Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มรายงานตรวจรอบที่1มี.ค2563

เล่มรายงานตรวจรอบที่1มี.ค2563

Published by kengjung31, 2020-06-22 00:33:01

Description: เล่มรายงานตรวจรอบที่1มี.ค2563

Search

Read the Text Version

คานา เอกสารรายงานผลการ ตรวจราชการและติดตาม ประเมนิ ผลการจดั การศึกษา ของกระทรวง ศกึ ษาธิการ ประจาปงี บประมาณ พ .ศ. 2563 ฉบบั นี้ จัดทาขนึ้ เพ่อื รายงานผลการดาเนินตามกรอบประเดน็ นโยบาย ประกอบดว้ ย 2 สว่ น คือ ส่วนท่ี 1. การจัดเก็บขอ้ มูลเชงิ ปริมาณ ในแตล่ ะตัวช้วี ดั ตามประเด็นการ ตรวจราชการและตดิ ตามประเมินผล จานวน 5 นโยบาย ประกอบด้วย นโยบายที่ 1 การจดั การศึกษาเพ่อื ความมัน่ คง นโยบายที่ 2 การสรา้ งความสามารถในการแข่งขัน นโยบายที่ 3 การพัฒนาและเสรมิ สรา้ ง ศกั ยภาพคน นโยบายที่ 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเทา่ เทยี มกันในสังคม นโยบายท่ี 5 การปรับสมดุลและบริหารจดั การภาครฐั ส่วนท่ี 2. การจัดเกบ็ ขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ ตามประเดน็ การตรวจ ราชการและตดิ ตามประเมินผล สานักงานเขตพ้ืนที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ขอบคุณผ้บู รหิ ารการศกึ ษา ผู้บรหิ ารสถานศกึ ษา บุคลากรทกุ คน ทม่ี สี ว่ นร่วมในการรวบรวมขอ้ มูล วิเคราะห์ สงั เคราะห์ สรุปรายงานผล ตามนโยบายดังกลา่ วข้างต้นประสบผลสาเรจ็ ดว้ ยดี สานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มนี าคม 2563

สารบัญ หนา้ นโยบายที่ 1 การจัดการศกึ ษาเพ่ือความม่นั คง 6 นโยบายท่ี 3 การพฒั นาและเสรมิ สรา้ งศักยภาพคน 9 นโยบายท่ี 4 การสรา้ งโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทยี มกันในสงั คม 18 นโยบายท่ี 5 การปรับสมดุลและบรหิ ารจดั การภาครฐั 24

สานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 นางวรางคณา ไชยเรอื น รองผอู้ านวยการสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศกึ ษา รกั ษาราชการแทน ผู้อานวยการสานักงานเขตพ้ืนที่การศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 นายสมคดิ ธรรมสทิ ธ์ิ รองผอู้ านวยการสานกั งานเขตพน้ื ทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 นายสมบรู ณ์ สันชมุ ภู รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นทีก่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1

ผูอ้ านวยการกล่มุ สานกั งานเขตพนื้ ท่กี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 นายเอกฐสทิ ธ์ิ กอบกา นายเสรี เสมพลู กลุ่มนิเทศตดิ ตามและประเมนิ ผล กล่มุ บรหิ ารงานบุคคล การจัดการศกึ ษา นางชีวพร สรุ ยิ ศ นางอรพณิ กองคาบุตร นางสาวศิรินารถ หมเู ทพ กล่มุ นโยบายและแผน กลมุ่ บรหิ ารงานการเงนิ และสินทรพั ย์ กลุ่มอานวยการ นางอารีวรรณ ประสาน นางสมศรี ตน้ โนนเชียง นางกนกทพิ ย์ ศรคี า กลมุ่ ส่งเสริมการจัดการศกึ ษา รักษาการในตาแหนง่ ผ้อู านวยการ รักษาการในตาแหน่งผอู้ านวยการ กลุ่มสง่ เสรมิ การจดั การศกึ ษาทางไกล กลมุ่ พัฒนาครแู ละบคุ ลากรทางการศึกษา เทคโนโลยสี ารสนเทศและการส่อื สาร (DLICT)

3 ขอ้ มลู พน้ื ฐาน สถานทต่ี ้งั สานักงานเขตพื้นท่ีการศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตั้งอยหู่ มู่ที่ 12 ถนนลาปาง – งาว ตาบลพชิ ัย อาเภอเมอื งลาปาง จังหวัดลาปาง รหัสไปรษณยี ์ 52000 เวบ็ ไซตส์ านกั งานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 www.lpg1.go.th พ้ืนทร่ี บั ผดิ ชอบ สานกั งานเขตพื้นท่ี การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มหี นา้ ทส่ี ่งเสริม สนับสนนุ การจัด การศึกษาข้ันพืน้ ฐานในเขตพื้นท่รี ับผดิ ชอบ 4 อาเภอ ได้แก่ อาเภอเมอื งลาปาง อาเภอหา้ งฉตั ร อาเภองาว และอาเภอแมเ่ มาะ มตี าบลรวม 41 ตาบล จานวนสถานศกึ ษาในสังกดั 115 โรงเรียน จดั การเรียนการสอน 93 โรงเรยี น

4 ขอ้ มลู พน้ื ฐานทางการศกึ ษาสานักงานเขตพน้ื ทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 1. จานวนโรงเรยี น ร.ร.ในระบบ จดั การเรียน คิดเป็น เรยี นรวมทุกชั้นเรยี น ร.ร.ในระบบ DMC การสอน ร้อยละ ท่ี อาเภอ ทกุ ชน้ั เรยี น บางช้ันเรียน DMC ไม่มี นกั เรียน 1 เมอื ง 49 37 75.51 11 - 9 2 แมเ่ มาะ 19 18 94.73 1 - 1 3 งาว 27 22 81.48 5 - 2 4 ห้างฉัตร 20 15 75.00 5 1 3 รวม 115 93 80.86 22 1 15 ข้อมูล ณ 29 กุมภาพันธ์ 2563 2. จานวนบคุ ลากรในสานักงานเขตพน้ื ที่การศึกษาการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ตาแหน่ง จานวนบุคลากรในสานักงาน เขตพื้นที่การศกึ ษา ผูอ้ านวยการ สพป.ลาปาง เขต 1 0 รองผอู้ านวยการ สพป.ลาปาง เขต 1 3 ศึกษานเิ ทศก์ 14 บุคลากร 38(ค) 39 ลกู จา้ งประจา 12 พนกั งานราชการ/อัตราจ้าง 9 77 รวมท้งั ส้ิน ข้อมูล ณ 29 กุมภาพันธ์ 2563 3. จานวนบคุ ลากรในสถานศกึ ษา จานวนบคุ ลากรในสถานศกึ ษา ตาแหนง่ 92 ผอู้ านวยการโรงเรียน 5 รองผอู้ านวยการโรงเรยี น 878 ข้าราชการครู 77 ลกู จา้ งประจา 395 พนักงานราชการ/อัตราจา้ ง 1,447 รวมทัง้ สิ้น ข้อมูล ณ 29 กมุ ภาพันธ์ 2563

5 4. จานวนนกั เรยี นจาแนก เพศ ระดับชนั้ เรยี น จานวนนกั เรยี น 594 ระดับชนั้ 1,501 อนุบาล 1 1,498 อนบุ าล 2 3,593 อนุบาล 3 2,048 รวมกอ่ นประถมศกึ ษา 1,992 ประถมศึกษาปที ่ี 1 1,977 ประถมศกึ ษาปีท่ี 2 1,918 ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 1,864 ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 1,965 ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 ประถมศึกษาปที ่ี 6 11,764 รวมประถมศกึ ษา 368 มัธยมศึกษาปีท่ี 1 369 มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2 389 มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 1,126 รวมมัธยมศกึ ษาตอนต้น รวมก่อนประถมศกึ ษา – มัธยมศึกษาตอนตน้ 16,483 ข้อมลู ณ 10 พฤศจิกายน 2562

6 รายงานผลการตรวจราชการและตดิ ตามประเมนิ ผลการจัดการศึกษา ของสานักงานเขตพนื้ ทก่ี ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 สานกั งานคณะกรรมการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน กระทรวงศกึ ษาธกิ าร ประจาปงี บประมาณ พ.ศ.2563 1. นโยบาย : การจดั การศึกษาเพอื่ ความมั่นคง ประเดน็ การตรวจราชการและการติดตามประเมนิ ผล 1.1 การปลกู ฝังความมรี ะเบยี บวินยั ทัศนคตทิ ี่ถูกต้องโดยใช้กระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด ตัวช้ีวดั การตรวจราชการฯ ท่ี 1 ร้อยละของสถานศกึ ษาทใ่ี ช้กระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด ในการจัดการเรยี นการสอ/นกจิ กรรมเพือ่ ปลูกฝังความมรี ะเบยี บวนิ ัย ทัศนคตทิ ถ่ี ูกตอ้ ง ตารางท่ี 1 แสดงจานวนและร้อยละของสถานศึกษาทใ่ี ช้กระบวนการลกู เสือ และยุวกาชาดในการจดั การเรยี น การสอน/ กจิ กรรมเพ่ือปลกู ฝงั ความมรี ะเบียบวินยั ทัศนคตทิ ี่ถกู ตอ้ ง จานวน สถานศึกษาท่ีใช้กระบวนการลกู เสือ และยุวกาชาดในการจัดการเรียน สถานศึกษา หนว่ ยงาน ทัง้ หมด (แหง่ ) การสอน/กิจกรรมเพื่อปลูกฝงั ความมีระเบยี บวนิ ัย ทศั นคติที่ถูกตอ้ ง สพป.ลาปาง 93 ดาเนินการ (แหง่ ) คิดเปน็ ร้อยละ เขต 1 93 100 ข้อมลู ณ 10 พฤศจกิ ายน 2562 ตัวชีว้ ัดการตรวจราชการฯ ที่ 2 รอ้ ยละของนักเรยี นทีไ่ ดร้ ับการปลกู ฝงั ความมีระเบียบ ทศั นคติ ที่ถกู ต้อง ผ่านกระบวนการลกู เสอื และยวุ กาชาด ตารางที่ 2 แสดงจานวนและร้อยละของนักเรยี นทไี่ ด้รบั การปลกู ฝังความมีระเบยี บ ทศั นคติทถ่ี ูกต้อง ผา่ นกระบวนการลกู เสอื และยุวกาชาด จานวนนกั เรยี น/ จานวนนักเรียนที่ได้รับการปลกู ฝังความมีระเบยี บ ทัศนคติทถ่ี ูกต้อง นักศึกษา หนว่ ยงาน ผา่ นกระบวนการลูกเสือ และยวุ กาชาด ทง้ั หมด (คน) สพป.ลาปาง ลูกเสือและ คดิ เป็น ยวุ กาชาด คิดเป็น เขต 1 16,483 เนตรนารี รอ้ ยละ รอ้ ยละ 10,810 100 2,045 100 ขอ้ มลู ณ 10 พฤศจิกายน 2562

7 1. ผลการดาเนนิ การปลูกฝงั ความมรี ะเบยี บวินยั ทศั นคตทิ ีถ่ ูกต้องโดยใชก้ ระบวนการลูกเสอื และยวุ กาชาด การดาเนนิ งานจัดกจิ กรรมลกู เสือในสถานศึกษา สานกั งานเขตพืน้ ทกี่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ได้ส่งค่มู อื สง่ เสรมิ และพัฒนากิจกรรมลูกเสอื ทกั ษะชีวิตในสถานศึกษา เพื่ อเปน็ แนวทางในการ ดาเนินงานกจิ กรรมลูกเสือในสถานศึกษา และสง่ เสรมิ สนับสนุนใหส้ ถานศกึ ษาในสังกัดดาเนนิ งาน ดังนี้ 1. จดั การเรียนการสอนวชิ าลูกเสอื เนตรนารี/ยุวกาชาด ทุกชัน้ เรยี น 2. กาหนดใหผ้ ู้บริหารโรงเรียนและครูทุกคนแต่งกายด้วยชดุ ลกู เสือ /ยวุ กาชาด ในวันท่ี มีการจดั การเรียนการสอนลูกเสอื เนตรนารี/ยวุ กาชาด 3. ใหผ้ ้บู ริหารโรงเรียน ครู และบุคลากรทางการศึกษา พัฒนาตนเองโดยการเขา้ รบั การอบรม เพื่อให้มวี ุฒิทางลกู เสือ 4. จัดกิจกรรมลกู เสือที่สอดคลอ้ งกับการพฒั นาคุณลักษณะอนั พึงประสงค์ 5. จัดกิจกรรมลูกเสอื รักษาความสะอาด บริเวณโรงเรียนและชุมชน กิจกรรมลกู เสอื คดั แยกขยะ , กจิ กรรมลกู เสือดแู ลและรกั ษาความสะอาดสว้ มนักเรียน ฯลฯ 6. จดั ให้มีห้องเกียรตยิ ศลกู เสือ ตามความเหมาะสม รายงานผลการดาเนนิ งานใหส้ านกั งานเขต พื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ทราบ ภายในวนั ที่ 28 กุมภาพนั ธ์ 2563 2. ปัญหาและอุปสรรค - การเข้าคา่ ยพักแรมลกู เสือสามญั ปัญหา คือ นกั เรยี นบางคนขาดเรียนไมม่ าร่วมกจิ กรรม แนวทางการแกไ้ ข - ประชาสัมพันธใ์ หน้ ักเรยี นและชุมชนมารว่ มกิจกรรมเกยี่ วกับลกู เสือในทุก ๆ ดา้ น 3. ข้อเสนอแนะ - ควรจัดกิจกรรมอยา่ งต่อเน่อื งและใหน้ ักเรยี นร่วมกิจกรรมหลากหลาย - ควรส่งเสริมใหผ้ ูบ้ ริหารสถานศึกษาพฒั นาตนเองโดยการเข้ารบั การอบรมเพ่ือให้มีวฒุ ิทางลูกเสอื - ควรพฒั นาเนือ้ หา วิชา และหลกั สูตร ใหท้ นั สมยั อยเู่ สมอ - หนว่ ยงานทเี่ กีย่ วขอ้ งควรใหก้ ารสนบั สนุนอยา่ งต่อเน่อื ง

8 4. ตน้ แบบหรือแบบอย่างทดี่ ี (Best Practice) 3 ลาดบั แรก (ถา้ ม)ี รายชอื่ สถานศกึ ษา ทตี่ ้งั สถานศึกษา โครงการ/กจิ กรรมและรายละเอียด บา้ นแมเ่ ฟือง ของต้นแบบหรอื แบบอยา่ งท่ดี ี ตาบลบ้านเอื้อม บ้านปนั งา้ ว อาเภอเมอื งลาปาง - โครงการเข้าคา่ ยพกั แรมลกู เสอื สามญั ประจาปี จงั หวดั ลาปาง การศกึ ษา 2562 บ้านแมส่ า้ น - ผบู้ ริหารโรงเรยี นและครูทุกคนแตง่ กายด้วยชุดลูกเสอื ตาบลหา้ งฉัตร ในวันที่มีการจดั การเรียนการสอนลกู เสอื เนตรนารี อาเภอห้างฉัตร - กจิ กรรมลูกเสอื รักษาความสะอาดบริเวณโรงเรียน จังหวัดลาปาง และชมุ ชน - จดั การเรยี นการสอนวชิ าลูกเสือ เนตรนารี ทกุ ชนั้ เรียน ตาบลบา้ นดง (ป. 1 – ป.6) อาเภอแมเ่ มาะ - ผ้บู รหิ ารโรงเรียนและครูทุกคนแตง่ กายด้วยชดุ ลูกเสือ จังหวัดลาปาง ในวันทีม่ ีการจดั การเรียนการสอนลกู เสอื เนตรนารี - ทาความสะอาดบรเิ วณโรงเรยี นและบรเิ วณรอบ ๆ โรงเรยี น - โครงการการจดั กิจกรรมลูกเสือทักษะชีวติ ใน สถานศึกษา - ผบู้ ริหารโรงเรียนและครูทกุ คนแต่งกายดว้ ยชดุ ลูกเสือ ในวันท่มี ีการจดั การเรียนการสอนลกู เสือ เนตรนารี - จัดกจิ กรรมลกู เสือท่สี อดคล้องกบั การพัฒนา คุณลกั ษณะอันพงึ ประสงค์ - ผ้บู ริหารโรงเรยี น ครู และบุคลากรทางการศกึ ษา พัฒนาตนเองโดยการเข้ารบั การอบรมเพอื่ ให้มวี ุฒิ ทางลูกเสอื - กจิ กรรมลูกเสือรักษาความสะอาด บรเิ วณโรงเรยี น และชุมชน กจิ กรรมลูกเสือคดั แยกขยะ - กจิ กรรมบาเพ็ญประโยชน์ทาความสะอาดหอ้ งนา้ - กิจกรรมเดนิ ทางไกลลกู เสอื สารองและเข้าคา่ ยพกั แรม ลกู เสอื สามญั ประจาปีการศึกษา 2562

3. นโยบายการพฒั นาและเสริมสรา้ งศักยภาพคน ประเด็นการตรวจราชการและการตดิ ตามประเมนิ ผล 3.1 การจัดการเรยี นรู้ด้วยวิธีการ Active learning ตัวชวี้ ดั ตรวจราชการฯ ท่ี 14 ร้อยละของสถานศึกษาที่จดั กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่ผูเ้ รียน ได้ใช้กระบวนการคิดวเิ คราะแหล์ ะลงมอื ปฏบิ ตั ิ (Active learning) ตารางที่ 16 แสดงจานวนและร้อยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ดั กระบวนการจัดการเรียนร้ทู ี่ผูเ้ รยี นได้ใช้ กระบวนการคิดวิเคราะหแ์ ละลงมือปฏบิ ตั ิ (Active learning) สังกดั สถานศึกษาทจ่ี ัดกระบวนการเรียนร้ฯู (Active learning) สพป.ลาปาง จานวนสถานศึกษาทงั้ หมด จานวนสถานศกึ ษาท่จี ดั กระบวนการ รอ้ ยละ เขต 1 (แห่ง) เรยี นรฯู้ (Active learning) (แห่ง) 100 93 93 1. ผลการดาเนินการจัดการเรยี นรู้ดว้ ยวิธกี าร Active learning 1.1 ประชมุ ช้ีแจง สรา้ งความร้คู วามเขา้ ใจ แนวทางในการขับเคล่ือน การเรยี นรู้ทีใ่ ห้ผู้เรยี น ไดเ้ รียนร้ผู ่านกจิ กรรมการปฏบิ ตั ิจรงิ (Active Learning) ใหก้ บั ผู้อานวยการ /รองผู้อานวยการสานักงานเขต พ้นื ทก่ี ารศกึ ษา ศึกษานเิ ทศก์ ผอู้ านวยการและครวู ชิ าการของโรงเรยี นในโครงการ และทุกโรงเรียนในสงั กัด รวมถึงบุคลากรอื่นทเ่ี ก่ยี วข้อง เชน่ คณะกรรมการตดิ ตาม ตรวจสอบ ประเมินผลและนิเทศการศึกษา (ก.ต.ป.น.) เป็นตน้ 1.2 นิเทศ กากบั ติดตาม ให้ความช่วยเหลือ แนะนาผู้บรหิ ารและครูในโรงเรยี นในสงั กดั 1.3 ปรับปรงุ /พฒั นาหลักสตู รสถานศกึ ษา ปรับและออกแบบตารางเรียนให้เอื้อตอ่ การเรยี นรู้ ทใ่ี หผ้ เู้ รยี นไดเ้ รยี นรูผ้ ่านกิจกรรมการปฏบิ ตั จิ ริง (Active Learning) รวมถงึ ออกแบบกจิ กรรมให้หลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ชว่ งวัย ความสนใจ ความถนัดและความต้องการของผ้เู รยี น สง่ เสรมิ และประสานความรว่ มมือ ระหวา่ งสานักงานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษา สถานศึกษา ชมุ ชน หน่วยงาน และองค์กรท่มี คี วามพร้อมในการจดั การ เรียนรู้ท่ใี ห้ผู้เรียนไดเ้ รียนรูผ้ า่ นกิจกรรมการปฏิบัติจริง(Active Learning) รว่ มกบั สถานศึกษาอย่างสมา่ เสมอ 1.4 สรุปและรายงานผลการดาเนนิ งานใหห้ น่วยงานตน้ สังกัด รวมทง้ั เผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ใหห้ นว่ ยงานอื่นทเี่ กี่ยวขอ้ งทราบ 2. ปญั หาและอุปสรรค สถานศกึ ษามแี ผนการจดั กจิ กรรกมารปฏบิ ัติจรงิ (Active Learning) ครบทกุ โรงเรียน แต่ยงั ไมค่ รบ ทกุ กล่มุ สาระ 3. ขอ้ เสนอแนะ สง่ เสรมิ สนับสนนุ โรงเรยี น ในสังกดั จดั กจิ กรรมการเรียนรูแ้ บบ Active Learning มากข้ึน ในทกุ รายวิชา ทุกกลุ่มสาระ ใหห้ ลากหลาย สอดคลอ้ งกบั ช่วงวยั ความสนใจ ความถนัดและความต้องการ ของผ้เู รียน ตามบรบิ ทและความพร้อมของสถานศกึ ษา

10 3.2 การจัดการเรยี นการสอนเพือ่ ฝึกทักษะการคดิ แบบมีเหตผุ ลและเปน็ ขั้นตอน (Coding) ตัวชวี้ ดั ตรวจราชการฯ ที่ 15 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทีจ่ ัดการเรยี นการสอนเพอื่ ฝกึ ทักษะการคิด แบบมเี หตุผลและเปน็ ขัน้ ตอน (Coding) ตารางที่ 17 แสดงจานวนและรอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่จดั การเรียนการสอนเพอ่ื ฝกึ ทักษะการคดิ แบบมีเหตผุ ล และเป็นขน้ั ตอน (Coding) สังกดั สถานศึกษาท่ีจดั การเรียนการสอนเพื่อฝึกทักษะการคิดแบบมีเหตุผลและเปน็ ขัน้ ตอน (Coding) สพป.ลาปาง เขต 1 จานวนสถานศกึ ษาทัง้ หมด จานวนสถานศกึ ษาที่จัดการเรยี นการสอน รอ้ ยละ (แหง่ ) เพ่ือฝกึ ทักษะการคิดแบบมีเหตผุ ลและเปน็ ข้นั ตอน (Coding) (แหง่ ) 93 93 100 1. ผลการดาเนนิ การจดั การเรียนการสอนเพื่อฝึกทกั ษะการคดิ แบบมเี หตผุ ลและเป็นข้นั ตอน (Coding) การดาเนินการของสานักงานเขตพืน้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ในการสง่ เสริม สนับสนุนให้โรงเรียนในสงั กดั ดาเนินการจดั การเรียนการสอนเพอื่ ฝึกทกั ษะการคิดแบบมเี หตุผลและเป็น ขน้ั ตอน (Coding) ดาเนนิ การดงั น้ี 1.1 ศกึ ษานิเทศก์และผูม้ ีสว่ นเกีย่ วขอ้ งร่วมวางแผนการอบรม ชแี้ จง ขยายผล การปรบั หลกั สูตร สถานศึกษาในกลมุ่ สาระการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ในสาระที่ 4 เทคโนโลยี 1.2 อบรมเชิงปฏบิ ัติการในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรยี นร้วู ิทยาการคานวณ ซ่งึ การ เรียนร้กู ารคดิ แบบมีเหตุผลและเปน็ ข้นั ตอน (Coding) เปน็ หนง่ึ ในเนือ้ หาท่ีอยู่ในสาระที่ 4.2 วิทยาการคานวณ ให้กบั โรงเรยี นในสงั กดั 1.3 ดาเนินการนิเทศ กากบั ตดิ ตาม ใหค้ วามช่วยเหลอื โรงเรยี นในสังกดั ในการวางแผนและ การจัดการเรียนรู้ Coding โดยโรงเรยี นขนาดเล็กซึ่งขาดบคุ ลากรท่ีมคี วามรู้ความสามารถในการจัดการเรียน การสอน Coding ไดเ้ น้นให้จัดกิจกรรมโ ดยใช้ DLTV เปน็ หลกั ในการจัดกิจกรรมโดยใหค้ รูปลายทางเตรยี ม กจิ กรรมและสอนรว่ มกับโรงเรียนต้นทาง 2. ปัญหาและอุปสรรค 2.1. ครขู าดความตระหนกั และให้ความสาคญั ในการจัดกิจกรรมทสี่ ่งเสริมให้ผเู้ รยี นนาเทคโนโลยี ไปใช้ในการจดั การเรียนรู้ ยงั มงุ่ เน้นแต่กิจกรรมทส่ี ่งผลกบั ผลสอบ RT NT และ O-NET 2.2 โรงเรียนขาดเครื่องมืออุปกรณท์ ชี่ ว่ ยสง่ เสริมทักษะด้านเทคโนโลยี มีการชารดุ เสอ่ื มสภาพ ล้าสมัย เนอ่ื งจากไมไ่ ด้รบั การจดั สรรเพมิ่ เตมิ

11 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 สานกั งานเขตพน้ื ที่การศึกษาจัดการประชุมหรอื ช้แี จงเพ่ือสรา้ งความตระหนกั และความ เข้าใจใหก้ บั ครผู สู้ อนเพอ่ื ใหเ้ ห็นความเชื่อมโยงในการจดั กิจกรรมท่ีส่งเสริมทกั ษะด้าน Digital Literacy ในการ เรียนรู้ เพ่อื ใหน้ ักเรยี นนาไปประยกุ ต์ใช้ในการเรยี นรใู้ นสาระการเรียนรหู้ ลักได้อยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ 3.2 ส่งเสรมิ สนบั สนนุ ใหม้ ีการระดมทรพั ยากรจากภายนอกในการสนบั สนนุ อุปกรณ์เพือ่ ชว่ ย ส่งเสริมทกั ษะดา้ นเทคโนโลยีใหก้ บั สถานศึกษาท่ขี าดแคลนอุปกรณด์ า้ นเทคโนโลยี 4. ต้นแบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี (Best Practice) 3 ลาดับแรก (ถา้ ม)ี รายช่อื สถานศกึ ษา ทตี่ ้ังสถานศกึ ษา โครงการ/กิจกรรมและรายละเอยี ด โรงเรียนอนบุ าลลาปาง ของต้นแบบหรือแบบอยา่ งทด่ี ี (เขลางคร์ ตั น์อนสุ รณ์) ตาบลหวั เวียง อาเภอเมอื งลาปาง กิจกรรมการเรียนการสอนท่ีเนน้ การสอนแบบ โรงเรียนอนบุ าลแมเ่ มาะ จงั หวัดลาปาง อันปล๊กั ผา่ นกจิ กรรมการเล่น โดยไมใ่ ช้ (ชุมชน 1) คอมพิวเตอรแ์ ละแบบใช้ปลกั๊ หรอื ตาบลแมเ่ มาะ คอมพวิ เตอร์ในระดบั ชนั้ ป.4-ป.6 ทาใหก้ าร โรงเรยี นอนุบาลหา้ งฉตั ร อาเภอแม่เมาะ จดั กจิ กรรมการเรยี นรู้ Coding มีความ จงั หวดั ลาปาง หลากหลาย ตาบลห้างฉัตร การจดั กจิ กรรมการเรียนการสอนที่เน้นการใช้ อาเภอห้างฉัตร บล็อกคาส่งั ในการจดั กิจกรรมตง้ั แต่ระดบั ชนั้ จังหวดั ลาปาง ป.1- ม. 3 โดยในระดับชนั้ ม. 3 เน้นใหเ้ ดก็ ทาโครงงานทน่ี าความร้ใู นสาระท่ี 4 เทคโนโลยี มาประยกุ ต์ใชใ้ นการออกแบบ ชนิ้ งาน การเรียนบทเรียนออนไลน์ เร่อื ง สนกุ กบั การ เขยี นโปรแกรม โดยออกแบบบทเรียนที่ สะทอ้ นความแตกต่างระหวา่ งบุคคล เรยี นได้ ทกุ ที่ทุกเวลา

12 3.3 การพัฒนาครูใหม้ ีความชานาญในการจดั การเรียนรูภ้ าษาองั กฤษและวทิ ยาการคานว(Cณoding) ตวั ชว้ี ดั การตรวจราชการฯ ท่ี 16 รอ้ ยละของครทู ี่ไดเ้ ข้ารับการพัฒนาอบรมภาษาอังกฤษ ตวั ช้วี ดั การตรวจราชการฯ ท่ี 17 รอ้ ยละของครทู ่ไี ดเ้ ขา้ รบั การพฒั นาอบรมวทิ ยาการคานวณ (Coding) ตารางที่ 18 แสดงจานวนและร้อยละของครูทไ่ี ดเ้ ข้ารบั การพฒั นาอบรมภาษาอังกฤษและวทิ ยาการคานวณ (Coding) การพฒั นาอบรมครภู าษาอังกฤษ การพัฒนาอบรมครูวิทยาการคานวณ จานวนครู จานวนครู รอ้ ยละ จานวนครู จานวนครู ร้อยละ ที่ได้เข้ารับ - สังกัด ทส่ี อน ทไ่ี ด้เข้ารับ ที่สอน การพฒั นาอบรม วทิ ยาการคานวณ สพป.ลาปาง ภาษาอังกฤษ การพัฒนาอบรม วิทยาการ เขต 1 (คน) ทง้ั หมด ภาษาองั กฤษ คานวณทงั้ หมด - (คน) (คน) (คน) 173 - - - หมายเหตุ ปงี บประมาณ 2563 ยังไมไ่ ดด้ าเนินการพฒั นาครูภาษาอังกฤษเนอื่ งจากยังไม่ได้รับ งบประมาณจัดสรรจาก สพฐ. 3.4 การจัดการเรียนรดู้ ้วยสะเต็มศึกษา (STEM Education) ตัวชว้ี ดั การตรวจราชการฯ ท่ี 18 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาที่จดั การเรยี นการสอนสะเต็มศึกษา (STEM Education) ตวั ชว้ี ัดการตรวจราชการฯ ท่ี 19 รอ้ ยละของสถานศกึ ษาทผี่ ูเ้ รียนสามารถสร้างนวัตกรรม จากการเรยี นรตู้ ามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) ตารางที่ 19 แสดงจานวนและรอ้ ยละของสถานศึกษาท่จี ัดการเรียนการสอนสะเต็มศกึ ษา(STEM Education) และสถานศึกษาทีผ่ เู้ รียนสามารถสร้างนวัตกรรมจากการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษา (STEM Education) สงั กดั จานวน จานวนสถานศึกษา ร้อยละ จานวนสถานศกึ ษาทีผ่ ูเ้ รียน ร้อยละ สถานศกึ ษา ทจ่ี ดั การเรียนการสอน สามารถสรา้ งนวตั กรรมจาก ทง้ั หมด (แห่ง) การเรยี นรู้ตามแนวทางสะ แบบสะเต็มศึกษา (แห่ง) เต็มศึกษา (แห่ง) สพป.ลาปาง 93 93 100 93 100 เขต 1

13 1. ผลการดาเนนิ การจัดการเรียนรู้ด้วยสะเตม็ ศกึ ษา (STEM Education) 1.1 สถานศกึ ษาในสงั กดั ทุกแห่งดาเนินการจดั การเรียนการสอนแบบสะเต็มศกึ ษา 1.2 ครูผสู้ อนวทิ ยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ และเทคโนโลยี มีความรคู้ วามเขา้ ใจการจัดการเรยี น การสอนตามแนวทางสะเต็มศึกษาผา่ นกระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม และสามารถจัดการเรียนการสอน ตามแนวทางสะเต็มศึกษาไดอ้ ยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ 1.3 ผเู้ รยี นสามารถสร้างนวัตกรรมจากการเรยี นรู้ตามแนวทางสะเตม็ ศึกษาได้ 1.4 ผ้เู รยี นได้เรยี นรู้ตามแนวทางสะเต็มศึกษาผา่ นกระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรม 6 ขั้นตอน ไดแ้ ก่ 1) ระบปุ ัญหา 2) รวบรวมขอ้ มลู และแนวคดิ ท่เี กีย่ วขอ้ งกับ 3) ออกแบบวิธกี ารแกป้ ญั หา 4) วางแผนและดาเนินการแก้ปัญหา 5) ทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแกไ้ ขวิธกี ารแก้ปัญหาหรือชิน้ งาน 6) นาเสนอวิธกี ารแกป้ ญั หา ผลการแกป้ ัญหาหรือชิ้นงาน 1.5 ผเู้ รียนมที กั ษะกระบวนการออกแบบเชิงวศิ วกรรมตามแนวทางสะเต็มศกึ ษา 1.6 ผ้เู รยี นสามารถใช้กระบวนการออกแบบเชงิ วศิ วกรรมตามแนวทางสะเตม็ ศกึ ษาแก้ปญั หาตาม สถานการณ์ที่กาหนด และปญั หาที่พบเจอในชีวติ ประจาวันได้ 2. ปัญหาและอปุ สรรค 2.1 สถานศึกษาส่วนใหญข่ าดสื่อ วสั ดุ อปุ กรณท์ ่ีใช้ในการจัดการเรยี นการสอนแบบสะเตม็ ศกึ ษา 2.2 ครูผูส้ อนวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี ในสงั กัดบางสว่ นยังไม่ไดเ้ ข้ารบั การฝึกอบรมการสอนแบบสะเตม็ ศกึ ษา 3. ข้อเสนอแนะ 3.1 ควรสนบั สนุนใหค้ รผู ้สู อนเขา้ รบั การอบรมสะเต็มศึกษาจากสถาบนั ส่งเสริมการสอน วทิ ยาศาสตร์ และเทคโนโลยี (สสวท.) 3.2 ควรสนับสนนุ งบประมาณให้สถานศึกษาในการจัดหาสื่อ วสั ดุ อุปกรณ์ทใ่ี ช้ในการจัดการเรยี น การสอนแบบสะเตม็ ศึกษา 3.3 ควรสง่ เสริม สนับสนนุ ใหส้ ถานศึกษาในสงั กัดจดั การเรยี นรู้ใหน้ ักเรยี นตามแนวทางสะเตม็ ศึกษาใหค้ รบทุกระดับชนั้

14 4. ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งทีด่ ี (Best Practice) 3 ลาดบั แรก (ถ้าม)ี รายช่อื สถานศกึ ษา ทีต่ ้งั สถานศึกษา โครงการ/กิจกรรมและรายละเอียด ของตน้ แบบหรือแบบอย่างที่ดี โรงเรยี นอนุบาลลาปาง ตาบลเวียงเหนอื หุ่นยนต์บังคับมอื ระดับนานาชาติ (เขลางค์อนุสรณ์) อาเภอเมืองลาปาง จงั หวัดลาปาง โรงเรียนบา้ นทุ่งกล้วย ตาบลบา้ นเอ้อื ม กจิ กรรมสร้างสรรคส์ ่ิงประดิษฐ์ “เตาไฟไฮเทค” อาเภอเมอื งลาปาง การจัดการเรยี นร้สู ะเตม็ ศกึ ษา จงั หวัดลาปาง ครบทกุ ชนั้ เรยี น โรงเรียนชุมชนบ้านฟอุ นวิทยา ตาบลชมพู อาเภอเมืองลาปาง จงั หวดั ลาปาง 3.5 การเรยี นภาษาองั กฤษเพ่ือใชใ้ นการส่อื สารและเพมิ่ ทกั ษะสาหรบั ใชใ้ นการประกอบอาชีพ 3.5.1 การเรยี นภาษาองั กฤษเพื่อใช้ในการสือ่ สาร ตวั ชวี้ ัดการตรวจราชการฯ ท่ี 20 ร้อยละของผู้เรียนระดบั ประถมศึกษาปที ่ี 1–6 ทผ่ี า่ น เกณฑ์ทดสอบภาษาองั กฤษเพ่ือใช้ในการสือ่ สารในระดับดขี นึ้ ไป ตารางที่ 20 แสดงจานวนและรอ้ ยละของผ้เู รียนระดับประถมศกึ ษาปีที่ 1–6 ทผ่ี ่านเกณฑท์ ดสอบ ภาษาอังกฤษเพื่อใช้ในการสื่อสารในระดบั ดขี ึ้นไป สงั กดั จานวนผ้เู รียนระดับ จานวนผู้เรียนระดับ ป. 1 – 6 ท่ีผ่านเกณฑ์ ร้อยละ ป. 1 – 6 ทงั้ หมด (คน) ทดสอบภาษาองั กฤษเพือ่ ใช้ในการสอ่ื สาร - สพป.ลาปาง - ในระดบั ดีขน้ึ ไป (คน) เขต 1 - หมายเหตุ ในช่วงเดือนมีนาคม 2563 โรงเรียนในสังกดั กาลังดาเนนิ การวัดและประเมินผลปลายปกี ารศึกษา 2562 จึงยงั ไมส่ ามารถสรปุ ผลการทดสอบภาษาองั กฤษในขณะนไ้ี ด้

15 ตวั ชวี้ ัดการตรวจราชการฯ ท2่ี 1 ร้อยละของสถานศกึ ษาทมี่ ีการจัดการศกึ ษาหอ้ งเรยี นพิเศษ (EP/MEP/IEP) ตารางท่ี 21 แสดงจานวนและร้อยละของสถานศกึ ษาท่มี กี ารจัดการศึกษาห้องเรียนพิเศษ (EP/MEP/IEP) สงั กดั จานวนสถานศกึ ษาท้ังหมด จานวนสถานศึกษาท่ีมีการจดั การศึกษา ร้อยละ (แหง่ ) หอ้ งเรียนพเิ ศษ (EP/MEP/IEP) (แหง่ ) สพป.ลาปาง 93 3 3.23 เขต 1 ตัวชี้วัดการตรวจราชการฯ ท่ี 22 รอ้ ยละของผเู้ รียนท่ีผา่ นการทดสอบทกั ษะการใช้ ภาษาองั กฤษตามมาตรฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษ (CEFR) ตารางท่ี 22 แสดงจานวนและร้อยละของผู้เรียนท่ีผา่ นการทดสอบทกั ษะการใช้ภาษาองั กฤษตามมาตรฐาน ความสามารถทางภาษาองั กฤษ (CEFR) สงั กัด จานวน ผูเ้ รียนทผี่ า่ นการทดสอบ CEFR ผู้เรียนท่ี เขา้ รบั การ Below A1 A1 A2 B1 B2 C1 C2 ทดสอบ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน รอ้ ยละ CEFR (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) (คน) ท้งั หมด (คน) สพป. - - - - - - - - - - - - - - - ลาปาง เขต 1 หมายเหตุ ในช่วงเดอื นมนี าคม 2563 โรงเรยี นในสงั กัดท่เี ปดิ หอ้ งเรียน MEP กาลังดาเนนิ การวดั และ ประเมินผลปลายปีการศกึ ษา 2562 และจะดาเนนิ การทดสอบ CEFR นกั เรียนชน้ั ประถมศึกษา ปีท่ี 6 หอ้ งเรียน MEP ภายหลังจากการวัดและประเมนิ ผลปลายปกี ารศกึ ษา จงึ ยังไมส่ ามารถ สรปุ ผลการทดสอบ CEFR ในขณะน้ีได้

16 3.7 การสง่ เสรมิ ทักษะการอ่านเขยี นภาษาไทยเพอื่ ใชเ้ ปน็ เคร่อื งมือในการเรยี นรู้วิชาอื่น ตัวชีว้ ดั การตรวจราชการฯ ท2่ี 5 ร้อยละของผู้เรียนที่อ่านออกเขียนได(้ ระดบั ประถมศึกษาที่1–3) ตารางท่ี 25 แสดงจานวนและรอ้ ยละของผู้เรียนทีอ่ า่ นออกเขยี นได้ (ระดบั ประถมศึกษาท่ี 1–3) ภาคเรยี นท่ี 1 ปีการศกึ ษา 2562 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2562 สงั กดั จานวนผูเ้ รยี น จานวนผู้เรียนที่ ร้อยละ จานวนผู้เรยี น จานวนผ้เู รยี นทอ่ี า่ น รอ้ ยละ ท้ังหมด (คน) อา่ นออกเขยี นได้ ท้งั หมด (คน) ออกเขียนได้ (คน) สพป.ลาปาง เขต 1 (คน) 5,498 5,232 95.11 6,035 5,217 95.06 ขอ้ มลู จากระบบติดตามและประเมนิ ผล e – MES ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 ตวั ช้ีวดั การตรวจราชการฯ ท2่ี 6 รอ้ ยละของผู้เรยี นทอี่ ่านคลอ่ งเขียนคลอ่ (งระดบั ประถมศึกษาท4ี่ –6) ตารางท่ี 26 แสดงจานวนและรอ้ ยละของผูเ้ รยี นทอ่ี ่านคลอ่ งเขียนคล่อง (ระดับประถมศึกษาที่ 4–6) ภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2562 ภาคเรยี นที่ 2 ปีการศกึ ษา 2562 สังกดั จานวนผเู้ รยี น จานวนผเู้ รียนท่อี า่ น ร้อยละ จานวนผูเ้ รียน จานวนผเู้ รียนท่ีอ่าน ร้อยละ ทัง้ หมด (คน) คลอ่ งเขยี นคลอ่ ง ท้ังหมด (คน) คลอ่ งเขยี นคลอ่ ง สพป.ลาปาง เขต 1 (คน) (คน) 5,073 4,948 97.52 5,776 5,092 97.91 ขอ้ มลู จากระบบตดิ ตามและประเมินผล e – MES ณ วันที่ 30 พฤศจิกายน 2562 1. ผลการดาเนินการส่งเสริมทกั ษะการอ่านเขียนภาษาไทยเพือ่ ใช้เป็นเครอ่ื งมอื ในการเรยี นรู้วิชาอื่น 1.1 กระบวนการดาเนนิ งาน - จดั อบรมเชงิ ปฏิบัติการพัฒนาครผู ู้สอนภาษาไทยระดับช้นั ประถมศกึ ษาปที ี่ 1 ดา้ นการอ่าน ออกเขียนได้ จานวน 105 คน ในวนั ที่ 13 กรกฎาคม 2562 ณ ห้องประชมุ คุรมุ นตรี สานกั งานเขตพืน้ ท่ี การศกึ ษาประถมศึกษาลาปางเขต 1 - จัดทาคู่มือแนวทางในการพฒั นาการอ่านออกเขียนได้ รวมท้ังยกระดบั ผลสัมฤทธ์ิทางการ เรยี นกลมุ่ สาระการเรยี นรภู้ าษาไทย - จัดทาเครื่องมอื แบบวดั ความสามารถการอ่านและการเขยี นภาษาไทยทกุ ระดบั ชน้ั เพ่ือคัดกรองนักเรยี นและจัดกลมุ่ นกั เรียนทอ่ี ่านไม่ออกเขียนไมไ่ ด้ - จัดทาเครอื่ งมือแบบรายงานออนไลน์ ได้แก่ โปรแกรมการอา่ นการเขยี น ของสานกั งานเขต พนื้ ทก่ี ารศึกษาประถมศึกษาลาปางเขต 1 - นเิ ทศ ตดิ ตาม การพฒั นาการอา่ นออกเขียนได้ รวมทั้งการยกระดับผลสัมฤทธทิ์ างการ เรยี นรู้กลุ่มสาระภาษาไทย โดยใชก้ ระบวนการนเิ ทศ เอ พี ไอ ซี อี (APICE Model)

17 1.2 ผลการดาเนนิ งาน 1) ครูผ้สู อนภาษาไทยทีเ่ ข้ารบั การอบรม มคี วามร้คู วามเข้าใจ มเี ทคนคิ การออกเบบกิจกรรม การเรยี นร้ทู เี่ น้นใหน้ กั เรียนเกิดทักษะการอา่ น การเขยี น อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ ดงั น้ี - ฝกึ การแจกลูกสะกดคา - ฝึกคดั ลายมือ - ฝึกการเขียนคาพน้ื ฐานด้วยการเขียนตามคาบอก - จดั มุมส่งเสริมการอา่ นจากนิทาน การ์ตูน 2) ครผู สู้ อนมีการจดั สภาพแวดลอ้ มภายในและภายนอกห้องเรยี น เช่น ปูายนเิ ทศ ปาู ย ขา่ วสาร การจัดกิจกรรมห้องสมุดเคลอ่ื นท่ี กจิ กรรมภาษาไทยวันละคา และกิจกรรมรักการอ่าน 2. ปัญหาอุปสรรค - ครผู ู้สอนขาดสื่อเอกสารในการจดั การเรยี นรู้ วัดและประเมนิ ผล ไมต่ รงตามมาตรฐาน และตัวชว้ี ัด ดา้ นการอา่ นและการเขยี น - ช่วงเวลาในการอบรมมีนอ้ ย ทาให้การพฒั นาครไู ม่ครอบคลุมประเดน็ ในการพัฒนา และไมต่ ่อเนอื่ ง 3. ข้อเสนอแนะเพ่ือการพัฒนา - ควรมกี ารจดั ทาเครื่องมือวดั และประเมนิ ผล ตามมาตรฐานและตวั ช้วี ดั ด้านการอ่าน และการเขียนทช่ี ัดเจน - ควรมีการวจิ ัยและพัฒนาเพือ่ แก้ปญั หาการอ่านไมอ่ อกเขียนไมไ่ ดข้ องนกั เรียนระดับชัน้ ประถมศกึ ษา และการอ่านร้เู รอ่ื งของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาตอนต้น สาหรบั โรงเรียนทีม่ ผี ลการประเมิน ความสามารถด้านการอา่ นรเู้ รือ่ งต่า 4. ต้นแบบหรอื แบบอยา่ งท่ดี ี (Best Practice) 3 ลาดบั แรก (ถ้าม)ี รายชือ่ สถานศึกษา ที่ตงั้ สถานศกึ ษา โครงการ/กิจกรรมและรายละเอยี ด โรงเรยี นบา้ นแม่เฟือง ของตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งท่ดี ี ตาบลบ้านเออ้ื ม โรงเรยี นบา้ นทุ่งกล้วย อาเภอเมอื งลาปาง กิจกรรมพฒั นาการอ่านการเขียนด้วย จงั หวดั ลาปาง Active Learning ตาบลบา้ นเอ้อื ม อาเภอเมืองลาปาง กจิ กรรมชดุ ฝกึ พัฒนาการอา่ น จงั หวดั ลาปาง คิดวิเคราะหแ์ ละเขียน

4. การสร้างโอกาสความเสมอภาคและความเท่าเทยี มกนั ในสงั คม ประเด็นการตรวจราชการและการตดิ ตามประเมิน 4.1 การใชด้ จิ ิทลั แพลตฟอร์มเพ่ือการเรียนรู้หรือสรา้ งอาชพี ตัวชว้ี ัดการตรวจราชการฯ ท่ี 27 ร้อยละของสถานศกึ ษาทส่ี ่งเสรมิ การใช้ดจิ ิทลั แพลตฟอร์ม เพ่อื การเรียนรูห้ รือเปน็ เครอ่ื งมอื เพื่อการเรียนรู้ ตารางที่ 27 แสดงจานวนและรอ้ ยละของสถานศกึ ษาท่ีส่งเสริมการใชด้ ิจทิ ลั แพลตฟอรม์ เพอ่ื การเรียนรู้ หรือเป็นเคร่ืองมือเพอ่ื การเรียนรู้ สถานศกึ ษาท่ีส่งเสรมิ การใชด้ จิ ทิ ัลแพลตฟอรม์ เพ่ือการเรยี นรู้ หรอื เปน็ เคร่ืองมอื เพ่อื การเรียนรู้ หน่วยงาน จานวนสถานศึกษาท่มี คี รูเข้ารบั จานวนสถานศึกษาท่มี ีครู คิดเป็นร้อยละ สพป.ลาปาง การอบรมนาร่องการใช้ดจิ ิทัล ผา่ นการอบรมฯ และนาการใช้ดจิ ิทลั เขต 1 แพลตฟอร์มเพือ่ การเรยี นรู้ แพลตฟอรม์ เพื่อการเรียนรู้ ไปใชใ้ นสถานศึกษา - -- 1. ผลการดาเนนิ การใช้ดจิ ทิ ลั แพลตฟอรม์ เพ่อื การเรยี นรู้หรือสร้างอาชีพ สานักงานเขตพื้นทก่ี ารศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 อยู่ระหว่างดาเนินการรบั หลกั การ การใช้ ดจิ ทิ ัลแพลตฟอร์มเพ่ือการเรียนรู้ เมือ่ วันท่ี 4 - 5 มีนาคม 2563 ณ เบลล่า บี โฮเทล จงั หวดั นนทบรุ ี ซ่งึ ทางผ้รู ับผิดชอบจะดาเนินการวางแผนขยายผลให้กับโรงเรยี นในสังกดั ตอ่ ไป 4.2 การเข้าถึงโอกาสทางการศกึ ษาเดก็ ปฐมวัย ตัวช้ีวัดการตรวจราชการฯ ท่ี 29 สดั ส่วนของนักเรยี นระดับอนุบาล1-3 ต่อประชากรกล่มุ อาย3ุ -6 ปี ตารางที่ 29 แสดงสัดสว่ นของนักเรยี นระดับอนุบาล1-3 ตอ่ ประชากรกลุ่มอาย3ุ -6 ปี นกั เรียนปฐมวัย จานวนประชากรตาม จานวนนกั เรียนปฐมวัย แยกตามสังกดั ปีการศกึ ษา 2563 ระดบั ช่วงอายุ 3-6 ปี สานกั งานเขตพื้นทกี่ ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 (ทร.14) จานวน(คน) คิดเป็นรอ้ ยละ อนุบาล 1 2,417 579 23.95 อนบุ าล 2 2,532 1,505 59.43 อนบุ าล 3 2,619 1,501 57.31 รวม 7,568 3,585 47.37 หมายเหตุ จานวนประชากรวยั เรียนอายุ 3- 6 ปี ใช้ข้อมลู จากสานกั ทะเบียนราษฎรจังหวดั ลาปาง

19 สพป.ลาปางเขต 1 เปดิ การเรยี นการสอนระดบั ปฐมวยั โรงเรยี นในสังกัด ดังน้ี (จาก 93 โรงเรยี น) 1. ระดบั ชั้นอนบุ าล 1 ( 3 ขวบ ) จัดการเรยี นการสอน จานวน 17 โรงเรียน 2. ระดับชัน้ อนุบาล 2 ( 4 ขวบ ) จัดการเรียนการสอน จานวน 82 โรงเรียน 3. ระดับชั้นอนบุ าล 3 ( 5 ขวบ ) จัดการเรียนการสอน จานวน 82 โรงเรยี น 1. ผลการดาเนินการเขา้ ถึงโอกาสทางการศกึ ษาเดก็ ปฐมวยั - ร้อยละ 100 ของโรงเรียนในสงั กัด สพป.ลาปาง เขต 1 จดั เตรยี มความพรอ้ มปฐมวยั อยา่ งมีคณุ ภาพ - ร้อยละ 100 ของนกั เรียนในสงั กัด สพป.ลาปาง เขต 1 จบการศึกษากอ่ นประถมศกึ ษา ตามกาหนดเวลาหลกั สูตร - สภาพผลการดาเนินการในเขตพนื้ ท่ีการศึกษา 1. สพป.ลาปาง เขต 1 ไดส้ ่งเสริม สนับสนุนการจดั การศกึ ษาปฐมวัยในสงั กดั ได้แก่ 1.1 กจิ กรรมหลัก 6 กิจกรรม ตามหลักสตู รการศึกษาปฐมวยั พุทธศกั ราช 2560 1.2 กจิ กรรมโครงการบ้านนักวิทยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย (ทกุ สถานศกึ ษาเขา้ รว่ ม โครงการฯ) 1.3 กจิ กรรมการเรยี นรูว้ ิทยาศาสตร์ คณติ ศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเตม็ ศกึ ษาในระดบั ปฐมวัย 2. สพป.ลาปาง เขต 1 ดาเนินการประเมนิ พัฒนาการ นกั เรียนช้นั อนุบาลปที ่ี 1 - 3 โดย ครอบคลมุ พัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์- จิตใจ สังคม และสตปิ ญั ญา สอดคล้องกับจุดหมายทเ่ี ปน็ มาตรฐานคณุ ลกั ษณะทพ่ี งึ ประสงคข์ องหลักสูตรการศกึ ษาปฐมวัย พุทธศกั ราช 2560 3. สถานศึกษารายงานผลการประเมนิ พฒั นาการให้ สพป.ลาปาง เขต 1 - วิธีการ/ปจั จยั ทีส่ ามารถดาเนนิ การให้บรรลุผลสาเรจ็ ตามประเด็นการตรวจ ตดิ ตาม อยา่ งไรบ้าง (แผนงานโครงการ/กจิ กรรมรองรับเพ่อื แกป้ ัญหา) 1. สพป.ลาปาง เขต 1 มโี ครงการที่สง่ เสริม สนบั สนุนการจดั การศึกษาปฐมวยั ดงั นี้ - โครงการพัฒนาเดก็ ปฐมวัย (3-5 ป)ี อยา่ งมคี ุณภาพด้วยการจดั ประสบการณ์เรียนรู้ วทิ ยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ เทคโนโลยี และสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวัย - โครงการบ้านนกั วทิ ยาศาสตร์น้อย ประเทศไทย โดยมกี ารขยายผลเพม่ิ ครบทกุ โรงเรียนในสังกดั 100 % ตงั้ แต่ปงี บประมาณ 2561 ถึงปัจจุบัน ครูผู้สอนจดั กจิ กรรมการทดลอง วิทยาศาสตร์และโครงงานวทิ ยาศาสตร์ระดับปฐมวยั ตามรูปแบบวฏั จกั รการสืบเสาะ 2. สพป.ลาปาง เขต 1 ดาเนินการสง่ เสรมิ สนบั สนุน และให้ความรู้ในการจัด การเรยี นการสอน ปฐมวยั ใหแ้ กค่ รูผสู้ อนปฐมวัยทุกคนอย่างตอ่ เนอ่ื งสมา่ เสมอ ท้ังในเร่ืองสือ่ การเรียนการสอน ความรู้ /แนว ทางการจดั ประสบการณต์ ามแนวคดิ หรอื รูปแบบตา่ ง ๆ ดงั น้ี 2.1 การอบรมเชิงปฏบิ ัตกิ ารเฉพาะทางสาหรบั ครผู สู้ อนระดับปฐมวยั หวั ขอ้ เรื่อง “วทิ ยาการ คอมพวิ เตอรแ์ บบไม่ใช้อุปกรณ์คอมพิวเตอร(์Unplugged Computer Science) ตามแนวทางโครงการบา้ น นกั วิทยาศาสตร์นอ้ ย ประเทศไทย”

20 2.2 จัดสรรสือ่ 60 พรรษา สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี สาหรบั โรงเรียนขนาดเล็ก 2.3 จัดสรรชดุ สอื่ การเรยี นรู้บูรณาการสะเต็มศึกษาระดับปฐมวยั สาหรบั โรงเรียน กลมุ่ เปูาหมาย 10 โรงเรียน 3. สพป.ลาปาง เขต 1 มรี ะบบการนเิ ทศ ติดตามการจัดการศึกษาปฐมวัยดว้ ยกระบวนการ APICE 2.ปญั หาและอปุ สรรค - โรงเรยี นขนาดเลก็ ไม่มีครปู ระจาช้นั ปฐมวยั ทาให้เด็กขาดโอกาสในการเรยี นรู้ ไม่ไดร้ ับการ จัดประสบการณ์เพือ่ เสริมสรา้ งพัฒนาการครบทุกด้านอยา่ งเหมาะสมตามวัย ทาใหจ้ ดั การศกึ ษาปฐมวัย ไม่บรรลุเปาู หมายของหลักสูตรการศึกษาปฐมวยั - สถานศกึ ษาบางแหง่ ไมม่ คี รปู ระจา การผ้สู อนระดบั ปฐมวยั สถานศึกษาต้องใช้งบประมาณ ของสถานศกึ ษาจ้างครูผู้สอน/ครูพ่เี ลยี้ ง - โรงเรยี นขนาดเล็กไม่มสี ือ่ ที่เพียงพอเหมาะสมกบั การส่งเสริมพฒั นาการ ทาให้การจัด ประสบการณ์ไม่เช่อื มโยงและไมต่ อบสนองพัฒนาการได้อย่างสมดุล - เกณฑม์ าตรฐานวชิ าเอกที่กาหนดใหม้ ี ในสถานศกึ ษา ตามหลกั เกณฑ์ที่ ก .ค.ศ. กาหนด นนั้ ไม่สามารถทจ่ี ะการแก้ไขปัญหาครขู าด ครไู มค่ รบชน้ั ได้ เนื่องจากหลกั เกณฑน์ ใี้ ช้จานวนนักเรียนเป็น ตัวกาหนดในอัตรา นกั เรียน 20 คน ต่อครู 1 คน ทาให้โรงเรียนขนาดเลก็ ทุกโรงเรยี นจึงมีครูไม่ครบชัน้ 3. ข้อเสนอแนะ - ระดบั ชนั้ อนบุ าลควรมคี รผู สู้ อนประจาการอย่างน้อย 1 คน (กรณีโรงเรียนขนาดเล็ก) - โรงเรียนอนุบาลประจาเขตพน้ื ท่ี/ประจาอาเภอ ตอ้ งมีครผู ู้สอนปฐมวยั ครบชน้ั เนอื่ งจาก จานวนนักเรียนมีมาก - การจัดหา จัดจา้ งครู/บุคลากรที่ไม่เหมาะสมมาสอนระดับปฐมวัย เช่น มอี ายมุ าก หรือไมม่ ี วุฒภิ าวะทางอารมณ์ที่เหมาะสมมาดแู ลเด็ก สง่ ผลกระทบตอ่ พฤติกรรมและความเชอ่ื ม่นั ในตนเองของเด็กและ คุณภาพการสอน - จัดสรรอัตรากาลังครผู ู้สอนปฐมวัยทกุ โรงเรียน - จดั สรรสือ่ อปุ กรณ์ท่ีสง่ เสริมพฒั นาการเด็กอย่างเพยี งพอ และท่ัวถงึ - สนับสนนุ ทุนวจิ ยั การสร้างและผลิตสือ่ นวตั กรรมเพ่อื เสริมสร้างพฒั นาการเดก็ ปฐมวยั - โรงเรยี นท่เี ปิดสอนระดบั ปฐมวยั ควรใหค้ วามสาคัญและเอาใจใส่ในการจดั การศกึ ษาปฐมวัย เป็นพิเศษ เพ่ือใหเ้ ดก็ เติบโตอย่างมคี วามพรอ้ มอย่างสมบูรณ์ - ก.ค.ศ. ควรปรบั ปรุง แกไข ระเบียบ กฎหมายทเ่ี ก่ียวข้องให้มีความชดั เจน เป็นรปู ธรรม ทสี่ ามารถปฏิบตั ิได้ เพอื่ แกป้ ญั หาการขาดแคลนครู และครูไม่ครบวชิ าเอก

21 ต้นแบบหรอื แบบอย่างทีด่ ี Best Practice 3 ลาดบั แรก (ถา้ ม)ี รายชื่อ ที่ตงั้ โครงการ/กิจกรรมและรายละเอียด สถานศกึ ษา สถานศกึ ษา ของต้นแบบหรือแบบอยา่ งที่ดี โรงเรียนบา้ นปงสนุก ตาบลเวยี งเหนอื 1. การจัดทาหลักสตู รสถานศึกษาบรู ณาการ อาเภอเมอื งลาปาง กิจกรรมหลกั 6 กิจกรรม จงั หวดั ลาปาง 2. โครงการบา้ นนักวิทยาศาสตร์นอ้ ยฯ 3. จัดประสบการณท์ ีเ่ น้น Active Learning 4. STEM Education โรงเรียนกอรวกพทิ ยาสรรค์ ตาบลจางเหนอื 1. การจดั ทาหลักสูตรสถานศกึ ษา/ อาเภอแม่เมาะ 2. การจดั กิจกรรมบรู ณาการ 6 กจิ กรรม จงั หวัดลาปาง 3. กิจกรรมสร้างสรรค์ ฉีก ตดั ปะ กระดาษ 4. โครงการบา้ นนกั วทิ ยาศาสตร์นอ้ ยฯ โรงเรยี นบา้ นสนั ตาบลปงยางคก 1. การจัดทาหลักสตู รสถานศึกษา อาเภอห้างฉัตร 2. โครงการบา้ นนกั วิทยาศาสตรน์ ้อยฯ จังหวัดลาปาง 3. การสง่ เสริมการอ่าน

22 4.3 การส่งเสรมิ เดก็ ปฐมวัยสขุ ภาวะ และโภชนาการ ตัวชีว้ ัดการตรวจราชการฯ ท่ี 30 จานวนเด็กปฐมวยั ทม่ี ีสขุ ภาวะและโภชนาการสมวัยตามเกณฑ์ มาตรฐาน ตารางที่ 30 แสดงจานวนเด็กปฐมวัยท่ีมีสขุ ภาวะและโภชนาการสมวยั ตามเกณฑ์มาตรฐาน ภาวะโภชนาการ หนว่ ยงาน นา้ หนกั ต่อส่วนสงู สว่ นสงู ต่ออายุ น้าหนกั ตอ่ สว่ นสงู น้าหนกั ตอ่ ส่วนสูง น้าหนักต่อส่วนสงู ไมม่ ีภาวะ ตา่ กว่าเกณฑ์ ตา่ กว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์ ต่ากว่าเกณฑ์ เกินเกณฑ์และสว่ นสูง ทพุ โภชนาการ และส่วนสงู ต่ออายุต่ากว่า ต่ออายุ เกณฑ์ ต่ากวา่ เกณฑ์ สพป.ลาปาง (ผอม) (เต้ีย) (เริ่มอว้ น + อว้ น) (ผอมและเตย้ี ) (อว้ นและเตี้ย) เขต 1 317 200 281 183 77 2561 3,619 ขอ้ มูล ณ วันที่ 10 พฤศจกิ ายน 2562 ตามระบบ School Lunch System 1. ผลการดาเนินงานส่งเสรมิ เดก็ ปฐมวัยสุขภาวะ และโภชนาการ สานกั งานเขตพน้ื ทก่ี ารศึกษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต1 มีนกั เรียนปฐมวัย ทั้งหมด จานวน 3,619 คน 1. มีนักเรียนน้าหนักต่อส่วนสูงต่ากว่าเกณฑ์มาตรฐาน (ผอม) จานวน 317 คน 2. มนี ักเรยี นสว่ นสูงต่ออายตุ า่ กว่าเกณฑ์มาตรฐาน (เตี้ย) จานวน 200 คน 3. มนี กั เรียนนา้ หนกั ต่อส่วนสูงเกินเกณฑ์ (เร่มิ อว้ น + อว้ น) จานวน 281 คน 4. มนี ักเรียนนา้ หนกั ต่อสว่ นสูงตา่ กว่าเกณฑแ์ ละสว่ นสงู ตอ่ อายตุ า่ กวา่ เกณฑ์ (ผอมและเต้ีย) จานวน 183 คน 5. มีนกั เรยี นน้าหนักตอ่ สว่ นสงู เกินเกณฑแ์ ละสว่ นสูงตอ่ อายุตา่ กว่าเกณฑ์ (อว้ นและเตีย้ ) จานวน 77 คน 6. มีนกั เรยี นไมม่ ภี าวะทุพโภชนาการ จานวน 2,561 คน 2. ปญั หาและอปุ สรรค - ปญั หาในการกรอกข้อมูลสขุ ภาวะและโภชนาการ คอื การออกแบบตัวช้วี ดั ไมเ่ หมือนกันกับ การกรอกข้อมูลในระบบ School Lunch System หากใหโ้ รงเรยี นกรอกใหม่ ก็จะเป็นการทางานทซ่ี ้าซ้อน หลายรอบ – เดก็ ไมไ่ ด้อยูก่ บั พอ่ แมจ่ ึงขาดการดแู ลเอาใจใสท่ างด้านสุขภาวะและดา้ นโภชนาการอย่างถกู ต้อง สมวยั - เครอื่ งชัง่ ของโรงเรยี นบางแห่งไมไ่ ด้มาตรฐาน

23 3. ข้อเสนอแนะ - การออกแบบติดตามงานสขุ ภาวะและโภชนาการสมวยั ตามเกณฑ์มาตรฐาน ควรออกแบบการ กรอกข้อมลู ใหเ้ หมือนกับการกรอกขอ้ มูลในระบบ School Lunch System ซ่งึ ทกุ โรงเรยี นได้ดาเนินการอยู่ แล้ว - ควรจัดใหม้ กี ารอบรมการเล้ียงดเู ดก็ เร่ืองสุขภาวะโภชนาการที่เหมาะสมกับวยั ของเด็กแก่ ผู้ปกครอง - เสนอให้โรงเรยี นประสานใช้เครื่องชงั่ วัดจากโรงพยาบาลสง่ เสริมสขุ ภาพตาบล 4. ตน้ แบบหรือแบบอย่างท่ดี ี (Best Practice) 3 ลาดบั แรก (ถ้าม)ี รายชอ่ื สถานศึกษา ที่ตั้งสถานศึกษา โครงการ/กจิ กรรมและรายละเอียด บา้ นหมากหวั วงั ของต้นแบบหรือแบบอยา่ งท่ีดี ตาบลบญุ นาคพฒั นา อาเภอเมืองลาปาง - รางวลั มาตรฐานโรงเรยี นต้นแบบอาหาร จังหวัดลาปาง กลางวนั “ด”ี ระดบั ประเทศ ปี 2561 - รางวัล อย.น้อย ระดบั ดเี ยย่ี ม ปี 2561 นิคมสรา้ งตนเองก่วิ ลม 1 ตาบลนคิ มพฒั นา - รางวัลชนะเลิศการประกวดกิจกรรม อาเภอเมืองลาปาง แปรงฟนั คณุ ภาพในโรงเรียน ปี 2562 จงั หวัดลาปาง - โรงเรยี นตน้ แบบนกั เรียนไทยสุขภาพดี รุ่นท่ี 6 ปกี ารศกึ ษา 2562 ประเมินเมื่อ วนั ที่ 9 มกราคม 2563 (อยูร่ ะหว่างรอ ผลการประเมนิ ) - รางวลั อย.นอ้ ย ระดับ ดเี ย่ยี ม ปี 2561 - รางวัลมาตรฐานโรงเรยี นต้นแบบอาหาร กลางวัน “ด”ี ระดบั ประเทศ ปี 2562 - โรงเรียนต้นแบบนกั เรยี นไทยสขุ ภาพดี รุน่ ที่ 6 ปีการศกึ ษา 2562 ประเมนิ เมอ่ื วนั ที่ 9 มกราคม 2563 (อยรู่ ะหว่างรอ ผลการประเมนิ ) - รางวัลประกวดเต้นประกอบเพลง สง่ เสริมการแปรงฟัน (อยรู่ ะหว่างรอ ประกาศ)

5.การรปรบั สมดุลและการบรหิ ารจดั การภาครัฐ ประเดน็ การตรวจราชการและการตดิ ตามประเมินผล 5.1 โครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรยี นคณุ ภาพ ตวั ชวี้ ัดการตรวจราชการฯ ที่ 32 รอ้ ยละของสถานศึกษาได้มกี ารพัฒ ตวั ชว้ี ัดการตรวจราชการฯ ที่ 33 ร้อยละของสถานศึกษาไดม้ ีการพัฒ ตัวชี้วดั การตรวจราชการฯ ที่ 34 ร้อยละของสถานศกึ ษาไดม้ ีการ ผเู้ รยี น ตารางท่ี 32 แสดงจานวนและร้อยละของโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบลทมี่ กี าร ดา้ นส่งเสริมการศึกษา และด้านการมีสว่ นรว่ มของเอกชน บ้าน วดั จานวน ด้านโครงสร้าง จานวนและรอ้ ยละของโรงเรียนคณุ ภาพปร โรงเรียน พน้ื ฐาน ดา้ นสง่ เส คุณภาพ ประจา ทกั ษะวชิ าการ ทักษะอาชีพ ทกั ตาบล สังกัด ท้งั หมด จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน (1) ปกี ารศึกษา (3) (4) (5) (6) (7) (8) (9) 2562 สพป. 7 18.42 38 100 38 100 38 ลาปาง 1 (2) 38

ฒนาด้านโครงสรา้ งพน้ื ฐานของสถานศึกษาให้เอ้อื ต่อการเรียนรู้ของผู้เรยี น ฒนาด้านส่งเสรมิ การศึกษาของสถานศกึ ษาให้เอือ้ ตอ่ การเรียนรู้ของผู้เรยี น รพัฒนาด้านการมีสว่ นร่วมของเอกชน บา้ น วดั รฐั โรงเรียนทส่ี ่งเสรมิ การเรยี นรขู้ อง รพัฒนาสถานศึกษาให้เอือ้ ต่อการเรยี นรู้ของผ้เู รียนด้านโครงสรา้ งพ้ืนฐาน ด รัฐ โรงเรียน ระจาตาบลท่มี กี ารพัฒนาสถานศกึ ษาใหเ้ อ้อื ตอ่ การเรียนรขู้ องผเู้ รียน สรมิ การศกึ ษา ด้านการมีสว่ นร่วม สถานศกึ ษา กษะชวี ติ ภาษา ICT ของเอกชน บ้าน มีการพฒั นา วัด รัฐ โรงเรยี น ครบทง้ั 3 ดา้ น น รอ้ ยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ จานวน ร้อยละ (10) (11) (12) (13) (14) (15) (16) (17) (18) 100 38 100 38 100 38 100 7 18.42 24

25 1. ผลการดาเนนิ การโครงการ 1 ตาบล 1 โรงเรียนคุณภาพ โรงเรยี นในสังกดั สานกั งานเขตพ้นื ทกี่ ารศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 มีโรงเรียนเขา้ รว่ มโครงการ โครงเรียนคุณภาพประจาตาบล จานวน 38 โรงเรียน โรงเรยี นท่ีมีครูครบช้ัน จานวน 18 โรงเรียน คิดเป็นรอ้ ยละ 47.37 โรงเรียนทมี่ ีครคู รบวิชาเอก จานวน 7 โรงเรยี น คดิ เปน็ รอ้ ยละ 18.42 โรงเรียนท่ีมคี รูครบวิชาชีพหรอื วชิ าเฉพาะดา้ นท่ีมีการจดั การเรยี นการสอน จานวน 7 โรงเรยี น คิดเปน็ ร้อยละ 18.42 โรงเรียนที่มีความพร้อมทง้ั 3 ดา้ น จานวน 7 โรงเรยี น คิดเป็นรอ้ ยละ 18.42 2. ปัญหาและอปุ สรรค โรงเรยี นในโครงการโรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบลมีความต้องการในการพัฒนาอีกหลายดา้ น แต่การ สนับสนุนจากหนว่ ยงานต้นสงั กดั ยงั ไมต่ อบสนองความตอ้ งการของโรงเรยี นในโครงการฯ 3. ข้อเสนอแนะ หน่วยงานต้นสังกดั ฯ ควรสนับสนุนงบประมาณในการพัฒนาโรงเรียนในโครงการฯ ใหต้ รงกับความ ตอ้ งการของสถานศกึ ษา 4. ตน้ แบบหรอื แบบอยา่ งที่ดี (Best Practice) 3 ลาดบั แรก (ถ้าม)ี รายชือ่ สถานศึกษา ท่ีต้งั สถานศึกษา โครงการ/กิจกรรมและรายละเอยี ด โรงเรยี นอนุบาลลาปาง ของตน้ แบบหรอื แบบอย่างทด่ี ี (เขลางค์รัตน์อนสุ รณ์) ตาบลเวยี งเหนอื อาเภอเมอื งลาปาง -โรงเรยี นมาตรฐานสากล โรงเรียนชุมชนบ้านฟุอน จังหวดั ลาปาง -โรงเรยี นคณุ ภาพประจาตาบล -โรงเรยี นสจุ รติ โรงเรยี นอนุบาลแม่เมาะ ตาบลชมพู -สถานศกึ ษาพอเพียง อาเภอเมืองลาปาง -ลดเวลาเรยี น เพ่ิมเวลารู้ ที่เปน็ รปู ธรรม จังหวัดลาปาง -โรงเรยี นสีเขยี ว -โรงเรียนตน้ แบบการจดั การสหกรณ์ ตาบลแมเ่ มาะ -สถานศกึ ษาสขี าว อาเภอแมเ่ มาะ -โรงเรยี นตน้ แบบอาเซียน จงั หวัดลาปาง -โรงเรยี นคาร์บอนตา่ -สถานศึกษาพอเพยี ง -โรงเรยี นวิถพี ุทธชั้นนา -โรงเรยี นคุณธรรม/-โรงเรียนสขี าว -เครอื ข่ายโรงเรียนสุจริต -การจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษ

ภาคผนวก

คณะผ้จู ดั ทาเอกสาร ที่ปรึกษา รองผ้อู านวยการสานกั งานเขตพน้ื ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 รองผู้อานวยการสานักงานเขตพื้นทีก่ ารศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 1. นางวรางคณา ไชยเรอื น รองผู้อานวยการสานกั งานเขตพื้นท่ีการศกึ ษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 2. นายสมคิด ธรรมสทิ ธ์ิ 3. นายสมบรู ณ์ สนั ชุมภู ผู้สนบั สนุนข้อมลู บคุ ลากรสานักงานเขตพืน้ ที่การศกึ ษาประถมศกึ ษาลาปาง เขต 1 ตามคาส่งั สานักงานเขตพนื้ ที่ การศึกษาประถมศึกษาลาปาง เขต 1 ท่ี 57/2563 ลงวนั ท่ี 21 กุมภาพันธ์ 2563 คณะผ้จู ัดทาเอกสาร ผอู้ านวยการกลุ่มนโยบายและแผน นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการพเิ ศษ 1. นางชีวพร สุรยิ ศ นักวิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ 2. นางสมศรี ต้นโนนเชียง นกั วิเคราะหน์ โยบายและแผนชานาญการ 3. นางพวงสรอ้ ย ณรงค์ธุวพนั ธ์ นักวชิ าการคอมพิวเตอร์ชานาญการ 4. นางสาวสุดากานต์ ไชยรงุ่ เรอื ง เจา้ พนกั งานธุรการชานาญงาน 5. นายธนพฒั น์ ชนุ ณวงษ์ พนักงานบนั ทกึ ขอ้ มูล 6. นางจรรยา คาโพธิ์ อตั ราจ้าง 7. นางสภุ าณี ฟงั อารมณ์ 8. นางสาวอรพินท์ ทาเครอื


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook