆ ใหม่ท่อี ย่ใู นวัยไล่เลี่ยกันก็ได้ กจิ กรรมง่ายๆ แบบนี้แหละที่จะท�ำใหล้ กู ซมึ ซับและเรยี นรูท้ ีจ่ ะฝกึ ทกั ษะสังคมให้เกิดขึน้ ได้ เม่อื เขาต้องไปร่วมกลุม่ กบั เพ่ือนๆ ท่อี ืน่ โดย ลำ� พังท่ไี มม่ คี ุณพอ่ คุณแม่ เขากจ็ ะรสู้ ึกม่ันใจและท�ำไดด้ ีค่ะ 29
Checklist 3 เรียนรู้กฎกติกา 30
‘กฎกติกา’ ไม่อาจส�ำเร็จได้ด้วยการบงั คบั แตจ่ ะส�ำเร็จไดด้ ้วยการ ‘ยอมรับ’ และมี ‘สว่ นร่วม’ ‘กฎกตกิ า’ ไม่อาจเกิดผลได้ดว้ ยการท่องจ�ำ แต่จะเกดิ ผลเรยี นรไู้ ดผ้ า่ นการ ‘ปฏบิ ัต’ิ ด้วยตนเอง 31
เรม่ิ ตน้ ทบี่ า้ น เรือ่ งของการเคารพและปฏิบตั ิตามกฎกตกิ า เป็นเรอ่ื งทตี่ อ้ งฝกึ ฝนเหมือนกบั ทักษะอ่นื ๆ เรามักพบว่า เม่อื เดก็ พน้ จากวัยอนุบาล มาถงึ วยั เรียน ผ้ใู หญ่รอบขา้ ง มกั คาดหวงั ว่าเด็กๆ จะสามารถท�ำตามกฎกตกิ าไดอ้ ย่างฉบั พลนั ซึง่ จริง ๆ แล้ว เรื่องนตี้ อ้ งคอ่ ยเป็นคอ่ ยไป สถานทท่ี ่ีจะชว่ ยฝึกเรื่องการปฏบิ ัติตามกฎกติกาไดด้ ี และง่ายท่ีสุดก็คือ ‘พน้ื ทบ่ี ้าน’ ของเราน่ันเองค่ะ หลกั การกำ�หนด กฎกตกิ าทไ่ี ดผ้ ล การบังคับไมเ่ คยได้ผลดี เดก็ อาจจะปฏิบตั ิ ด้วยความกลัว แตม่ ันจะไม่ได้ฝกึ ทักษะอะไรใหก้ บั ลูกเลย ทางทด่ี หี ากจะก�ำหนดกฎกตกิ าทีบ่ ้าน ขอ ให้ท�ำตามหลกั เหลา่ น้ีคะ่ ตอ้ งมาจากการพูดคุย ตกลงดว้ ยกัน ไม่ยากแก่การทำ�ให้สำ�เร็จ เข้าใจงา่ ย ปฏบิ ตั ไิ ดท้ ันที ต้องเคารพกฎกตกิ านท้ี ุกฝ่าย (พ่อแม่ดว้ ย) ถา้ จะยดื หยุน่ บ้าง ทำ�ได้ แตต่ ้องมเี หตุผล 32
กฎกตกิ าไมส่ ำ�เรจ็ รปู อกี หนึง่ เรื่องที่นา่ สนใจในการก�ำหนดกฎกตกิ า เพอ่ื ให้ลกู ของเราได้ฝกึ ปฏิบตั ิ ตามน้นั กค็ ือ กฎกตกิ าไมใ่ ช่สิ่งทส่ี �ำเรจ็ รปู กฎกติกาจะเปลีย่ นไปตามชว่ งวยั หรอื อาจจะปรบั ให้สอดคลอ้ งตามบริบทของสังคมหรือชวี ิตประจ�ำวันของครอบครวั ได้ ไม่จ�ำเปน็ วา่ กฎกติกาของบา้ นหน่ึง จะใชไ้ ดด้ อี กี บา้ นหนงึ่ เสมอไป ดังนนั้ ขอ้ ปฏบิ ัติหรอื กฎกตกิ าในบา้ น ควรจะให้สมาชิกมอี ิสระในการคิดและ ตัดสนิ ใจดว้ ย (แต่ต้องอยูบ่ นพ้นื ฐานความถกู ตอ้ งและเป็นส่งิ ท่ดี ีนะคะ) ที่ส�ำคัญ คือทุกฝา่ ยทั้งลูกและพอ่ แม่ ต้องยอมรบั และเข้าใจตรงกนั และควรมกี ารก�ำหนด รว่ มกนั ใหช้ ดั เจนวา่ หากมีคนไมท่ �ำตามกฎกตกิ าแล้ว จะมีวิธีปฏบิ ัติอยา่ งไร แตก่ อ็ าจมีบางครงั้ เหมือนกันนะคะ ทีเ่ ดก็ ๆ อาจจะมีเหตผุ ลดงี ามของการไม่ ท�ำตามกฎกติกา เพราะฉะน้นั กอ่ นจะตัดสินว่าเด็กท�ำผิดกฎ เปดิ โอกาสให้ลูกได้พูด ได้ชแ้ี จงเหตุผลสกั นดิ ก็จะดีมาก แล้วเราคอ่ ยตดั สนิ หรือหาทางออกร่วมกนั ก็ยงั ได้ นะคะ 33
กฬี า / เกมแขง่ ขนั แบบฝกึ หดั กฎกตกิ า ชน้ั เยยี่ ม เดก็ วยั เรยี นพลังเหลอื เฟือค่ะ ทกั ษะรา่ งกาย เขาพร้อมแลว้ เขามคี วามกระตอื รอื ร้นอยากแสดง ฝีมือ อยากแข่งขัน อยากเลน่ กับเพ่ือน คณุ พอ่ คณุ แม่ เปิดพื้นที่ให้เขาเลยค่ะ ใหก้ ีฬาและเกมการแข่งขันที่ ได้เคล่อื นไหวร่างกาย เป็นสอื่ ดีส่อื สรา้ งสรรค์ ให้เขา ได้ฝกึ การยอมรบั และเคารพกฎกตกิ าไปโดยอัตโนมตั ิ ซมึ ซบั เร่อื งนไี้ ปโดยทเี่ ขาไมร่ ูต้ วั ลองเลอื กดูเลยค่ะ ฟตุ บอล บาสเกตบอล แบดมนิ ตัน บอรด์ เกม การละเล่นแบบไทย ฯลฯ 34
Ideas & Tips เชก็ กนั หนอ่ ย เราเปน็ พอ่ แมแ่ บบไหนนะ? ลกู จะเป็นอยา่ งไร อยทู่ ่กี ารเลี้ยงดขู องพอ่ แม่ มาดูกันคะ่ วา่ เราเป็นพอ่ แม่แบบไหน? แบบที่ 1 แบบท่ี 2 แบบที่ 3 แบบท่ี 4 เลี้ยงแบบปลอ่ ยตาม ไมม่ ีกฎเกณฑ์แน่นอน เข้มงวดสุดๆ กำ� หนด เลย้ี งแบบประชาธปิ ไตย ให้ลูกทกุ อย่าง ดุดนั กำ� หนดกฎกตกิ ารว่ มกนั สบาย ไมม่ ีระเบียบวินยั บางวนั ก็เข้มงวด จจู้ ีข้ ้ีบ่น พดู คุยปรกึ ษากนั ไปไหนเมื่อไรก็ได้ บางวันกป็ ลอ่ ย ผอ่ นผนั ไดถ้ า้ มีเหตุผล พอ่ แมไ่ มไ่ ปทางเดยี วกนั คนหนง่ึ ใจดีมาก คนหน่งึ กเ็ ข้มงวดมาก และ....ถ้ารวู้ า่ เราเป็นพอ่ แม่แบบไหนแล้ว....มาดกู นั คะ่ วา่ เราจะไดล้ ูกแบบไหนหนอ? พ่อแมแ่ บบท่ี 1 = ลกู เอาแต่ใจ พ่อแมแ่ บบที่ 2 = ลูกดอ้ื พอ่ แมแ่ บบท่ี 3 = ลกู เก็บกด ซึมเศร้า พ่อแมแ่ บบที่ 4 = ลกู มีความรบั ผิดชอบ รจู้ กั ยอมรับกฎกตกิ าของส่วนรวม อยากได้ลกู แบบไหน คุณพ่อคณุ แม่เลอื กไดน้ ะคะ สู้ๆ ค่ะ 35
Checklist 4เพราะฉะน้นั ถา้ ทานขนม หรืออาหารนน้ั ครึ่งเดียว = หนง่ึ หนว่ ยบรโิ ภค ‘เลน่ แรง’ เรอ่ื งจะไดโ้ ซเดยี ม 170 มิลลกิ รัม แตถ่ ้าเกดิ ว่า เรากินขนม ธรรมชาตหิ รอืหรืออาหารนนั้ หมดภายในคร้ังเดียว กา้ วรา้ วกจ็ ะเทา่ กับเราได้โซเดยี ม 170 x 2 = 340 มลิ ลิกรมั เลยละ่ ค่ะ 36
เคยเกดิ เหตุการณค์ ล้ายๆ แบบนใี้ นครอบครัวเราไหมคะ? เมื่อเจอ สถานการณแ์ บบนี้ คุณพอ่ คุณแมค่ ดิ อะไรในใจเอย่ ? กา้ วรา้ ว? เลน่ แรง? อจิ ฉานอ้ ง? ไมร่ จู้ กั รกั ษาของ? 37
แยกความแตกตา่ งระหวา่ ง ‘เลน่ แรง’ และ ‘กา้ วรา้ ว’ เด็กเลน่ แรงๆ ความจริงแลว้ เปน็ ไปตามธรรมชาตขิ องวยั เกิดจากการใช้กลา้ มเนอ้ื มัดใหญ่อย่างเตม็ ก�ำลัง หรอื การใสค่ วาม จรงิ จงั ลงไปในการเล่นอย่างเต็มท่ี (ผ้ใู หญโ่ ปรดเขา้ ใจ ความ จริงจงั ในเรอื่ งเลน่ ๆ ของเด็ก) บางคร้งั จึงอาจมสี ถานการณท์ ี่การ เล่นของเด็ก กระทบกระทั่งกนั จนข้าวของเสียหาย หรือมีอาการ หัวโน หัวปดู บาดเจบ็ เล็กๆ น้อยๆ เกิดขน้ึ ไดบ้ า้ ง โดยทเี่ ดก็ ไมไ่ ด้ ตงั้ ใจ อยา่ งไรกต็ าม เพอ่ื คลายความกังวลใจของพ่อแม่ ลองใช้หลัก งา่ ยๆ ในการแยกแยะการเล่นแรงและความกา้ วร้าวออกจากกัน กอ่ นค่ะ ประเด็นสำ� คญั คอื ใหค้ ณุ พ่อคณุ แมพ่ จิ ารณาคะ่ ว่า การกระ ทำ� ของเดก็ นน้ั มกี ารละเมดิ สทิ ธผิ ้อู ่ืน หรอื ละเมิดกฎเกณฑ์ทาง สงั คมหรือเปล่า? 38
ถา้ ไมม่ ี กเ็ ปน็ ธรรมชาตขิ องเดก็ ที่เลน่ แรงๆ กันบ้าง ถา้ มี อาจเปน็ จดุ เรม่ิ ตน้ ของความกา้ วรา้ ว จำ� เปน็ ทค่ี ณุ พอ่ คณุ แมจ่ ะตอ้ งเขา้ ไปควบคมุ ดูแล และสอนลูกให้รู้ว่าพฤติกรรม เหลา่ นั้นไมเ่ หมาะสมและไม่ควรท�ำ ถา้ เดก็ ยงั ท�ำ กจ็ �ำเป็นจะต้อง ถูกควบคมุ ใหห้ ยดุ และเรียนรูว้ ่าพฤติกรรมน้ันทำ� ไมไ่ ดอ้ ย่างจรงิ จงั 39
แลว้ จะทำ�ยงั ไงใหล้ กู เลน่ นมุ่ นวลขน้ึ ? บางครั้งการเลน่ แรงๆ ของลูก อาจจะเป็นอุปสรรคในการเข้าสังคม เขา้ กลุ่มกบั เพ่อื นๆ คุณ พอ่ คุณแมช่ ่วยลกู ๆ ดูแลเร่ืองนี้ไดไ้ ม่ยากค่ะ 01 สงั เกตลูกอยา่ งใกล้ชดิ เวลาเห็นพฤตกิ รรมเล่น แรง อยา่ ดดุ า่ วา่ กลา่ ว หรอื ตะคอกเดก็ (แรงไมส่ งบไดด้ ้วย แรงนะคะ) ขอใหค้ ณุ พอ่ คุณแม่กันเดก็ ออกมา อธิบาย ให้ลูกเขา้ ใจด้วยเสียงที่นุม่ นวล ให้เดก็ ขอโทษเพื่อนหาก มสี งิ่ ของเสียหายหรอื ได้รับบาดเจ็บ 40
02 ใช้ดนตรี กฬี า ศิลปะ ช่วยลูกอีกทาง ลองให้เด็กๆ หนั มาท�ำกจิ กรรมดนตรี เล่นกฬี า หรือท�ำ กจิ กรรมศลิ ปะดคู ะ่ จะช่วยให้ปรบั อารมณ์ได้ดีขน้ึ กิจกรรม เหลา่ นย้ี งั เปน็ การฝกึ ใหเ้ ดก็ รู้จกั ระบายพลังทเ่ี กบ็ อยดู่ ้านใน ออกมาเป็นงานสรา้ งสรรคอ์ กี ด้วย 03 ทำ� จงั หวะชวี ิตให้ปกติ บางคร้งั ชีวิตประจ�ำวนั ท่เี รง่ รบี ทำ� ใหเ้ ดก็ เครยี ดไม่ร้ตู ัว เมื่อสะสมไว้นานๆ ก็อาจจะระเบิด ไดเ้ วลาที่เดก็ ๆ เลน่ แลว้ ควบคมุ อารมณ์ไมไ่ ด้ คุณพ่อคุณ แม่อาจจะช่วยปรับจงั หวะชวี ติ เหล่าน้ีใหก้ บั เดก็ ๆ หาเวลา สบายๆ อยูก่ ับลกู บา้ ง จะช่วยเด็กได้ค่ะ 41
เดก็ ๆ ตอ้ งการ 'พนื้ ท'ี่ ทจี่ ะแสดงออก อยา่ งปลอดภยั อสิ ระ และสรา้ งสรรค์ 42
Ideas & Tips ‘ปน้ั ๆ ทบุ ๆ’ ใหอ้ ะไร มากกวา่ ทคี่ ดิ เชอื่ ไหมคะว่า กจิ กรรมศิลปะอย่างการป้นั ดนิ น้ัน ใหอ้ ะไรกบั เดก็ มากกวา่ ทค่ี ณุ พ่อคุณแมค่ ดิ มากนกั เกิดอะไรข้ึนบ้าง ขณะทเี่ ด็กก�ำลังป้ัน ทบุ ขย�ำ ดนิ ที่ใช้ป้ัน ? ไดป้ ลดปล่อยความรู้สึกของตัวเอง (ไม่เช่ือคณุ พอ่ คณุ แม่ลองดกู อ่ นไดค้ ะ่ โมโหใครมา ขยำ� ทบุ ปน้ั ได้ผลเชียว) ได้ฝกึ การควบคุมตนเอง ไดป้ ลดปลอ่ ยจนิ ตนาการ ได้ถา่ ยทอดความคดิ ของตัวเองเปน็ ช้ินงาน ไดค้ วามภาคภูมิใจ 43
Checklist 5 ทำ�ยงั ไงเมอ่ื ลกู ทะเลาะกบั เพอ่ื นหรอื ถกู รงั แก 44
ลกู ใครใครก็รักใชไ่ หมคะ? ทะนุถนอมมาอยา่ งดี มดไมใ่ หไ้ ต่ ไรไม่ให้ตอม แตไ่ ฉนพอลูกของเราไปโรงเรยี น กลบั มา ตายแล้วๆ ท�ำไมมรี ่องรอยฟกชำ้� ดำ� เขียวกลับมา เป็นของฝากเสยี ได้ เวลาเจอสถานการณ์อย่างนี้ ขอบอกว่าคุณพอ่ คณุ แม่ต้องตัง้ สติใหด้ ีนะคะ อย่าเพิง่ เสียงดงั โวยวายใหเ้ ป็นเร่อื งใหญโ่ ต หรอื อยา่ เพ่ิงวง่ิ ไป จดั การเพอื่ นลกู อยา่ งรวดเรว็ (แบบทใี่ จอยาก) ปญั หาเดก็ ทะเลาะกันหรอื การรังแกกันไม่วา่ ทไ่ี หน ขอใหท้ างแก้ไข เปน็ ไปเพ่อื ประโยชน์ของเด็กทั้งสองฝา่ ยนะคะ 45
เมอ่ื ลกู ถกู รงั แก ปญั หาเดก็ ไปโรงเรียนแลว้ ถกู รงั แก เปน็ ตน้ เหตทุ จี่ ะทำ� ให้ เด็กขาดความสขุ ในสงั คม หากปลอ่ ยไป เดก็ อาจจะเร่ิมมีอาการ เกบ็ ตวั ซึมเศรา้ สง่ ผลถึงการเรยี น ไมม่ ีเพ่อื น เดก็ บางคนอาจ กลายเป็นเด็กกา้ วรา้ วได้ ดังน้นั เวลาท่คี ุณพ่อคณุ แมร่ ้วู ่าลกู ถูกรงั แก ลองช่วยเหลือ เดก็ ดังนี้นะคะ 46
แสดงความเห็นใจ ไมค่ วรตำ� หนิหรือวิพากษ์วิจารณ์ ในทาง ตรงกันขา้ ม คณุ พ่อคณุ แม่ควรจะช่ืนชมท่ลี กู กล้าเลา่ ให้เราฟงั คณุ พ่อคณุ แม่ไมค่ วรสนับสนนุ ให้ลกู ใชค้ วามรุนแรงในการ ตอบโตน้ ะคะ สงิ่ ท่คี ุณพอ่ คณุ แม่ควรจะสอนให้เด็กทำ� คือสอนวธิ ี การหลีกเล่ยี งจากผู้รังแก เช่น ไม่ควรอยู่ลำ� พงั คนเดยี ว ไมไ่ ปใน พน้ื ทเ่ี สย่ี ง สอนใหเ้ ดก็ กลา้ ทจ่ี ะเพกิ เฉย เดนิ หนี ไมส่ นใจ บอกตรงๆ ว่าไมช่ อบ หากทำ� อีกจะบอกครู เป็นตน้ หมั่นคอยเตมิ ความมนั่ ใจใหก้ ับลูก ทกุ ครงั้ ทีเ่ ดก็ ตอ้ งเผชญิ หนา้ กบั ปญั หา อาจจะสญู เสยี ความมน่ั ใจในตวั เอง ปลอ่ ยไวม้ าก ๆ เข้า เดก็ จะรูส้ กึ ด้อยคา่ ซึมเศรา้ คุณพอ่ คณุ แมค่ วรพยายามพา ลูก ๆ ออกไปหาพน้ื ทีส่ ร้างสรรค์ ท�ำกิจกรรมต่าง ๆ เชน่ ดนตรี กีฬา ศิลปะ เพื่อเตมิ เตม็ ความม่นั ใจและความภาคภูมใิ จให้ลกู ค่ะ 47
เมอื่ ลกู เปน็ คนรงั แกเพอ่ื น ทกุ ครงั้ ที่เกดิ ปัญหาเด็กทะเลาะเบาะแว้งขึน้ เผ่อื ใจไว้บา้ งนะคะ บาง ครงั้ ลกู เราอาจจะเปน็ คนรงั แกเพอื่ นกไ็ ด้ คณุ พอ่ คณุ แมต่ อ้ งค่อย ๆ คน้ หา ความจรงิ ให้เจอ หากลกู ของเราเปน็ คนรงั แกเพ่ือน เราจะต้องรบี ช่วย เหลือลกู เราให้เร็วทสี่ ดุ ไมอ่ ย่างนั้นเดก็ อาจจะสะสมเป็นความก้าวรา้ ว เกกมะเหรกเกเร เปน็ อนั ธพาลต่อไปในอนาคต (ซ่งึ ถ้าถึงวนั นน้ั แลว้ เรา คงเสยี ใจมากใช่ไหมล่ะคะ) ถ้าเราพบวา่ ลูกเราเปน็ คนรงั แกเพอ่ื น ไมค่ วรทั้งดุดา่ หรอื เพิกเฉย ลองใช้วิธีเหลา่ นด้ี คู ่ะ 48
01 ฝึกลูกให้เข้าใจจติ ใจคนอืน่ โดยอาจจะตง้ั ค�ำถามเก่ยี วกับความร้สู ึก เชน่ ส่งิ ทท่ี �ำไปเพือ่ นจะรสู้ กึ อยา่ งไร? ถ้ามคี นทำ� กับลกู จะรู้สึกอยา่ งไร? 02 ฝกึ ลกู ใหร้ บั ผดิ ชอบในสง่ิ ทตี่ วั เองทำ� ตง้ั แตเ่ รอื่ งเลก็ ๆ ในชวี ติ ประจำ� วนั เชน่ การตอ้ งเกบ็ ของใหเ้ ขา้ ท่ี โดยทค่ี ณุ พอ่ คณุ แมไ่ มเ่ ขา้ ไปชว่ ยทำ� ใหเ้ สยี หมด สงิ่ เหลา่ นจี้ ะสอนใหเ้ ดก็ รจู้ กั รบั ผดิ ชอบสง่ิ ทต่ี วั เองทำ� ลงไป 03 ฝึกลกู ให้เปน็ จติ อาสา หาโอกาส พ้ืนท่ีใหล้ กู ไดฝ้ กึ จิตอาสา การช่วย เหลือผูอ้ ืน่ เรม่ิ ต้งั แต่ในบา้ นก็ได้ เช่น ชว่ ยพ่อแมท่ �ำงานบ้าน อยา่ ลืมช่นื ชม ใหเ้ ขาภาคภมู ิใจในการท�ำความดีด้วยนะคะ 04 สร้างโอกาสใหเ้ ด็กไดภ้ าคภมู ิใจในตวั เองบอ่ ยๆ บางทีการท่เี ด็กแกลง้ คนอน่ื อาจเปน็ เพราะเขารูส้ ึกไม่มัน่ ใจในตวั เอง รู้สึกวา่ ตัวเองมปี มด้อย จงึ ใช้การแกลง้ เพ่อื นเปน็ การสรา้ งความภาคภมู ิใจให้ตวั เองก็มีนะคะ 05 คุณพอ่ คุณแม่อยา่ ทำ� ตวั เป็นคน ‘ขี้แกลง้ ’ ให้เดก็ เห็นเสยี เอง บางที เราอาจต้องสงั เกตนดิ หนึ่งค่ะว่า เราเป็นตัวอย่างชอบแกลง้ ใหล้ กู เห็นหรอื เปลา่ ถา้ ใช่ เริม่ เปลยี่ นพฤติกรรมท่ตี ัวเรากอ่ นเลยค่ะ 49
Search