Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายงานผลการตรวจราชการ ปี2561

รายงานผลการตรวจราชการ ปี2561

Published by kengjung31, 2020-06-25 00:16:52

Description: รายงานผลการตรวจราชการ ปี2561

Search

Read the Text Version

รายงานผลการตรวจราชการตดิ ตามและ ประเมินผลการดาเนินงานตามนโยบาย กระทรวงศึกษาธิการ รอบท่ี 1 ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2561 เอกสารที่ 6 / 2561 กลุ่มนโยบายและแผน สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต1

1 นโยบายที่ 1 การยกระดับคุณภาพการศกึ ษา 1. ผลการดาเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชวี้ ดั 1.1 จานวนสถานศึกษาท่ีมีการดาเนนิ งานตามประเดน็ การตรวจราชการและตวั ชวี้ ดั การดาเนินงานของสถานศึกษา หน่วยงาน/สถานศกึ ษา จานวน มกี ารตรวจสอบ/ จัดกิจกรรม กาหนดเปูาหมาย (สังกัด) สถานศกึ ษา วเิ คราะห์จดุ ออ่ นจดุ การเรียนการสอน การยกระดับ แขง็ ผลการทดสอบ และแกป้ ญ๎ หา ค่าเฉลีย่ ทั้งหมด จุดอ่อนเพื่อพฒั นา O-NET O-NET จุดแขง็ รายสาระ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ สพป.ลาปาง เขต 1 97 97 100 97 100 97 100 1.2 รายสาระ/กลุม่ สาระ ทเี่ ป็นจดุ แข็งจากการวิเคราะห์ผลการทดสอบ O-NET ของสถานศึกษา โดยเรยี งลาดบั มากไปหาน้อย 1) สาระการฟง๎ การดู และการพูด กลมุ่ สาระภาษาไทย 2) สาระการวิเคราะห์ขอ้ มลู และความนา่ จะเป็น กลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์ 3) สาระพลงั งาน กลุม่ สาระวทิ ยาศาสตร์ 4) สาระเศรษฐศาสตร์ กลุ่มสาระสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5) สาระภาษาเพอ่ื การสอ่ื สาร กลมุ่ สาระภาษาอังกฤษ 1.3 รายสาระ/กลมุ่ สาระ ทเี่ ปน็ จุดออ่ นของการวเิ คราะห์ผลการทดสอบ O-NET ของสถานศกึ ษาโดย เรยี งลาดับมากไปหานอ้ ย 1) สาระหลักการใชภ้ าษา กลุ่มสาระภาษาไทย 2) สาระพชี คณิต กลมุ่ สาระคณติ ศาสตร์ 3) สาระแรงและการเคลื่อนท่ี กลุ่มสาระวทิ ยาศาสตร์ 4) สาระภูมิศาสตร์ กลุ่มสาระสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม 5) สาระภาษากบั ความสมั พนั ธ์กับกล่มุ สาระอื่นๆ กลุ่มสาระภาษาอังกฤษ 1.4 สถานศึกษามวี ธิ กี ารวเิ คราะหจ์ ดุ อ่อนจดุ แข็งผลการทดสอบ O-NET อย่างไร นาผล O-NET 5 กล่มุ สาระการเรียนรู้ คือ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ สงั คมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม และภาษาองั กฤษ มาวเิ คราะหต์ ามรายมาตรฐานการเรียนรู้ และสาระการเรียนรู้ 1.5 หน่วยงาน/สถานศึกษาสง่ เสรมิ สนบั สนุนหรือจดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน เพอ่ื แก้ปัญหาจดุ อ่อน ทพี่ บจากการผลการทดสอบ O-NET อยา่ งไร 1) วางแผนการยกระดับคณุ ภาพ O-NET 1.1) วางแผนการดาเนินงาน ร่วมกับทีมบริหาร (ผอู้ านวยการ สพป.ลาปาง เขต 1 รองอานวยการ สพป.ลาปาง เขต 1 ผอู้ านวยการกล่มุ ) คณะกรรมการ กตปน. ศกึ ษานเิ ทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1 ทกุ คน 1.2) จดั สรรงบประมาณใหโ้ รงเรียนทม่ี ีคะแนนเฉลีย่ O – NET ในภาพรวมตา่ กว่าร้อยละ 50 โรงเรยี นประถมศกึ ษา(อนบุ าล–ป.6) จานวน 62 โรงเรยี นๆละ9,500 บาท เปน็ เงิน 589,000 บาท โรงเรยี น ขยายโอกาสทางการศึกษา (อนุบาล – ม.3) จานวน 23 โรงเรยี นๆละ 14,000 บาท เป็นเงิน 322,000 บาท

2 รวม 85 โรงเรยี น เป็นเงิน 911,000 บาท เพ่อื นาไปพฒั นา/สร้างนวตั กรรมแกป้ ๎ญหาการเรยี นรู้ โดยใช้ กระบวนการวิจัยในชัน้ เรียน 1.3) ประชมุ สมั มนาประธานเครอื ข่าย ผบู้ ริหารสถานศึกษา และครผู สู้ อนในแตล่ ะกลุม่ เครอื ข่าย 2) เรง่ รัดใหท้ ุกโรงเรยี นมฐี านข้อมลู คณุ ภาพและผลสมั ฤทธิท์ างการเรยี นของผเู้ รยี นเปน็ รายบุคคล ระดับโรงเรียน และระดับเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา 2.1) ประชาสัมพันธแ์ ละแจง้ ให้ผ้บู ริหารโรงเรยี น และครผู ้สู อน ดาเนินการจัดทาฐาน ข้อมูล คณุ ภาพและผลสมั ฤทธิท์ างการเรียนของผูเ้ รียนเป็นรายบุคคล ระดับโรงเรยี น 2.3) ศกึ ษานิเทศก์และบุคลากรท่เี กย่ี วขอ้ งในแต่ละกลมุ่ เครือขา่ ย ดาเนินการจดั ทาฐานขอ้ มูล คณุ ภาพและผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนรายบคุ คล ระดับโรงเรยี น และระดับเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษา 3) นิเทศ ตดิ ตามสถานศกึ ษากลมุ่ เปาู หมาย โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศ APICE Model 1.6 หน่วยงาน/สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมเพือ่ เสริมจดุ แข็งผลการทดสอบ O-NET ของสถานศึกษา อยา่ งไร สพป.ลาปาง เขต 1 มีการจดั กจิ กรรมเพ่อื เสริมจุดแขง็ ผลการทดสอบ O-NET ของสถานศกึ ษาโดยใช้ กระบวนการนิเทศ APICE Model ดงั นี้ 1. ศกึ ษาสภาพ และความตอ้ งการ (Assessing Needs = A) ศกึ ษานเิ ทศก์ ผูบ้ รหิ ารสถานศกึ ษา ครูผสู้ อน และบคุ ลากรทเี่ ก่ียวขอ้ งดาเนินการศกึ ษาสภาพ และวิเคราะหผ์ ลการดานนิ งานต่างๆ เช่น 1) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี นระดบั ชัน้ เรยี น 2) ผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียนระดับชาติ (O-NET) 3) การวางแผนการจดั กจิ กรรม เชน่ การจัดทาหนว่ ยการเรียนรู้ การพฒั นา/จดั ทาแผนการ จดั การเรียนรู้ การการพัฒนา/ผลิตสอื่ การเรยี นการสอน การสร้างเคร่อื งมอื วดั และประเมินผล 4) การจัดกจิ กรรมการเรียนรู้สู่ผู้เรยี น 5) การใชส้ ่ือการเรียนรปู้ ระกอบการจัดกิจการเรียนการสอน 6) การวัดและประเมนิ ผลผู้เรยี น 2. การวางแผน (Planning : P) ศึกษานเิ ทศก์ ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา ครูผู้สอน และบุคลากรท่ี เกยี่ วข้อง ดาเนนิ การวางแผนการนิเทศ กากับ ติดตามร่วมกัน เชน่ 1) กาหนดตวั ชว้ี ดั (KPI) 2) จัดทาสื่อและเคร่อื งมือการนิเทศ ตดิ ตามการยกระดบั คุณภาพO-NET 3) จัดทาคลังเคร่อื งมือและคลงั ขอ้ สอบตามโครงสรา้ งข้อสอบ (Test Blueprint) O-NET 4) จดั ทาปฏิทนิ การนเิ ทศ ติดตามการยกระดับคุณภาพO-NET 3. การใหค้ วามรู้ก่อนการนเิ ทศ (Informing = I) ประชุมเชงิ ปฏิบัติการใหค้ วามรู้ เกีย่ วกบั 1) การวิเคราะหข์ อ้ สอบตามตัวช้ีวดั และมาตรฐานการเรียนรแู้ ละโครงสร้างขอ้ สอบ (Test Blueprint) O-NET 2) การจดั กิจกรรมและประเมินตามศตวรรษที่ 21 3) การสร้างเคร่ืองมอื วัดและประเมนิ ผลตามสภาพจริง 4) การสรา้ งเครื่องมอื ตามแนวทาง PISA 5) การแก้ปญ๎ หาการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวิจยั ในชั้นเรยี น

3 6) การจัดกจิ กรรมและประเมนิ การอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียน 7) STEM Education 8) การสง่ เสริมทักษะการเรียนรู้และการแกป้ ๎ญหาการเรยี นรู้ โดยใช้แบบฝึกเสรมิ ทักษะการเรียนรู้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ 9) การศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทียม DLTV และ DLIT 4. ดาเนินการนเิ ทศแบบโค้ช (Coaching = C) ดาเนนิ การการนเิ ทศแบบโคช้ (Coaching = C) โดยเน้นโรงเรียนเป็นฐานผู้นเิ ทศ ประกอบดว้ ย ทมี บรหิ าร คณะกรรมการ กตปน. ศึกษานเิ ทศก์ ประธานเครอื ขา่ ย ผู้บริหารสถานศกึ ษา ครผู ู้สอนวิชาการ และ บคุ ลากรทีเ่ กี่ยวข้องรว่ มกันนิเทศ ติดตาม สถานศึกษาในสงั กัด จานวน 12 กลุม่ เครอื ข่าย โดยใชโ้ รงเรยี นเปน็ ฐาน ตามบรบิ ทการบรหิ ารการจัดการศึกษาภายใต้ขอ้ จากดั ตา่ งๆของสถานศึกษา ในการนิเทศโรงเรยี นในแต่ละกลมุ่ เครือข่าย ผนู้ เิ ทศ ไดใ้ ช้กระบวนการ PLC .ในการนเิ ทศแบบ โค้ช (Coaching = C) แก่ครูผู้สอน 4 กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วิทยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ (ผูร้ บั การนิเทศ) ท่ีเนน้ การยกระดบั คณุ ภาพของผู้เรยี น ซ่งึ ให้ใหค้ รูผู้สอน ดาเนนิ การ ดังนี้ 1) วเิ คราะห์ปญ๎ หาของผู้เรียน 2) เลอื กแนวทางในการแก้ป๎ญหา 3) กาหนดเปูาหมายความสาเร็จ 4) วางแผนการแก้ปญ๎ หา 5) ดาเนนิ การแก้ปญ๎ หาตามแผนท่วี างไว้ ในแต่ละกิจกรรมทไี่ ดก้ าหนดไว้ 6) วิเคราะห์ สรุปผลการดาเนินงาน 7) แลกเปลยี่ นเรยี นร้เู ล่าถงึ ความสาเร็จ และขอ้ เสนอแนะในการดาเนินงาน 5. การประเมินผลการนิเทศ (Evaluating = E) ดาเนินการประเมนิ ผลการนเิ ทศ กากบั ตดิ ตาม ดงั นี้ 1) รวบรวม วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ผลการนเิ ทศ 2) ตรวจสอบ และประเมนิ ผลการนิเทศ กากับติดตาม ผลการพัฒนา เกีย่ วกับความรู้ ความเข้าใจ การวางแผน/ออกแบบการเรียนรู้ การจดั กิจกรรมการเรยี นการสอน การใชส้ ่ือ/แหลง่ การเรยี นรู้ การวัด และประเมนิ ผล 3) สรุปและจดั ทารายงานผลการนเิ ทศ ติดตาม 4) จัดกจิ กรรมแลกเปลย่ี นรู้ PLC ของครผู สู้ อน 4 กลมุ่ สาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาองั กฤษ 5) มอบโล่รางวัลแกค่ รผู สู้ อนในกล่มุ สาระการเรียนรทู้ ่ีมีผลการประเรมะินดับชาติ (O-NET) สูงเปน็ อนั ดับ 1 และมอบเกียรติบัตรให้กับครูผู้สอนท่มี ีผลคะแนนเฉลีย่ สูงกว่าระดับชาติ 1.7 สถานศึกษากาหนดเปา้ หมายในการยกระดับคา่ เฉล่ยี O-NET ไดเ้ หมาะสมและสอดคล้องกับขอ้ มลู สารสนเทศในปจั จุบันหรือไม่/อย่างไร เหมาะสม เพราะกาหนด โดยใชผ้ ลสัมฤทธ์ทิ างการเรียน ปกี ารศึกษาทผี่ า่ นมาเป็นฐาน คิดเป็น รอ้ ยละ 5 ซ่งึ สูงกวา่ สพฐ. กาหนดไว้ (สพฐ. กาหนดไว้รอ้ ยละ 3)

4 2. ความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทีด่ ีในการดาเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน่ จุดแข็ง นวตั กรรมในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย เกดิ ประโยชนห์ รือมี ผลกระทบทางบวกแกผ่ ู้เรยี นอย่างไรบา้ ง 1) กระบวนการนเิ ทศ APICE Model เป็นนวัตกรรมทีม่ ีความสมเหตุ สมผล เป็นไปตามหลักการ เน้นการมสี ว่ นรว่ ม สอดคลอ้ งกับสภาพปญ๎ หาและบรบิ ทของสถานศกึ ษา 2) มกี ารใหค้ วามรู้ (Informing = I) แก่ครผู ูส้ อนทห่ี ลากหลาย เช่น 1) การวิเคราะหข์ อ้ สอบตามตวั ชว้ี ัดและมาตรฐานการเรยี นรู้และโครงสรา้ งข้อสอบ (Test Blueprint) O-NET 2) การจัดกิจกรรมและประเมนิ ตามศตวรรษที่ 21 3) การสรา้ งเครอ่ื งมือวดั และประเมินผลตามสภาพจริง 4) การสรา้ งเครอื่ งมอื ตามแนวทาง PISA 5) การแก้ปญ๎ หาการเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการวิจยั ในช้ันเรียน 6) การจดั กจิ กรรมและประเมินการอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขยี น 7) STEM Education 8) การสง่ เสรมิ ทักษะการเรียนร้แู ละการแก้ป๎ญหาการเรียนรู้ โดยใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะการเรยี นรู้ ภาษาไทย คณติ ศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ และภาษาอังกฤษ 9) การศกึ ษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV และ DLIT 2.2 รายชอ่ื หน่วยงาน/สถานศึกษาทีเ่ ปน็ ต้นแบบหรือแบบอย่างท่ดี ี ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย รายชอ่ื หน่วยงาน/สถานศึกษา ที่ต้งั รายการและรายละเอยี ด ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งทดี่ ี หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จดุ แขง็ / นวัตกรรม 1. โรงเรียนวัดคา่ กลาง ต.บ้านคา่ อ.เมอื ง จ.ลาปาง การจัดการเรยี นรแู้ ละประเมินผู้เรยี น ตามศตวรรษที่ 21 การใช้แบบฝึก เสรมิ ทักษะ การปญ๎ หาการเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการวิจยั ในชั้นเรยี น 2. โรงเรยี นอนุบาลหา้ งฉตั ร ต.ห้างฉัตร อ.เมอื ง จ.ลาปาง การจัดการเรยี นรู้และประเมินผู้เรยี น ตามศตวรรษท่ี 21 การใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ การปญ๎ หาการเรียนรู้ โดยใชก้ ระบวนการวิจัยในชัน้ เรียน 3. โรงเรียนบ้านแม่กวกั ต.บ้านออ้ น อ.งาว จ.ลาปาง การจดั การเรียนรแู้ ละประเมนิ ผ้เู รยี น ตามศตวรรษที่ 21 การใชแ้ บบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ การปญ๎ หาการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวจิ ยั ในชั้นเรยี น 4. โรงเรียนวดั ทุ่งโจ้ ต.บา้ นค่า อ.เมอื ง จ.ลาปาง การจดั การเรียนร้แู ละประเมินผ้เู รียน ตามศตวรรษที่ 21 การใช้แบบฝึก เสริมทักษะ การป๎ญหาการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวิจยั ในช้นั เรียน

5 รายชื่อหน่วยงาน/สถานศกึ ษา ทีต่ ัง้ รายการและรายละเอยี ด ต้นแบบหรือแบบอย่างท่ดี ี หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแขง็ / 5. โรงเรียนบา้ นปงสนุก ต.เวยี งเหนือ อ.เมือง จ.ลาปาง นวัตกรรม 6. โรงเรียนอนุบาลลาปาง ต.เวยี งเหนอื อ.เมอื ง จ.ลาปาง การจัดการเรยี นรแู้ ละประเมินผเู้ รียน (เขลางคร์ ตั นอ์ นสุ รณ์) ต.กลว้ ยแพะ อ.เมอื ง จ.ลาปาง ตามศตวรรษท่ี 21 การใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะ การปญ๎ หาการเรยี นรู้ 7. โรงเรยี นวัดหลวงวทิ ยา โดยใชก้ ระบวนการวิจัยในช้นั เรียน การจัดการเรียนร้แู ละประเมินผเู้ รียน ตามศตวรรษท่ี 21 การใช้แบบฝึก เสรมิ ทกั ษะ การป๎ญหาการเรียนรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัยในช้นั เรยี น การจัดการเรยี นร้แู ละประเมนิ ผเู้ รยี น ตามศตวรรษที่ 21 การใช้แบบฝกึ เสริมทกั ษะ การปญ๎ หาการเรยี นรู้ โดยใช้กระบวนการวิจัยในชน้ั เรยี น 3. ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 3.1 งานท่ปี ฏบิ ตั ิ/งานนโยบายมีมาก แตศ่ ึกษานิเทศกม์ ีจานวนนอ้ ย ทาให้มีการนเิ ทศ ติดตามขาดการ ตอ่ เน่อื ง 3.2 งบประมาณในการสง่ เสรมิ /พัฒนามีจานวนจากัด จึงทาใหบ้ างรายการ/กิจกรรมท่ีสง่ เสรมิ การ ยกระดบั คุณภาพการศกึ ษาไม่สามารถปฏบิ ตั ิไดเ้ ต็มทห่ี รือ 100% 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรงุ /พฒั นานโยบาย ควรส่งเสรมิ และพัฒนาการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ การวัดและประเมินผลของครูผสู้ อนใหส้ อดคลอ้ ง กับมาตรฐานและตัวชวี้ ดั ตามหลกั สูตรแกนกลางการศกึ ษาข้ึนพน้ื ฐาน 4.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ในการดาเนินงานตามนโยบาย ควรจดั สรรงบประมาณใหเ้ พยี งพอตอ่ การนาไปสง่ เสรมิ /พฒั นาการนานโยบายการยกระดับคณุ ภาพ การศึกษา ไปสูส่ ถานศึกษา

6 1.2 การยกระดบั คะแนนเฉลย่ี PISA สถานศกึ ษาทม่ี ี สถานศกึ ษาท่มี นี ร.อายุ หนว่ ยงาน/ จานวน จานวน สถานศกึ ษาท่เี ตรียม นร.อายุ 15 ปี ได้ 15 ปี ไดจ้ ัดกจิ กรรม สถานศกึ ษา สถาน สถานศึกษา ความพรอ้ มใหก้ บั ปรบั ระบวนการ การเรียนการสอนเพื่อ ศกึ ษา ทีม่ ี นร.อายุ ครู เพื่อรองรับ เรยี นการสอนท่ี เสริมสรา้ งระสบการณ์ (สงั กัด) ทงั้ หมด การทดสอบ PISA สอดคล้องกบั การ การทดสอบตามนวทาง 15 ปี ทดสอบ PISA ของการทดสอบ PISA สพป.ลาปาง เขต 1 จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ย จานวน รอ้ ยละ ละ 23 23 23 100 23 100 23 100 1.2 สถานศึกษามีการเตรียมความพรอ้ มให้กบั ครู เพอ่ื รองรบั การทดสอบ PISA อยา่ งไร 1. ครผู ้สู อนระดบั ชนั้ ม.1-3 ทุกคน ในโรงเรยี น ได้รับขอ้ มลู เกยี่ วกับการประเมินผลนกั เรียนนานาชาติ (PISA) จากสพป.ลาปาง เขต 1 เว็บไซต์ PISA THAILAND ของสถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศกึ ษาธกิ าร , ระบบออนไลนข์ ้อสอบ PISA และเว็บไซด์ตา่ งๆทเี่ กีย่ วขอ้ ง ทางอนิ เตอร์เนต็ 2. ครผู ู้สอนระดับชนั้ ม.1-3 ทกุ คน ในโรงเรยี น ได้รบั การฝึกอบรมปฏบิ ัติการ ใชโ้ ปรแกรมการทดลอง ทาแบบทดสอบ PISA ของสถาบนั สง่ เสริมการสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี(สสวท.) จากศึกษานิเทศก์ สพป.ลาปาง เขต 1 เพอ่ื นาไปสูก่ าระบวนการพฒั นาขับเคลอื่ นในระดับช้นั เรียน 1.3 สถานศกึ ษาทีม่ นี กั เรียนอายุ 15 ปี (มธั ยมศึกษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปวช.) มีการปรบั กระบวนการเรียนการสอนที่สอดคลอ้ งกบั การทดสอบ PISA อย่างไร สถานศกึ ษามีนกั เรียนอายุ 15 ปี (ม.ตน้ ) มีการปรบั กระบวนการเรยี นการสอนที่สอดคลอ้ งกบั การ ทดสอบ PISA โดย 1. เตรียมความพรอ้ มขับเคลอ่ื น ดา้ นทักษะการอ่าน การคดิ วิเคราะห์ การใหเ้ หตุผล จดั กจิ กรรมให้ เด็กได้ลงมือปฏิบัตจิ รงิ 2. จดั การเรียนการสอนท่มี ีประสิทธภิ าพ ใหส้ อดคล้องกับวธิ ีการประเมินผลนกั เรยี นนานาชาติ (PISA) 3. สร้างความรู้ความเข้าใจและความตระหนกั เก่ยี วกบั การประเมนิ ผลนักเรียนนานาชาติ (PISA) ให้กบั นักเรยี น เพอ่ื ใหน้ ักเรียนมีความพรอ้ มและเขา้ ใจ วิธีการประเมินผลนักเรยี นนานาชาติ (PISA) 1.4 สถานศึกษาท่มี ีนกั เรียนอายุ 15 ปี (มธั ยมศกึ ษาตอนตน้ มธั ยมศกึ ษาตอนปลาย ปวช.) จดั กจิ กรรมการเรยี นการสอน เพือ่ เสรมิ สร้างประสบการณ์การทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แก่ผเู้ รียน อย่างไรบ้าง สถานศึกษาทม่ี ีนกั เรยี นอายุ 15 ปี (ม.ตน้ ) จัดกจิ กรรมการเรียนการสอน เพอ่ื เสริมสรา้ ง ประสบการณก์ ารทดสอบตามแนวทางของการสดสอบ PISA แก่ผ้เู รียน โดยดาเนนิ การ ดังน้ี 1. จดั การเรียนการสอนท่ีส่งเสรมิ ใหเ้ ด็ก กล้าคิด คิดเป็น วิเคราะห์ได้ แก้ปญ๎ หาเป็น

7 2. จดั กิจกรรมใหเ้ ด็กได้ลงมอื ปฏิบตั ิจริง หมั่นแสวงหาความรจู้ ากแหลง่ เรยี นรูต้ ่างๆ และเชอื่ มโยง ความรไู้ ปใชก้ บั สถานการณท์ ี่พบในชีวติ ประจาวันได้จรงิ 3. จดั กจิ กรรมให้เดก็ รว่ มกันสร้างจิตสานึก และความคิดสรา้ งสรรค์ ปลูกฝ๎งใหน้ กั เรียนรจู้ ักคดิ และแกป้ ญ๎ หา วิเคราะห์ แยกแยะ มเี หตุผล และใช้วจิ ารณญาณในการตดั สินใจ 2. ความโดดเด่น/จดุ แข็ง/นวตั กรรม/ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทีด่ ีในการดาเนนิ งานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน่ จุดแข็ง นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย เกิดประโยชน์หรือมี ผลกระทบทางบวกแกผ่ ้เู รียนอย่างไรบ้าง 1) ผู้เรียน ไดร้ บั การเรียนรูจ้ ากกิจกรรมส่งเสริมเพื่อพฒั นา ให้เรยี นรู้ ทม่ี คี วามหลากหลาย โดยเน้น การเพ่ิมพูน ระสบการณ์ และทักษะการเรยี นรู้ ใน 3 ด้าน ใหก้ บั ผเู้ รียน คือการรู้เรื่องการอ่าน (Reading Literacy) การรูเ้ รอื่ งคณิตศาสตร์ (Mathematics Literacy) และการร้เู รื่องวทิ ยาศาสตร์ (Scientific Literacy) โดยปฏริ ูปการ เรยี นรทู้ ั้งระบบ ใหเ้ นน้ ความเขา้ ใจในสอ่ื ทไ่ี ด้อ่าน การสรา้ งความหมายจากส่งิ ท่อี ่านโดยใช้ความรเู้ ดมิ ผสมผสานกับ บริบททางสงั คมและวฒั นธรรมไดแ้ ละมคี วามสมั พันธ์เชื่อมโยงกันกบั การในชวี ติ ประจาวนั ในครอบครวั สังคม 2) ผู้เรียนมีการอ่านคล่อง ตีความหมายคา การเช่ือมโยงระหวา่ ง สกดั ใจความสาคญั โดยอา้ งองิ ความรู้ และประสบการณเ์ ดมิ มีการตอบสนองคาสงั่ ทีใ่ ห้ใชเ้ หตุผลจากถ้อยความ ให้บอกสาระสาคัญทถี่ ้อยความทก่ี าหนดให้ ส่ือสารออกมา หรือให้โต้แย้งบนพ้ืนฐานของประจักษพ์ ยานท่ีปรากฏ และมที ักษะในการอา่ นจากสื่อดิจิทลั (Digital Reading) ดีข้นึ 3) ผู้เรยี นสามารถ จดั การกบั ข้อเขียนสงิ่ ทีย่ ากและซับซ้อน ได้ดีข้ึน 2.2 รายชอื่ หน่วยงาน /สถานศึ กษาทีเ่ ปน็ ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งทีด่ ี ในการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบาย รายช่ือหน่วยงาน/สถานศึกษา ทต่ี ั้ง รายการและรายละเอยี ดของความโดดเดน่ /จดุ แขง็ / ตน้ แบบหรอื แบบอย่างทดี่ ี หนว่ ยงาน/สถานศึกษา นวตั กรรม 1.โรงเรยี นวัดหลวงวิทยา ต.พระบาท อ.เมอื ง พัฒนาระบบบริหารจัดการและสง่ เสรมิ การมีส่วนร่วม จ.ลาปาง ในการจัดการศึกษา และมจี ดั การเรียนร้ทู ี่สง่ เสรมิ ให้ 2.โรงเรียนบา้ นบอ่ หอ้ ต.บ้านแหง อ.งาว เดก็ กล้าคดิ คดิ เป็น วิเคราะหไ์ ด้ แก้ป๎ญหาเปน็ โดย จดั กจิ กรรมให้เดก็ ได้ลงมือปฏบิ ตั จิ รงิ หม่นั แสวงหา จ.ลาปาง 3.โรงเรยี นทุง่ ฝางวทิ ยา ต.บ้านค่า อ.เมือง ความรจู้ ากแหล่งเรียนรตู้ า่ งๆ และเชื่อมโยงความร้ไู ป ใช้กบั สถานการณท์ ่ีพบในชีวิตประจาวนั ไดจ้ รงิ จ.ลาปาง 3. ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 3.1 ครผู สู้ อน ท่ีมวี ุฒิทางการศึกษา ตรงวชิ าเอกทีต่ อ้ งสอนในรายวชิ าต่างๆ ระดับ มัธยมศึษาปีท่ี 1-3 มนี ้อย จานวนครูไม่ครบตามวชิ าทกี่ าหนดในการสอนตามหลักสูตร ทาให้กิจกรรมทสี่ ง่ เสริมการยก ระดับคุณภาพ การศกึ ษาไม่สามารถปฏิบตั ไิ ด้เต็มท่ีหรอื 100% 3.2 งานท่ปี ฏิบตั ิ/งานนโยบายมีมาก แต่ศกึ ษานิเทศก์มีจานวนนอ้ ย ทาใหม้ ีการนิเทศ ติดตาม ขาดการต่อเนอื่ ง 3.3 งบประมาณในการสง่ เสริม/พัฒนามจี านวนจากัด จึงทาใหบ้ างรายการ/กจิ กรรมทีส่ ง่ เสริมการ ยกระดับคณุ ภาพการศกึ ษาไม่สามารถปฏิบตั ิไดเ้ ตม็ ท่ีหรือ 100%

8 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พฒั นานโยบาย 4.1.1 ควรปรับลดจานวนรายวิชาท่ีเรยี นให้ลดลง 4.1.2 ควรสง่ เสริมและพฒั นาการจัดกจิ กรรมการเรียนรู้ การวดั และประเมนิ ผลของครูผสู้ อนให้ สอดคล้องกบั มาตรฐานและตัวชวี้ ดั ตามหลักสตู รแกนกลางการศกึ ษาขนึ้ พน้ื ฐาน 4.1.3 ควรสง่ เสรมิ การสอนคิด คดิ เปน็ วเิ คราะหไ์ ด้ แก้ปญ๎ หาเปน็ และเช่อื มโยงความรู้ไปใชก้ บั สถานการณท์ พ่ี บในชีวติ ประจาวันไดห้ ลากหลาย เช่อื มโยงกับการใช้ชีวติ ในสังคมทอ้ งถิ่น สู่สังคมโลกท่ีกว้างขน้ึ สอดแทรกไว้ในทกุ รายวิชา 4.1.1.ควรสง่ เสรมิ และปลกู ฝง๎ ให้นกั เรยี น มีการสร้างจิตสานกึ และความคิดสรา้ งสรรค์ ร้จู กั คดิ และแกป้ ๎ญหา วเิ คราะห์ แยกแยะ มเี หตผุ ล และใชว้ ิจารณญาณในการตดั สนิ ใจ สอดแทรกไว้ในทุกรายวิชา 4.2 ข้อเสนอแนะอื่นๆ ในการดาเนนิ งานตามนโยบาย ควรจดั สรรงบประมาณใหเ้ พียงพอตอ่ การนาไปสง่ เสริม/พฒั นาการนานโยบายการยกระดบั คุณภาพ การศึกษา ไปสสู่ ถานศึกษาและผู้เรียน เพ่อื ใหม้ ปี ระสิทธผิ ลตามเปูาหมาย

9 นโยบายที่ 2 การจัดการศึกษาปฐมวยั 1. ผลการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบายและตวั ช้ีวดั 1.1 จานวนนกั เรยี นปฐมวยั (อนบุ าล 1-3 และเด็กเลก็ ) และจานวนสถานศึกษาที่เปดิ สอนระดบั ปฐมวยั ปกี ารศกึ ษา 2560 จานวน หนว่ ยงาน/สถานศึกษา สถานศึกษา จานวน นกั เรียนปฐมวยั สถานศึกษาท่ีมรี ะบบ (สงั กดั ) ทเ่ี ปิดสอน ประชากร (อนบุ าล 1-3 และ ปอู งกันภยั ทัง้ ภายในและ ภายนอกสถานศึกษา ระดบั วัยเรยี น เดก็ เลก็ ) ปฐมวยั อายุ 3-5 ปี ทั้งหมด (คน) (แห่ง) จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ สพป. ลาปาง เขต 1 95 9,134 3,871 42.38 95 100 หมายเหตุ: จานวนประชากรวัยเรียน อายุ 3-5 ปี ใชข้ ้อมูลจากสานักทะเบียนราษฎร์ของแตล่ ะพ้ืนท่ี ท่มี าข้อมูล ศูนยท์ ะเบยี นภาค 5 จงั หวดั ลาปาง ณ วนั ท่ี 30 ธันวาคม 2559 1.2 สถานศึกษาไดด้ าเนนิ การในดา้ นต่างๆ อย่างไร เพื่อเป็นการปอ้ งกันภยั ทั้งภายในและภายนอก สถานศกึ ษาใหก้ ับผู้เรียนระดบั ปฐมวัย สพป.ลาปาง เขต 1 ได้กาหนดเปน็ นโยบายให้สถานศกึ ษาทุกแห่งในสงั กดั จดั ทาคู่มอื แนวทางปฏิบตั ิ และมาตรการรกั ษาความปลอดภัยของสถานศกึ ษา ดังนี้ ดา้ นอาคารสถานท่ี 1. ศกึ ษาสภาพทั่วไปของโรงเรยี น ชุมชน ความเขม้ แข็งของเครือขา่ ยเพอ่ื วิเคราะหค์ วามเสยี่ งจากการ เกดิ อบุ ัติเหตุ อบุ ตั ิภัย และภัยจากสภาพแวดล้อม 2. ตรวจสอบโครงสร้างและสว่ นประกอบอาคารอยา่ งสมา่ เสมอ 3. มกี ารแต่งต้งั บุคลากรในการดูแลรกั ษาอาคารสถานท่ี 4. โรงเรียนกาหนดมาตรการหลักเพอ่ื ปูองกันและแกไ้ ข 5. กาหนดเวลาและผู้รบั ผดิ ชอบอยา่ งชัดเจนและสามารถปฏบิ ตั ิได้ 6. จัดทาปาู ยขอ้ ควรระวงั ด้านความปลอดภยั ในจุดอนั ตราย 7. ดูแล ซ่อมแซมสว่ นประกอบอาคารให้อยู่ในสภาพท่ีปลอดภัย 8. จัดให้มเี จา้ หน้าทต่ี ัดแต่งกิง่ ไมใ้ ห้อย่ใู นสภาพที่ปลอดภยั อยู่เสมอ 9. จดั ให้มีแผนการปูองกันและการเคล่ือนยา้ ยกรณีเกิดเหตุฉกุ เฉนิ ดา้ นอุปกรณเ์ คร่อื งใช้ต่าง ๆ 1. ตรวจสอบเครื่องมอื เคร่ืองใช้และอปุ กรณต์ ่าง ๆ กอ่ นใช้ทุกคร้ัง 2. หา้ มใชเ้ ครอื่ งมอื เครอ่ื งใช้ และอปุ กรณ์ต่าง ๆ ที่ชารุด 3. แนะนา สาธติ และควบคมุ การใช้อย่างถูกวธิ ตี ามประเภทของอุปกรณ์ 4. จดั เก็บเครอื่ งมอื เครื่องใช้ อุปกรณ์ในที่เก็บทุกครงั้ อยา่ งเป็นระเบยี บปลอดภยั 5. กากับ ดแู ลนักเรยี นในการใชเ้ คร่ืองมือ เครื่องใช้ อุปกรณ์ใหถ้ ูกต้องเหมาะสมกับประเภทกิจกรรม

10 ดา้ นเครื่องเล่น 1. หลีกเลีย่ งการจดั ซ้อื อุปกรณ์กฬี าหรือเครื่องเลน่ ทอ่ี าจก่อใหเ้ กิดอันตรายได้งา่ ย 2. หลกี เล่ยี งการจดั กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวข้องกบั การปนี ต้นไม้ 3. แตง่ ตัง้ ครูเวรประจาวันคอยควบคุม กากบั ติดตามดูแลการรกั ษาความปลอดภยั ตลอดทง้ั วนั 4. จดั ใหม้ ผี รู้ บั ผดิ ชอบปฐมพยาบาลเบอื้ งตน้ และนาสง่ สถานพยาบาล 5. จดั ให้มีความรู้และแนวทางปฏิบัตแิ กน่ ักเรียนในกรณีท่พี บวัตถุ สง่ิ แปลกปลอม ซึ่งอาจเป็นวัตถรุ ะเบดิ หรือวัตถุอนั ตราย ดา้ นการรับส่งนกั เรยี นและการจราจร 1. โรงเรียน ผปู้ กครองและชุมชน ร่วมมอื กันกาหนดมาตรการรบั สง่ นกั เรียนตอนเช้าและเลิกเรยี น 2. จดั ครเู วรประจาวันตรวจเชค็ นกั เรียนท่มี ผี ปู้ กครองมารบั 3. แนะนาการเดินแถวกลับบา้ นและให้พด่ี ูแลนอ้ ง 4. ทากจิ กรรมเกี่ยวกบั การฝึกปฏิบตั ิตามกฎจราจร 5. จดั ครเู วรและนักเรียนคอยรบั ส่งนักเรียนทปี่ ระตเู ขา้ ออก ดา้ นโภชนาการ สพป. ลาปาง เขต 1 มีนโยบายและรปู แบบการจดั อาหารกลางวันในโรงเรียนเพอื่ ส่งเสรมิ สนบั สนุนให้ โรงเรยี นพัฒนาคณุ ภาพอาหารกลางวันในโรงเรยี นเพ่อื ให้สอดคล้องกบั ภาวะเศรษฐกิจโดยคานึงถึงปริมาณและคณุ ค่า ทางโภชนาการใหไ้ ด้มาตรฐานโภชนาการ สุขาภบิ าลและอาหารปลอดภยั ดงั นี้ 1. สร้างความตระหนักใหผ้ ู้บรหิ ารโรงเรยี นและครผู ูร้ ับผดิ ชอบอาหารกลางวนั และผูป้ ระกอบการ 2. จดั หาวิทยากรให้ความรเู้ กีย่ วกับโภชนาการในการดาเนนิ งานอาหารกลางวนั 3. มีการบรหิ ารจดั การและดาเนนิ งานของสถานศกึ ษาเกยี่ วกับการดาเนินโครงการอาหารกลางวนั โครงการอาหารเสริม (นม) โครงการสง่ เสริมผลผลิตเพอื่ โครงการอาหารกลางวัน โครงการพัฒนาระบบสขุ าภิบาล อาหารทีด่ ีในโรงเรยี น และโครงการพฒั นาระบบนา้ ด่ืมสะอาดในโรงเรียนสนบั สนนุ ใหบ้ คุ ลากร ครู แมค่ รวั แม่ค้า นกั เรยี นใหม้ ีความร้เู กีย่ วกับโภชนาการ 4. สง่ เสริมมีการจดั ซือ้ และจัดจา้ งหาวตั ถุดิบในท้องถนิ่ เพ่อื เป็นเมนอู าหารสาหรับเด็กนักเรียนใหห้ มนุ เวยี น ปริมาณเพยี งพอและมคี ุณค่าทางโภชนาการ 5. โรงครัว โรงอาหาร ร้านคา้ อปุ กรณ์ วตั ถดุ ิบผ่านเกณฑส์ ขุ าภิบาลอาหารและอาหารปลอดภัย 6. การเตรียม ปรุงประกอบอาหาร มีปริมาณเพยี งพอ การลา้ ง หน่ั ปรุง การจดั เกบ็ อาหารสกุ ดบิ แหง้ ให้ถูกหลกั สขุ าภิบาลอาหาร รวมท้งั การตักอาหารตามธงโภชนาการ 7. มีกจิ กรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการทัง้ ในและนอกหอ้ งเรียน 8. ส่งเสริมและสนบั สนนุ ให้มีโครงการเกษตรเพอื่ อาหารกลางวัน 9. พฤตกิ รรมการกนิ ของนกั เรียน มีความพึงพอใจ มีนิสยั ในการบริโภค และมที ักษะในการเรยี นรู้ ด้านโภชนาการ 10. ผบู้ ริหารโรงเรียนและครทู ีร่ ับผดิ ชอบอาหารกลางวันมกี ารกากบั ตดิ ตาม ประเมนิ คุณภาพอาหาร ทุกเดือน 11. ส่งเสรมิ การมีสว่ นร่วมของชุมชนและผูป้ กครอง 12. แตง่ ต้ังคณะกรรมการกากบั นิเทศ และติดตามผลและประเมนิ โครงการเกษตรเพ่อื อาหารกลางวัน เป็นประจาทุกปี เพ่ือติดตามการดาเนินงานในการดาเนินการเงินทุนหมนุ เวยี งอาหารกลางวนั และดูแลการใชโ้ ปรแกรม อาหารกลางวัน (Thai School Lunch)

11 ด้านสุขอนามัย 1. สร้างความตระหนักใหก้ ับผู้บริหารโรงเรียน ครอู นามยั และให้ความรู้เกยี่ วกับสุขบัญญัติ 10 ประการ ให้กับนักเรียน 2. มีการเฝูาระวัง ปูองกนั ควบคมุ และจดั การอาหารเปน็ พิษในโรงเรยี นและดแู ลภาวะโภชนาการในเดก็ นักเรียน มีการชัง่ น้าหนักและวดั สว่ นสูงให้ได้มาตรฐาน มกี ารแปรผลและแจ้งผลภาวะโภชนาการใหผ้ ู้เก่ยี วขอ้ ง มีการวเิ คราะหข์ อ้ มลู ภาวะโภชนาการและนาไปใช้ในการวางแผนสง่ เสรมิ โภชนาการ 3. การพัฒนาสุขนสิ ยั โดยการใชบ้ ันทกึ สขุ ภาพนกั เรยี นรายบุคคล มโี ครงการหรอื โครงการสขุ ภาพท่ยี ังเป็น ปญ๎ หาและต้องแกไ้ ข มีห้องพยาบาลที่ได้มาตรฐาน การดแู ลสขุ ภาพช่องปาก การแปรงฟน๎ สะอาดอยา่ งมคี ณุ ภาพเพ่ือ ปอู งกนั ฟน๎ ผใุ นโรงเรียน นกั เรียนมีกจิ กรรมทางกายทกุ วนั อยา่ งน้อยวนั ละ 60 นาที 4. อนามัยส่งิ แวดล้อมในโรงเรียน ตอ้ งมีหอ้ งสว้ มสะอาด เพียงพอ ปลอดภยั การจัดการขยะ การควบคุม แมลง และสัตว์นาโรค ความสะอาดปลอดภัยของอาหารสถานท่แี ละบริเวณโรงเรยี น 5. การจัดการคุณภาพอาหารโภชนาการ มกี ารใหโ้ ปรแกรม Thai School Lunch มกี ารพัฒนาศักยภาพ ผู้ประกอบอาหารกลางวนั ในโรงเรยี นและการจดั และบริการอาหารให้ได้มาตรฐานโภชนาการ 6. ประสานความร่วมมือให้โรงเรียน ไมค่ วรจัดหาขนมหวาน และไม่ขายขนมกรบุ กรอบ ของขบเคี้ยว นา้ อดั ลมและอาหารที่มีโซเดียมจากเกลอื และผงชูรส ซึง่ จะมผี ลทาใหเ้ ด็กท่ีเจริญเตบิ โรทาใหม้ ปี ญ๎ หาสขุ ภาพส่งผล ให้เด็กอาจเป็นโรคทางกายและจิตใจ มกี ารเรียนรชู้ า้ ฉุดการพฒั นาความฉลาดของเดก็ วัยเรียน 7. สง่ เสรมิ ให้ความรเู้ ก่ียวกับการซื้อ การรบั ประทานอาหาร การลา้ งมอื โดยบรษิ ัทคอลเกต มอบสบู่ ลา้ งมอื ยาสีฟน๎ วธิ ีล้างมอื 7 ขั้นตอน การแปรงฟ๎นใหถ้ ูกวธิ ี 8. มีการสรปุ ผลการตดิ ตามและประเมนิ ผลในการดาเนินงานของโรงเรยี นในสงั กัด 2. ความโดดเดน่ /จดุ แขง็ /นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทีด่ ใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเด่น จดุ แขง็ นวตั กรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย เกิดประโยชนห์ รือมี ผลกระทบทางบวกแก่ผเู้ รยี นอยา่ งไรบา้ ง สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา ไดม้ ีการสง่ เสรมิ สนับสนนุ พัฒนาการจัดการศึกษา โดยได้จดั ทาโครงการ/ กจิ กรรม ในระดบั เขตพืน้ ทกี่ ารศึกษา ดงั น้ี ด้านครผู ้สู อน 1. โครงการ การพัฒนาการจดั ประสบการณก์ ารเรยี นการสอนปฐมวัย ประกอบดว้ ยกจิ กรรม ดงั น้ี  กจิ กรรมการพัฒนาการจัดประสบการณเ์ รียนรู้ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั  กิจกรรมโรงเรยี นต้นแบบและโรงเรยี นเครือขา่ ยตน้ แบบสนามเดก็ เล่นตามหลักการพัฒนา สมอง (BBL):เลน่ ตามรอยพระยุคลบาท  กิจกรรมการพฒั นาพอ่ แม่ ผู้ปกครองเด็กปฐมวัย เรื่อง “การเฝ้าระวงั และสง่ เสริมพัฒนาการ เดก็ ปฐมวยั ”  สง่ เสรมิ การวจิ ยั นวัตกรรมการจดั การเรยี นรูร้ ะดบั ปฐมวัย  พัฒนาหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย  การนิเทศตดิ ตามการจัดการศึกษาปฐมวัยและการประเมินผล

12 2. โครงการบา้ นนักวทิ ยาศาสตรน์ อ้ ย ประเทศไทย  การรอบรมปฏบิ ัติการสาหรับครผู สู้ อนปฐมวเรยั ื่อง“การประเมนิ ระบบออนไลน์ และการจัดทา โครงงานวิทยาศาสตร์ตามรปู แบบวัฎจักรการวิจยั และรูปแบบวัฎจกั ร การสืบเสา”ะ  การอบรมปฏบิ ัติการสาหรบั ครูผสู้ อนระดบั ปฐมวยั “โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย” ขน้ั ท่ี 1 และขนั้ ที่ 2 เรือ่ ง “น้าและอากาศ”  การจดั เทศกาลบา้ นนักวิทยาศาสตรน์ อ้ ย  การประเมนิ ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 3. กจิ กรรมการอบรมเชงิ ปฏบิ ตั กิ ารพฒั นาความเข้มแข็งทางวชิ าการสาหรับครผู ู้สอนปฐมวัย หลักสตู รการจดั กจิ กรรมบูรณาการตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาในระดับปฐมวยั 4. การจดั ซอื้ สื่อการเรียนการสอน 5. กจิ กรรมอบรมเชงิ ปฏบิ ตั ิการ เรื่อง “การพัฒนาสมองของเด็กปฐมวัย Executive Functions : EF ” 6. โครงการพฒั นาสมองด้วยการอา่ น ไดร้ ับจัดสรรงบประมาณจากงบพัฒนาจังหวดั ลาปาง ประจาปงี บประมาณ 2561 จานวน 250,000 บาท และในปงี บประมาณ 2562 จานวน 2,700,000 บาท ดา้ นตัวเดก็ ปฐมวยั 1. กจิ กรรมการประเมินพฒั นาการเดก็ ปฐมวัย 2. กจิ กรรมเทศกาลบ้านนักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย ประเทศไทย 2.2 รายชอื่ หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาทเี่ ป็นต้นแบบหรือแบบอย่างทดี่ ี ในการดาเนินงานตาม ประเด็นนโยบาย ทต่ี ้ัง รายการและรายละเอยี ด หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเด่น/จุดแขง็ / รายชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี อาเภอเมืองลาปาง นวตั กรรม 1. โรงเรียนอนบุ าลลาปาง -จัดการเรียนการสอนตามหลักสตู ร (เขลางคร์ ัตนอ์ นุสรณ์) การศกึ ษาปฐมวยั -จัดกิจกรรมตามโครงการบ้าน 2. โรงเรยี นปงสนุก อาเภอเมืองลาปาง นักวทิ ยาศาสตรน์ ้อย 3. โรงเรียนบ้านทาน อาเภอแม่เมาะ -จัดการเรยี นการสอนตามหลกั สูตร การศกึ ษาปฐมวยั -จดั กจิ กรรมตามโครงการบา้ น นกั วทิ ยาศาสตร์น้อย จดั การเรยี นการสอนตามหลักสตู ร มอนเตสเซอรี่ 3. ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 3.1 ครูผ้จู บด้านการศกึ ษาปฐมวยั ไม่เพยี งพอในแต่ละสถานศกึ ษา ตอ้ งสอนรวมช้ันอนบุ าล1 ถงึ อนุบาล3 การดแู ลช่วยเหลือและพัฒนาการของเดก็ อาจไมท่ วั่ ถึงตามเกณฑ์ 3.2 ครูผู้สอนเดก็ ปฐมวยั บางโรงเรียนไมจ่ บวชิ าเอกปฐมวัย ทาใหก้ ารจัดประสบการณ์ใหเ้ ดก็ ไม่ครบกจิ กรรม

13 4. ขอ้ เสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /พฒั นานโยบาย 1) ควรพจิ ารณาการบรรจุแต่งตั้งครูท่มี วี ุฒิการศึกษาปฐมวยั ใหเ้ พยี งพอตอ่ สถานศึกษาทเ่ี ปดิ สอน ในชัน้ ปฐมวัย 2) ผบู้ รหิ ารสถานศึกษาควรให้ความสาคัญและตระหนกั ในการจดั ครผู ูส้ อนในระดับปฐมวัย และ สง่ เสริมสนบั สนนุ อานวยความสะดวกในการจดั การเรยี นการสอนปฐมวยั นโยบายที่ 3 การพัฒนาทักษะภาษาองั กฤษ 1. ผลการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบายและตัวชี้วดั 1.1 ขอ้ มลู การดาเนนิ งานตามตัวชว้ี ดั ครผู ูผ้ า่ นการอบรมโครงการ Master Trainer ตามโครงการ สถานศกึ ษา Boot Camp Boot Camp ทจ่ี ัดสภาพ แวดลอ้ ม สงั กัด ครทู ่ีผา่ น Master Master รอ้ ยละ ภายใน สพป.ลาปาง เขต1 การอบรม Trainer Trainer ห้องเรียน ครูท่ผี า่ น Boot Camp ตาม ตาม และนอก การอบรม สามารถนา โครงการ โครงการ ห้องเรียน Boot เทคนิคการ รอ้ ยละ Boot เพ่อื ส่งเสริม Camp เรยี นการสอน Camp Boot Camp การเรยี นรู้ (คน) ภาษาองั กฤษ (คน) ที่สามารถเป็น ไปใชใ้ นการ (แหง่ ) สอน (คน) ครแู กนนา (คน) 97 29 29 100 --- 1.2 สภาพแวดล้อมภายในห้องเรยี น และนอกหอ้ งเรยี นท่ีสถานศึกษาจดั เพอื่ สง่ เสรมิ การเรียนรู้ ภาษาอังกฤษมีอะไรบ้าง -สภาพแวดล้อมภายในหอ้ งเรยี น ไดแ้ ก่ ปาู ยนเิ ทศให้ความรเู้ ก่ยี วกบั คาศัพท์ภาษาอังกฤษ ปูายชอ่ื สงิ่ ของในห้องเปน็ ภาษาองั กฤษ สอ่ื การเรยี นร้เู ช่นบัตรคา บตั รภาพ รวมถงึ สอื่ ICT ที่ใชใ้ นการจัดการเรียนรู้วชิ า ภาษาองั กฤษ - สภาพแวดลอ้ มภายนอกหอ้ งเรียน ได้แก่ ปูายช่ือสถานที่/หอ้ งต่าง ๆ ภายในโรงเรียนเป็น ภาษาอังกฤษ การจดั กจิ กรรมสง่ เสริมการใช้ภาษาองั กฤษ เช่น ภาษาองั กฤษวันละคา/วนั ละประโยค มมุ ภาษาองั กฤษ ในห้องสมุด 1.3 สถานศกึ ษามวี ธิ ีการหรอื จัดกจิ กรรมเพอ่ื ส่งเสรมิ การใชภ้ าษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารอยา่ งไร 1.3.1 การจดั กจิ กรรมการเรียนร้ใู นรายวชิ าภาษาอังกฤษ ทั้งรายวชิ าพนื้ ฐานและรายวชิ าเพ่ิมเตมิ ครูผสู้ อนเน้นการจัดกิจกรรมการเรียนร้เู พื่อพฒั นาทกั ษะการสือ่ สารของนักเรียน (ฟง๎ -พูด-อา่ น-เขยี น) โดยใชก้ ารสอน ภาษาเพอ่ื การสอื่ สาร (Communicative Language Teaching : CLT) และใชส้ ื่อการเรยี นรทู้ ี่หลากหลาย เช่น แบบเรียน แบบฝึกทักษะภาษาอังกฤษ บัตรภาพ บัตรคา และส่ือ ICT ได้แก่ Youtube, Echo English, English24 ฯลฯ สว่ นโรงเรียนขนาดเลก็ จะจัดการเรียนการสอนโดยใช้ DLT/DLIT เป็นหลัก

14 1.3.2 กิจกรรมพัฒนาผ้เู รยี น ไดแ้ ก่ ชุมนมุ ภาษาองั กฤษ 1.3.3 กิจกรรมส่งเสริมการใชภ้ าษาอังกฤษเพือ่ การสื่อสาร เช่น กจิ กรรมภาษาองั กฤษวนั ละคา/ วนั ละประโยคหน้าเสาธง/เสียงตามสาย คา่ ยวิชาการภาษาอังกฤษ กิจกรรมวนั สาคญั ทเ่ี กยี่ วข้องกบั วัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา ไดแ้ ก่ วันวาเลนไทน์ วันฮาโลวนี วันคริสตม์ าส วันอาเซียน เป็นตน้ และกิจกรรมเพ่มิ เวลารู้ ไดแ้ ก่ I Love English, English is Easy เปน็ ต้น 2. ความโดดเด่น/จุดแขง็ /นวตั กรรม/ต้นแบบหรือแบบอย่างทด่ี ีในการดาเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเด่น จุดแขง็ นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนห์ รือมี ผลกระทบทางบวกแกผ่ เู้ รยี นอยา่ งไรบ้าง ครูผสู้ อนมีการปรับเทคนิคและวิธกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรทู้ เี่ นน้ การพัฒนาทกั ษะการสือ่ สารของ ผเู้ รยี นด้วยวิธีการทห่ี ลากหลายตามกระบวนการเรียนรู้แบบ Active Learning ประกอบกบั การใชเ้ ทคโนโลยีเปน็ สื่อ ในการจดั กจิ กรรมการเรยี นรู้เพิม่ มากขึน้ รวมท้ังการพฒั นานวัตกรรมหรือสอื่ การเรยี นรทู้ ีส่ ่งผลให้ผู้เรียนมีทักษะการ ส่อื สารดว้ ยภาษาองั กฤษและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวชิ าภาษาอังกฤษในระดับดเี พ่ิมขึ้น 2.2 รายช่ือหนว่ ยงาน/สถานศึกษาท่เี ป็นตน้ แบบหรือแบบอย่างทด่ี ี ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย รายชอื่ หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ท่ีตงั้ รายการและรายละเอยี ด ต้นแบบหรอื แบบอยา่ งทีด่ ี หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแขง็ / นวตั กรรม 1. โรงเรียนอนุบาลลาปาง (เขลางค์ ต.เวียงเหนือ อ.เมือง จ.ลาปาง -การจดั กจิ กรรมเพมิ่ เวลารู้แบบ รตั น์อนุสรณ)์ Active Learning ทมี่ งุ่ เน้นการ พฒั นาทักษะภาษาองั กฤษดว้ ย รูปแบบ GPAS 5 STEPs -โครงการ Mini English Program 2. โรงเรียนบ้านปงสนุก ต.เวียงเหนือ อ.เมือง จ.ลาปาง -การจัดกจิ กรรมเพิ่มเวลารูท้ ่ีม่งุ เนน้ การพฒั นาทักษะภาษาองั กฤษเพือ่ การสือ่ สารภายใตก้ ิจกรรม “I Love English” โดยนกั เรยี นได้ ฝกึ ปฏบิ ตั ิการใช้ภาษาองั กฤษ สือ่ สารในสถานการณจ์ ริงและ สถานการณ์จาลองต่าง ๆ ตาม วฒั นธรรมของเจา้ ของภาษา -โครงการ Mini English Program 3. โรงเรียนอนบุ าลงาว (ภาณนุ ิยม) ต.หลวงเหนอื อ.งาว จ.ลาปาง -การพฒั นาทักษะการส่อื สาร ภาษาองั กฤษดว้ ยแบบฝึกทักษะ ภาษาและสื่อ ICT -กิจกรรม Morning Talk และเสียง ตามสายโดยครเู จา้ ของภาษา -โครงการ Mini English Program

15 3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 3.1 ครูผู้สอนภาษาองั กฤษสว่ นใหญ่ไม่จบสาขาวชิ าเอกภาษาองั กฤษและโรงเรียนมกี ารเปลีย่ นแปลง ครูผสู้ อนภาษาอังกฤษบ่อยครง้ั 3.2 ครผู สู้ อนภาษาอังกฤษในระดับประถมศกึ ษาส่วนใหญ่ตอ้ งจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนทุกกลมุ่ สาระ มีภาระงานมาก ทาใหค้ รูเนน้ การจัดกจิ กรรมการเรียนการสอนเฉพาะในวชิ าท่ตี นเองถนดั 3.3 การจัดอบรมครผู สู้ อนภาษาอังกฤษตามโครงการ Boot Camp มรี ะยะเวลาในการจัดไม่เหมาะสม (ระยะเวลานาน 20 วันและอยใู่ นชว่ งระหวา่ งเปดิ ภาคเรียน) ส่งผลใหค้ รผู สู้ อนจานวนมากไมส่ ามารถเขา้ ร่วมการ อบรมได้ทัง้ ท่มี คี วามสนใจ 4. ขอ้ เสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะในการปรับปรุง/พัฒนานโยบาย การจัดการอบรมครผู ้สู อนภาษาอังกฤษตามโครงการ Boot Camp ควรจัดในชว่ งปดิ ภาคเรียนเพื่อมิให้ ครูละทง้ิ ภารกจิ ในการจดั การเรียนการสอนปกติ หรือเปิดรบั สมัครครทู ี่สนใจเขา้ รับการอบรมช่วงปิดภาคเรียนเพิม่ ข้ึน 4.2 ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ ในการดาเนนิ งานตามนโยบาย 1) ส่งเสริมและสนบั สนุนสถานศึกษาในการจดั หาสอ่ื การเรยี นรู้โดยเฉพาะอย่างยง่ิ ส่ือ ICT ทคี่ รูผสู้ อน สามารถนามาใชใ้ นการจัดกิจกรรมการเรยี นรู้ภาษาอังกฤษ 2) การบรรจุ/จ้างครใู หเ้ หมาะสมและเพียงพอต่อความตอ้ งการของโรงเรียนที่มีการจดั การเรียนการ สอนหลายกล่มุ สาระการเรยี นรู้ นโยบายที่ 4 การพฒั นาทักษะการคิดวเิ คราะห์ 1. ผลการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบายและตัวชวี้ ัด 1.1 ขอ้ มลู การดาเนนิ งานตามตวั ช้วี ดั จดั กระบวนการเรยี นการสอนเพือ่ นวัตกรรมเพือ่ เพ่ิมทักษะ จัดการศึกษาโดยบรู ณาการ สรา้ งกระบวนการคดิ วิเคราะห์ การคิดวิเคราะห์แก่ผูเ้ รยี น องคค์ วามรูแ้ บบสะเตม็ ศึกษา จานวน จานวน จานวน จานวน สถาน สถาน จานวน สถาน สถาน ศึกษา ศึกษาท่ี สถาน ทจี่ ดั การ จัดการ ศกึ ษาท่ีมี ศกึ ษาทีม่ ี ศกึ ษา นวตั กรรม นวัตกรรม ศึกษา ศึกษา ทจ่ี ัด เพอ่ื เพิ่ม เพื่อเพิ่ม โดย โดย ทกั ษะ ทกั ษะ สังกัด จานวนสถาน กระบวน การคิด การคดิ เพมิ่ ขึ้น/ บรู ณา บรู ณา เพม่ิ ขน้ึ / ศกึ ษาท้งั หมด การเรียน วิเคราะห์ วเิ คราะห์ ลดลง การองค์ การองค์ ลดลง (แหง่ ) การสอน รอ้ ยละ ร้อยละ ความรู้ ความรู้ รอ้ ยละ เพ่ือสร้าง แก่ แก่ แบบ แบบ กระบวน ผ้เู รียน ผเู้ รียน สะเตม็ สะเต็ม การคดิ ปีการ ปกี าร ศึกษา ศึกษา วเิ คราะห์ ศกึ ษา ศกึ ษา ปีการ ปกี าร (แห่ง) 2559 2560 ศกึ ษา ศึกษา (แห่ง) (แหง่ ) 2559 2560 (แห่ง) (แห่ง) สพป. ลาปาง 1 97 97 100 12 30 60.00 38 67 76.31

16 2. ความโดดเด่น/จุดแขง็ /นวตั กรรม/ต้นแบบหรอื แบบอยา่ งที่ดใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเด่น จดุ แข็ง นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย เกดิ ประโยชน์หรอื มีผลกระทบทางบวกแก่ผู้เรียนอยา่ งไรบ้าง 1. ผเู้ รยี นมีความรู้ ความสามารถในการอา่ น คดิ วิเคราะห์ และเขียนส่ือความไดเ้ หมาะสมกับชว่ งวัย มีทักษะการคิดทด่ี ี 2. ผ้เู รยี นอธบิ ายหรือเขยี นประเดน็ สาคญั ขอ้ เท็จจรงิ และแสดงความคิดเหน็ จากเรอ่ื งท่ีอา่ นไดชัดเจน 3. ผูเ้ รยี นอธิบายหรือเขยี นเปรยี บเทียบแงม่ มุ ตา่ งๆ ได้ชดั เจนเขา้ ใจงา่ ย และมีความหลากหลาย 4. ผู้เรียนอธิบาย หรอื เขยี นความคดิ เห็นต่อเรอื่ งท่ีอ่าน โดยมเี หตุผลประกอบ ได้ชดั เจนเข้าใจงา่ ย และ มคี วามหลากหลาย 5. ผู้เรยี นเขยี นสรุป และแสดงความคิดเหน็ จากเรอ่ื งทอี่ า่ นไดค้ รอบคลมุ ตรงประเด็นชดั เจนเข้าใจงา่ ย 6. ผู้เรยี นมที กั ษะการคดิ ในการแก้ป๎ญหาเชงิ สรา้ งสรรค์ และมคี วามคิดเช่ือมโยงกบั การนาไปใชใ้ น ชวี ติ ประจาวัน 7. ผเู้ รียนมีการวางแผน/ออกแบบสิง่ ประดิษฐไ์ ด้อย่างเหมาะสม มีการนาความรู้และทักษะทาง ด้านวทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีมาประยุกตใ์ ชก้ บั สิ่งประดิษฐ์ที่ลงมือปฏบิ ัติ 2.2 รายชอื่ หน่วยงาน/สถานศึกษาทเ่ี ป็นตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทีด่ ี ในการดาเนินงานตามประเด็น นโยบาย รายช่ือหนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา ท่ีตง้ั รายการและรายละเอยี ด ต้นแบบหรือแบบอยา่ งท่ดี ี หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเดน่ /จดุ แขง็ /นวตั กรรม 1. บา้ นทุ่งกล้วย ต.บ้านเอ้ือม อ.เมอื ง จ.ลาปาง ครผู สู้ อนมีคมู่ ือครู และชุดกจิ กรรมท่ี ส่งเสรมิ การอ่าน การคดิ วเิ คราะห์ และ เขียน ที่ชดั เจน เข้าใจง่ายเหมาะสมกบั การนาไปจัดกจิ กรรมท่ีปลูกฝง๎ การอ่าน คิดวเิ คราะห์ และเขียน แกผ่ ู้เรยี น ท่ี หลากหลาย มกี ารวัดและประเมนิ ผลตาม สภาพจรงิ ของการจดั กิจกรรมในแต่ละชดุ สอดคลอ้ งกบั การจดั กิจกรรมและการ ประเมินผลการเรียนรูต้ ามศตวรรษท่ี 21 2. ทุง่ ฝางวทิ ยา ต.บ้านคา่ อ.เมือง จ.ลาปาง ครูผู้สอนมคี มู่ ือครู และชดุ กจิ กรรมที่ ส่งเสริมการอ่าน การคิดวเิ คราะห์ และ เขยี น ที่ชดั เจน เขา้ ใจง่ายเหมาะสมกบั การนาไปจัดกิจกรรมทปี่ ลูกฝ๎งการอ่าน คิดวิเคราะห์ และเขียน แกผ่ เู้ รยี น ท่ี หลากหลาย มีการวัดและประเมนิ ผลตาม สภาพจรงิ ของการจัดกจิ กรรมในแตล่ ะชดุ สอดคล้องกับการจัดกจิ กรรมและการ ประเมนิ ผลการเรียนรู้ตามศตวรรษที่ 21

17 รายชอ่ื หน่วยงาน/สถานศึกษา ท่ีตัง้ รายการและรายละเอยี ด ของความโดดเด่น/จุดแขง็ /นวตั กรรม ต้นแบบหรือแบบอย่างทดี่ ี หน่วยงาน/สถานศึกษา - โรงเรยี นมกี ารบริหารจัดการในจดั 3. ชมุ ชนบ้านฟอุ นวทิ ยา ต.ชมพูทอง อ.เมือง จ.ลาปาง กจิ กรรมการเรียนรู้สะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) ทเ่ี หมาะสมกับบริบทของ สถานศกึ ษา - ครผู ู้สอนมีชุดกจิ กรรม คลปิ วดี โี อ การ จัดกจิ กรรมการเรยี นรู้แบบสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) ทเ่ี หมาะสมกบั ผเู้ รียนในแตล่ ะชัน้ เรยี น - มีการนาของเล่นเดก็ ไทยมาบรู ณาการ การสอนสะเต็มศกึ ษา (STEM Education) 3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย 3.1 งานทป่ี ฏบิ ัติ/งานนโยบายมีมาก แตศ่ กึ ษานิเทศก์มจี านวนน้อย ทาให้มกี ารนเิ ทศ ติดตามขาด การต่อเนื่อง 3.2 งบประมาณในการสง่ เสรมิ /พฒั นามีจานวนจากดั จึงทาใหบ้ างรายการ/กิจกรรมทสี่ ่งเสรมิ ทกั ษะ การคิด ไมส่ ามารถปฏบิ ตั ิไดเ้ ต็มท่ีหรอื 100% 3.3 ขาดส่อื ตารา และเอกสารในการส่งเสรมิ พัฒนาจัดกิจกรรมการเรียนรู้สะเต็มศกึ ษา (STEM Education) 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรงุ /พัฒนานโยบาย ควรมกี ารกาหนดแนวปฏิบัตขิ องนโยบายใหส้ อดคลอ้ งกบั การจดั กิจกรรมการเรยี นรูข้ อง สถานศึกษาตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาข้นึ พน้ื ฐาน 4.2 ข้อเสนอแนะอืน่ ๆ ในการดาเนินงานตามนโยบาย ควรจัดสรรงบประมาณให้เพียงพอต่อการนาไปส่งเสริม/พฒั นาการนานโยบายการส่งเสริมพฒั นา จัดกิจกรรมการเรียนรสู้ ะเต็มศกึ ษา (STEM Education) ไปส่สู ถานศึกษา นโยบายที่ 5 การเพม่ิ สัดสว่ นผเู้ รยี นสายอาชพี 1. ผลการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบายและตัวชีว้ ัด 1.1 สานักงานเขตพ้นื ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 มกี ารจัดทาแผนและยทุ ธศาสตร์การรับ นักเรียนเพ่ือเพ่ิมผเู้ รยี นสายอาชพี ดังน้ี  จัดทาแผนฯ  ไม่ไดจ้ ัดทาแผนฯ 1.2 ยทุ ธศาสตร์/มาตรการในการรับนกั เรียนเพือ่ เพ่ิมผูเ้ รยี นสายอาชพี ของ สพป.ลาปาง เขต 1 1.2.1 พัฒนาคนทุกช่วงวัยโดยส่งเสรมิ การเรยี นรู้ตลอดชวี ติ เพ่อื ให้สามารถมคี วามร้แู ละทกั ษะใหม่ ท่ีสามารถประกอบอาชีพได้หลากหลายตามแนวโน้มการจ้างงานในอนาคตปรบั กระบวนการเรยี นรแู้ ละหลกั สูตรให้

18 เช่ือมโยงกับภมู ิสังคม โดยบรู ณาการความรู้และคุณธรรมเขา้ ดว้ ยกันเพ่ือให้เออ้ื ต่อการพัฒนาผเู้ รียนในด้านความรู้ ทักษะ การใฝุเรยี นรู้ การแก้ปญ๎ หา การรับฟ๎งความเห็นผู้อื่น การมีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และความเปน็ พลเมอื งดี โดยเนน้ ความร่วมมือระหวา่ งผเู้ ก่ยี วขอ้ งทง้ั ในและนอกโรงเรยี น 1.2.2 มีแผนงานและโครงการเพอ่ื ส่งเสรมิ การผลิตกาลังคนด้านการอาชีวศึกษาตอบสนองต่อ ภาคการผลิตสินคา้ และอาหาร ให้สอดคลอ้ งกบั ความต้องการของตลาดแรงงานท้งั ด้านปริมาณและคณุ ภาพ โดยให้ ความสาคญั กบั การส่งเสรมิ การมสี ว่ นรว่ มและการจดั ทาความ MOU ขอ้ ตกลงร่วมระหว่างภาครัฐและอาชีวศึกษา ในการสนบั สนนุ การผลิต การพฒั นาระบบการจดั การ และการพัฒนากาลงั คน ทัง้ ระบบ 1.2.4 มกี ิจกรรมเพอ่ื สนบั สนนุ และส่งเสริมการเผยแพรค่ วามรู้และการพัฒนาตอ่ ยอดความรู้เพอื่ ใช้ประโยชน์ในเชงิ พาณิชย์ วิสาหกจิ การประกอบอาชีพและดาเนนิ ธุรกจิ ควบคูไ่ ปกับการเผยแพร่องค์ความรูแ้ ละแนว ทางการประยกุ ต์ใชห้ ลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพยี งมาใชก้ ับการดาเนนิ ชีวติ ประจาวนั ในการศึกษาท้งั ในระบบและนอก ระบบอยา่ งเปน็ รูปธรรม 1.2.5 จัดกจิ กรรมการเรียนการสอนให้เดก็ และเยาวชนได้พฒั นากระบวนการคิด ทักษะ ความสามารถอยา่ งรอบด้านทง้ั รา่ งกาย อารมณ์ สงั คมสติปญ๎ ญา การปลกู ฝ๎งคา่ นยิ ม 12 ประการ การเรียนรู้ ประสบการณจ์ ากการทากิจกรรม ฝกึ ปฏบิ ัติอย่างเหมาะสม แตล่ ะชว่ งวยั และการวางพนื้ ฐานเพื่อการทางาน การศกึ ษาเพ่ืออาชพี 1.3 จานวนนกั เรียนประถมศกึ ษาถงึ ระดบั มธั ยมศึกษาท่ไี ดร้ บั การสร้างทศั นคติที่ดตี ่ออาชพี และการแนะ แนวการศกึ ษาเพอื่ อาชีพ ปกี ารศกึ ษา 2560 สงั กดั สพป.ลาปาง เขต 1 สงั กดั จานวนนกั เรียนทั้งหมด จานวนนักเรยี นทไี่ ดร้ บั การสรา้ งทศั นคตทิ ดี่ ี (คน) ต่ออาชพี และการแนะแนวการศกึ ษา รอ้ ยละ สพป.ลาปาง เพอื่ อาชพี (คน) เขต 1 ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม ประถม ม.ตน้ ม.ปลาย รวม 11,819 1,271 - 13,090 11,819 1,271 - 13,090 100 1.4 หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษาสรา้ งทศั นคตทิ ี่ดีตอ่ อาชพี และการแนะแนวการศึกษาเพื่ออาชีพให้กับผู้เรยี น อยา่ งไร 1.4.1 โครงการอบรมหลกั สตู รระยะสน้ั ภาคทฤษฎแี ละภาคปฏิบตั ิ ให้แกค่ ณะครใู ห้มคี วามรู้ ความสามารถเพอื่ นาไปถ่ายทอดประสบการณแ์ ละเทคนคิ ต่างๆ ให้แก่นักเรียนให้มคี วามรแู้ ละทักษะพนื้ ฐานรวมทง้ั เจตคติ ท่ีจาเปน็ ตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชีพ และเปน็ พืน้ ฐานการเรียนตอ่ สายอาชีพต่อไปในอนาคต ตาม เปาู หมายคือ 50:50 ในปี 2560 โดยการประชมุ เชงิ ปฏิบตั ิการพรอ้ มช้ีแจงการส่งเสรมิ อาชพี ระยะสน้ั ในโรงเรียน แกค่ ณะครูที่รับผดิ ชอบกล่มุ การงานอาชพี 1 โรงเรียน : 1 คน รวมจานวน 110 คน โดยเชิญวทิ ยากรจากวทิ ยาลัย สารพัดชา่ งซ่ึงเปน็ ผูเ้ ชี่ยวชาญดา้ นการส่งเสรมิ อาชพี มาให้ความรูท้ ัง้ ทฤษฎแี ละปฏิบัตทิ าอาหาร แลกเปล่ยี นเรยี นรู้ การจดั ทาหลักสตู รอาชีพระยะสั้นเพื่อสนับสนนุ การผลติ กาลงั คนใหต้ รงกับความตอ้ งการของภาคอุตสาหกรรม ในวนั ที่ 29 เมษายน 2560 ณ หอ้ งประชมุ ครุ ุมนตรี สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต1 เพ่ือนาไปถ่ายทอดประสบการณแ์ ละเทคนิคตา่ งๆ ใหแ้ ก่นักเรียนทกุ ชัน้ เรยี น ให้มคี วามรู้และทักษะพนื้ ฐานรวมทงั้ เจตคติ ท่ีจาเป็นตอ่ การศึกษาตอ่ การประกอบอาชพี และเปน็ พืน้ ฐานการเรียนต่อสายอาชีพตอ่ ไปในอนาคต 1.4.2 รว่ มงานเปดิ โลกอาชพี Open house 2 กมุ ภาพนั ธ์ 2560\"อาชพี สรา้ งชาติสารพัดชา่ งสรา้ งอาชีพ\" ครงั้ ท่ี 2 ชมนทิ รรศการแสดงผลงานวชิ าการส่ิงประดษิ ฐค์ นร่นุ ใหม่ เย่ยี มชมการเรยี นการสอนของแผนกวิขาต่างๆใน

19 การสง่ เสรมิ อาชพี ระยะส้ัน รว่ มกับนักเรยี นโรงเรยี นชุมชนบ้านฟุอนวทิ ยาและทุกโรงเรยี นขยายโอกาสในสงั กดั เป็นการ จดั กจิ กรรมที่ดีมากสนองนโยบายรฐั บาลในการส่งเสรมิ อาชพี ขอไปจดั ที่สานักงานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษา ลาปางเขต 1 นกั เรียน ครูมารว่ มทุกโรงเรยี นเพอื่ ปพู ื้นฐานการเรยี นสายอาชพี ต่อไปในอนาคต 1.4.3 คณะกรรมการประเมินผลงานวธิ ปี ฏิบัตทิ เี่ ปน็ เลศิ (Best Prectice) 1โรงเรยี น 1 อาชพี 1 ผลิตภณั ฑ์ ในวนั ที่ 22 พฤศจกิ ายน 2560 ณ หอ้ งประชมุ บงกชกลั ยา สพป.ลาปาง เขต1 1.4.4 สานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต1 ดาเนินการนิเทศ ตดิ ตาม และประเมนิ โรงเรียนดปี ระจาตาบล เพื่อขับเคลอ่ื นการพฒั นาคณุ ภาพโรงเรยี นดปี ระจาตาบล โดยการนเิ ทศ กากับ ติดตาม ชว่ ยเหลือดูแลโรงเรียน ใหส้ ามารถพฒั นาตนเองได้อย่างต่อเนื่อง ในการพฒั นางานอาชพี ใหป้ รากฏเปน็ ผลงาน “๑ โรงเรียน ๑ อาชพี ๑ ผลิตภณั ฑ์”สร้างความเขา้ ใจเกย่ี วกับมาตรฐาน ตัวช้วี ัด แนวทาง การประเมนิ โรงเรียนและ แนวทางการประเมินคัดเลือกวิธีปฏบิ ตั ิทีเ่ ปน็ เลศิ โรงเรียนดปี ระจาตาบลในสงั กัด ใหค้ รอบคลมุ ทุกโรงเรียน เพอ่ื ให้เกดิ การพัฒนาตอ่ เนอื่ งและยง่ั ยืนรวมทั้งวธิ ปี ฏิบัตทิ เี่ ป็นเลิศของโรงเรียน ไดก้ าหนดการนเิ ทศ ติดตาม และประเมิน โรงเรยี นดีประจาตาบลประจาปีการศกึ ษา 2560 ตั้งแตบ่ ดั นี้เปน็ ต้นไปจนถงึ วันที่ 30 กรกฎาคม 2560 เพ่อื ให้เกิด การพัฒนาต่อเนอื่ งและยง่ั ยนื รวมทั้งวิธปี ฏิบัติทเ่ี ป็นเลิศของโรงเรยี น 1.4.5 นิเทศ ตดิ ตาม โรงเรยี นปงยางคก (ทิพย์ชา้ งอนุสรณ์) ซึง่ เปน็ โรงเรียนดีประจาตาบลปงยางคก กลมุ่ เครือขา่ ย ในวันที่ 25 กรกฎาคม 2560จากการตดิ ตามพบวา่ โรงเรยี นมกี ารส่งเสรมิ อาชีพในโรงเรยี นคอื การเพาะเหด็ นางฟูาครบวงจร การเลย้ี งปลาดกุ การเลีย้ งไก่ 1.4.6 นิเทศ ตดิ ตาม โรงเรยี นชุมชนบ้านฟุอนวิทยา ซ่ึงเปน็ โรงเรียนดปี ระจาตาบล กลมุ่ เครือขา่ ยชมพทู อง ในวนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2560 จากการตดิ ตามพบว่าโรงเรียนมกี ารส่งเสริมอาชพี ในโรงเรยี นอยา่ งหลากหลายอาชพี การเพาะเห็ดและการเกษตร 1.4.7 สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต1 ได้ดาเนินโครงการการแนะแนวสายอาชพี โดยจดั ทาโครงการ“ตลาดนัดแนะแนวเคล่ือนท่สี ู่ไทยแลนด์ 4.0” ในปกี ารศึกษา 2560 วนั ท่ี 26 กรกฎาคม 2560 จานวน นกั เรยี น 420 คน” 1.5 จานวนผู้เรยี นสายอาชวี ศึกษากับผเู้ รยี นสายสามญั ศกึ ษา ปกี ารศึกษา 2560 ผู้เรยี นระดบั ผ้เู รยี นระดับ กศน. ประกอบ ผเู้ รียน ปวช. (คน) อาชีพ สงั กัด ม.ปลาย (คน) ระบบ (ปวช.1- (สายสามญั : ม.4-ม.6) ทวศิ ึกษา ปวช.3) *ไม่รวมทวศิ กึ ษา (คน) *ไม่รวมทวิ ศึกษา สพป. ลาปาง เขต 1 70 คน - 321 คน 10 คนคดิ 5 คน คิดเปน็ จานวน 23 โรง คิดเป็นรอ้ ยละ 17.24 (สายอาชพี ) เป็นรอ้ ยละ ร้อยละ 1.23 นกั เรยี น ม.3 คดิ เป็นร้อย 2.46 จานวน 406 คน ละ 79.06 ทมี่ าขอ้ มูล : จากการสารวจความตอ้ งการเรียนต่อรายบคุ คล นร.ชั้น ม.3 ปีการศึกษา 2560 รวม 23 โรงเรียน จานวน 406 คน ณ วันท่ี 12 มีนาคม 2561

20 โครงการทจี่ ะดาเนินการส่งเสรมิ ตอ่ เนือ่ งในปกี ารศกึ ษา 2561 จัดทาโครงการ “แนะแนวสายอาชีพ แนะแนวอนาคต” โดยมกี ลมุ่ เปาู หมายเปน็ นกั เรยี นชน้ั ม.2 และ ม.3 ทกุ คน จานวน 840 คน จากโรงเรยี นขยายโอกาส 23 โรงเรยี นเข้าร่วมกจิ กรรมกับภาคเี ครอื ข่ายสังกัด อาชีวศึกษาและสถานประกอบการ จานวน 10 แห่ง ในช่วงเดือนกรกฎาคม 2561 ผลการดาเนนิ งานส่งเสริมนกั เรยี นชัน้ ม.3 ได้ศกึ ษาตอ่ ชั้น ม.4 หรอื เทยี บเท่า ปกี ารศกึ ษา 2553 – 2560 สังกัดสานกั งานเขตพ้นื ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ขอ้ มลู นกั เรยี นจบชน้ั ม.3 ท่จี บหลักสูตรได้ศึกษาต่อช้ัน ม.4 หรือเทยี บเท่า ปีการศึกษา นักเรียนจบ สายสามัญ สายอาชีพ เทียบเทา่ ไม่เรียนตอ่ รอ้ ยละ 2553 2554 612 217 356 13 26 100 2555 2556 589 212 323 25 29 100 2557 2558 492 201 259 23 9 100 2559 2560 420 130 276 7 7 100 382 127 246 0 9 100 403 123 266 0 14 100 374 95 244 29 6 100 406 70 321 10 5 100 2. ความโดดเดน่ /จุดแขง็ /นวัตกรรม/ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเด่น จดุ แขง็ นวตั กรรมในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนห์ รอื มีผลกระทบทางบวกแก่ผูเ้ รยี นอยา่ งไรบ้าง 1. ขับเคล่อื นโครงการแนะแนวเรียนตอ่ อาชีวศกึ ษาสญั จร ปกี ารศกึ ษา 2559 จานวน 430 คน โดยมีภาคเี ครือขา่ ย ศนู ย์การเรยี นป๎ญญาภิวฒั น์ – ลาปาง วทิ ยาลัยเทคนคิ ลาปาง โรงเรียนลาปางพาณิชยการ วิทยาลัยเทคโนโลยลี าปาง (แลมป์-เทค) วทิ ยาลยั อาชีวศึกษาลาปาง วทิ ยาลยั การอาชีพเกาะคา โดยแบ่งจุดสัญจร เปน็ 4 จดุ 2. จัดทาโครงการ“ตลาดนัดแนะแนวเคลอ่ื นทส่ี ไู่ ทยแลนด์ 4.0” ในปีการศกึ ษา 2560 วนั ที่ 26 กรกฎาคม 2560 จานวน นักเรยี น ม.3 จานวน 420 คน 3. จัดทาขอ้ ตกลงรว่ ม (MOU) กบั วิทยาลัยสารพัดช่างลาปาง ร่วมงานเปิดโลกอาชพี Open House 2 กุมภาพันธ์ 2561\" อาชพี สร้างชาตสิ ารพัดชา่ งสร้างอาชีพ\" ครั้งที่ 2 นิทรรศการแสดงผลงานวิชาการส่ิงประดิษฐ์ คนรุ่นใหม่ เย่ียมชมการเรียนการสอนของแผนกวิขาตา่ ง ๆ สง่ เสริมอาชพี ระยะสั้น 4. นานักเรียนขยายโอกาสเข้ารว่ มงาน Open House ท่ีวิทยาลัยการอาชพี เกาะคา 18 มกราคม 2561 เยย่ี มชมการเรยี นการสอนดา้ นสายอาชีพของวทิ ยาลยั 5. วทิ ยาลัยเทคโนโลยี กฟผ.แม่เมาะ ร่วมสง่ เสรมิ ให้นักเรียนเขา้ เรยี นสายอาชพี และเขา้ ทางานในเหมอื ง แมเ่ มาะได้ เช่น โรงเรยี นอนุบาลแมเ่ มาะ (ชมุ ชน 1) 6. ส่งเสรมิ ใหน้ กั เรียนช้ัน ม.3 เขา้ รว่ มฝกึ ประสบการณ์ช่วงปดิ ภาคเรยี นท่ี 1 เดอื นตุลาคม 2560 ตามโครงการ Work Experience ของสานกั งานศึกษาธกิ ารจงั หวัดลาปาง

21 7. ครูแนะแนวในโรงเรียนขยายโอกาสสร้างความเข้าใจใหน้ กั เรยี นและผปู้ กครองได้เหน็ ความสาคัญใน การเรียนสายอาชพี เพือ่ เกดิ รายไดเ้ ลย้ี งครอบครัวได้ 2.2 รายชอื่ หน่วยงาน/สถานศกึ ษาทเี่ ปน็ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งที่ดี ในการดาเนนิ งานตามประเด็น นโยบาย 1. ธงชยั วิทยา อาเภอเมอื งลาปาง - วทิ ยาลยั เทคนคิ ลาปาง เข้าแนะแนวสายอาชีพใหน้ ักเรยี นชน้ั ม 1-3 - ศนู ยก์ ารเรียนป๎ญญาภิวัฒน์-ลาปาง เขา้ แนะแนวสายอาชีพให้นักเรียนชน้ั ม 1-3 - นานกั เรียน ม.ตน้ เขา้ ร่วมงาน Open House ท่วี ิทยาลัยสารพดั ชา่ งลาปาง (โรงเรียน MOU) - นานักเรยี น ม.3 เข้าฝกึ ประสบการณ์ Work Experience ทีร่ า้ นซอ่ มรถยนตอ์ ูช่ า่ งพงศ์ และโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพต้นธงชัย 2. ชมุ ชนบ้านฟอุ นวิทยา อาเภอเมอื งลาปาง - นานักเรยี น ม.ต้น เข้าร่วมงาน Open House ที่วทิ ยาลัยสารพดั ช่างลาปาง (โรงเรยี น MOU) - นานักเรียน ม.ต้น เข้ารว่ มงาน Open House ทว่ี ทิ ยาลยั การอาชีพเกาะคา - นานกั เรยี น ม.3 เข้าฝึกประสบการณ์ Work Experience ที่ร้านปง๎ หลุม ตลาดอัศวิน ร้านตน้ รักเวดด้ิง รา้ นมะนาวสะเต๊ก 3. อนบุ าลแม่เมาะ (ชุมชน 1) อาเภอแม่เมาะ - นานักเรยี น ม.ตน้ เขา้ รว่ มงาน Open House ทีว่ ิทยาลัยสารพดั ช่างลาปาง - วทิ ยาลัยเทคโนโลยแี ละการอาชีพ กฟผ.แมเ่ มาะ เขา้ แนะแนวสายอาชพี ให้นักเรียน ม.ตน้ - นานักเรยี น ม.3 เขา้ ฝึกประสบการณ์ Work Experience ที่รา้ นคา้ และสถานประกอบการ ในอาเภอแม่เมาะ 4. โรงเรยี นพชิ ยั วทิ ยา อาเภอเมืองลาปาง - นานกั เรยี น ม.ต้น เขา้ รว่ มงาน Open House ทว่ี ทิ ยาลยั สารพดั ช่างลาปาง - นานกั เรียน ม.ตน้ เขา้ รว่ มงาน Open House ทวี่ ิทยาลยั การอาชพี เกาะคา - นานักเรยี น ม.3 เข้าฝึกประสบการณ์ Work Experience ที่หา้ งมินบิ ๊ิกซี ตลาดตน้ ยาง , ตน้ ยางคาร์แคร์ (ลา้ งรถ) และรา้ นอาหารเดอฮังเล 3. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 1) ประชากรส่วนใหญ่มีข้อจากัดด้านฐานะ การเดนิ ทางและการเลี้ยงชพี มคี า่ ใชจ้ า่ ยในการสง่ บุตรหลาน เขา้ เรยี นในตวั เมอื งในสายอาชพี ซงึ่ ส่วนใหญ่สถานศกึ ษาจะอยใู่ นตวั เมือง 2) ป๎ญหาด้านความปลอดภยั ในสงั คมเมอื ง มีความเสย่ี งดา้ นต่าง ๆ เชน่ ยาเสพติด ทะเลาะวิวาท ทาใหผ้ ู้ปกครองไมส่ นบั สนนุ ใหบ้ ุตรหลานเรียนสายอาชีพ 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /พฒั นานโยบาย 1) ควรมีการส่งเสริมให้วทิ ยาลยั ในสงั กัดกรมอาชีวศึกษา เปดิ หนว่ ยสอนด้านอาชีพในโรงเรียนมัธยม ประจาอาเภอ เพ่ือสะดวกในการเดนิ ทางและคา่ ใช้จ่าย 2) ควรสง่ เสริมการมีส่วนร่วมการประสานความร่วมมอื ของชุมชนในการบริหารงานแนะแนวของ โรงเรยี น จะทาใหง้ านแนะแนวเกดิ การพัฒนาอยา่ งครบวงจรและเป็นไปอย่างตอ่ เนือ่ ง

22 4.2 ขอ้ เสนอแนะอ่นื ๆ ในการดาเนินงานตามนโยบาย 1) เพม่ิ ศกั ยภาพการสรา้ งเครอื ข่ายระบบดแู ลชว่ ยเหลอื นักเรียนอย่างต่อเนื่อง 2) พัฒนาและสง่ เสรมิ ชว่ ยเหลือให้นักเรียนสามารถเขา้ เรยี นอย่ใู นระบบจนจบการศกึ ษาและจงู ใจให้ เรียนตอ่ สายสามัญและสายอาชีพ

23 นโยบายท่ี 8 การบรหิ ารจัดการศกึ ษาโรงเรยี นขนาดเลก็ 1. ผลการดาเนนิ งานตามประเดน็ โยบายและตวั ช้วี ัด 1.1 สานกั งานเขตพืน้ ท่กี ารศึกษา มีการจดั ทาแผนบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็กหรือไม่  ไมม่ ี  มี 1.2 รูปแบบการบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กของสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษา เป็นอยา่ งไร สพป.ลป. 1 มีรูปแบบการบรหิ ารจดั การโรงเรียนขนาดเล็ก มี 3 รปู แบบดงั นค้ี ือ 1.รปู แบบเรียนรวมทุกชน้ั เรยี น 2.รูปแบบเรยี นรวมบางชนั้ 3.รูปแบบศูนย์เรยี นรวม(โรงเรยี นแม่เหล็ก) รปู แบบเรยี นรวมทกุ ช้ันหมายถึง โรงเรียนขนาดเลก็ นานกั เรยี นทุกชัน้ เรยี นไปเรยี นรวมโรงเรียนหลัก ขอ้ มลู ณ 10 พฤศจกิ ายน 2560 มจี านวน 22 โรงเรียน รปู แบบเรยี นรวมบางชน้ั หมายถึง โรงเรยี นขนาดเล็กนานกั เรยี นบางชัน้ ไปเรยี นรวมโรงเรยี นหลัก ขอ้ มลู ณ 10 พฤศจิกายน 2560 มจี านวน 1 โรงเรียนคือโรงเรยี นบ้านหัวทุ่ง อ.ห้างฉตั ร จ.ลาปาง นานกั เรียน ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 ไปเรียนรวมโรงเรียนบ้านโปุงขวาก อ.ห้างฉัตร จ.ลาปาง รูปแบบศนู ย์เรียนรวม (โรงเรียนแม่เหล็ก) หมายถงึ โรงเรยี นขนาดเลก็ ต้งั แต่ 2 โรงเรยี นขึ้นไปนา นักเรยี นทกุ ชั้นเรียนไปเรียนรวมโรงเรยี นหลกั ขอ้ มูล ณ 10 พฤศจิกายน 2560 มจี านวน 3 โรงเรยี นคอื โรงเรียนแม่กง๋ วิทยา มโี รงเรียนขนาดเลก็ มาเรยี นรวม 3 โรงเรียน โรงเรียนบา้ นโปงุ ขวาก มีโรงเรียนขนาดเล็กมาเรียน รวม 3 โรงเรยี น โรงเรียนชมุ ชนบ้านสนั กาแพง มีโรงเรยี นขนาดเล็กมาเรยี นรวม 2 โรงเรียน 1.3 สานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษา มีการจัดทาแผนบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเลก็ ที่มีชน้ั เรียนไม่ เหมาะสมหรอื ไม่  ไม่มี  มี 1.4 รปู แบบการบริหารจดั การโรงเรยี นขนาดเลก็ ท่ีมชี น้ั เรียนไม่เหมาะสมของสานกั งานเขตพนื้ ท่ี การศกึ ษา เป็นอยา่ งไร 1.สพป.ลป. 1 มรี ูปแบบการบรหิ ารจดั การโรงเรยี นขนาดเล็กท่มี ชี ั้นเรยี นไม่เหมาะสม มี 3 รปู แบบคอื 1.การรวมสถานศึกษาขน้ั พ้ืนฐาน 1.1.รูปแบบเรียนรวมทกุ ชน้ั เรียน 1.2.รูปแบบเรียนรวมบางช้นั 2.การจัดการศึกษาทางไกลผา่ นดาวเทยี ม DLTV จานวน 77 แหง่ 3.การจดั การศกึ ษาทางไกลผ่านดาวเทียม DLIT จานวน 26 แห่ง 1.5 ปกี ารศกึ ษา 2559 สานักงานเขตพ้ืนทก่ี ารศกึ ษามีโรงเรยี นขนาดเล็ก จานวน 103 โรงเรยี น และปีการศกึ ษา 2560 มโี รงเรยี นขนาดเล็ก จานวน 99 โรงเรยี น

24 2. ความโดดเด่น/จดุ แขง็ /นวัตกรรม/ต้นแบบหรอื แบบอยา่ งที่ดีในการดาเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเด่น จุดแขง็ นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย เกดิ ประโยชนห์ รอื มี ผลกระทบทางบวกแก่ผเู้ รยี นอย่างไรบา้ ง 1.รปู แบบการเรียนรวม สง่ ผลให้นักเรียนมคี ุณลักษณะพงึ ประสงค์ รวู้ ธิ กี ารเรียนการทางานเปน็ ทมี หรอื กระบวนการกลุม่ มที ักษะชีวิตในการอยรู่ ว่ มกนั ในสังกดั ท่ีแตกตา่ งหลากหลาย 2. การจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม DLTV และการจดั การศึกษาทางไกลผ่านดาวเทียม DLIT ส่งผลใหน้ กั เรียนได้เรยี นร้แู ละมีทักษะการเรียนด้วยส่ือใชเ้ ทคโนโลยี ทักษะการฟ๎ง ส่อื สาร คดิ วิเคราะห์ มีคณุ ลักษณะ พึงประสงค์ 2.2 รายชือ่ หน่วยงาน/สถานศึกษาทเ่ี ป็นต้นแบบหรือแบบอยา่ งท่ีดี ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย รายช่อื หน่วยงาน/สถานศึกษา ท่ีตงั้ รายการและรายละเอียด ตน้ แบบหรอื แบบอย่างทด่ี ี หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ของความโดดเด่น/จุดแขง็ / นวัตกรรม 1. โรงเรียนบา้ นโปุงขวาก ต.เมืองยาว อ.หา้ งฉตั ร จ.ลาปาง การบรหิ ารจดั การแบบมสี ่วนร่วม และจัดการความรู้ PKS Model 1.เปน็ โรงเรยี นแม่เหล็ก คือมีโรงเรียนขนาดเลก็ ในพ้ืนที่ใกล้เคียงมาเรียนรวมจานวน 2 โรงเรียนคือ โรงเรียนบา้ นปน๎ เตา้ นานักเรยี นมาเรียนรวมทกุ ชัน้ เรยี น และโรงเรยี นบา้ นหัวทุ่งนานกั เรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 มาเรยี นรวมตั้งแต่ภาคเรยี นท่ี 2/2559 2.โรงเรยี นมีรูปแบบการบรหิ ารจดั การแบบมสี ว่ นร่วมและการจดั การความรู้ PKS Model 3.นักเรียนมคี ่าเฉลย่ี ผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงกว่าค่าเฉลย่ี ระดบั ประเทศ ดงั นี้ ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วทิ ยาศาสตร์ ที่ รหัสโรงเรยี น ช่ือ อาเภอ/ ปกี ารศึกษา ปกี ารศกึ ษา ปกี ารศึกษา โรงเรยี น เขต เพิ่ม/ เพิม่ / เพม่ิ / หา้ งฉตั ร 2558 2559 ลด 2558 2559 ลด 2558 2559 ลด ห้างฉัตร 1 1052010177 บ้านโปงุ ห้างฉัตร 45.36 63.78 18.42 39.29 49.38 10.09 35.43 47.06 11.63 ขวาก 2 1052010180 บา้ นป๎นเตา้ 54.50 55.60 1.10 40.00 56.00 16.00 41.90 40.70 -1.20 3 1052010178 บ้านหัวทงุ่ 49.42 38.03 - 53.85 46.88 -6.97 42.77 35.56 -7.21 11.39

25 สงั คมศกึ ษา ภาษาองั กฤษ ค่าเฉล่ีย ลา ดับ ท่ี รหัสโรงเรียน ช่อื โรงเรียน อาเภอ/ ปีการศกึ ษา ปีการศึกษา ปกี ารศึกษา ท่ี เขต 1 1052010177 เพม่ิ / เพ่มิ / เพิ่ม/ 1 2 1052010180 2558 2559 ลด 2558 2559 ลด 2558 2559 ลด 3 1052010178 2 บา้ นโปุงขวาก หา้ งฉตั ร 48.57 50.0 1.43 41.4 30.9 - 42.0 48.2 6.22 บ้านป๎นเตา้ หา้ งฉตั ร 0 1 3 3 บ้านหวั ทุ่ง หา้ งฉตั ร 3 4 10.49 46.40 46.5 0.10 46.0 43.5 -2.50 45.7 48.4 2.70 0 0 0 6 6 47.85 38.1 -9.72 55.5 23.1 - 49.8 36.3 -13.55 3 9 5 8 3 32.45 3. ปญั หาอุปสรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 3.1 ผบู้ รหิ าร และครูโรงเรียนขนาดเล็กกลมุ่ เปาู หมายบางแหง่ ทีม่ ีนักเรยี นต่ากว่า 40 โรงเรยี นยงั ไม่ สามารถดาเนินงานตามนโยบายเพม่ิ ประสิทธภิ าพการบรหิ ารจัดการโรงเรียนขนาดเล็กรูปแบบรวมสถานศึกษา ปกี ารศึกษา 2560 โรงเรียนขนาดเลก็ ทม่ี ีนกั เรยี นตา่ กวา่ 40 คนท่ียงั ไมส่ ามารถดาเนินงานตาม นโยบายฯ มีจานวน 4 โรงเรียนคอื โรงเรียนวดั บา้ นแลง(27คน) โรงเรยี นบา้ นทา่ โทก(38คน) โรงเรียนเวียงหงสล์ ้านา (32คน) และโรงเรยี นบ้านสาเภา (32)คน ข้อมลู ณ วนั ท่ี 10 พฤศจกิ ายน 2561 3.2 ผปู้ กครอง ชุมชน ท้องถน่ิ ยังมคี วามรักและหวงแหนโรงเรียนขนาดเลก็ ท่ีอย่ใู นชุมชนหรือหมบู่ ้าน 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 ข้อเสนอแนะในการปรบั ปรุง/พัฒนานโยบาย ไม่มี 4.2 ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ ในการดาเนินงานตามนโยบาย 1) หน่วยงานตน้ สงั กดั ควรใหข้ วัญและกาลังใจสาหรับผู้บริหาร ครบู ุคลากรของโรงเรยี นขนาดเล็กที่ ดาเนนิ งานสนองนโยบาย ในรูปแบบตา่ ง ๆ ที่ความเหมาะสม

26 นโยบายที่ ๙ การอ่านออกเขียนได้ ๑. ผลการดาเนินงานตามประเด็นนโยบายและตัวชีว้ ดั ๑.๑ ตารางแสดงจานวนนกั เรียนทอี่ ่านออกเขียนได้ และอ่านคล่อง เขียนคล่อง เปรียบเทยี บปี การศึกษา ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ อา่ นออกเขียนได้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ อ่านคล่อง เขยี นคล่องปีการศึกษา ๒๕๕๙ นักเรียนช้นั จานวน จานวน จานวน ป.๑ ทง้ั หมด นักเรยี น สังกัด ทอ่ี า่ นออก นักเรยี น นักเรยี น สพป.ลาปาง เขต ๑ (เฉพาะเด็กปกต)ิ เขยี นได้ ร้อยละ ชน้ั ป.๒ - ที่อา่ นคล่อง ร้อยละ (คน) (เฉพาะเด็กปกต)ิ ป.๓ทงั้ หมด เขยี นคล่อง ๙๘.๔๓ ๑,๗๗๐ (คน) (เฉพาะเดก็ ปกต)ิ (เฉพาะเด็กปกต)ิ ๑,๖๙๑ (คน) (คน) ๙๕.๕๑ ๓,๓๘๐ ๓,๓๒๗ อา่ นออกเขียนได้ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ อ่านคล่อง เขยี นคลอ่ งปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ นกั เรียนชนั้ จานวน จานวน จานวน สังกดั ป.๑ ทง้ั หมด นกั เรยี น นักเรยี น นกั เรยี น สพป.ลาปาง เขต ๑ (เฉพาะเด็กปกต)ิ ทอี่ ่านออก รอ้ ยละ ชนั้ ป.๒ - ท่อี ่านคล่อง ร้อยละ (คน) เขยี นได้ ป.๓ทงั้ หมด เขียนคลอ่ ง (เฉพาะเด็กปกต)ิ (เฉพาะเดก็ ปกต)ิ (เฉพาะเด็กปกต)ิ (คน) (คน) (คน) ๑,๘๑๙ ๑,๗๒๔ ๙๔.๗๘ ๓,๓๑๒ ๓,๑๘๔ ๙๖.๑๔ จากตาราง แสดงจานวนนักเรยี นทอี่ า่ นออกเขยี นได้ และอ่านคล่อง เขยี นคลอ่ ง เปรียบเทียบปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ พบวา่ นักเรยี นช้นั ประถมศึกษาปที ี่ ๑ ปีการศกึ ษา ๒๕๕๙ อา่ นออกเขียนได้จากนักเรยี นปกติ ท้งั หมด ๑,๗๗๐ คน มนี กั เรียนทอี่ ่านออกเขียนได้ จานวน ๑,๖๙๑ คน คิดเปน็ รอ้ ยละ ๙๕.๕๑ และปกี ารศึกษา ๒๕๖๐ อ่านออกเขยี นได้จากนักเรียนปกติทงั้ หมด ๑,๘๑๙ คน มีนกั เรียนทีอ่ า่ นออกเขียนได้ จานวน ๑,๗๒๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๔.๗๘ นักเรยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ ๑ มีผลการประเมนิ ลดลง เทา่ กบั ๐.๗๘ จากตาราง แสดงจานวนนักเรยี นที่อ่านออกเขียนได้ และอ่านคล่อง เขียนคล่อง เปรยี บเทยี บ ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ และ ๒๕๖๐ พบว่านกั เรียนช้ันประถมศกึ ษาปีที่ ๒ และช้นั ประถมศึกษาปที ่ี ๓ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ อ่านออกเขียนได้จากนักเรยี นปกตทิ ั้งหมด ๓,๓๘๐คน มีนักเรยี นทีอ่ ่านออกเขยี นได้ จานวน ๓,๓๒๗ คน คดิ เป็นร้อยละ ๙๘.๔๓ และปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ อา่ นออกเขยี นไดจ้ ากนกั เรยี นปกตทิ ง้ั หมด ๓,๓๑๒ คน มีนักเรียนทอี่ ่านออกเขยี นได้ จานวน ๓,๑๘๔ คน คดิ เป็นรอ้ ยละ ๙๖.๑๔ นกั เรยี นนกั เรียนช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี ๒ และช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี ๓ มผี ลการประเมินลดลง เทา่ กับ ๒.๒๙

27 เกณฑก์ ารประเมิน การอ่านการเขยี น ปกี ารศึกษา ๒๕๕๙ และปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๐ ระดับการประเมนิ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ มี ๗ ระดบั ระดับการประเมนิ ปีการศึกษา ๒๕๖๐ มี ๔ ระดับ อ่านไมไ่ ด้ –เขียนไม่ได้ 0-29 ปรบั ปรุงเรง่ ดว่ น 30-39 ปรับปรุง 9-24 ควรปรบั ปรงุ 40-49 พอใช้ 25-49 พอใช้ 50-59 ดี 50-74 ดี 60-69 ดมี าก 75-100 ดีมาก 70-79 ดเี ย่ียม 80-100 หมายเหตุ : นับเฉพาะนกั เรียนปกติ ๑.๒ หน่วยงาน/สถานศกึ ษา มีรูปแบบหรอื วธิ กี ารเพอื่ ให้นักเรียนชนั้ ป.๑ อ่านออกเขียนได้ดาเนนิ การ ดังนี้ รูปแบบหรือวิธีการดาเนนิ งาน ๑. การคัดกรองผเู้ รียนชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ เพอื่ จดั ทาสารสนเทศและวางแผนพฒั นา สพป. ลาปางเขต ๑ ไดด้ าเนินการคัดกรอง ดงั นี้ 1.๑ ประชุมครชู น้ั ป.๑ ก่อนปิดภาคเรียน ชแี้ จงทาความเข้าใจเรอ่ื งการคดั กรองผเู้ รียน ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ 1.๒ จัดทาสารสนเทศ เพอ่ื วิเคราะห์ผูเ้ รียน และวางแผนพฒั นาผเู้ รียนใหด้ าเนนิ การก่อน วันท่ี ๑๐ มถิ นุ ายน ๒๕๖๐ 1.๓ ใหค้ รผู ูส้ อนคัดกรองผูเ้ รยี น โดยใช้เครอื่ งมอื คดั กรองของ สพฐ. การคัดกรองผ้เู รียน ชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ นักเรยี นทม่ี ปี ๎ญหาทางการเรยี นรู้ ๙ ประเภท ได้แก่ ๑. บคุ คลทมี่ ีความบกพรอ่ งทางการพดู และการใช้ภาษา ๒. บุคคลทีม่ ีความบกพร่องทางการสื่อสาร ๓. มปี ญ๎ หาในการเรยี นในกลุ่มวิชาทักษะ เชน่ วิชาภาษาไทย วิชาคณติ ศาสตร์ ๔. มปี ๎ญหาในการสร้างแนวความคดิ รวบยอด ๕. การทดสอบผลการเรียนให้ผลไม่แน่นอนยากแกก่ ารการพยากรณ์ ๖. มคี วามบกพร่องทางการรบั รู้ ๗. มคี วามบกพร่องทางการเคลือ่ นไหว ๘. มอี ารมณไ์ ม่คงท่ี บางครง้ั ระเบิดอารมณ์ใสผ่ ูอ้ ืน่ ความผิดหวงั เล็กๆนอ้ ยๆอาจทา ให้เสยี อารมณอ์ ย่างรนุ แรงได้ ๙. ลักษณะการนอนไมค่ งที่ บางครั้งหลบั บางครัง้ ไมห่ ลบั ไมเ่ ป็นเวลาท่ีแนน่ นอน ให้ทกุ โรงเรียนจดั ทาสารสนเทศ ผูเ้ รียนชั้นประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ ทีอ่ ย่ใู นประเภทผ้เู รยี นบกพร่อง ๙ ประเภท (เป็นขอ้ มูล จาก โปรแกรม SET ของ สพฐ.) ๒. การพฒั นาครูและบคุ ลากรทางการศึกษาใหส้ ามารถจัดการเรียนการสอนสอดคล้องกับการ เรยี นรขู้ องผเู้ รียน สพป.ลาปางเขต ๑ ไดด้ าเนินการพฒั นาครแู ละบุคลากรทางการศึกษา ใหส้ ามารถจดั การเรยี น การสอน สอดคลอ้ งกับการเรียนรขู้ องผู้เรยี น ดงั นี้

28 2.๑. วางแผนร่วมกับผู้บรหิ ารโรงเรยี นสารวจความต้องการ ร่วมกันวเิ คราะห์ บริบท โรงเรยี น การวิเคราะหผ์ ลการประเมินและจัดทาฐานข้อมลู ประมวลผลการทดสอบการอ่าน การเขียน และสื่อสารได้ ของนกั เรยี น ภาคเรียนที่ ๑-๒ ของปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ชี้แจงวตั ถุประสงค์ เปูาหมาย วิธีดาเนนิ งาน - วเิ คราะหส์ ภาพป๎ญหา/ความตอ้ งการ - วางแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม/ปฏิทนิ การปฏิบัติงาน - วเิ คราะห์/รจู้ กั ตนเอง (SWOT) - วเิ คราะห์/จัดทาสารสนเทศของนกั เรยี นช้ัน ป.๑ 2.๒. สรปุ ผลและจัดทารายงานผลการอา่ นแจ้งให้กบั ผ้เู กย่ี วขอ้ งทราบ โดยแจง้ ในทปี่ ระชุม ผู้บรหิ าร 2.๓. ประชมุ ปฏบิ ัตวิ างแผนการรว่ มกับผู้บริหารและครู เพ่อื สร้างความตระหนัก และ วางแผนการนิเทศ - พฒั นาครแู ละบคุ ลากรทเี่ ก่ียวข้อง - จัดทาแผนงาน/โครงการพัฒนาครภู าษาไทยแก้ป๎ญหาการอา่ นการเขยี น เพือ่ การ สื่อสาร(อา่ นเขา้ ใจ) ของนกั เรียนช้นั ป.๑ 2.๔. ประชุมปฏบิ ตั ิการโครงการพัฒนาครูภาษาไทยแก้ป๎ญหาการอา่ นการเขยี น เพอ่ื การ สอ่ื สาร (อา่ นเข้าใจ) ของนกั เรียนชั้น ป.๑ 2.๕. จัดหา/ผลิต ส่อื นวตั กรรม ที่ส่งเสริมการอา่ นฯทีท่ นั สมัยสอดคล้องกบั พัฒนาการของ นักเรียน 2.๖. นิเทศ ติดตาม รปู แบบ Coaching & Mentoring และแบบกลั ยามิตร - สงั เกตชน้ั เรียน - ตรวจเอกสาร/ผลงาน, ประชมุ กลมุ่ ยอ่ ย - ตดิ ตามการจัดกิจกรรมการเรยี นร้กู ารจดั การเรียนการสอนภาษาไทย - การจัดกจิ กรรมการอา่ นการเขยี นของ นักเรยี นชัน้ ป.๑ - ติดตามการประเมนิ ผลการสอบอ่าน เขียนของนักเรียนชั้น ป.๑ การขับเคลือ่ นนโยบายและแนวทางการพัฒนานกั เรียนทีม่ ีปญ๎ หาด้านการอา่ นและการเขียนอย่างตอ่ เนือ่ งและใกลช้ ดิ 2.๗. ส่งเสริมพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ มีการดาเนนิ การจดั กจิ กรรม และสอ่ื การจัดการ เรยี นการสอน หนงั สอื คู่มอื สาหรับครูผ้สู อน ดงั น้ี - จัดกิจกรรมการแขง่ ขันทักษะภาษาไทยใหน้ ักเรียน ตามโครงการรักษ์ภาษาไทย เน่ืองในวันภาษาไทยแหง่ ชาติ ปี ๒๕๖๐ จานวน ๑๓ กิจกรรม ทุกระดบั ชนั้ คอื ระดับชัน้ ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ - ๖ และระดบั ช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี ๑-๖ โรงเรียนในสังกดั รวมเอกชน ๓. การสร้างความตระหนกั ใหก้ บั บุคคลทีเ่ กี่ยวข้อง ประชุมปฏบิ ัติวางแผนการร่วมกบั ผบู้ ริหาร และครู เพอ่ื สรา้ งความตระหนกั และวางแผนการนเิ ทศ - พฒั นาครผู ้สู อนภาษาไทย ช้ัน ป.๑ และบุคลากรท่เี กย่ี วข้อง - จดั ทาแผนงาน/โครงการพัฒนาครภู าษาไทยแกป้ ๎ญหาการอ่านการเขียน เพ่อื การ ส่อื สาร(อ่านเขา้ ใจ) ของนักเรียนชนั้ ป.๑ดงั นี้ - เทคนคิ การสอนแจกลูกสะกดคา - ความรู้เบอ้ื งตน้ เกยี่ วกับเสียงและอกั ษรไทยท่คี รสู อนภาษาไทยตอ้ งรู้

29 - การอา่ น คิดวเิ คราะหโ์ ดยการใช้โครงสรา้ งประโยคเปน็ ฐาน - การอา่ น คิดวเิ คราะห์และเขียนสื่อความ โดยใช้ ๕W ๑H - การจดั การเรียนรโู้ ดยใชห้ ลกั การสอนอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ ตามแนวทาง ประเมนิ ผล PISA - ฝกึ ปฏบิ ตั กิ ารสร้างแบบฝกึ การอ่านการเขียนโดยกระบวนการ Work Shop จาก คู่มอื การอบรม โดยวทิ ยากรจาก สพฐ. ๔. รูปแบบการสอบและวิธีดาเนนิ การ สานักงานเขตพนื้ ที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต ๑ มีแนวทางการประเมิน ความสามารถในการอา่ น การเขียน ในการวัดและประเมิน ผลในชนั้ เรียน โดยใช้เครอื่ งมอื ของสานกั วชิ าการและ มาตรฐานการศึกษา สานักงานคณะกรรมการการศกึ ษาขัน้ พ้นื ฐาน ดาเนนิ การชี้แจงทาความเขา้ ใจการดาเนินงาน ของ สานักงานเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ใหก้ ับโรงเรียนในสังกัด ให้ดาเนนิ การตามนโยบายพัฒนาการอา่ นออกเขียนได้ พัฒนาและสง่ เสริมนักเรียนทีอ่ า่ นไมอ่ อกเขยี นไมไ่ ด้ ดาเนนิ การ ดงั น้ี 4.๑ ประชมุ ชีแ้ จงผู้บรหิ าร การดาเนินการขับเคลอ่ื นตามนโยบาย การแกป้ ๎ญหา นกั เรยี นอ่านไม่ออกเขยี นไมไ่ ด้ อย่างต่อเนื่อง 4.๒ แจง้ หนังสอื ใหโ้ รงเรยี นดาเนนิ การพฒั นาการเรียนการสอนภาษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เร่งพฒั นาและสง่ เสรมิ การพฒั นาการเรยี นการสอนภาษาไทย ให้นักเรียนทกุ คนอ่านออกเขยี นได้ ๑๐๐ เปอร์เซน็ ต์ ได้อย่างมีประสทิ ธภิ าพ 4.๓ สพป.ลาปาง เขต ๑ กาหนดใหโ้ รงเรยี นประเมนิ ผลการอ่าน การเขียนของ นกั เรียนชน้ั ป.๑ โดยใช้เครือ่ งมือวดั และประเมินผล ท่สี านกั วิชาการและมาตรฐานการศกึ ษาจัดส่งให้ สพท. ไดแ้ ก่ เครื่องมอื วัดความสามารถในการอา่ น การเขียน ของนักเรียนชน้ั ป.๑ และกาหนดใหม้ กี ารวัดและประเมนิ ผล ภาค เรียนละ ๒ คร้ัง ดังนี้ ภาคเรียนท่ี ๑ คร้งั ท่ี ๑ รายงานผลภายในวันที่ ๓๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๐ คร้งั ท่ี ๒ รายงานผลภายในวันที่ ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๐ ภาคเรียนที่ ๒ คร้ังที่ ๑ รายงานผลภายในวันที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ คร้งั ที่ ๒ รายงานผลภายในวันท่ี ๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ 4.๔ โรงเรยี นแตง่ ต้ังคณะกรรมการคมุ สอบและตรวจข้อสอบ สลับชั้นภายใน โรงเรียน ไม่ควรใหค้ รูผูส้ อนสอบนกั เรียน หรอื ตรวจขอ้ สอบนกั เรียนที่ตนเองเป็นผู้สอน 4.๕ โรงเรยี นดาวนโ์ หลด เครือ่ งมือแบบทดสอบการอา่ นออกเขียนได้ชั้นประถม ศกึ ษาปที ่ี ๑ รายละเอยี ดแนวทางของการดาเนินการสอบ ตามขัน้ ตอนการดาเนนิ การสอบวัดความสามารถในการอ่าน ออกเขียนได้ ท่สี พฐ.กาหนด และสามารถดาวนโ์ หลด คมู่ อื แบบทดสอบการอ่านออกเขียนได้ ชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ได้ท่เี ว็บไซต์กลุ่มสาระภาษาไทย ท่ี http://๒๐๒.๒๙.๒๑๖.๑๔๖ /pthai ตามหนงั สือ สพท. แจง้ ตามวนั เวลา ทีก่ าหนด 4.๖ สพป.ลาปาง เขต ๑ ไดจ้ ัดทา โปรแกรมบนั ทึกขอ้ มูลการปะเมินผล ตาม รายการการประเมนิ โดยจดั สง่ ใหโ้ รงเรียน ใหด้ าวนโ์ หลดตามเว็ปไซต์ ขอ้ ๕ 4.๗ ใหผ้ ู้รับผดิ ชอบกรอกข้อมูลและศกึ ษาคาชีแ้ จง โปรแกรมบนั ทึกข้อมูลให้เขา้ ใจ กอ่ นบนั ทึกขอ้ มลู เพอ่ื ปอู งกัน ความคลาดเคล่อื นของขอ้ มูล และกาหนดส่งผลการประเมินความสามารถพ้ืนฐาน ของ นกั เรยี นชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ดา้ นการอ่าน การเขียน ถึงเขตพ้นื ท่กี ารศึกษา ภายในวนั เวลา ทีก่ าหนด ทางทีอ่ ยู่ อเี มล E:mail ท่กี าหนดให้

30 4.๘ ใหส้ ง่ ผลการทดสอบท่ีบันทึกตามโปรแกรมฯ ถงึ สานกั งานเขตพนื้ ท่ีการศกึ ษา ลาปาง เขต ๑ ตามท่ีแจง้ กาหนด ทาง E-mail : เพ่ือสรุปผลสง่ ผ่านระบบ e-MES ถึงสานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขัน้ พ้นื ฐาน ต่อไป 4.๙ กรณที ่ใี นโรงเรียน แต่ละชัน้ มีนกั เรียนท่ีบกพรอ่ งทางการเรยี นรู้ (LD) ใหแ้ ยก ไฟล์ผลการประเมิน เป็นนกั เรยี นปกติ ๑ ไฟล์ และนักเรยี นบกพร่องทางการเรียนรู้ (LD) ๑ ไฟล์ (และศกึ ษา รายละเอียดการกรอกขอ้ มูลนักเรยี นบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ให้เข้าใจ) ๕. การนาผลการประเมินไปใชว้ างแผนการจัดการเรียนการสอนและนเิ ทศ สพป.ลาปาง เขต ๑ ไดน้ าผลการประเมินไปใช้วางแผนการจัดการเรยี นการสอน และ นเิ ทศ กากบั ติดตามโดยรปู แบบการนเิ ทศ รว่ มคดิ พาทา โดยใช้กระบวนการ PDCA ๑.๓ หนว่ ยงาน/สถานศึกษา มรี ูปแบบหรือวิธกี ารเพอื่ ให้นกั เรยี นชนั้ ป.๒ – ป.๓ อ่านคล่องเขยี นคล่อง สานกั งานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาได้ดาเนินการ ดังน้ี รปู แบบหรือวธิ ีการดาเนนิ งาน ๑. การคัดกรองผู้เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ ๑ เพ่ือจัดทาสารสนเทศและวางแผนพัฒนา สพป. ลาปางเขต ๑ ไดด้ าเนนิ การคัดกรอง ดังนี้ ๑.1 ประชุมครูชัน้ ป.๑ ก่อนปดิ ภาคเรียน ชี้แจงทาความเขา้ ใจเรื่องการคดั กรองผเู้ รียนช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ ๑ 1.๒ จัดทาสารสนเทศ เพอื่ วิเคราะหผ์ ูเ้ รยี น และวางแผนพัฒนาผู้เรียนให้ดาเนินการกอ่ น วนั ท่ื ๑๐ มถิ ุนายน ๒๕๖๐ 1.๓ ใหค้ รผู ู้สอนคัดกรองผ้เู รยี น โดยใช้เครื่องมือคดั กรองของ สพฐ. การคัดกรองผู้เรยี นช้ัน ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ นกั เรียนที่มปี ๎ญหาทางการเรยี นรู้ ๙ ประเภท ได้แก่ ๑ บุคคลท่ีมีความบกพรอ่ งทางการพูดและการใชภ้ าษา ๒. บคุ คลที่มีความบกพรอ่ งทางการสือ่ สาร ๓. มปี ญ๎ หาในการเรยี นในกล่มุ วิชาทกั ษะ เช่น วชิ าภาษาไทย วชิ าคณติ ศาสตร์ ๔. มีปญ๎ หาในการสร้างแนวความคิดรวบยอด ๕. การทดสอบผลการเรยี นให้ผลไม่แน่นอนยากแกก่ ารการพยากรณ์ ๖. มคี วามบกพร่องทางการรบั รู้ ๗. มีความบกพร่องทางการเคล่ือนไหว ๘. มอี ารมณ์ไม่คงที่ บางคร้งั ระเบิดอารมณใ์ สผ่ ูอ้ น่ื ความผิดหวังเล็กๆนอ้ ยๆอาจทา ให้เสียอารมณ์อยา่ งรนุ แรงได้ ๙. ลกั ษณะการนอนไม่คงท่ี บางครัง้ หลบั บางครั้งไม่หลับ ไมเ่ ป็นเวลาที่แนน่ นอน 1.๔. ใหท้ ุกโรงเรียนจัดทาสารสนเทศ ผเู้ รยี นชัน้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ท่ีอยูใ่ นประเภทผเู้ รียน บกพร่อง ๙ ประเภท (เป็นขอ้ มูลจาก โปรแกรม SET ของ สพฐ.) ๒. การพัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษาให้สามารถจัดการเรียนการสอนสอดคล้องกบั การ เรยี นรู้ของผเู้ รยี น สพป.ลาปางเขต ๑ ได้ดาเนนิ การพฒั นาครูและบุคลากรทางการศกึ ษา ให้สามารถจดั การเรยี น การสอน สอดคล้องกับการเรียนรขู้ องผูเ้ รยี น ดงั นี้

31 ๑. วางแผนร่วมกบั ผู้บรหิ ารโรงเรยี นสารวจความต้องการ รว่ มกนั วเิ คราะห์ บริบท โรงเรยี น การวิเคราะห์ผลการประเมินและจัดทาฐานข้อมลู ประมวลผลการทดสอบการอ่าน การเขียน และสอื่ สารได้ ของนกั เรียน ภาคเรียนที่ ๑-๒ ของปกี ารศกึ ษา ๒๕๕๙ - ชแี้ จงวตั ถปุ ระสงค์ เปาู หมาย วิธดี าเนินงาน - วเิ คราะห์สภาพป๎ญหา/ความตอ้ งการ - วางแผนงาน/โครงการ/กจิ กรรม/ปฏทิ ินการปฏิบัตงิ าน - วิเคราะห์/รู้จกั ตนเอง (SWOT) - วเิ คราะห์/จดั ทาสารสนเทศของนกั เรยี นชั้น ป.๑ ๒. สรุปผลและจดั ทารายงานผลการอา่ นแจ้งใหก้ ับผู้เกย่ี วขอ้ งทราบ โดยแจ้งในทป่ี ระชุม ผู้บรหิ าร ๓. ประชมุ ปฏบิ ตั วิ างแผนการรว่ มกับผ้บู ริหารและครู เพอ่ื สร้างความตระหนัก และวางแผน การนเิ ทศ - พัฒนาครูและบุคลากรทเ่ี ก่ียวขอ้ ง - จดั ทาแผนงาน/โครงการพฒั นาครภู าษาไทยแก้ป๎ญหาการอ่านการเขยี น เพ่ือการส่ือสาร(อ่านเขา้ ใจ) ของนักเรยี นชนั้ ป.๓ ๔. ประชมุ ปฏบิ ตั ิการโครงการพัฒนาครภู าษาไทยแก้ปญ๎ หาการอ่านการเขยี น เพอื่ การ ส่อื สาร (อ่านเขา้ ใจ) ของนกั เรยี นชั้น ป.๓ ๕. จดั หา/ผลติ สอื่ นวัตกรรม ท่สี ่งเสรมิ การอา่ นฯท่ีทนั สมัยสอดคลอ้ งกบั พัฒนาการของ นักเรยี น ๖. นิเทศ ติดตาม รูปแบบ Coaching & Mentoring และแบบกัลยามิตร - สงั เกตช้นั เรียน - ตรวจเอกสาร/ผลงาน, ประชมุ กลุม่ ย่อย - ตดิ ตามการจัดกจิ กรรมการเรียนรกู้ ารจัดการเรยี นการสอนภาษาไทย - การจดั กิจกรรมการอา่ นการเขยี นของ นักเรยี นชัน้ ป.๒-๓ - ตดิ ตามการประเมินผลการสอบอา่ น เขียนของนักเรียนชน้ั ป.๒-๓ ๗. สง่ เสริมพัฒนาการอา่ นออกเขียนได้ มีการดาเนินการจัดกิจกรรม และจัดสรรสื่อการ จัดการเรียนการสอน หนังสอื คูม่ อื สาหรบั ครผู สู้ อน ดังน้ี - จดั กจิ กรรมการแข่งขันทักษะภาษาไทยใหน้ ักเรยี น ตามโครงการรักษภ์ าษาไทย เน่อื งในวันภาษาไทยแห่งชาติ ปี ๒๕๖๐ จานวน ๑๓ กิจกรรม ทุกระดับช้ัน คอื ระดับชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี ๑ - ๖ โรงเรียนในสงั กัดรวมเอกชน - จดั สรรเอกสารชุดเทคนคิ วิธีการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ เพือ่ ขบั เคล่อื นจุดเน้นการ พฒั นาคณุ ภาพผ้เู รียน พร้อมสื่อซดี รี อม จานวน ๑๒ รายการ โดย สวก. สพฐ. ในชุดเทคนคิ วธิ ีการจัดกจิ กรรมการ เรยี นรู้ มเี อกสารเทคนวิคธกี ารจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ดา้ นอา่ นคล่องเขยี นคลอ่ ง สาหรับนักเรียนช้ันป.๒ – ป.๓ - จัดสรรส่อื สอ่ื ซีดรี อม นทิ านวรรณคดแี ละวรรณกรรมไทย กลุ่มสาระภาษาไทยชั้น ประถมศึกษาปีท่ี ๑ ถงึ ประถมศึกษาปีที่ ๓ - จัดสรรหนังสอื อุเทศภาษาไทย หลกั ภาษาไทย : เรอื่ งทีค่ รภู าษาไทย ตอ้ งรู้โดย สวก. สพฐ.

32 - ส่อื และวธิ กี ารสอนภาษาไทยที่ประสบผลสาเรจ็ โดย สวก. สพฐ. - ค่มู อื การสอนแจกลูกสะกดคา โดย สวก. สพฐ. - จัดสรรเกมการศึกษาเกมหาคาศัพทแ์ ละความหมาย - คมู่ อื การใช้บทอาขยานภาษาไทย ระดับประถมศึกษาและมธั ยมศกึ ษา - สาหรบั ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี ๒ เดมิ ผู้เรียนมกี ารพัฒนามาแล้วระดับหนึง่ ในชนั้ ประถมศึกษาปที ่ี ๑ สพป.ลาปาง เขต ๑ ใหค้ รูผู้สอนภาษาไทยใชก้ ระบวนการพัฒนาผู้เรียน โดยวิธีการสอนท่ี หลากหลาย เชน่ การจัดกิจกรรม ๗ ขัน้ ตอน ๑)การทบทวนความรู้เดิม ๒)การแสวงหาความรใู้ หม่ ๓)การศึกษาทาความเข้าใจข้อมูล/ความรใู้ หม่และเชือ่ มโยงความรใู้ หม่กับความรูเ้ ดมิ ๔)การแลกเปล่ยี นความรู้ความ เขา้ ใจกบั กลุ่ม ๕)การสรุปและจดั ระเบียบความรู้ ๖)การปฏบิ ัติและ/หรอื การแสดงผลงาน ๗)การประยุกตใ์ ช้ความรู้ และเทคนิค วิธกี ารจัดกจิ กรรมการเรียนรทู้ สี่ อดคลอ้ งกบั พัฒนาการทางสมอง(Brain-Based Learning) ๓. การสรา้ งความตระหนักให้กบั บคุ คลที่เกีย่ วขอ้ งประชุมปฏิบตั ิวางแผนการรว่ มกบั ผบู้ ริหาร และครู เพื่อสร้างความตระหนกั และวางแผนการนเิ ทศ - พัฒนาครผู ู้สอนภาษาไทย ชั้น ป.๓ และบุคลากรท่เี กย่ี วขอ้ ง - จดั ทาแผนงาน/โครงการพัฒนาครภู าษาไทยแก้ปญ๎ หาการอ่านการเขยี น เพือ่ การ ส่อื สาร(อ่านเข้าใจ) ของนกั เรียนชั้น ป.๓ ดงั น้ี - ความรทู้ กั ษะกระบวนการใช้คาถามนาการอ่านจบั ใจความสาคัญ คิดวิเคราะห์ โดยใชเ้ ทคนิค ๕ W ๑ H การสอนอา่ น การคดิ วเิ คราะห์ ตามแนวทางประเมนิ ผล PISA - การจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้หลกั การสอนอ่าน การคดิ วเิ คราะห์ ตามแนวทาง ประเมนิ ผล PISA - การฝกึ ปฏิบตั กิ ารสรา้ งแบบฝกึ การใช้คาถามนาการอา่ นจับใจความสาคญั คิดวเิ คราะห์ โดยใชเ้ ทคนคิ ๕ W ๑ H การสอนอา่ น การคดิ วิเคราะห์ ตามแนวทางประเมนิ ผล PISAโดยกระบวนการ Work Shop จากค่มู ือการอบรม โดยวทิ ยากรจาก สพฐ. ๔. รูปแบบการสอบและวธิ ีดาเนนิ การ สานกั งานเขตพืน้ ที่การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต ๑ มแี นวทางการประเมนิ ความสามารถในการอ่าน การเขยี น ในการวัดและประเมิน ผลในช้ันเรียน โดยใชเ้ คร่อื งมอื ของสานักวชิ าการและ มาตรฐานการศกึ ษา สานกั งานคณะกรรมการการศึกษาข้นั พื้นฐาน ดาเนนิ การชี้แจงทาความเข้าใจการดาเนนิ งาน ของ สานกั งานเขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา ใหก้ บั โรงเรียนในสังกดั ใหด้ าเนินการตามนโยบายพฒั นาการอ่านออกเขยี นได้ พฒั นาและส่งเสริมนักเรยี นท่อี า่ นไมอ่ อกเขยี นไม่ได้ ดาเนนิ การ ดังน้ี ๑. ประชุมชีแ้ จงผูบ้ ริหาร การดาเนนิ การขับเคลือ่ นตามนโยบาย การแกป้ ๎ญหานักเรยี นอา่ นไม่ ออกเขยี นไมไ่ ด้ อยา่ งตอ่ เน่ือง ๒. แจง้ หนังสือใหโ้ รงเรียนดาเนนิ การพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย ปีการศึกษา ๒๕๖๐ เรง่ พัฒนาและสง่ เสริมการพัฒนาการเรียนการสอนภาษาไทย ให้นักเรียนทกุ คนอ่านออกเขียนได้ ๑๐๐ เปอรเ์ ซน็ ต์ ได้อย่างมปี ระสิทธิภาพ ๓. สพป.ลาปาง เขต ๑ กาหนดใหโ้ รงเรยี นประเมินผลการอา่ น การเขยี นของนักเรยี นชนั้ ป. ๑-๖ โดยใช้เคร่ืองมือวัดและประเมินผล ทส่ี านักวชิ าการและมาตรฐานการศึกษาจดั สง่ ให้ สพท. ไดแ้ ก่ เครอ่ื งมอื วดั ความสามารถในการอา่ น การเขยี น ของนกั เรียนชั้น ป. ๑-๖ และกาหนดใหม้ กี ารวดั และประเมนิ ผล ภาคเรยี นละ ๒ ครง้ั ดงั น้ี

33 ภาคเรียนท่ี ๑ คร้งั ที่ ๑ รายงานผลภายในวันที่ ๓๐ มิถนุ ายน ๒๕๖๐ ครง้ั ท่ี ๒ รายงานผลภายในวันท่ี ๓๑ สงิ หาคม ๒๕๖๐ ภาคเรยี นท่ี ๒ ครงั้ ที่ ๑ รายงานผลภายในวนั ที่ ๓๐ พฤศจกิ ายน ๒๕๖๐ คร้งั ที่ ๒ รายงานผลภายในวันที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๖๑ ๔. โรงเรียนแต่งต้ังคณะกรรมการคุมสอบและตรวจข้อสอบ สลับชั้นภายในโรงเรยี น ไม่ควร ให้ครผู ู้สอนสอบนักเรียน หรือตรวจขอ้ สอบนกั เรยี นที่ตนเองเป็นผสู้ อน ๕. โรงเรยี นดาวน์โหลด เครอ่ื งมือแบบทดสอบการอา่ นออกเขียนไดช้ ้ันประถม ศกึ ษาปที ี่ ๑ รายละเอียดแนวทางของการดาเนนิ การสอบ ตามขน้ั ตอนการดาเนินการสอบวัดความสามารถในการอา่ นออกเขียนได้ ท่ีสพฐ.กาหนด และสามารถดาวน์โหลด ค่มู ือแบบทดสอบการอ่านออกเขยี นได้ ชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี ๑-๖ ไดท้ ่ีเว็บไซตก์ ลุ่มสาระภาษาไทย ท่ี http://๒๐๒.๒๙.๒๑๖.๑๔๖ /pthai ตามหนงั สือ สพท. แจง้ ตามวนั เวลา ท่ีกาหนด ๖. สพป.ลาปาง เขต ๑ ไดจ้ ดั ทา โปรแกรมบนั ทกึ ข้อมลู การปะเมินผล ตามรายการการ ประเมิน โดยจัดสง่ ใหโ้ รงเรียน ให้ดาวน์โหลดตามเวป็ ไซต์ ขอ้ ๕ ๗. ให้ผู้รบั ผดิ ชอบกรอกข้อมูลและศึกษาคาชี้แจง โปรแกรมบันทกึ ข้อมูลให้เข้าใจ กอ่ น บนั ทกึ ขอ้ มลู เพ่ือปูองกนั ความคลาดเคล่อื นของขอ้ มลู และกาหนดส่งผลการประเมินความสามารถพนื้ ฐาน ของ นกั เรยี นชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ ๑ ด้านการอา่ น การเขียน ถงึ เขตพน้ื ท่ีการศกึ ษา ภายในวัน เวลา ที่กาหนด ทางที่อยู่ อีเมล E:mail ท่กี าหนดให้ ๘. ให้ส่งผลการทดสอบท่บี นั ทึกตามโปรแกรมฯ ถึงสานกั งานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาลาปาง เขต ๑ ตามทแ่ี จ้งกาหนด ทาง E-mail : เพือ่ สรุปผลส่งผา่ นระบบ e-MES ถงึ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพนื้ ฐาน ตอ่ ไป ๙. กรณีท่ใี นโรงเรยี น แต่ละชั้นมีนกั เรยี นที่บกพรอ่ งทางการเรียนรู้ (LD) ใหแ้ ยกไฟล์ผลการ ประเมนิ เป็นนกั เรียนปกติ ๑ ไฟล์ และนักเรียนบกพรอ่ งทางการเรียนรู้ (LD) ๑ ไฟล์ (และศึกษารายละเอยี ดการ กรอกขอ้ มูลนักเรียนบกพรอ่ งทางการเรยี นรูใ้ ห้เข้าใจ) ๕. การนาผลการประเมนิ ไปใช้วางแผนการจัดการเรยี นการสอนและนเิ ทศ สพป.ลาปาง เขต 1 ไดน้ าผลการประเมินไปใช้วางแผนการจัดการเรยี นการสอน และนเิ ทศ กากับ ติดตามโดยรูปแบบการนเิ ทศ รว่ มคดิ พาทา โดยใชก้ ระบวนการ PDCA ๒. ความโดดเด่น /จดุ แขง็ /นวตั กรรม/ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ใี นการดาเนนิ งานตามนโยบาย ๒.๑ ความโดดเด่น /จดุ แข็ง/นวัตกรรม/ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งทีด่ ใี นการดาเนินงานตามประเด็น นโยบาย เกิดประโยชนห์ รือมีผลกระทบทางบวกแก่ผ้เู รียนอย่างไรบา้ ง - ความโดดเด่น /จดุ แขง็ /นวัตกรรม/ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทีด่ ีในการดาเนินงาน สานักงานเขตพ้นื ท่ีการศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต ๑ กลุ่มสาระการเรียนรภู้ าษาไทย ได้ให้ ความสาคัญกับการนิเทศในโรงเรียนเปน็ อย่างมากทง้ั โรงเรียนในกลุม่ เครือขา่ ยทรี่ ับผิดชอบ และโรงเรยี นในสงั กัด สานักงานเขตพ้นื ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต ๑ ทั้งในเรื่องของการจัดกิจกรรมการเรยี นการสอนของ ครูผู้สอน การบรหิ ารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษาโดยใชโ้ รงเรยี นเป็นฐาน งานนโยบายเรง่ ด่วนของรัฐบาลและ กระทรวงศกึ ษาธิการ ดังน้นั จงึ ได้มีการนเิ ทศโรงเรียนท่รี บั ผิดชอบไมน่ ้อยกว่า ๑ ครง้ั /โรงเรยี น/ภาคเรยี นครบ

34 ทุกโรงเรยี น ตลอดจนผรู้ ายงานใชเ้ ทคนิคการนิเทศทห่ี ลากหลาย ทัง้ ในการนเิ ทศแบบโคช้ ช่งิ พาคดิ พาทา กัลยาณมติ ร การถอดบทเรียน เพื่อใหเ้ กดิ ความเหมาะสมกับสถานการณแ์ ละผรู้ บั การนเิ ทศโดยผ่านกระบวนการนเิ ทศอย่างเป็น ระบบ และมีการสะท้อนผลการนิเทศ เพื่อปรบั ปรงุ และพัฒนางานอย่างต่อเนือ่ ง มกี ารวางแผนและดาเนนิ การมีการ รายงานผล มกี ารเผยแพรผ่ ลการตดิ ตาม ตรวจสอบและประเมนิ ผลการจดั การศกึ ษา งาโนคใรนงการท่รี ับผดิ ชอบทุกครง้ั ซงึ่ ในปีงบประมาณ ๒๕๖๐ ผรู้ ายงานรับผดิ ชอบจานวน ๑ โครงการ ได้แก่ โครงการพฒั นาครูภาษาไทยการแก้ป๎ญหา การอา่ นการเขยี น เพอ่ื การส่อื สาร(อา่ นเข้าใจ) ในโครงการประกอบดว้ ย ๒ กจิ กรรม ดงั น้ี ๑)กิจกรรมพฒั นาครูผ้สู อน ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ ๑ และชน้ั ประถมศึกษาปีที่ ๓ ๒)กิจกรรมการส่งเสรมิ นสิ ยั รักการอา่ น ตามโครงการ รักษภ์ าษาไทย ปี ๒๕๖๐ ลาปาง เขต 1 ดาเนนิ การพฒั นาครูผู้สอนภาษาไทย โรงเรยี นในสังกดั ตามนโยบาย การพัฒนาคณุ ภาพผ้เู รยี นที่ครอบคลุมทงั้ ดา้ นความรู้ ความสามารถ และคุณลกั ษณะ และพฒั นาครผู ู้สอน ดา้ น เทคนคิ การสอน วธิ ีการจัดกิจกรรมการเรียนการเรยี นรู้ สาหรับครผู ู้สอนนาไปใช้ในการพฒั นาผู้เรยี นได้อยา่ งเป็น รปู ธรรม มกี ระบวนการพัฒนา โดยรูปแบบการนิเทศ ร่วมคิดพาทา โดยใชก้ ระบวนการ PDCA ดงั นี้ ข้ันที่ ๑ รว่ มคดิ (P:Plan) ๑. ศกึ ษาสภาพป๎จจุบนั ปญ๎ หาและความต้องการโดยใชข้ อ้ มูลสารสนเทศเกี่ยวกบั ผลการประเมินการอา่ น การเขียน ผลการวิเคราะห์การอ่านออกเขียนได้ ๒. โรงเรยี นเตรยี มขอ้ มูลสารสนเทศ ข้อมูลพ้นื ฐาน ทเ่ี ก่ยี วขอ้ ง เชน่ ผลการวคิ ราะหก์ ารอ่านออกเขยี นได้ รวมท้งั ขอ้ มูลนักเรยี น ชน้ั ป.๑ ที่ได้รบั การคัดกรอง และนโยบายสาคญั ต่างๆ ท้งั ระดบั เขตพ้ืนท่ี และนโยบายของ กระทรวงศกึ ษาธิการ ๓. ประชุมร่วมกนั กับผบู้ รหิ าร คณะครู และศึกษานิเทศก์ เพือ่ ศกึ ษาสภาพป๎จจบุ ัน ปญ๎ หาและความตอ้ งการ โดยใชข้ ้อมลู สารสนเทศเกยี่ วกบั การอา่ นการเขียน ผลการประเมินการอา่ นออกเขียนได้ของนักเรียน รว่ มกนั สะท้อน และ นาเสนอข้อมลู สารสนเทศ ท่ีจะใช้ในการพฒั นาการยกระดับผลสัมฤทธท์ิ างการเรียน กลุ่มสาระการเรยี นรู้ ภาษาไทย ๔. แจง้ วัตถปุ ระสงค์ และรายละเอียดตา่ งๆของโครงการทตี่ อ้ งดาเนินการเพอื่ แก้ป๎ญหา การอา่ นการเขียน ๕. สรุปปญ๎ หาท่ีต้องแกไ้ ขร่วมกัน ขั้นท่ี 2 วางแผน (P:Plan) ๑. ปรับหลักสูตรสถานศกึ ษา ปรับแผนการจัดการเรียนรู้ ใหส้ อดคล้องกบั นโยบาย สพฐ. และ สพป. โดยได้ ทบทวนปรบั แผนการจดั การเรียนรู้ ใหส้ อดคล้องกบั หลกั สตู รและมาตรฐานตัวช้ีวดั ๒. ให้ความรู้ เทคนคิ วธิ ีการสอน ที่หลากหลายและร่วมออกแบบ เรือ่ งการจัดทาแผนการจดั การเรยี นรู้ และ กจิ กรรมท่ีสง่ เสรมิ การจัดการเรยี นรู้ (ครบตามองค์ประกอบของการจัดทาแผน) ในกลมุ่ สาระการเรียนรูภ้ าษาไทย ทง้ั ในและนอกห้องเรยี น ๓. จัดทานวตั กรรมการสอน/ส่ือ ท่ีสอดคลอ้ งกับแผนการจัดการเรยี นรู้ และกิจกรรม การจดั การเรยี นการ สอน และการแกไ้ ขป๎ญหาการอา่ นการเขยี นของนกั เรยี น ๔. ร่วมคิดวิธกี าร/เทคนคิ การจัดการเรยี นการสอนท่ีหลากหลาย และเหมาะสมกับสภาพการเรยี นรูข้ อง ผเู้ รียน เช่น การสอนแจกลกู สะกดคา, ความรเู้ บอื้ งตน้ เก่ยี วกับเสยี งและอกั ษรไทยทคี่ รูสอนภาษาไทยตอ้ งรู้,การอ่าน คดิ วิเคราะห์โดยการใช้โครงสรา้ งประโยคเป็นฐาน, การอ่าน คดิ วิเคราะห์และเขียนสื่อความโดยใช้ ๕W ๑H, การจดั การเรยี นร้โู ดยใชห้ ลกั การสอนอ่าน การคิดวิเคราะห์ ตามแนวทางประเมินผล PISA ๕. ออกแบบการวัด และการประเมนิ ผล ก่อนเรียน ระหว่างเรียน และหลังเรียน ๖. รว่ มออกแบบสรา้ งบรรยากาศในการเรียนการสอนโดยการปรบั สภาพแวดลอ้ มในชัน้ เรยี น

35 ขั้นที่ ๓ ร่วมทา กาหนดยุทธวธิ ใี นการปฏบิ ัตงิ าน (D : Do ) ๑. กาหนดแนวทางการนิเทศร่วมกนั กบั ครูและผบู้ ริหาร ในการติดตามผลการจัดกจิ กรรมการเรียนการสอน ของครู ตามแผนการการนเิ ทศ ๒. กาหนดรปู แบบการนิเทศ - นิเทศโดยคณะกรรมการ 1 ครงั้ ต่อเดือน - นเิ ทศโดยเพอ่ื นครู 1 คร้ัง/สปั ดาห์ ขั้นที่ ๔ ร่วมประสาน สร้างประสานและพฒั นาทมี งาน (D : Do ) ๑. ประชุมผูบ้ รหิ ารและคณะครู และแต่งตัง้ คณะกรรมการนิเทศเพ่ือสรา้ งความเขม้ แข็งในการนเิ ทศ ๒. ให้ความรูเ้ กยี่ วกับกระบวนการนิเทศในช้ันเรยี น รปู แบบการนเิ ทศ และแนวทางการใช้เครื่องมือ ขนั้ ที่ ๕ ร่วมประเมนิ ปฏิบตั ิงาน/ปฏิบัติการนเิ ทศ/การตวจสอบการดาเนนิ งาน (C : Check) ๑. ประชมุ คณะกรรมการนิเทศ เพ่อื ช้ีแจง แนวทางดาเนนิ การนิเทศตามแผนการนเิ ทศ และ คู่มอื การนเิ ทศ ๒. นเิ ทศและสังเกตการสอนในระดบั ชน้ั เรียน โดยคณะกรรมการนเิ ทศ ซึง่ ประกอบด้วย ผู้บรหิ ารโรงเรียน ครวู ิชาการ และศกึ ษานเิ ทศกผ์ ้รู บั ผดิ ชอบการดาเนินงาน โดยใช้เครอ่ื งมือประกอบการนิเทศ ๓. นาผลจาการนิเทศของคณะกรรมการมาวเิ คราะห์ เพือ่ หาขอ้ สรุปร่วมกนั โดยนาผลการนเิ ทศของ คณะกรรมการมาสะท้อนดว้ ยวิธพี รรณนาวเิ คราะห์ ๔. สะท้อนผลการนเิ ทศให้ผ้รู บั การนเิ ทศทราบ อยา่ งเป็นกัลยาณมิตร ๕. ครผู สู้ อนนาเสนอผลการจดั การเรียนการสอนในด้าน ปญ๎ หา อปุ สรรคขอ้ ขดั ขอ้ ง จดุ เดน่ จุดด้อย ๖. ผูร้ ับการประเมินนาผลการนเิ ทศ ไปปรบั ปรุงแก้ไขและวางแผนเพื่อพฒั นากระบวนการเรียนร้ตู อ่ ไป ขั้นท่ี ๖ รว่ มช่ืนชม สรุปผลการปฏิบตั ิงาน (A: ACTION : การปรบั ปรงุ แก้ไขและพัฒนา) ๑. ประชมุ ผู้บรหิ ารและคณะครใู นโรงเรยี นเพ่อื สรปุ ผลการดาเนนิ งานตามแผนปฏิบตั กิ ารนิเทศ ๒. จัดนทิ รรศการ เพ่ือแลกเปลย่ี นเรียนรู้ และนาเสนอผลงานทป่ี ระสบผลสาเร็จของครู และชิ้นงานของ นกั เรยี นท่เี กดิ จากการจดั การเรียนรขู้ องนกั เรยี น จากการจัดกจิ กรรมการเรยี นการสอนภาษาไทยของ แตล่ ะชัน้ ๓. จัดทาแบบประเมนิ ความพึงพอใจของผู้บรหิ าร ครู และนกั เรียน ทมี่ ตี ่อการจัดกระบวนการเรียนการสอน ภาษาไทยเพ่อื การแกไ้ ขปญ๎ หาด้านการอา่ นการเขียนของนกั เรยี น ในปีตอ่ ไป - จุดเดน่ ของกระบวนการทน่ี ามาใช้ เกดิ ประโยชนห์ รอื มีผลกระทบทางบวกแก่ผเู้ รยี นอย่างไร ๑. ผูเ้ รยี นมีส่อื ประกอบเป็นเครือ่ งมอื การเรียนรู้ และช่วยใหอ้ ่านได้เร็วข้นึ ๒. กิจกรรมการเรยี นรูท้ ่ีชว่ ยให้ผเู้ รียนได้แลกเปล่ียนเรียนรู้จากการปฏบิ ตั จิ รงิ ๓. ผเู้ รยี นมีความรู้เกยี่ วกบั การอ่าน การเขียน การนาไปใช้ เชน่ การสอนแจกลกู สะกดคา, ความรเู้ บือ้ งต้น เก่ยี วกบั เสยี งและอกั ษรไทยทคี่ รูสอนภาษาไทยต้องรู้,การอ่านคดิ วเิ คราะหโ์ ดยการใช้โครงสร้างประโยคเปน็ ฐาน, การ อา่ น คดิ วิเคราะห์และเขยี นสอื่ ความโดยใช้ ๕W ๑H, การจดั การเรียนร้โู ดยใช้หลกั การสอนอ่าน การคิดวิเคราะห์ ตาม แนวทางประเมนิ ผล PISA

36 ๔. ผูเ้ รียนมสี มรรถนะ ในการอ่านออก เขียนได้ และการอ่านคล่อง เขียนคล่องและสอ่ื สารได้ ๕. ผูเ้ รียนมีคณุ ลกั ษณะมีนิสยั รกั การอ่าน และเรียนรู้อย่างมีความสุข การพฒั นาครผู ู้สอนภาษาไทย ใหม้ แี นวทางการสอนพัฒนาการอา่ นการเขยี น เพอื่ แก้ป๎ญหาการอ่านไม่ ออกเขยี นไมไ่ ด้ ให้สอดคลอ้ งกับรูปแบบการนิเทศแบบพาคิดพาทา โดยใช้กระบวนการ PDCA ขั้นตอนการดาเนนิ การ รายการ การดาเนนิ งาน การวางแผน (Plan) ประชุมและวางแผนการดาเนนิ งาน - ศึกษาสภาพปจ๎ จบุ นั และปญ๎ หาและความตอ้ งการ - วางแผนและออกแบบการนิเทศ - สร้างส่อื และเคร่ืองมือการนเิ ทศ การปฏิบัติ (Do) นิเทศ ตดิ ตามการจดั กิจกรรมและประเมิน การตรวจสอบ/ประเมนิ ผล (Check) การอ่าน คดิ วเิ คราะห์ และเขยี น ปฏบิ ตั ิการนเิ ทศรูปแบบ พาคดิ พาทา 1.สรปุ และรายงานผลการดาเนินงานท่ีได้ในแต่ละ ขนั้ ตอน รวมทัง้ ขอ้ มูลจากการนิเทศ ตดิ ตามการจัดกจิ กรรมและ ประเมินการอ่าน และเขียน 2. แลกเปลยี่ นเรียนรู้ จดั นิทรรศการ 3. เผยแพรผ่ ลการดาเนนิ งาน แนวทางการนาผลการประเมินไปปรับปรงุ นาขอ้ มูลท่ีได้จากการประเมินความสอดคล้อง ความเหมาะสม (Act) และความเป็นไปไดม้ าปรบั ปรงุ แนวทางและการเกณฑก์ ารประเมนิ การจดั กิจกรรม ให้มคี วามสมบูรณ์ เพ่ือให้เกิดประโยชนส์ ูงสดุ ต่อการนาไปพัฒนา นักเรยี น

37 ๒.๒ รายชอ่ื หนว่ ยงาน/สถานศึกษาทีเ่ ปน็ แบบอยา่ งท่ีดี ในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย รายชอื่ หนว่ ยงาน/สถานศึกษา ท่ีต้งั หนว่ ยงาน/สถานศึกษา รายการและรายละเอยี ดของความ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งที่ดี โดดเดน่ /จุดแขง็ /นวตั กรรม ๑.โรงเรยี นอนุบาลลาปาง สพป.ลาปางเขต 1 กลุม่ เครอื ขา่ ย แนวปฏบิ ตั ใิ นปฏิบัตงิ านการบริหาร (เขลางคร์ ัตน์อนสุ รณ์) สถานศึกษาจามเทวี อาเภอเมอื ง จัดการศึกษา วิชาภาษาไทย จงั หวดั ลาปาง กระบวนการดาเนินงาน ๑) ส่งเสรมิ สนบั สนุนในการสรา้ ง ความตระหนักและให้ความรู้แกค่ รู ดงั นี้ - ประชมุ ครูทาความเข้าใจเกย่ี วกบั การปฏบิ ตั ิงานเก่ยี วกจิ กรรมและ กระบวนการเรยี นการสอน และงาน อืน่ ๆที่ได้รบั มอบหมาย ๒)โรงเรยี นมกี ารสง่ เสริมและ สนบั สนนุ การนาความรู้สู่การปฏบิ ตั ิ - ส่งเสริมและสนบั สนุนให้ครูใน โรงเรียนเข้ารับการพฒั นาอบรม ศึกษาค้นคว้า หาความรู้ ให้ สอดคลอ้ งกบั การเปลย่ี นแปลงของ สงั คมไทยและสงั คมโลก ตามจดุ เน้น การพฒั นาคณุ ภาพผ้เู รยี นอย่าง ครอบคลมุ เพือ่ นาความรู้สกู่ ารปฏบิ ตั ิ ท้ังในดา้ นความรู้ ความสามารถและ คุณลักษณะ อย่างเปน็ รปู ธรรม ๓)ส่งเสรมิ และสนบั สนุนใหม้ กี าร จดั ทาสือ่ หรอื นวตั กรรม -โรงเรียนมีการส่งเสรมิ และสนบั สนนุ ใหค้ รเู ขา้ รับการอบรม กับหน่วยงาน สพป.ลาปาง เขต ๑ หรือหน่วยงาน อืน่ ที่จัดอบรมการสร้างหรือผลิตสอื่ การเรยี นรู้ท่ีสามารถนามา ประกอบการเรยี นการสอน เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสนใจการเรียนมากข้ึน เชน่ สือ่ มัลติมีเดีย /บทเรียน คอมพิวเตอรช์ ่วยสอน CAI /สื่อการ สอน BBL/แบบฝึกท่มี กี ิจกรรมที่

38 รายชื่อหนว่ ยงาน/สถานศึกษา ที่ตง้ั หนว่ ยงาน/สถานศึกษา รายการและรายละเอยี ดของความ ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทีด่ ี โดดเด่น/จุดแข็ง/นวัตกรรม โรงเรียนบา้ นแม่กวัก สพป.ลาปางเขต ๑ กลุม่ เครอื ข่าย โดยจัดทาโครงการนิเทศภายใน สถานศกึ ษาขนุ งาว อาเภองาว -จดั ตงั้ คณะกรรมการนเิ ทศภายใน จงั หวดั ลาปาง โรงเรยี น -ดาเนินการนเิ ทศภายในโรงเรียน อยา่ งน้อยเดือนละ 2 คร้งั ๕)การสรุปตดิ ตามรายงานผลและ พัฒนาอยา่ งตอ่ เน่อื ง -ครผู สู้ อนภาษาไทย แลกเปลย่ี น เรยี นรู้ การจัดการเรยี นการสอน เกย่ี วกับแนวทางทจ่ี ดั การเรียนการ สอนที่ประความสาเร็จ และปญ๎ หาท่ี เกดิ กบั ผูเ้ รียน/วิเคราะหร์ ว่ มกัน /คดิ วธิ ีการแนวทางแกไ้ ขปญ๎ หาทเี่ กิด -จดั นทิ รรศการ ผลงานนกั เรียน ส่ือ การสอน เพอื่ เผยแพร่ แกเ่ พ่ือครใู น โรงเรียนและผู้ท่ีสนใจ -สรุปรายงานผลการดาเนินงานการ จัดการเรียนการสอน/รายงานผลการ การอา่ น การเขยี น/รายงานผลท่ีเกิด กบั ผเู้ รยี น -มอบรางวัล/เกยี รตบิ ตั รยกยอ่ ง ชมเชย สาหรบั นักเรยี นท่ีมผี ลงาน เปน็ ทีป่ ระจกั ษ์ทุกชนั้ ในวนั สาคัญ ทางการศึกษาหรือวนั สาเร็จ การศึกษาของโรงเรียน แนวปฏิบัติในปฏบิ ตั งิ านการบริหาร จัดการศึกษา วิชาภาษาไทย กระบวนการดาเนินงาน มี ดงั นี้ ๑. สง่ เสริมสนับสนุนในการสรา้ ง ความตระหนกั และใหค้ วามรแู้ ก่ครู ๑.ความตระหนักและเห็น ความสาคัญของการพฒั นาด้านการ อา่ น การมกี ารประชมุ ครเู พ่อื สรา้ ง เขียนของนักเรยี น

39 รายชือ่ หน่วยงาน/สถานศึกษา ท่ตี งั้ หนว่ ยงาน/สถานศึกษา รายการและรายละเอยี ดของความ ต้นแบบหรอื แบบอย่างทีด่ ี โดดเดน่ /จดุ แขง็ /นวตั กรรม ๒.แลกเปลย่ี นเรยี นรเู้ กย่ี วกบั ปญ๎ หาท่ีเกดิ กับนักเรยี นในด้าน การอ่านการเขยี น โดยให้บันทึก ป๎ญหาทีเ่ กิดอย่างต่อเน่ือง ๓.สนับสนุนให้ครูเข้ารับการ อบรม เกย่ี วกบั เทคนิคการสอน / วธิ ีการสอน /การจดั ทาแผนการ เรียนรู้ เพ่ือสร้างความรคู้ วามเขา้ ใจ ในกระบวนการจดั การเรียนรู้ ๒. ส่งเสรมิ สนับสนุนการนาความรู้ สู่การปฏิบัติ ๑. จัดทาโครงการ /กจิ กรรมที่ พฒั นาด้านการอ่าน การเขยี นของ นักเรียน ๒. สนบั สนนุ งบประมาณเพอื่ จัดทา /จดั หา /จัดซ้ือ ส่ือในการ แก้ปญ๎ หาด้านการอ่าน การเขียนของ นักเรียน ๓. นิเทศ กากับ ตดิ ตามการ จัดกระบวนการเรยี นการสอนของครู อย่างต่อเน่ือง ๓. สง่ เสรมิ สนับสนุนให้มกี ารจัดทา สือ่ หรอื นวัตกรรม ๑. ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหค้ รเู ข้า รบั การอบรมเก่ียวกับการจดั ทาสื่อ แก้ปญ๎ หาการอ่าน การเขยี นของ นกั เรียนอย่างตอ่ เนือ่ ง ๒.ส่งเสรมิ ใหค้ รจู ัดทาสอื่ แกป้ ญ๎ หานกั เรียนให้ตรงกบั ปญ๎ หา เปน็ รายบุคคล ๓. จัดแลกเปลีย่ นเรยี นรูใ้ นการ จดั ทาสือ่ ในรปู แบบ PLC ๔. มกี ารวางแผนนเิ ทศและติดตาม ๑. ประชมุ ครูสร้างความรู้ ความเข้าใจเกย่ี วกับระบบนเิ ทศ

40 ภายในว่าเปน็ การช่วยเหลือซึง่ กนั และกัน ไม่ใชจ่ บั ผิด ๒. ดาเนินการนิเทศภายใน อยา่ งต่อเน่ืองโดยการพูดคุย เยีย่ ม ชนั้ เรียน ท้งั เปน็ ระบบและไมเ่ ป็น ระบบ ๕. การสรุปตดิ ตามรายงานผล และพัฒนาอยา่ งต่อเนือ่ ง ๑. เมื่อส้นิ ปีการศึกษา คณะ ครูจัดทารายงานผลการอา่ น การ เขียนในแตล่ ะชน้ั ใหผ้ ู้บรหิ ารและ รายงานตอ่ ผู้ปกครองอยา่ งตอ่ เนอื่ ง ๒. สรา้ งความรว่ มมอื ระหว่าง โรงเรยี นและผู้ปกครองให้ช่วยดแู ล พัฒนาดา้ นการอา่ น การเขียนของ นักเรียนทุกช้นั เรยี นโดยให้ ความสาคญั ในระดับชน้ั ประถมศึกษา ปที ่ี ๑ นักเรียนตอ้ งอา่ นได้ เขียนได้ ทกุ คนตามเกณฑ์ ๓. ทาแผนพัฒนาคณุ ภาพ การศึกษาทุกปกี ารศึกษา ๓. ปญั หาอปุ สรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย ผลจากการนเิ ทศ กากบั ติดตาม ด้านการอา่ นและการเขยี นภาษไทยของนักเรยี นทุกระดบั ชนั้ ภาคเรียนที่ ๑-๒ ปีการศกึ ษา ๒๕๖๐ ของ สพป.ลาปาง เขต ๑ พบสภาพปัญหา ดงั น้ี ๓.๑ โรงเรยี นบางโรงเรยี นขาดกระบวนการคัดกรองนักเรียน ๓.๒ ผู้ปกครองบางโรงเรียนขาดการยอมรบั ลกู ของตัวเอง เป็นนักเรยี นบกพร่องการเรยี นรู้ ๓.๓ มีภาระงาน การทาหนา้ ทอ่ี นื่ นอกเหนือจากการสอน ทาให้ครูมีเวลาเตรียมการสอน และมสี มาธใิ น การสอนน้อยลง ซงึ่ โรงเรยี นในสงั กดั บางโรงเรยี นใหค้ รผู สู้ อนปฏบิ ัติหน้าที่อน่ื เช่น พสั ดุ บุคคล ธุรการ ฯลฯ จนทาให้ ประสิทธิภาพการสอนลดลง ๓.๔ จานวนครูไม่เพยี งพอ สอนไม่ตรงกับวุฒิ กาหนดอัตรากาลังทไี่ ม่เหมาะสม ใช้อัตราสดั สว่ นของจานวน นกั เรียนตอ่ จานวนครเู ปน็ เกณฑ์ โดยไม่คานึงถึงจานวนหอ้ งเรยี นนั้น สง่ ผล กระทบอย่างมากตอ่ ประสิทธภิ าพ ๓.๕ ครยู ังขาดทักษะการสอน และสอนแบบเดิม

41 นโยบายท่ี 10 การส่งเสริมคณุ ธรรมจรยิ ธรรมในสถานศกึ ษา 1. ผลการดาเนินงานตามประเด็นนโยบายและตวั ช้วี ัด 1.1 จานวนสถานศกึ ษาที่ใชก้ ระบวนการเรยี นรู้และพฒั นาคุณธรรม จริยธรรมตามโครงการของตน้ สงั กดั หรือมูลนิธิยุวสถิรคุณหรอื อน่ื ๆ แบบมสี ว่ นร่วม สถานศกึ ษาใช้กระบวนการเรยี นรูแ้ ละ ผู้เรียนท่ีเขา้ รว่ มกจิ กรรมตามโครงการนอ้ ม พฒั นาคณุ ธรรม จรยิ ธรรมตามโครงการ นาแนวคดิ หลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจ ของตน้ สังกดั หรอื มูลนิธิยุวสถริ คณุ หรอื โครงการอื่นๆ แบบมสี ่วนรว่ ม พอเพียง หรอื นอ้ มนาแนวคิดตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการดาเนนิ สังกดั ชีวิต (คน) จานวน จานวน รอ้ ยละ จานวน จานวน รอ้ ยละ สถานศึกษา สถานศกึ ษา ผ้เู รยี น ผูเ้ รยี น ทด่ี าเนินการ ท้ังหมด ที่เขา้ รว่ ม ทัง้ หมด (คน) โครงการฯ (แห่ง) (แหง่ ) (คน) สพป.ลาปาง เขต 1 99 99 100.00 16,961 16,961 100.00 1.2 สถานศกึ ษาใช้กระบวนการเรียนรแู้ ละพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรม ตามโครงการของตน้ สังกัดหรอื มูลนิธยิ วุ สถิรคุณ หรอื โครงการอนื่ ๆ แบบมสี ว่ นร่วม อย่างไร สถานศกึ ษาทุกโรงเรียนในสังกัดดาเนินการพัฒนาคุณธรรมจรยิ ธรรมตามโครงการโรงเรียน คณุ ธรรม สพฐ. และตามแนวทางของศนู ย์โรงเรียนคุณธรรม มลู นธิ ิยุวสถิรคณุ โดยดาเนนิ การดงั นี้ 1. ปลกู ฝ๎งคุณธรรม จรยิ ธรรมให้แกผ่ ู้บรหิ ารสถานศกึ ษา คณะครู และนกั เรยี น แกนนาให้มคี วามรู้ ความเขา้ ใจในการพัฒนาโรงเรยี นคุณธรรม 5 ประการ ไดแ้ ก่ ความพอเพียง ความกตญั ํู ความซ่ือสตั ยส์ จุ ริต ความรบั ผดิ ชอบ อุดมการณค์ ณุ ธรรม ทุกโรงเรยี นในสังกัด มกี ระบวนการพฒั นาคณุ ธรรมจริยธรรมโรงเรียนโดย ใช้โครงงานเป็นตัวขับเคลือ่ นโรงเรยี นคณุ ธรรมทุกโรงเรยี นในสังกดั 2. สถานศกึ ษาทุกแหง่ ผู้บริหาร ครู นกั เรียน และบุคลากร มีแผนการพัฒนาคณุ ธรรมจรยิ ธรรมโดย การระดมความคดิ เห็น ค้นหาคณุ ธรรมเปูาหมายและระบพุ ฤติกรรมบง่ ชีเ้ ชงิ บวก ของคุณธรรมเปูาหมายทตี่ ้องการให้ เกดิ ในโรงเรยี น และประกาศเป็นคุณธรรมอัตลักษณข์ องโรงเรียน 3. สถานศกึ ษาทกุ แห่ง มกี ลไกคณะทางานและใช้โครงงานคุณธรรมเปน็ เคร่อื งมือทีท่ ุกคนมีสว่ นรว่ ม ในการ ลงมือปฏบิ ัตเิ พื่อพัฒนาโรงเรยี นคณุ ธรรม ครู นักเรยี น ผู้บรหิ าร แบ่งงานรบั ผิดชอบพฒั นาโรงเรยี นคุณธรรม มโี ครงงานคุณธรรม/กจิ กรรมคณุ ธรรมทแ่ี ต่ละคนมสี ่วนรว่ มลงมือปฏบิ ตั ิ ทุกช้นั เรียน และบรู ณาการการจดั กระบวนการเรยี นรู้ทกุ สาระ เพอื่ ใหผ้ ้เู รียนเป็นคนดี คนเก่งระดบั หอ้ งเรยี น ชั้นเรียน ในรายวิชาตา่ งๆ เพอ่ื ใหก้ าร พัฒนาคณุ ธรรมของโรงเรยี นบรรลุตามคณุ ธรรมเปูาหมายและบูรณาการกบั กจิ กรรมลดเวลาเรียนเพม่ิ เวลารู้ 4. ทุกหอ้ งเรยี นมโี ครงงานคณุ ธรรมท่ตี ้องการแก้ปญ๎ หาใหเ้ กดิ คุณธรรมตามอัตลกั ษณข์ องโรงเรียน โดยมี ครปู ระจาชัน้ เปน็ ที่ปรึกษาโครงงาน ถา้ โครงงานไมป่ ระสบผลสาเร็จจะขยายเวลาในการดาเนนิ โครงงานท้ัง โรงเรยี นโดยสภานกั เรียน และดาเนินกิจกรรมตอ่ เนอ่ื งเพอื่ ให้พฤตกิ รรมทีพ่ ึงประสงค์ ในโรงเรยี นเพม่ิ ข้นึ ครู นักเรยี น ผู้บริหาร มวี นิ ัยในการปฏบิ ตั ติ ามหน้าที่รบั ผิดชอบ มพี ฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ตามทก่ี าหนดไว้ในคุณธรรมอัตลกั ษณ์ ของโรงเรียน พฤติกรรมท่ไี มพ่ ึงประสงค์ ในโรงเรียนลดลง

42 5. ทุกโรงเรยี นเกดิ กระบวนการมสี ่วนร่วมในการพฒั นา คุณธรรม จริยธรรมในโรงเรยี นจากทกุ ภาค ส่วนทเ่ี กยี่ วข้อง เชน่ ผู้บริหารโรงเรียน ครู บคุ ลากร นกั เรยี น ผูป้ กครอง ชุมชน บรรยากาศในโรงเรียน รว่ มกนั ปฏิบตั ิงาน และแลกเปลี่ยนเรียนรแู้ ละทบทวนหลังเสร็จกิจกรรม เพอื่ บรรลพุ ฤตกิ รรมท่ีพงึ ประสงค์ ตามท่กี าหนดไว้ ในคุณธรรมอตั ลักษณข์ องโรงเรียน 6. สถานศกึ ษาในสงั กดั มอี งค์ความรู้ นวตั กรรม การสร้างเสรมิ คุณธรรม จรยิ ธรรม และการบูรณา การกบั การจัดการเรียนร้ใู นช้ันเรยี นทกุ สาระ ในการสร้างเสริมคุณธรรม จริยธรรม ที่เผยแพร่ได้ และ/หรือมีแผนการ เรยี นการสร้างเสริมคณุ ธรรม จริยธรรมในชน้ั เรียน 7. ผบู้ ริหารสถานศึกษานิเทศ ติดตาม ผลการดาเนนิ งาน/การปฏบิ ตั ิ ตรวจสอบและประเมิน ความก้าวหนา้ การดาเนนิ งานโครงการโรงเรียนคุณธรรม 8. ศกึ ษาดงู าน /แลกเปลี่ยนเรียนรู้และทบทวนหลังกจิ กรรม เป็นภาพรวมของโรงเรียน เพอื่ ให้ โรงเรยี นเป็นแหล่งเรยี นรูข้ องโรงเรยี นคณุ ธรรม โรงเรยี นมคี วามพรอ้ มในการเป็นศกึ ษาดูงานพฒั นาคุณธรรม จริยธรรม 1.3 สถานศึกษามีการจดั กจิ กรรมตามโครงการนอ้ มนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หรือน้อมนาแนวคดิ ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพยี งสู่การปฏิบัตใิ ห้กับนกั เรียน อยา่ งไร สถานศึกษาในสงั กดั สานกั งานเขตพ้นื ท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้นอ้ มนาแนวคดิ ตาม หลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง มาใช้ในการบรหิ ารจดั การสถานศึกษา พัฒนาแหล่งเรยี นรู้ สกู่ ารปฏบิ ตั ใิ หก้ ับ นักเรียน โดยผ่านกจิ กรรมการเรยี นรู้และกิจกรรมเสรมิ หลักสตู ร นา หลักปรัชญาของเศรษฐกจิ พอเพียง บูรณาการสู่ การจดั การเรยี นการสอนในระดับชั้นเรยี นของกลมุ่ สาระต่างๆ เนน้ การฝึกทกั ษะ กระบวนการคิด วเิ คราะห์ การ จดั การ การแก้ปญั หา ทเ่ี รม่ิ จากชีวิตประจาวัน และเช่ือมโยงสู่ครอบครวั ชมุ ชน สังคม เปน็ กจิ กรรมที่สง่ เสรมิ คณุ ลักษณะอย่อู ยา่ งพอเพยี ง เชน่ กิจกรรมปลกู ผกั สวนครวั การเลย้ี งสตั ว์ การเพาะเหด็ การทาปยุ๋ หมกั กจิ กรรม ออมทรัพย์ กจิ กรรมโครงงาน กิจกรรมธนาคารขยะ กิจกรรมสหกรณ์โรงเรียน กิจกรรมประกอบอาหารและแปรรูป กิจกรรมอนุรกั ษส์ ิ่งแวดล้อม กจิ กรรมรว่ มอนรุ ักษ์ภมู ปิ ๎ญญาท้องถนิ่ 2. ความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม/ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งท่ีดีในการดาเนนิ งานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเด่น จุดแข็ง นวตั กรรมในการดาเนินงานตามประเดน็ นโยบาย เกดิ ประโยชน์หรอื มี ผลกระทบทางบวกแก่ผ้รู บั บริการและผมู้ สี ว่ นไดส้ ่วนเสยี อยา่ งไรบา้ ง 2.1.1 สถานศึกษาในสงั กดั สานักงานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปางเขต1 ไดร้ ับการพัฒนาและ ช่วยกันปลูกฝง๎ ให้แก่ผบู้ ริหาร ครู และนกั เรยี น 5 ประการ ไดแ้ ก่ ความพอเพยี ง ความกตัญํู ความซือ่ สตั ยส์ จุ ริต ความรับผิดชอบ อุดมการณ์คุณธรรม ทุกโรงเรียนมีกระบวนการพฒั นาคุณธรรมจรยิ ธรรม ทุกโรงเรียนมีโครงงาน เป็นกลไกในการขับเคลือ่ นโรงเรียนคณุ ธรรม ทุกโรงเรยี นใชโ้ ครงงานคุณธรรมเปน็ เครื่องมอื ที่ทุกคนมสี ่วนร่วม ใน การลงมือปฏิบัติเพอื่ พัฒนาโรงเรียนคุณธรรม สง่ ผลให้พฤติกรรมที่พงึ ประสงค์ ในโรงเรยี นเพ่มิ ขึ้น พฤติกรรมทไี่ มพ่ ึง ประสงค์ ในโรงเรยี นลดลง เกดิ กระบวนการมีส่วนร่วมในการพัฒนา คณุ ธรรม จริยธรรมในโรงเรยี นจากทุกภาคส่วน ท่เี กยี่ วขอ้ ง เชน่ ผบู้ รหิ ารโรงเรียน ครู บุคลากร นักเรยี น ผู้ปกครอง ชมุ ชน มีองคค์ วามรู้ นวัตกรรม การสร้างเสรมิ คุณธรรม จริยธรรม และการบรู ณาการกบั การจัดการเรยี นร้ใู นชั้นเรียนทุกสาระ เปน็ แหลง่ เรยี นรขู้ องโรงเรียน คณุ ธรรมโรงเรยี นมคี วามพรอ้ มในการเปน็ ศึกษาดงู านพฒั นาคณุ ธรรม จริยธรรม 2.1.2 การนาหลกั ปรชั ญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่การปฏบิ ัติในสถานศกึ ษา ทาใหส้ ถานศึกษามีการ บรหิ ารจัดการอย่างเปน็ ระบบและมปี ระสิทธภิ าพ นกั เรียนไดพ้ ฒั นากระบวนการคดิ วิเคราะห์ การจดั การ การแก้ปญ๎ หาการฝกึ ทกั ษะ การปฏิบัติจริง ใช้ทรพั ยากรในท้องถิน่ เรยี นรู้จากแหลง่ เรียนรใู้ นโรงเรียนและ นอกโรงเรยี น นาไปปฏิบตั ิในการดาเนนิ ชีวิต สง่ ผลให้นกั เรียนมีคณุ ลกั ษณะอยูอ่ ย่างพอเพียง รู้จักใช้วัตถสุ ่ิงของ

43 ทรพั ยากรอย่างประหยดั คมุ้ คา่ อยรู่ ่วมกับผอู้ น่ื ดว้ ยความซอ่ื สตั ย์ ไม่เบียดเบยี น เออ้ื เฟอื้ เผ่ือแผ่ มจี ิตสานกั มีส่วนร่วม ในการอนุรกั ษธ์ รรมชาติและสิ่งแวดลอ้ ม เห็นคุณค่าร่วมอนุรกั ษว์ ัฒนธรรม ค่านยิ ม เอกลักษณ์ถ้องถิ่นความเปน็ ไทย 2.2 รายช่ือหนว่ ยงาน /สถานศกึ ษาที่เปน็ ต้นแบบหรอื แบบอย่างทีด่ ี ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย รายชื่อหน่วยงาน/สถานศึกษา ท่ตี ง้ั รายการและรายละเอียด ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งท่ดี ี หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม 1. โรงเรียนอนบุ าลแมเ่ มาะ อาเภอแมเ่ มาะ จงั หวัดลาปาง โรงเรยี นมโี ครงงานคณุ ธรรมท่มี ีผลการ ดาเนนิ งานระดับดีเยยี่ มระดบั เขตพ้นื ท่ี การศึกษาและเปน็ ตวั แทนไปแข่งขนั ระดับเขตตรวจราชการท่ี 15 3. โรงเรยี นบ้านปงสนกุ อาเภอเมือง จงั หวัดลาปาง โรงเรยี นส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรม และธรรมมาภบิ าลในสถานศึกษา สจุ รติ ต้นแบบ 2.โรงเรียนพิชยั วิทยา อาเภอเมือง จังหวัดลาปาง โรงเรยี นมโี ครงงานคุณธรรมที่มีผลการ ดาเนนิ งานระดบั ดเี ย่ียมระดบั เขตพนื้ ท่ี การศึกษา 3.โรงเรยี นชุมชนบา้ นฟุอนวิทยา อาเภอเมอื ง จังหวดั ลาปาง มีโครงงานเป็นตัวขับเคล่ือนโรงเรยี น คุณธรรม โรงเรียนโครงงานคุณธรรมท่ี มีผลการดาเนนิ งานระดับดเี ยี่ยมระดบั เขตพื้นทกี่ ารศึกษา 2. โรงเรยี นวดั เสด็จ หมู่ 11 บา้ นปงชยั ต.บา้ นเสด็จ โรงเรียนวดั เสด็จผ่านการประเมินเป็น อ.เมืองลาปาง จ.ลาปาง 52000 ศนู ยก์ ารเรียนรู้ตามหลักปรชั ญาของ เศรษฐกิจพอเพียงด้านการศึกษา ได้ น้อมนาหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงมาใช้ในการบริหารจัดการ สถานศกึ ษาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพ และบูรณาการสู่การจดั การเรยี นรกู้ ลุม่ สาระการตา่ งๆ และกจิ กรรมเสริม หลกั สตู ร ผา่ นการปฏิบัตติ ามฐานการ เรียนรูท้ ใี่ ช้ทรัพยากรในชมุ ชนและภูมิ ปัญญาท้องถิ่น ประกอบด้วย 1) ฐาน นา้ ยามะกรูดสตู รพอเพยี ง 2) ฐาน สับปะรดคู่เคียงภูมปิ ัญญาเสด็จบา้ นเฮา 3) ฐานปยุ๋ หมกั นา้ ชีวภาพ

44 3. ปญั หาอุปสรรคในการดาเนนิ งานตามนโยบาย งานนโยบายของกระทรวงมีจานวนมาก แต่ศกึ ษานิเทศก์มีจานวนน้อยไมเ่ พียงพอต่อการปฏบิ ตั งิ าน นโยบาย ทาใหก้ ารนิเทศ ติดตาม ไมต่ ่อเน่อื ง 4. ขอ้ เสนอแนะ 4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรบั ปรงุ /พัฒนานโยบาย 1) การปลกู ฝ๎งคุณธรรม จริยธรรม ตอ้ งชว่ ยกนั ปลกู ฝง๎ ใหแ้ ก่ผบู้ ริหาร คณะครู นกั เรยี น รวมถึง ผู้ปกครอง ชุมชน มีส่วนรว่ มทกุ ภาคส่วนมสี ่วนร่วม ดาเนินการใหต้ อ่ เน่ือง 2) การเสริมสรา้ งคณุ ธรรมเร่ิมตง้ั แต่ครอบครัว โรงเรยี น ชมุ ชน ทกุ ภาคส่วนทีเ่ ก่ียวข้องต้องประสาน และทากนั อยา่ งจรงิ จงั 3) ลดหรือควบคุมและตรวจสอบ สื่อ ส่งิ พิมพท์ ่ีไมเ่ หมาะสม นโยบายที่ 14 การพฒั นาครทู งั้ ระบบ 1. ผลการดาเนินงานตามนโยบาย 1.1 จานวนครูที่ผา่ นการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร นาผลการพัฒนามาใช้ในการ เรียนการสอน และจานวนครูท่ีผา่ นการพฒั นาตามกระบวนการสรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC) นาผลการ พฒั นามาปรบั การเรยี นการสอน การพฒั นาครูรปู แบบครบวงจร การพฒั นาครูตามกระบวนการ PLC ครทู ีผ่ า่ นการ ครทู ผ่ี ่านการ พัฒนาตาม สังกดั ครทู ีผ่ า่ นการ พฒั นาตาม รอ้ ยละ ครูท่ผี า่ นการ กระบวนการ ร้อยละ พฒั นาตาม โครงการ พฒั นาตาม สร้างชุมชน โครงการ พัฒนาครู กระบวนการ แหง่ การ พัฒนาครู รปู แบบครบ สร้างชมุ ชน เรยี นรู้ (PLC) รูปแบบครบ วงจร นาผล แหง่ การ นาผลการ การพัฒนา เรยี นรู้ (PLC) พฒั นามา วงจร มาใชใ้ นการ (คน) ปรับการ (คน) เรยี นการ เรียนการ สอน (คน) สอน (คน) สพป.ลาปาง 599 599 100 345 345 100 เขต 1 1.2 ครทู ่ีผ่านการพัฒนาตามโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร นาผลการพัฒนามาใช้ในการเรยี น การสอนอย่างไร 1) นาผลการพฒั นาไปใช้จัดการสอนในรปู แบบนวัตกรรมเพมิ่ ทกั ษะกระบวนการเรียนรู้ มกี ารพฒั นา กระบวนการคิดของนักเรียน มีการจัดการเรยี นรรู้ ปู แบบ Active Learning เพิม่ มากข้ึน และ มีการส่งเสรมิ ให้ นักเรียนทาโครงงานฯ 2) นาผลการพัฒนาไปจัดกระบวนการเรียนรู้ใหก้ ับผเู้ รยี นตามระดับชน้ั โดยมคี รเู ป็นผู้เช่ือมโยงความรู้ ใหก้ ับนกั เรยี น

45 3) นานวัตกรรม ส่ือการเรียนการสอน และเทคนคิ การจัดการเรียนการสอนที่ผา่ นการพฒั นามาใช้ ในการจดั การเรียนการสอน 4) นาผลการพฒั นาไปจัดทาหลกั สตู รกระบวนการเรยี นรแู้ ละกจิ กรรมพัฒนาคณุ ภาพของผู้เรียน ได้อย่างรอบคอบ เหมาะสม และสอดคล้องกบั บรบิ ทของแตล่ ะพ้นื ที่ สง่ ผลใหจ้ ัดการเรียนการสอนรายวชิ าเพมิ่ เติม ไดห้ ลากหลายให้ผ้เู รียนเลือกเรยี นไดต้ ามความถนดั ตามความสามารถ และตามความสนใจ 5) นาผลการพัฒนาไปบรู ณาการจดั การเรยี นการสอนให้เขา้ กบั DLTV / DLIT 6) นาผลการพฒั นามาใช้ในการทาวิจัยเพือ่ พัฒนาคณุ ภาพผเู้ รยี น 7) นาไปวิเคราะหน์ ักเรียนเป็นรายบุคคล เพ่อื ให้ทราบปญ๎ หาของผู้เรยี นแตล่ ะคน จากนนั้ พฒั นาสอื่ การเรยี นการสอนใหส้ อดคล้องกบั ปญ๎ หาของผู้เรยี นในแตล่ ะคน จนมีความสามารถในดา้ นนน้ั ๆ สงู ขึน้ 8) นามาพฒั นาผ้เู รียนตามหลกั การจดั การเรียนร้ใู นทศวรรษท่ี 21 เน้นการลงมือปฏิบัตจิ รงิ และ สรา้ งองค์ความรู้ดว้ ยตนเอง 1.3 ครทู ผี่ ่านการพฒั นาตามกระบวนการ สรา้ งชมุ ชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC) นาผลการพฒั นามา ปรับ การเรียนการสอน อย่างไร (การจัดการศกึ ษาของสถานศกึ ษา) 1) นากระบวนการเรยี นรู้มาปรับใชใ้ หเ้ กดิ ทักษะในการดาเนนิ ชีวิต โดยการปฏิบัติจริง แทรกใน กระบวนการเรียนรู้ในชนั้ เรียนและนอกชั้นเรียน 2) นาผลการพัฒนามาปรับการเรียนการสอนโดยคานึงถึงสภาพปญ๎ หาของผู้เรยี นเปน็ หลกั มีการ จดั การเรียนการสอนโดยใหผ้ ู้เรยี นได้ลงมอื ปฏิบตั จิ ริง มกี ารนิเทศภายในและนาผลไปปรบั ปรุงการเรียนการสอน ได้อยา่ งเปน็ รปู ธรรม 3) นาผลการพัฒนามาปรับใชใ้ นการทาวจิ ัยเพอ่ื พัฒนาคุณภาพผู้เรียน 4) นามาใชใ้ นการปรบั แผนการเรียนรู้ของผเู้ รียนใหต้ รงตามตวั ชว้ี ดั และปญ๎ หาของผูเ้ รียน เพอื่ แกไ้ ข ขอ้ บกพรอ่ งของผเู้ รียนในแต่ละคนไดต้ รงประเด็น 5) มีการพัฒนาครูผสู้ อนให้มศี ักยภาพโดยใชก้ ระบวนการสร้างชุมชนแหง่ การเรียนรู้ (PLC) ในทกุ โรงเรียนอย่างนอ้ ยสัปดาห์ละ 2 ครง้ั 1.4 หลักสตู รการพัฒนาครทู เ่ี ป็นจุดเนน้ ของสังกัด ไดแ้ ก่ 1) หลกั สตู รการเรียนร้ทู ักษะ กระบวนการคิดวเิ คราะหส์ กู่ ารลงมือปฏิบตั ิ ให้เปน็ รูปธรรม ของ โรงเรยี นท่งุ หนองขามวิทยา 2) หลักสูตรการอนุรกั ษ์วฒั นธรรมทอ้ งถ่ิน (ไทลอื้ ) ของโรงเรยี นวดั พระเจา้ น่งั แทน 3) “หน่งึ ผลิตภณั ฑ์ หนึง่ อาชีพ” โรงเรยี นวัดน้าโท้ง (โรงเรยี นดปี ระจาตาบล) 4) หลกั สตู รการสร้างชุมชนแห่งการเรียนรู้ (PLC) ของโรงเรยี นบา้ นแม่ตบี โรงเรียนอนบุ าลแม่เมาะ 5) หลักสตู รการจดั การเรียนรใู้ นทศวรรษที่ 21 ของโรงเรียนบ้านแม่ตีบ 2. ความโดดเดน่ /จดุ แข็ง/นวัตกรรม/ตน้ แบบหรือแบบอย่างที่ดใี นการดาเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน่ จุดแขง็ นวัตกรรมในการดาเนนิ งานตามประเด็นนโยบาย เกิดประโยชนห์ รอื มี ผลกระทบทางบวกแก่ผูเ้ รียนอย่างไรบา้ ง 1) ผูเ้ รยี นเกิดการเรยี นรู้และมที กั ษะในการดาเนินชีวติ มที ักษะการเรียนรู้ร่วมกนั 2) ผเู้ รยี นมผี ลการเรยี นดขี ึน้ และมกี ระบวนการเรียนรู้ท่เี พม่ิ ขึ้นหลกั จากมกี ารใชก้ ระบวนการ PLC 3) ผูเ้ รยี นมคี ณุ ลักษณะอนั พึงประสงคท์ ่ีดีสงู ข้นึ

46 ให้สงู ขึ้น 4) ผเู้ รียนสามารถเรียนรตู้ ามตัวชว้ี ดั และมาตรฐานการเรียนรเู้ พื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 5) ผเู้ รียนมีการพฒั นาความรู้ ทกั ษะ มกี ารจดั การเรยี นร้ตู ลอดชีวิต และ 3R 8C 6) ผูเ้ รียนรู้จักการทางานเป็นทีม มภี าวะผูน้ า/ผตู้ าม และสามารถแก้ไขป๎ญหาได้ดว้ ยตนเอง 2.2 รายชอื่ หนว่ ยงาน /สถานศึกษาท่เี ปน็ ตน้ แบบหรือแบบอยา่ งท่ีดี ในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย รายชอื่ หน่วยงาน/สถานศึกษา ทีต่ ั้ง รายการและรายละเอยี ด ต้นแบบหรอื แบบอยา่ งทด่ี ี หน่วยงาน/สถานศกึ ษา ของความโดดเดน่ /จุดแขง็ /นวตั กรรม 1. โรงเรียนท่งุ ฝางวิทยา อาเภอเมอื ง จงั หวดั ลาปาง การจัดการเรียนรู้ และการยกระดับ ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน 2. โรงเรยี นวดั น้าโทง้ อาเภอเมอื ง จังหวัดลาปาง นามาบรู ณาการจดั การเรยี นการสอน ช่วงลดเวลาเพม่ิ เวลารู้ ผ่านกจิ กรรม ส่งเสรมิ ความคดิ สรา้ งสรรค์จากกระดาษสา 3. โรงเรยี นชมุ ชนบา้ นฟอุ นวทิ ยา อ.เมอื ง จ.ลาปาง มีการจัดทา PLC เก่ยี วกบั การจัด การเรยี นรูส้ ะเต็มศกึ ษา (STEM Education) เชิงระบบมีการวิเคราะห์ วางแผนการทางาน ออกแบบการจัด กจิ กรรมสรา้ งสรรคร์ ว่ มกนั เปน็ ระบบ ทัง้ สถานศกึ ษา 3. ปัญหาอุปสรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 3.1 หลักสูตรการพฒั นาบางหลกั สตู รไมเ่ อ้ือต่อการนามาใช้ในการจดั การเรียนรู้ 3.2 การเข้าระบบพฒั นาครูตามโครงการฯ เข้าระบบยากมาก ในบางพื้นท่ไี มส่ ามารถเข้าระบบไดเ้ ลย ซ่งึ เป็นปญ๎ หาอย่างมากสาหรบั ครูทีอ่ ยู่หา่ งไกล 3.3 มีความยุ่งยาก ซบั ซ้อน ในการเบิกจา่ ยงบประมาณตามโครงการ 3.4 สถานที่ใชใ้ นการจดั อบรมบางหลักสตู รทต่ี รงตามตามตอ้ งการของครอู ยหู่ ่างไกลจากสถานทป่ี ฏิบัตงิ าน ของครู และในบางหลกั สตู รมีการเปล่ยี นสถานทอ่ี บรมทาให้เกิดการผิดพลาดในการวางแผนการ งบประมาณ และการเดินทางของครูผู้เข้ารบั การอบรม 3.5 ขนั้ ตอน กระบวนการ ในการสมัคร และการเบิกจา่ ยงบประมาณ เพอ่ื พฒั นาตามโครงการพฒั นาครู รปู แบบครบวงจร มคี วามยุง่ ยาก

47 4. ข้อเสนอแนะ 4.1 ขอ้ เสนอแนะในการปรับปรงุ /พฒั นานโยบาย 1) ควรลดภาระงานของโรงเรยี น เน่อื งจากจะมีผลกระทบในการจดั การเรยี นการสอน 2) ควรเพิ่มหลกั สูตรการพัฒนาครใู ห้หลากหลายตามความต้องการของข้าราชการครูและบุคลากร ทางการศกึ ษา และควรมีการวเิ คราะหห์ ลักสตู รการพฒั นาครู ซงึ่ ในบางหลกั สตู รไม่มีความจาเปน็ ควรยกเลกิ 3) ควรให้สานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา หรอื Cluster เปน็ ผูส้ ารวจความต้องการของครู เพื่อกาหนด หลกั สตู รตามความตอ้ งการ และจัดสรรงบประมาณให้สานักงานเขตพนื้ ท่กี ารศกึ ษา หรือ Cluster เป็น หนว่ ยจัดการอบรมพัฒนาเพอื่ ลดปญ๎ หาการเดินทางของครู 4) การพฒั นาตามโครงการพัฒนาครูรปู แบบครบวงจร ควรใหค้ รอบคลุมข้าราชการครูและ บุคลากรทางการศึกษา ครบทกุ ลุ่ม เชน่ ผู้บริหารสถานศึกษา รองผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ครูบรรจใุ หม่(ครผู ูช้ ว่ ย) ครอู ัตราจา้ ง พนักงานราชการตาแหน่งครู ไมใ่ ชจ่ ากดั เพยี งครูประจาการเท่านนั้ 5) ช่วงระยะเวลาของการอบรมพัฒนา ควรเป็นช่วงเวลาวันหยดุ ราชการ หรอื วันปดิ ภาคเรียน เพือ่ จะได้ไมส่ ง่ กระทบต่อการจัดการเรยี นการสอนของโรงเรียน 6) ควรมกี ารปรับปรุงระบบการการสมคั รเขา้ รับการพฒั นาตามโครงการพฒั นาครรู ูปแบบครบวงจร ให้มคี วามง่ายสะดวกกว่าทเี่ ปน็ ป๎จจบุ ัน รวมถึงระบบการเบิกจ่ายงบประมาณ 4.2 ขอ้ เสนอแนะอื่นๆ ในการดาเนินงานตามนโยบาย 1) ควรจัดสรรงบประมาณในการดาเนินงานเก่ยี วกับการพฒั นาครใู หก้ บั โรงเรียนโดยตรง และควร ทีจ่ ะจัดสรรงบประมาณให้ในช่วงไตรมาสแรกของปงี บประมาณ 2) สถานที่ใช้ในการจัดอบรมบางหลกั สูตรทีต่ รงตามตามต้องการของครอู ยหู่ า่ งไกลจากสถานที่ ปฏิบัติงานของครู และบางหลกั สตู รมกี ารเปล่ยี นสถานท่อี บรม 3) ควรมรี ะบบการนเิ ทศ ตดิ ตามผลหลงั จากการพัฒนาฯ อย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง นโยบายท่ี 15 การพฒั นาผเู้ รียนและเยาวชนผ่านกระบวนการลูกเสอื และยุวกาชาด 1. ผลการดาเนินงานตามประเด็นนโยบายและตวั ชี้วดั 1.1 สานักงานเขตพน้ื ท่กี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ได้จัดทาแผนพฒั นาลูกเสือจังหวดั /แผนพัฒนา ลกู เสอื เขตพ้ืนทีก่ ารศกึ ษา หรือไม่ ไม่ไดด้ าเนินการ  ดาเนินการ (ถา้ ดาเนนิ การ) ดาเนนิ การอยา่ งไร สานักงานเขตพืน้ ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ไดจ้ ดั ทาแผนพัฒนาลกู เสือเขตพนื้ ที่ การศกึ ษา รายละเอียดดังแนบ และได้ดาเนินการดังนี้ 1. จดั ทาแผนพัฒนาลูกเสือ ระดบั เขตพน้ื ทก่ี ารศกึ ษา และดาเนินการขบั เคลือ่ นครบทุกโรงเรียน คิดเปน็ ร้อยละ 100 - จดั การเรยี นการสอนลกู เสือ 97 โรงเรียน ครบ 100 เปอรเ์ ซน็ ต์ - จัดการเรียนการสอนลกู เสอื และยุวกาชาด 2 โรงเรยี น ไดแ้ ก่ โรงเรยี นอนบุ าลลาปาง (เขลางค์รตั น์อนุสรณ์), โรงเรียนบ้านปงสนุก

48 กิจกรรมทดี่ าเนินการ เช่น - อบรมผบู้ งั คบั บญั ชาลกู เสอื BTC, ATC - อบรมผ้อู านวยการลูกเสือโรงเรียน - อบรมทบทวนครผู สู้ อนลูกเสือ - จดั กิจกรรมเข้าค่ายลูกเสือ เนตรนารี ณ ค่ายลูกเสือจงั หวดั ลาปาง ให้แกโ่ รงเรียนทุกสงั กดั ใน จังหวดั ลาปาง - อบรมลกู เสอื ตา้ นภัยยาเสพติด, อบรมนายหมลู่ ูกเสอื - สง่ เสริมการประกวดระเบียบแถวลูกเสือ เนตรนารี 1.2 สานกั งานเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ไดข้ ับเคลื่อนการดาเนินงานตามแผนพัฒนา ลูกเสือเขตพ้ืนท่กี ารศกึ ษา หรือไม่ ไม่ได้ดาเนนิ การ  ดาเนินการ (ถ้าดาเนินการ) ดาเนินการอย่างไร สานกั งานเขตพืน้ ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ไดด้ าเนนิ การขับเคลือ่ นการดาเนินงาน ตามแผนพัฒนาลกู เสือเขตพนื้ ทกี่ ารศกึ ษา ดังน้ี 1. จดั ทาโครงการและประสานงานหน่วยงานทีเ่ ก่ียวข้อง 2. ดาเนนิ การจดั กิจกรรมตามแผนการปฏิบตั ิงาน 3. นิเทศ ตดิ ตาม ประเมนิ ผลการดาเนนิ งาน 4. สรปุ รายงานผลการดาเนนิ งาน 1.3 สถานศกึ ษาทใ่ี ชก้ ระบวนการลูกเสอื /ยวุ กาชาด/เนตรนารี ในการจดั การเรียนการสอน/กิจกรรมเพื่อ เสรมิ สร้างความเป็นพลเมือง (Civic Education) จานวนสถานศกึ ษา ท้ังหมด (แห่ง) ที่ใช้กระบวนการลูกเสือ/ยุว กาชาด/เนตรนารใี นการจัดการ สงั กัด เรยี นการสอน/กิจกรรมเพอ่ื ร้อยละ 100 % สพป.ลาปาง เสรมิ สรา้ งความเป็นพลเมอื ง เขต 1 (แห่ง) จานวนสถานศึกษาในสังกดั 97 ท้ังหมด จานวน 97 โรงเรยี น 1.4 สถานศกึ ษาใช้กระบวนการลกู เสือ/เนตรนารี/ยวุ กาชาด ในการจัดการเรยี นการสอน/กจิ กรรมเพอ่ื เสริมสร้างความเปน็ พลเมือง (Civic Education) อย่างไร กระบวนการลกู เสอื /เนตรนารี/ยุวกาชาด เสริมสรา้ งความเปน็ พลเมอื ง (Civic Education) ดังนี้ 1. ส่งเสริมใหส้ ถานศกึ ษาทกุ แห่งมกี ารจดั การเรียนการสอน 2. จัดกจิ กรรมลกู เสอื กกต., ลกู เสอื ไซเบอร์, ลกู เสือชอ่ สะอาด, ลกู เสือจราจร 3. สง่ เสรมิ กจิ กรรมลูกเสอื จติ อาสา เช่น ร่วมปลกู ต้นไม้ ทาฝายชะลอน้า

49 4. เสรมิ สร้างทักษะชีวติ และเป็นคนดี มวี ินัย เป็นพลโลก ท่มี ีคณุ ภาพ 2. ความโดดเดน่ /จดุ แขง็ /นวัตกรรม/ต้นแบบหรอื แบบอย่างทด่ี ใี นการดาเนินงานตามนโยบาย 2.1 ความโดดเดน่ จุดแข็ง นวตั กรรมในการดาเนนิ งานตามประเดน็ นโยบาย เกดิ ประโยชน์หรือมผี ลกระทบ ทางบวกแก่ผ้เู รยี นอย่างไรบา้ ง ทักษะในวิชาลูกเสอื เป็นทกั ษะพน้ื ฐานที่คนทวั่ ๆ ไป ควรรแู้ ละเข้าใจ เพราะสามารถดึงความรู้ ความสามารถนามาใชใ้ นชวี ิตประจาวนั และพนื้ ฐานการมที ักษะการเอาชีวิตรอด หรอื ช่วยชีวติ ผ้อู น่ื ได้ ลูกเสอื สอนใหเ้ ตรยี มความพรอ้ มสาหรบั การทาหน้าทบี่ รกิ าร บาเพ็ญประโยชน์ตอ่ ส่วนรวม และฝกึ ฝนตนใหม้ รี ะเบียบ วนิ ัยทม่ี ากขึ้น 2.2 รายช่ือหน่วยงาน/สถานศกึ ษาทีเ่ ป็นตน้ แบบหรือแบบอย่างทด่ี ี ในการดาเนินงานตามประเด็นนโยบาย รายชื่อหนว่ ยงาน/สถานศึกษา ท่ตี ้งั หนว่ ยงาน/สถานศกึ ษา รายการและรายละเอียดของความ ต้นแบบหรอื แบบอย่างทดี่ ี โดดเดน่ /จุดแข็ง/นวัตกรรม 577 หมู่ 8 ตาบลแม่เมาะ 1. โรงเรยี นอนุบาลแมเ่ มาะ (ชมุ ชน 1) อาเภอแม่เมาะ 1. มกี ารฝึกอบรมและเพ่มิ ทักษะ จังหวดั ลาปาง ทางลูกเสืออยา่ งตอ่ เนือ่ ง - โครงการฝึกอบรมนายหมู่ ลกู เสอื - อบรมลูกเสอื จราจร - กจิ กรรมเข้าค่ายพกั แรมและ เดินทางไกล - กิจกรรมลกู เสอื เพ่อื พฒั นา ทักษะชีวติ - ลูกเสอื เขา้ ร่วมกิจกรรมทักษะ ทางลูกเสอื - ลกู เสือมีสว่ นร่วมในการ อนรุ ักษธ์ รรมชาติและสง่ิ แวดลอ้ ม - ลูกเสอื มจี ิตสาธารณะ ให้บรกิ าร ชุมชนและทาความสะอาด สวนสาธารณะและวัดในหมบู่ า้ น 3. ปัญหาอปุ สรรคในการดาเนินงานตามนโยบาย 1. นโยบายของสานักงานลูกเสือแหง่ ชาติไม่ชัดเจน (พระราชบัญญตั ิลกู เสือ พ.ศ.2551) 2. การดาเนนิ การไมต่ ่อเนอ่ื ง ขาดงบประมาณในการนเิ ทศ ตดิ ตามการจดั กจิ กรรมในโรงเรยี น อยา่ งต่อเนอ่ื ง 3. ภาระงานของโรงเรยี นมมี าก 4. โรงเรยี นขนาดเล็ก จานวนนักเรยี นไมพ่ อเปิดกองลกู เสอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook