LOGO นวตั กรรมและเทคโนโลยกี าร เรียนการสอน (Instructional Innovation and Media Technology) จดั ทาโดย นายณัฐพงษ์ จรัญ รหัสนิสิต 6150317 นิสิตสาขาการบริหารการศึกษา วทิ ยาลยั การศึกษา มหาวทิ ยาลยั พะเยา
คานา E-Book เล่ มนี้เป็ นส่ วนหน่ึงของรายวิชา นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ภาคเรียน ที่ 2ปี การศึกษา 2562จัดทาขึ้นเพื่ อ รวบรวมความรู้เกย่ี วกบั ทฤษฎี ความหมาย ขอบเขต แนวคิดความสาคัญทางนวัตกรรม เทคโนโลยี สารสนเทศเพ่ือการศึกษา เพ่ือผู้ที่ศึกษาสามารถนา เนื้อหาเพื่อทาความรู้ความเข้าใจมากยิ่งขึน้ ในการจัด การศึกษาในยุคปัจจุบัน ผู้จัดทาหวังเป็ นอย่างย่ิงว่า สมุดเล่มนี้คงเป็ นประโยชน์ต่อผู้สนใจไม่มากก็น้อย และหากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้จัดทาต้องขอ อภยั ไว้ ณ ทน่ี ีด้ ้วย ณฐั พงษ์ จรัญ 2
นวตั กรรม และเทคโนโลยกี ารศึกษา ความหมายของนวตั กรรม “นวตั กรรม (Innovation)” เป็นคำท่มี ี รำกศพั ทม์ ำจำกภำษำลำตินว่ำ Innovare แปลว่ำ to renew หรือ to modify ได้มี นักกำรศกึ ษำ ได้ให้ควำมหมำยไว้ หลำกหลำย ได้แก่ 3
ความหมายของนวตั กรรม ทอมสั ฮิวช์ (Thomasl Hughes) “เป็ นการนาวธิ กี ารใหม่ ๆ มาปฏบิ ตั หิ ลังจาก ไดผ้ า่ นการทดลองหรอื ไดร้ ับการพัฒนามา เป็ นขนั้ ๆ แลว้ โดยเรมิ่ มาตงั้ แตก่ ารคดิ คน้ (Invention) พัฒนาการ (Development) ซงึ่ อาจจะเป็ นไปในรปู ของโครงการทดลอง ปฏบิ ตั กิ อ่ น (Pilot Project) แลว้ จงึ นาไป ปฏบิ ตั จิ รงิ ซง่ึ มคี วามแตกตา่ งไปจากการ ปฏบิ ตั เิ ดมิ ทเ่ี คยปฏบิ ตั มิ า และเรยี กวา่ นวตั กรรม (Innovation)” 4
ความหมายของนวตั กรรม มอร์ตนั (Morton, J.A.) “การทาใหใ้ หมข่ น้ึ อกี ครงั้ (Renewal) ซง่ึ หมายถงึ การปรับปรงุ ของเกา่ และการพัฒนา ศกั ยภาพของบคุ ลากร ตลอดจนหน่วยงาน หรอื องคก์ ารนัน้ ๆ นวตั กรรมไมใ่ ชก่ ารขจดั หรอื ลม้ ลา้ งสงิ่ เกา่ ใหห้ มดไป แตเ่ ป็ นการ ปรับปรงุ เสรมิ แตง่ และพัฒนาเพอื่ ความอยู่ รอดของระบบ” 5
ความหมายของนวตั กรรม ไชยยศ เรืองสุวรรณ “วธิ กี ารปฏบิ ตั ใิ หม่ ๆ ทแี่ ปลกไปจากเดมิ โดยอาจจะไดม้ าจากการคดิ คน้ พบวธิ กี าร ใหม่ ๆ ขนึ้ มา หรอื การปรงุ แตง่ ของเกา่ ให ้ ใหมเ่ หมาะสม และสง่ิ ทงั้ หลายเหลา่ นี้ไดร้ ับ การทดลอง พฒั นามาจนเป็ นทเี่ ชอ่ื ถอื ได ้ แลว้ วา่ ไดผ้ ลดใี นทางปฏบิ ตั ิ ทาใหร้ ะบบกา้ ว ไปสจู่ ดุ หมายปลายทางไดอ้ ยา่ งมี ประสทิ ธภิ าพขนึ้ ” 6
ความหมายของ “นวตั กรรม” : สรุป นวตั กรรม เป็ นวธิ ีการปฏิบัติใหม่ที่แปลกไป จากเดิม โดยอาจจะได้มาจากการคดิ ค้น หรือ การปรับปรุงเสริมแต่งของเก่า และสิ่งเหล่านี้ ได้รับการทดลองและพฒั นาจนเป็ นทเี่ ช่ือถือ ได้ ทาให้ระบบบรรลุจุดมุ่งหมายได้อย่างมี ประสิทธิภาพ (อญั ชลี โพธ์ิทอง และคณะ) ตรงกบั ศัพท์บัญญัตทิ างวชิ าการ ที่ว่า : นวตั กรรม หมายถงึ การนาสิ่งใหม่ ๆ เข้ามา เปลยี่ นแปลงเพมิ่ เตมิ วธิ ีการทที่ าอยู่เดิมโดย ผ่านการทดลองเพื่อให้ใช้ได้ผลดยี ิ่งขนึ้ 7
เทคโนโลยสี มยั ใหม่ (ในปัจจุบนั ) 8
9
10
11
12
13
14
15
แนวคดิ พืน้ ฐานทส่ี ่งผลต่อนวตั กรรมการศึกษา จาแนกได้ 4 ประการ ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) ความพร้อม (Readiness) การใช้เวลาเพื่อการศึกษา การขยายตวั ทางวชิ าการ และการ เปลยี่ นแปลงของสังคม 16
1. ความแตกต่างระหว่างบุคคล (Individual Different) แผนการศึกษาของชาติ ให้มุ่งจัดการศึกษาตามความถนัด ความ สนใจ และความสามารถของแต่ละคนเป็ นเกณฑ์ เช่น การจดั ระบบห้องเรียนโดยใช้อายุเป็ นเกณฑ์ หรือใช้ ความสามารถเป็ นเกณฑ์ นวตั กรรมที่เกดิ ขนึ้ ได้แก่ การเรียนแบบไม่แบ่งช้นั (Non-Graded School) แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) เคร่ืองสอน (Teaching Machine) การสอนเป็นคณะ (Team Teaching) การจดั โรงเรียนในโรงเรียน (School within School) คอมพวิ เตอร์ช่วยสอน (Computer Assisted Instruction) 17
2. ความพร้อม (Readiness) แนวคดิ เดิมเช่ือกันว่า เดก็ จะเร่ิมเรียนได้กต็ ้องมคี วามพร้อม ซ่ึงเป็ นพฒั นาการตามธรรมชาติ ปัจจุบันการวจิ ยั ทางด้านจิตวทิ ยาการเรียนรู้ ชี้ให้เห็นว่า ความพร้อมในการเรียนเป็ นสิ่งท่ีสร้างขนึ้ ได้ ถ้าหาก สามารถจดั บทเรียนให้พอเหมาะกับระดับความสามารถ ของเดก็ แต่ละคน วชิ าท่ีเคยเช่ือว่ายาก และไม่เหมาะสม สาหรับเด็กเล็ก กส็ ามารถนามาให้ศึกษาได้ นวตั กรรมที่เกิดขนึ้ ได้แก่ ศูนยก์ ารเรียน (Learning Center) การจดั โรงเรียนในโรงเรียน (School within School) การปรับปรุงการสอนสามช้นั (Instructional Development in 3 Phases) 18
3. การใช้เวลาเพื่อการศึกษา การจดั เวลาเพ่ือการสอน หรือตารางสอนในรูปแบบเก่า มัก จัดโดยอาศัยความสะดวกเป็ นเกณฑ์ เช่น ถือหน่วยเวลาเป็ น ชั่วโมง เท่ากนั ทุกวชิ าทุกวนั และจัดเวลาเรียนเอาไว้แน่นอน ปัจจุบันมคี วามคดิ ในการจดั เป็ นหน่วยเวลาสอนให้สัมพนั ธ์ กบั ลกั ษณะของแต่ละวชิ า ซึ่งจะใช้เวลาไม่เท่ากนั บางวชิ า อาจใช้ช่วงส้ัน ๆ แต่สอนบ่อยคร้ัง การเรียนก็ไม่จากดั อยู่แต่ เฉพาะในโรงเรียนเท่าน้ัน นวตั กรรมที่เกดิ ขึน้ ได้แก่ การจดั ตารางสอนแบบยดื หยนุ่ (Flexible Scheduling) มหาวทิ ยาลยั เปิ ด (Open University) แบบเรียนสาเร็จรูป (Programmed Text Book) การเรียนทางไปรษณีย์ 19
4. การขยายตวั ทางวชิ าการ และการ เปลย่ี นแปลงของสังคม ทาให้มสี ิ่งต่าง ๆ ทค่ี นจะต้องเรียนรู้เพม่ิ ขนึ้ มาก แต่การจดั ระบบการศึกษาในปัจจุบันยงั ไม่มีประสิทธิภาพเพยี งพอจึงจาเป็ นต้อง แสวงหาวธิ ีการใหม่ทม่ี ีประสิทธิภาพสูงขนึ้ ท้ังในด้านปัจจัยเกย่ี วกบั ตวั ผู้เรียน และ ปัจจัยภายนอก นวตั กรรมท่เี กดิ ขึน้ ได้แก่ มหาวิทยาลยั เปิ ด การเรียนทางวทิ ยุ การเรียนทางโทรทศั น์ การเรียนทางไปรษณีย์ แบบเรียนสาเร็จรูป ชุดการเรียน 20
ลกั ษณะของนวตั กรรมทางการศึกษา เป็ นความคดิ เห็นหรือปฏบิ ตั กิ ารใหม่อย่าง แท้จริง เป็ นสิ่งทไ่ี ม่มใี ครค้นพบมาก่อน ซ่ึง นวตั กรรมประเภทนีจ้ ะถูกต่อต้านอยู่เสมอ จะต้องเป็ นส่ิงใหม่ท้งั หมด หรือบางส่วนอาจ เป็ นของเก่าทใี่ ช้ไม่ได้ผลในอดตี แล้วนามา ปรับปรุงให้ดขี ึน้ มกี ารจดั ระบบข้นั ตอนการดาเนินงานให้ เหมาะสมก่อนทจ่ี ะทาการเปล่ียนแปลง โดย พจิ าณาต้งั แต่ข้อมูล กระบวนการ และผลลพั ธ์ 21
ลกั ษณะของนวตั กรรมทางการศึกษา มกี ารพสิ ูจน์ด้วยการวจิ ัย หรืออยู่ระหว่าง การวิจยั ว่า “ส่ิงใหม่” น้ัน จะช่วยให้การ แก้ปัญหา และดาเนินการบางอย่างมี ประสิทธิภาพสูงขนึ้ กว่าเดมิ ยงั ไม่เป็ นส่วนหน่ึงของระบบงานในปัจจุบัน หาก “ส่ิงใหม่” น้ันได้รับการเผยแพร่และ ยอมรับจนกลายเป็ นส่วนหน่ึงของระบบงาน ท่ีดาเนินอยู่ในขณะนี้ ไม่ถือว่า “ส่ิงใหม่” น้ัน เป็ นนวตั กรรมต่อไป แต่จะเปลยี่ นสภาพ เป็ น “เทคโนโลย”ี อย่างเตม็ ท่ี 22
ความหมายของ “เทคโนโลย”ี ความเจริญในด้านต่างๆ ท่ปี รากฏให้เห็นอยู่ใน ปัจจุบัน เป็ นผลมาจากการศึกษาค้นคว้าทดลอง ประดษิ ฐ์คดิ ค้นสิ่งต่าง ๆ โดยอาศัยความรู้ทาง วทิ ยาศาสตร์ เม่ือศึกษาค้นพบและทดลองใช้ได้ผล แล้ว กน็ าออกเผยแพร่ใช้ในกจิ การด้านต่าง ๆ ส่งผล ให้เกดิ การเปลย่ี นแปลงพฒั นาคุณภาพ และ ประสิทธิภาพในกจิ การต่าง ๆ เหล่าน้ัน วิชาการทีว่ ่าด้วยการนาความรู้ทางวิทยาศาสตร์ มา ใช้ในกจิ การด้านต่าง ๆ จึงเรียกกนั ว่า \"วทิ ยาศาสตร์ ประยกุ ต\"์ หรือนิยมเรียกกนั ทั่วไปว่า \"เทคโนโลย\"ี (Technology) 23
ความหมายของ “เทคโนโลย”ี เทคโนโลยี (Technology) หมายถงึ กระบวนการผลติ การสร้าง วธิ ีการดาเนินงาน เพ่ือให้ได้สิ่งที่ต้องการ ผู้ท่นี าเอาเทคโนโลยมี าใช้ เรียกว่า นกั เทคโนโลยี (Technologist) 24
นวตั กรรม และ เทคโนโลยี นวตั กรรม และ เทคโนโลยี มกั จะเขียนคู่กนั เสมอ ใช้รวมเป็ นคาเดียวคือ Innotech นวตั กรรม และ เทคโนโลยี มคี วามสัมพนั ธ์ กนั อย่างใกล้ชิด นวตั กรรม เป็ นเรื่องของการกระทาส่ิงใหม่ ซึ่งอยู่ในข้ันทดลอง ยงั ไม่เป็ นที่ยอมรับใน สังคม เทคโนโลยี เป็ นเรื่องของการนาเอาส่ิงต่าง ๆ มาประยกุ ต์ใช้อย่างมีประสิทธิภาพ การนาเอานวตั กรรมมาประยุกต์ใช้ เรียกว่า เป็ น เทคโนโลยี 25
นวตั กรรมและเทคโนโลยี คือ INNOTECH การใช้ นวัตกรรม(Innovation)และเทคโนโลยี (Technology)ในการจัดการศึกษาคือใช้ในการเรียน การสอนถ้าใช้ ท้ัง2อย่างร่ วมกันด้วยการนาเอา เทคนิคและส่ิงประดษิ ฐ์ใหม่ ๆทางวทิ ยาศาสตร์มาใช้ เ รี ย ก “INNOTECH”ซึ่ ง ม า จ า ก ค า เ ต็ ม ว่ า “Innovation Technology”เป็ นการนาเอาคา นวตั กรรมและเทคโนโลยเี ข้าด้วยกนั 26
นวตั กรรม และ เทคโนโลยี เทคโนโลยี นวตั กรรม 27
เทคโนโลยี การพฒั นา เผย นวตั (ปรับปรุง แพร่ กรรม เปลยี่ นแปลง ) ใชเ้ ผยแพร่ในระบบปกติ การเปลย่ี นแปลงของนวตั กรรมและเทคโนโลยี 28
ความหมายของ “เทคโนโลยี สารสนเทศ” เทคโนโลยสี ารสนเทศ (Information Technology : IT) เป็ น เทคโนโลยที เ่ี น้นถงึ การจดั การในกระบวนการ ดาเนินงานสารสนเทศ หรือสารนเิ ทศใน ข้ันตอนต่าง ๆ ต้งั แต่การแสวงหา การ วเิ คราะห์ การจดั เกบ็ การจดั การเผยแพร่ หรือเพื่อเพม่ิ ประสิทธิภาพ ความถูกต้อง ความแม่นยา และความรวดเร็ว เพื่อให้ทันต่อ การนามาใช้ประโยชน์ 29
ส่วนประกอบของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เทคโนโลยคี อมพวิ เตอร์ (Computer Technology) การ การประมวล การแสดง นาเขา้ ผลขอ้ มลู ผลขอ้ มลู ขอ้ มลู เทคโนโลยโี ทรคมนาคม (Communication Technology) 30
ความสาคัญของเทคโนโลยสี ารสนเทศ ช่วยในการจดั ระบบข่าวสารจานวนมหาศาลของแต่ละวนั ช่วยเพม่ิ ประสิทธิภาพการผลิตสารสนเทศ ช่วยให้สามารถเก็บสารสนเทศไว้ในรูปที่สามารถเรียกใช้ได้ สะดวก ช่วยให้สามารถจดั ระบบอัตโนมตั ิ เพ่ือการจัดเกบ็ ประมวลผล และเรียกใช้สารสนเทศ ช่วยในการเข้าถึงสารสนเทศได้อย่างรวดเร็ว มี ประสิทธิภาพ ช่วยในการสื่อสารได้อย่างรวดเร็ว ลดอุปสรรคเกย่ี วกับ เวลา และระยะทาง 31
เป้าหมายของเทคโนโลยสี ารสนเทศ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการทางาน เพม่ิ ผลผลติ เพม่ิ คุณภาพในการให้บริการลกู ค้า ผลติ สินค้าใหม่และขยายผลติ ภณั ฑ์ สร้างทางเลือกในการแข่งขนั สร้างโอกาสทางธุรกจิ ด้านใหม่ๆ ดงึ ดูดลูกค้า ป้องกนั คู่แข่ง 32
การประยกุ ต์ใช้เทคโนโลยสี ารสนเทศ เพม่ิ ประสิทธิภาพในการทางาน สานักงาน อุตสาหกรรม การเงนิ และการพาณิชย์ การบริการการส่ือสาร สาธารณสุข ฝึ กอบรมและการศึกษา 33
ผลกระทบจากเทคโนโลยสี ารสนเทศ ด้านวถิ กี ารดาเนินชีวิต ด้านสังคมเมืองและชนบท ด้านการดาเนินธุรกจิ ด้านสังคมและเศรษฐกจิ ด้านกฎหมาย ศีลธรรมและจริยธรรม ด้านสุขภาพ ด้านการศึกษา 34
ปัจจยั ท่ีมีผลต่อการเปลี่ยนแปลงทางเทคโนโลยี ทางดา้ นบวก สร้างความเจริญเติบโตใหส้ งั คมในทุกๆดา้ น เช่น ดา้ นการศึกษา ดา้ นเศรษฐกิจ ดา้ น สื่อสารมวลชน ดา้ นคมนาคม ดา้ นการแพทย์ ฯลฯ ทางดา้ นลบ ผลกระทบตอ่ ชุมชน ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ ผลกระทบดา้ นจิตวิทยา ผลกระทบทางดา้ นสิ่งแวดลอ้ ม ผลกระทบทางดา้ นการศึกษา 35
36
37
38
39
40
หลกั การสาคญั ทค่ี วรพิจารณา 41
หลกั การสาคญั ทค่ี วรพิจารณา 42
The six E’s of Character Education Example Explanation Exhortation or Moral courage development Ethos or Ethical Environment Experience Expectations of Excellence 43
44
45
46
47
48
49
50
Search