Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ต.ย โครงร่างวิจัย CIPPA 1-3_มค.63

ต.ย โครงร่างวิจัย CIPPA 1-3_มค.63

Published by Basim Hasamoh, 2020-11-25 15:36:27

Description: ต.ย โครงร่างวิจัย CIPPA 1-3_มค.63

Search

Read the Text Version

การเปรยี บเทยี บผลสัมฤทธ์ทิ างการเรียนรายวชิ าคณิตศาสตรข์ องผเู้ รยี น ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 โรงเรยี นเทศบาล 5 (อาคารสลากกนิ แบ่งรัฐบาล) จงั หวัดปัตตานี ก่อนและหลงั การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซปิ ปา ช่ือผู้วจิ ัย รายงานวจิ ัยในชัน้ เรียนนี้ เป็นสว่ นหน่งึ ของรายวิชา ...... ภาคการศึกษาท่ี.... ปกี ารศึกษา.... คณะศึกษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั สงขลานครินทร์ ปตั ตานี

บทคดั ยอ่

Abstract

สารบญั

บทท่ี 1 บทนา ความเป็นมาและความสาคญั ของปญั หา ปจั จุบันสังคมไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงไปอยา่ งรวดเร็ว สืบเนอื่ งมาจากความเจริญก้าวหนา้ ของ วิทยาการต่างๆ โดยสังคมไทยได้กลายเป็นสังคมท่ีใช้วิทยาศาสตร์เทคโนโลยี และเป็นสังคมของข้อมูล ข่าวสารหรือสังคมสารสนเทศมากขึ้น การศึกษาจึงเป็นเคร่ืองมือสาคัญในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เป็นพื้นฐานอันสาคัญของการพัฒนาประเทศ ระบบการศึกษาปัจจุบันช่วยพัฒนามนุษย์ให้เป็นผู้ที่มี ความรู้ ความสามารถ รู้จักติดตามข้อมูล ข่าวสาร วิทยาการใหม่ ๆ รู้เท่าทันการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ที่ เกิดข้ึนอย่างรวดเร็วและหลากหลาย รู้จักคิดวิเคราะห์ ตัดสินใจ ให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ มีความคิด สร้างสรรคแ์ ละใฝ่รู้ใฝ่เรียน คณิตศาสตร์มบี ทบาทสาคัญย่ิงต่อการพัฒนาความคดิ ของมนุษย์ ทาใหม้ นษุ ย์ มีความคิดสร้างสรรค์ คิดอย่างมีเหตุผล เป็นระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและ สถานการณ์ตา่ ง ๆ ได้อย่างถถี่ ้วน รอบคอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสนิ ใจและแกป้ ัญหาได้ อย่างเหมาะสม คณิตศาสตร์ยังช่วยพัฒนามนุษย์ให้สมบูรณ์ มีความสมดุลท้ังทางร่างกาย จิตใจ สติปัญญา และอารมณ์ สามารถคิดเป็น ทาเป็น แก้ปัญหาเป็น และสามารถอยู่ร่วมกับผู้อ่ืนได้อย่างมี ความสขุ (กรมวชิ าการ, 2544) กรมวิชาการ (2545 : 1) ได้กล่าวถึงความสาคัญของคณิตศาสตร์ดังนี้ คณิตศาสตร์เป็นวชิ าที่มี บทบาทสาคัญยิ่งต่อการพัฒนาความคิดของมนุษย์ทาให้มนุษย์มีความคิดสร้างสรรค์สามารถคิดอย่างมี เหตุผล เป็น ระบบ ระเบียบ มีแบบแผน สามารถวิเคราะห์ปัญหาและสถานการณ์ได้อย่างถี่ถ้วนรอบ ครอบ ทาให้สามารถคาดการณ์ วางแผน ตัดสินใจแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้องเหมาะสม คณิตศาสตร์เป็น เคร่ืองมือในการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีตลอดจนศาสตร์อื่นๆท่ีเกี่ยวข้องคณิตศาสตร์ จึงมี ประโยชน์ต่อการดารงชีวิต และพัฒนาคุณภาพชีวิตให้ดีข้ึนนอกจากน้ีสาระวิชาคณิตศาสตร์ ยังช่วย พัฒนามนุษย์ให้สมบูรณ์มีความสมดุลทางร่างกาย จิตใจ สตปิ ัญญาและอารมณ์ สามารถคิดเป็นทาเป็น ปัญหาเปน็ สามารถอยู่รว่ มกับผู้อ่นื ได้อย่างมีความสขุ ดังนั้นจึงสรุปได้ว่าวิชาคณิตศาสตร์มีบทบาทสาคัญในการดารงชีวิตของมนุษย์ เพราะ คณิตศาสตร์เกี่ยวข้องทั้งระบบ ด้านพัฒนาการคิดของมนุษย์ และเก่ียวข้องกับกิจกรรมประจาวันของ มนุษยอ์ ีกด้วย คณิตศาสตร์จึงเป็นศาสตร์ที่สาคัญยิ่งในการจัดการศึกษาและยังเปน็ พื้นฐานในการศึกษา ขั้นสูง และวิทยาการสาขาต่างๆ และความเจริญก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ล้วนแต่ อาศัยความรูท้ างคณติ ศาสตร์ ในปัจจุบันช้นั เรยี นท่ผี ู้สอนพบว่าผู้เรยี นสว่ นมากไม่ประสบผลสาเรจ็ ในการเรียนคณิตศาสตร์ ซ่ึง ส่วนใหญ่เกิดจากครผู ู้สอนทีใ่ ช้วิธกี ารสอนแบบเก่า ซง่ึ เป็นวธิ ีการสอนแบบบรรยายหน้าชั้นเรียนเป็นหลัก ครูเป็นผู้กาหนดรูปแบบการเรียนโดยเน้นเนื้อหาเป็นศูนย์กลางไม่คานึงถึงผู้เรียน และความแตกต่าง ระหว่างบุคคล จึงทาให้ผู้เรียนไม่ให้ความสนใจในการเรียนเท่าท่ีควรและมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนใน รายวิชาคณิตศาสตร์ท่ีค่อนข้างต่า เพราะการสอนในรูปแบบเดิม ทาให้ผู้เรียนเกิดความเบ่ือหน่าย ไม่

อยากเรียน ทง้ั นีเ้ น่ืองจากการสอนแบบบรรยายเนน้ ครเู ป็นผู้ถา่ ยทอดความร้ใู หแ้ ก่ผูเ้ รียนเพยี งอยา่ งเดยี ว เปน็ วิธีทเี่ อือ้ ประโยชน์แก่ผู้เรยี นบางกลุ่มเท่านั้น ดังนั้นการจดั การเรียนรู้ควรเป็นไปในรปู แบบท่ีแตกต่าง ไปจากการสอนแบบบรรยายบ้าง เพือ่ ใหผ้ ู้เรียนเกิดการเรียนรูด้ ้วยตัวเอง เกิดความสนใจและตอ้ งการที่ จะเรียนรู้เพิ่มมากขึ้น ครูจึงจาเป็นต้องพัฒนาหรือปรับเปล่ียนรูปแบบการสอนเพื่อให้การจัดการเรียน การสอนเป็นไปอยา่ งมปี ระสทิ ธิภาพ ซึ่งจะสง่ ผลให้ผู้เรียนมีการพัฒนาเป็นไปตามจุดประสงค์ท่กี าหนดไว้ และมผี ลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนในรายวชิ าคณติ ศาสตรท์ พ่ี ัฒนาเพ่ิมขน้ึ (อาภรณ์ ใจเทยี่ ง, 2552) การจัดการเรียนการสอนแบบซิปปา (CIPPA MODEL) ก็เป็นอีกรูปแบบหนึ่งที่สามารถพัฒนา ผู้เรียนให้มีความสามารถในการสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง และมีผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนท่ีพัฒนา เพ่ิมขึ้น โดยที่เน้นผู้เรยี นเป็นสาคัญซ่ึงมีหลักดังน้ี คือ 1. การให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ได้ดว้ ยตัวเอง 2. การให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์ต่อกัน 3. การให้ผู้เรียนมีบทบาทและส่วนร่วมในการเรียนรู้ให้มากท่ีสุด 4. การให้ผู้เรียนได้เรียนรู้กระบวนการ และ 5. การให้ผู้เรียนสามารถนาความรู้ท่ีได้ไปประยุกต์ใช้ใน ชีวติ ประจาวนั (ทิศนา แขมมณี, 2545) จากการศึกษาการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปา นับได้ว่าเป็นรูปแบบการสอนท่ีมี ประสิทธิภาพอีกวิธีหนึ่ง ซ่ึงน่าจะใช้เป็นแนวทางในการแก้ปัญหาการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ได้ โดยผู้วิจัยได้นามาใช้กับผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีที่ 4โรงเรียนเทศบาล 5 (อาคารสลากกินแบ่งรัฐบาล) จงั หวัดปัตตานี เร่ือง โจทยก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน ซ่ึงเป็นเน้ือหาที่มีความเหมาะสม เพ่ือใช้ในการ วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ และเพ่ือเป็นแนวทางในการจัดการเรียนการสอนในวิชา คณิตศาสตร์ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด ตลอดจนให้ผู้เรียนได้มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในรายวิชา คณิตศาสตรเ์ พ่ิมขึ้นด้วย วัตถุประสงคก์ ารวิจัย 1.เพื่อเปรียบเทยี บผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี นรายวชิ าคณติ ศาสตรข์ องผ้เู รียนก่อนและหลังการ จดั การเรียนร้โู ดยใช้รูปแบบซปิ ปา 2. เพอื่ ศกึ ษาความพึงพอใจของผู้เรยี นต่อการจัดการเรียนร้โู ดยใชร้ ปู แบบซิปปา

สมมติฐานการวิจยั ทิศนา แขมมณี (2543:17) รองศาสตราจารย์ ประจาคณะครศุ าสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ได้พัฒนารูปแบบน้ีข้ึนจากประสบการณ์ท่ีได้ใช้แนวคิดทางการศึกษาต่างๆในการ สอนมาเป็นเวลา ประมาณ 30 ปี และพบว่าแนวคิดจานวนหนึ่งสามารถใช้ได้ผลดีตลอดมา แนวคิดเหล่าน้ันเม่ือนามา ประสานกัน ทาให้เกิดเป็นแบบแผนขึ้น แนวคิดดังกล่าว ได้แก่ (1) แนวคดิ การสร้างความรู้ (2) แนวคิด เก่ียวกับกระบวนการกลุ่มและการเรียนรูแ้ บบร่วมมือ (3) แนวคดิ เกี่ยวกับความพร้อมในการเรียนรู้ (4) แนวคดิ เกี่ยวกบั การเรยี นร้กู ระบวนการ และ (5) แนวคดิ เกีย่ วกับการถา่ ยโอนการเรียนรู้ แนวคดิ ทั้ง 5 เป็นท่ีมาของแนวคิด \"CIPPA\" ในการจดั กิจกรรมการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดการ เรียนร้สู ูงสุด โดยการให้ผู้เรยี นเป็นผู้สรา้ งความรู้ดว้ ยตนเอง (C = Construction of knowledge) และ มีการปฏิสัมพันธ์ ( I = interaction) กับเพ่ือน บุคคลอื่นๆ และสิ่งแวดล้อมรอบตัวหลายด้านโดยใช้ ทักษะกระบวนการ (P = process skills) ต่างๆจานวนมากในการสร้างความรู้ เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้ พัฒนาทักษะกระบวนการและเรียนรู้สาระในแง่มุมที่ กว้างข้ึน ซึ่งจะเกิดข้ึนได้หากผู้เรียนอยู่ในสภาพ ความพร้อมในการรับรู้และการเรียนรู้ มีประสาทการรับรู้ที่ตื่นตัว ไม่เฉ่ือยชา และสิ่งท่ีสามารถทาให้ ผู้เรียนอยู่ในสภาพดังกล่าวได้ก็คือ การให้ผู้เรียนมีการเคลื่อนไหวทางกาย (P = physical participation) อย่างเหมาะสม กิจกรรมที่หลากหลาย ทาให้ผู้เรียนตื่นตัวอยู่เสมอ จึงสามารถทาให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้แต่เรียนรู้น้ันจะมีความหมายต่อตนเองและความเข้าใจ จะมีความลึกซึ้งและ คงทนอยู่มากเพยี งใดนั้นต้อง อาศัยการถ่ายโอนการเรียนรู้ หากผู้เรยี นมีการนาความรู้นั้นไปประยุกต์ใช้ (A = application ) ในสถานการณ์ทหี่ ลากหลายความรู้นั้นก็จะเป็นประโยชน์และมคี วามหมายมากขึ้น ด้วยแนวคิดดงั กล่าว จงึ เกิดแบบแผน \"CIPPA\" ขนึ้ ซงึ่ ผูส้ อนสามารถนาแนวคิดทง้ั 5 ดังกลา่ วไปใช้ในการ จดั กิจกรรมการเรียนการสอนโดยยดึ ผู้เรยี นเปน็ ศูนย์กลางใหม้ คี ณุ ภาพได้ จากการศึกษางานวิจัยท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปา ของ อารีย์วรรณ กันตา (2556:27) พบวา่ ผลสัมฤทธ์กิ ารเรยี นรายวชิ าแคลคลู ัส 1 เรอ่ื ง ลิมติ และความต่อเนื่องของฟังก์ชันโดยใช้ รูปแบบการสอนแบบซิปปา สาหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 1 สาขาวิชาคณิตศาสตร์ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบูรณ์ภายหลังการสอนโดยใช้เทคนิคซิปปาสูงกว่าก่อนการสอน เช่นเดียวกับ ผลงานวิจัยของ รชาดา บัวไพร(2552:61) ที่พบว่า ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและเจตคติทางวทิ ยาศาสตร์ ของผเู้ รียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 สงู กวา่ ผเู้ รียนทีส่ อนแบบปกติ จากแนวคิดและผลงานวิจัยที่ผ่านมาจะเห็นว่า การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปาช่วยให้ ผู้เรียนมคี วามเข้าใจเน้ือหาน้ันๆอย่างแท้จรงิ เน่ืองจากผู้เรยี นได้เรียนรู้ไดม้ ีโอกาสได้ด้วยตัวเอง ผู้เรียนมี ส่วนร่วมในกิจกรรมน้ัน ท้ังทางร่างกาย สติปัญญา สังคมและอารมณ์ ในการวิจัยครั้งนี้คณะผู้วิจัยสนใจ นาการจัดการเรียนรู้รปู แบบซิปปามาใช้ในการสอนเพื่อให้ผูเ้ รยี นมีผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนของผ้เู รียนชั้น ประถมศึกษาปีท่ี 4 โรงเรียนเทศบาล 5 (อาคารสลากกินแบ่งรัฐบาล)จงั หวัดปัตตานีที่ดีข้นึ โดยกาหนด สมมตฐิ านวจิ ยั ดังนี้ 1.หลังใช้การจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาผู้เรียนมีคะแนนเฉลี่ยผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนใน รายวชิ าคณติ ศาสตร์สงู กว่าก่อนใช้ 2. ผเู้ รียนมีความพงึ พอใจต่อการใช้การจดั การเรยี นรู้โดยใชร้ ูปแบบซิปปาอยใู่ นระดบั มาก

ขอบเขตการวจิ ัย การวจิ ัยคร้งั นี้ มุ่งพฒั นาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผ้เู รียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 4 โรงเรยี นเทศบาล 5 (อาคารสลากกินแบ่งรัฐบาล) จงั หวดั ปตั ตานี คณะผู้วิจยั ได้นาการจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบซิปปามา ใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เพ่ือใหผ้ ู้เรียนไดเ้ รยี นรู้ในรูปแบบใหม่ทแี่ ตกตา่ ง ไปจากแบบเดิม โดยมุ่งเน้นให้ผู้เรียนศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง มีส่วนร่วมในการสร้าง ความรู้ มีปฏิสัมพันธ์กับผู้อ่ืนและสามารถแลกเปล่ียนความรู้ระหว่างกล่มุ การได้เคล่ือนไหว การเรียนรู้ กระบวนการต่างๆ และนาความรู้ทางทฤษฎีไปประยุกต์ใชใ้ นสถานการณ์ตา่ งๆในชีวติ ประจาวนั ได้ ทั้งน้ี เพื่อให้ผู้เรียนมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น เรียนรู้ด้วยความเข้าใจ และได้เรียนรู้ทักษะและพัฒนา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์การจัดการเรียนการสอนท่ีเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นรูปแบบ การจดั กิจกรรมการเรียนการสอน ท่มี ุ่งเนน้ ให้ผู้เรยี นศึกษาค้นควา้ รวบรวมข้อมูลด้วยตนเอง การมีส่วน ร่วมในการสร้างความรู้ การมีปฏสิ ัมพันธ์กับผู้อ่ืน และการแลกเปลี่ยนความรู้ การได้เคล่ือนไหวทางกาย การเรียนรกู้ ระบวนการต่าง ๆ และการนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ ตลอดจนเสริมสร้างทัศนคติที่ดีต่อการ เรยี นคณติ ศาสตรแ์ กผ่ ู้เรยี นซึ่งในการจดั การเรียนรู้ในรูปแบบซิปปาจะประกอบไปด้วย 7 ข้ันตอน ได้แก่ ขั้นท่ี 1 ผวู้ จิ ัยทบทวนความร้เู ดิมที่ผเู้ รียนได้เรียนมา ข้นั ท่ี 2 ผวู้ ิจยั เตรยี มความรูใ้ หมม่ าให้ผู้เรยี น ข้นั ที่ 3 ให้ผ้เู รยี นทาความเข้าใจความรู้ใหม่ และเชื่อมโยงความรู้ใหมก่ ับความรู้เดิม โดยทางผู้วจิ ยั จะ ให้ผ้เู รียนใชก้ ระบวนการคดิ เพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ ข้ันท่ี 4 ผู้วิจัยให้ผู้เรียนแบ่งกลุ่ม เพ่ือใช้กระบวนการกลุ่มเป็นเคร่ืองมือในการตรวจสอบความรู้ รวมท้ังขยายความรคู้ วามเข้าใจของผู้เรยี นใหก้ ว้างขึน้ ขน้ั ท่ี 5 ผู้วิจัยให้ผู้เรียนสรปุ ประเด็นสาคัญ โดยใหผ้ ู้เรียนจดเปน็ โครงสรา้ งความรู้ ซ่งึ จะชว่ ยให้จดจา ข้อมูลได้ง่าย ข้ันท่ี 6 ผู้วิจัยให้ผู้เรียนได้มีโอกาสแสดงผลงานการสร้างความรู้ของตนให้ผู้อ่ืนรับรู้ โดยให้ผู้เรียน นาเสนอความรดู้ ้วยวธิ ีการตา่ งๆตามทผ่ี ู้เรยี นสนใจ ขนั้ ที่ 7 เปน็ การประยุกต์ใช้ความรู้ โดยส่งเสริมให้ผู้เรียนได้ฝึกฝนการนาความรู้ความเขา้ ใจของตน ไปใช้ในสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีหลากหลาย เพมิ่ ความชานาญ ความเข้าใจ ความสามารถในการแก้ปัญหา และความจาในเรื่องนัน้ ๆ เป็นการให้โอกาสผเู้ รียนใช้ความรู้ให้เป็นประโยชน์ เป็นการสง่ เสริมความคิด สรา้ งสรรค์ สาหรับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์จะครอบคลุมเน้ือหาเร่ืองโจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคนในระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี 4 โดยวัดจากแบบทดสอบที่วิจัยได้สรา้ งข้ึน ความพึงพอใจของ ผู้เรยี นทีม่ ีต่อการจดั การเรียนรูแ้ บบซปิ ปา วดั โดยใช้แบบสอบถามทีผ่ ู้วิจัยสร้างขนึ้

กรอบแนวคดิ การวิจยั กรอบแนวคิดในการทาวิจัยในคร้งั นี้ มีตัวแปรต้น คือ การจัดการเรียนรโู้ ดยใชร้ ปู แบบซปิ ปา ตัวแปรตาม คอื ผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนรายวิชาคณติ ศาสตรแ์ ละความพงึ พอใจตอ่ การจัดการเรียนรู้โดย ใช้รูปแบบซิปปา ตัวแปรตน้ ตัวแปรตาม การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซปิ ปา - ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรยี นรายวชิ าคณิตศาสตร์ - ความพงึ พอใจของผูเ้ รียน นยิ ามศพั ท์เฉพาะ 1. การจัดการเรียนรู้โดยใช้รปู แบบซิปปา (CIPPA MODEL) หมายถึง การจัดการเรียนการสอนที่เน้น ให้ผู้เรียนเกิดความคิด สามารถค้นพบความรู้ได้ด้วยตัวเอง มีทักษะและกระบวนการในการเรียนรู้ รวมทั้งเปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมทั้งทางร่างกาย สติปัญญา อารมณ์และสังคม และสามารถนา ความรทู้ ่ีไดไ้ ปประยกุ ต์ใชใ้ นชีวิตประจาวนั ได้ ซึง่ คาว่า CIPPA มคี วามหมาย ดังน้ี C มาจากคาว่า Construct หมายถึง การใหผ้ ู้เรียนสร้างความรไู้ ดด้ ว้ ยตนเอง โดยกระบวนการ แสวงหาข้อมลู ทาความเข้าใจ คดิ วเิ คราะห์ ตีความ แปลความ สร้างความหมาย สังเคราะหข์ อ้ มลู และ สรุปเป็นขอ้ ความรู้ I มาจากคาว่า Interaction หมายถงึ การใหผ้ ู้เรียนมปี ฏสิ ัมพนั ธ์ต่อกัน เรยี นรจู้ ากกนั และกัน แลกเปล่ยี นข้อมูลความคดิ และประสบการณแ์ กก่ ันและกัน P มาจากคาวา่ Physical Participation หมายถึง การใหผ้ ู้เรยี นมสี ่วนรว่ มทงั้ ในด้านรา่ งกาย อารมณ์ ปญั ญา และสังคม ในการเรยี นรูใ้ หม้ ากท่ีสดุ และมีโอกาสเคลื่อนไหวร่างกาย โดยการทา กจิ กรรมในลักษณะต่างๆ P มาจากคาว่า Process Learning หมายถึง การให้ผู้เรียนไดเ้ รยี นรกู้ ระบวนการต่างๆ ซง่ึ เป็น ทกั ษะที่จาเปน็ ต่อการดารงชวี ติ และมผี ลงานจากการเรียนรู้ A มาจากคาวา่ Application หมายถงึ การให้ผู้เรียนนาความรทู้ ี่ได้ไปใช้ในชีวติ ประจาวัน ซงึ่ มี ขั้นตอนการดาเนนิ กิจกรรม 7 ขั้นตอน ดังนี้ (ทิศนา แขมมณี .2545) 1) ขนั้ ทบทวนความร้เู ดิม ข้ันน้เี ปน็ การดึงความร้ขู องผ้เู รยี นในเร่อื งทเ่ี รยี น เพื่อชว่ ยให้ ผูเ้ รยี นมคี วามพร้อมในการเชือ่ มโยงความรู้ใหม่กบั ความรเู้ ดมิ ของตน 2) ขน้ั แสวงหาความรู้ใหม่ ขัน้ น้ีเปน็ ข้ันแสวงหาขอ้ มลู ความรู้ใหม่ ที่ผ้เู รยี นยังไม่มีจาก แหล่งขอ้ มลู หรือแหล่งความรู้ต่างๆ 3) ขั้นการศึกษาทาความเขา้ ใจข้อมลู /ความรู้ใหม่และเชือ่ มโยงความรูใ้ หมก่ บั ความรเู้ ดิม ขน้ั นเี้ ป็น ขนั้ ทผ่ี ู้เรยี นจะตอ้ งศกึ ษา และทาความเข้าใจกบั ข้อมูล/ความรู้ที่หามาได้ ผู้เรียนจะตอ้ งสร้าง ความหมายของข้อมลู /ความรใู้ หมๆ่ โดยใชก้ ระบวนการตา่ งๆด้วยตนเอง

4) ขัน้ แลกเปล่ยี นความรคู้ วามเขา้ ใจกบั กลุ่ม ข้ันนเี้ ป็นขั้นที่ผู้เรยี นอาศยั กลุม่ เปน็ เคร่อื งมอื ในการตรวจสอบ ความรู้ความเข้าใจของตนกบั ผู้อื่น 5) ขัน้ สรุปและจดั ระเบยี บความรู้ ขน้ั น้เี ปน็ ขั้นการสรปุ ความรทู้ ไ่ี ด้รับทัง้ หมด ท้ังความรู้ เดิมและความร้ใู หม่ และจัดส่งิ ท่เี รยี นรู้ใหม้ รี ะบบระเบยี บ 6) ขน้ั การแสดงผลงาน ขนั้ นีเ้ ป็นขั้นทีช่ ่วยใหผ้ เู้ รียนไดม้ ีโอกาสแสดงผลงานการสรา้ ง ความรู้ ของตนให้ผอู้ นื่ รบั รู้ เป็นการช่วยให้ผูเ้ รยี นตอกย้า หรือตรวจสอบความเข้าใจของตน และสง่ เสรมิ ให้ผู้เรียนใช้ความคิดสรา้ งสรรค์ 7) ขนั้ ประยุกตใ์ ช้ความรู้ ข้นั นเี้ ป็นขนั้ ของการสง่ เสริมใหผ้ ู้เรียนได้ฝกึ ฝนการนาความรู้ ความเข้าใจของตนไปใช้ในสถานการณ์ต่างๆ ทห่ี ลากหลาย 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ หมายถึง คะแนนของผู้เรียนท่ีได้จากทา แบบทดสอบผลสัมฤทธท์ิ างการเรียนวชิ าคณิตศาสตร์ที่ผวู้ ิจัยได้สร้างขึ้น ครอบคลมุ เน้อื หาเรื่องโจทย์การ บวก ลบ คณู หาร ระคน ระดับชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 4 มีลักษณะเป็นแบบเลอื กตอบจานวน 20 ขอ้ 3. ความพึงพอใจ หมายถึง เป็นความรู้สึกในทางบวก ความชอบ ความสบายใจ ความสุขใจ ของผเู้ รยี นระดับช้ันประถมศึกษาปีท่ี4 ต่อการใชก้ ารจัดการเรียนรโู้ ดยใช้รปู แบบซิปปา ซ่ึงความพึงพอใจ วัดได้ จากแบบสอบถามที่ผ้วู ิจัยสร้างขึ้น มีลักษณะเปน็ แบบมาตรประมาณค่า (Rating scale 5 ระดับ) จานวน 10 ขอ้ ประโยชนท์ ่คี าดว่าจะไดร้ บั ประโยชน์ของการวิจัยครั้งนที้ าใหท้ ราบวา่ การจัดการเรยี นรู้โดยใช้รูปแบบซปิ ปาสามารถช่วยใน การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผ้เู รียนไดม้ ากนอ้ ยเพียงใด ซ่ึงจะช่วยพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการ เรยี นของผู้เรยี นใหด้ ขี ้นึ และผลวจิ ัยท่ไี ดจ้ ะเปน็ แนวทางในการพัฒนาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนของผ้เู รียน ซ่งึ ครูผูส้ อนสามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดใ้ นการเรียนการสอน และทาวิจยั เพอ่ื พฒั นาผลสัมฤทธ์ิของ ผ้เู รยี น

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยั ที่เกยี่ วข้อง ในการดาเนนิ การวจิ ัยเร่ืองนี้ ผู้วิจยั ไดศ้ กึ ษาเอกสารและงานวจิ ยั ทเ่ี กย่ี วขอ้ ง เพอ่ื ใชเ้ ปน็ แนวทาง ในการดาเนินการวิจัย ดังนี้ 1. การจดั การเรยี นรู้โดยใช้รูปแบบซปิ ปา (CIPPA MODEL) 1.1 ความหมายของการจดั การเรียนรโู้ ดยใชร้ ปู แบบซิปปา (CIPPA MODEL) 1.2 ข้ันตอนของการจัดการเรยี นรู้โดยใช้รปู แบบซปิ ปา (CIPPA MODEL) 1.3 หลักการออกแบบการจดั การเรียนรู้โดยใชร้ ปู แบบซิปปา (CIPPA MODEL) 1.4 ลกั ษณะของการจดั การเรยี นรูโ้ ดยใช้รูปแบบซปิ ปา (CIPPA MODEL) 1.5 บทบาทของครแู ละผู้เรียนในการจดั การเรยี นรู้โดยใชร้ ูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) 1.6 แผนการจดั การเรยี นรู้โดยใชร้ ูปแบบซปิ ปา(CIPPA MODEL) 1.7 การวดั และประเมนิ ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซปิ ปา (CIPPA MODEL) 1.8 ผลทผี่ ู้เรียนจะไดร้ ับจากการเรียนโดยใชร้ ูปแบบซิปปา 2. ผลสมั ฤทธ์ิทางการเรยี น 2.1 ความหมายของผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 2.2 แบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรยี น 2.2.1 ความหมายของแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น 2.2.2 ประเภทของแบบทดสอบวัดผลสมั ฤทธท์ิ างการเรียน 2.2.3 หลักเกณฑ์ในการสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี น 2.2.4 ชนิดของแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี น 3. ความพึงพอใจ 3.1 ความหมายของความพงึ พอใจ 3.2 ทฤษฎเี กี่ยวกบั การสรา้ งความพงึ พอใจ 4. งานวิจัยทเี่ ก่ยี วข้อง

(เพม่ิ รายละเอียดเนือ้ หาต้ังเน้ือหาท่ี 1 ถึงเน้อื หาที่ 3) ในทีน่ ี้ ครูขอขา้ มมาทหี่ ัวข้อท่ี 4 การเขียนงานวิจยั ท่ีเกยี่ วข้อง 4. งานวิจยั ที่เกีย่ วขอ้ ง มนี กั การศกึ ษาหลายท่านไดจ้ ดั ทางานวิจยั เกีย่ วกบั การจัดการเรียนรโู้ ดยใช้รปู แบบซิปปา ซึ่ง คณะผ้วู จิ ยั ได้รวบรวมไวด้ งั ต่อไปน้ี จรินทร์ ขันติพิพัฒน์ (2549) ได้ศึกษาประสิทธิภาพของการจัดการเรียนรู้ การแก้โจทย์ ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามแนวโมเดลซิปปาและเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ในการแก้โจทย์ปัญหา คณิตศาสตร์ ของผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ระหว่างกลุ่มท่ีเรียนโดยแผนการจัดการเรียนรู้ตามแนว โมเดลซิปปา กับแผนการจัดการเรียนรู้ตามปกติ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้เรียนช้ันประถมศึกษาปีท่ี 1 ภาค เรยี นที่ 2 ปีการศึกษา 2546 ของโรงเรยี นบา้ นบางวันและโรงเรยี นบ้านตาหนัง จงั หวัดพงั งา รวมทงั้ ส้ิน 40 คน จดั เปน็ กลุ่มทดลอง และผู้เรยี นโรงเรียนบ้านคุรอด จานวน 40 คน จดั เป็นกลุ่มควบคุม เคร่ืองมือ ทใี่ ช้ในการวิจัยคือ แผนการจดั การเรียนรูก้ ารแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์ตามแนวโมเดลซิปปา ซง่ึ มี กระบวนการเรียนรู้ 7 ข้นั ตอน จานวน 10 แผน โดยมีสถานการณท์ ใี่ ชใ้ นการจัดการเรียนการสอนแตล่ ะ แผน การจัดการเรียนรู้ ดังน้ี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 และ 6 เป็นโจทย์ปัญหาจากภาพ แผนการ จัดการเรยี นรู้ที่ 2 และ 7 เป็นโจทยป์ ญั หาจากคาคล้องจอง แผนการจัดการเรยี นรู้ท่ี 3 และ 8 เปน็ โจทย์ ปัญหาจากนิทาน แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 4 และ 9 เป็นโจทยป์ ัญหาจากสิง่ ทอี่ ยู่ใกล้ตัว แผนการจัดการ เรียนรู้ท่ี 5 และ 10 เป็นโจทย์ปัญหานอกห้องเรียน และแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา คณิตศาสตร์ เรื่อง โจทย์ปัญหาการบวก ลบจานวน จานวน 30 ข้อ มีค่าความเชอ่ื มั่น 0.89 สถิติที่ใช้ใน การทดสอบสมมติฐาน ได้แก่ t-test for one sample, t-test for dependent samples และ t-test for independent samples ผลการวิจัยพบว่า ความสามารถในการแก้โจทย์ปัญหาคณิตศาสตร์ ของ ผเู้ รียนทเ่ี รียนร้ดู ้วยแผนการจัดการเรียนร้ตู ามแนวโมเดลซิปปาสูงกว่าเกณฑ์ร้อยละ 70 ของคะแนนเต็ม และผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์ปัญหาการบวก ลบจานวน ของผูเ้ รียน ท่เี รยี นรู้ ดว้ ยแผนการจัดการเรียนรูต้ ามแนวโมเดลซิปปาหลังเรียนสูงกวา่ ก่อนเรียนและสูงกว่าผู้เรียนที่ไดเ้ รียนรู้ ดว้ ยแผนการจดั การเรียนรู้ตามปกติ อย่างมนี ัยสาคัญทางสถติ ิทร่ี ะดับ .01 คะนึงนิจ ทนันชัย (2549) ได้ศึกษาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนการแก้โจทย์ปัญหา เร่ืองบท ประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยแผนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา และศึกษาความ คิดเห็นของผู้เรียนต่อการเรียนการแก้โจทย์ปัญหา เร่ืองบทประยุกต์ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โดยแผนการจัดการเรยี นรู้แบบซปิ ปา ของผเู้ รียนชนั้ ประถมศกึ ษาปที ่ี 5 กลุม่ ตวั อยา่ ง ทใ่ี ชใ้ นการวิจัยคร้ัง นี้คือผู้เรียนชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โรงเรียนอนุบาลแม่ขะจาน อาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ประจาภาคเรียนที่ 1 ปีการศกึ ษา 2546 จานวน 24 คน เครือ่ งมือท่ีใช้ในการวิจยั ประกอบด้วย แผนการ จัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ เร่ืองบทประยุกต์ โดยผ่านการวิเคราะห์ในด้านความ ถูกต้อง ความครอบคลุมของเน้ือหา และกระบวนการของซิปปา 2 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธ์ทิ างการ เรียนแบบเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ โดยผ่านการตรวจสอบจากผู้เช่ียวชาญในด้านความ เท่ียงตรงเชิงเนื้อหา แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้เรียนท่ีมีต่อการสอนแบบซิปปา ในด้านบทบาท ครผู สู้ อน ด้านกจิ กรรมการเรียน ด้านบทบาท ผเู้ รยี น วิเคราะห์ขอ้ มลู โดยใช้ค่าเฉลยี่ ค่าร้อยละ และสว่ น

เบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ว่า แผนการจัดการเรียนรู้ที่ผู้วิจัยได้ออกแบบการสอนท่ีใช้ กระบวนการแบบซปิ ปา ท่เี น้นพัฒนาทักษะการแก้โจทยป์ ัญหาของผู้เรยี นมีประสิทธิภาพสงู กว่าเกณฑ์ท่ี กาหนดไว้คือ 80/80 ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนสูงข้ึนกว่าเกณฑ์ที่กาหนดไว้คือร้อยละ 75 ผู้เรียน มีความคิดเห็นต่อการจัดกิจกรรมการเรียนท่ีเน้นกระบวนการแบบซิปปาในด้านบทบาทผู้สอน ด้านกจิ กรรมการเรียน และด้านบทบาทผู้เรียน อยู่ในระดับเห็นด้วยอย่างยิง่ กัลยา พันปี(2551) ได้จัดทาการวจิ ัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรแ์ ละ ทักษะการเช่ือมโยงทางคณิตศาสตร์ ของผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 ระหว่างกลุ่มท่ี จัดการเรียนรู้ รูปแบบซิปปาและรูปแบบวฏั จักรการเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้เป็นผู้เรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 2 จานวน 70 คน ในภาคเรยี นท่ี 2 ปีการศึกษา 2550 โรงเรียนวิเศษไชยชาญ “ตันติวทิ ยาภูมิ” สังกัดสานกั งานเขต พืน้ ที่การศกึ ษาอา่ งทอง ซึง่ เป็นห้องเรยี นตามสภาพจรงิ แบ่งเป็นกลมุ่ ทดลอง 1 จัดการเรียนรรู้ ปู แบบซิป ปา จานวน 1 หอ้ ง ห้องละ 35 คน และกลมุ่ ทดลอง 2 จดั การเรียนรู้ รูปแบบวฏั จักรการเรยี นรู้ จานวน 1 ห้อง ห้องละ 35 คน ใช้ระยะเวลาในทดลอง 20 ชั่วโมง เคร่ืองมือท่ีใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้รูปแบบซิปปาและรูปแบบวัฏจักร การเรียนรู้ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนวิชาคณิตศาสตร์ แบบประเมินทักษะการเชื่อมโยง และแบบวัดเจตคติต่อวิชาคณิตศาสตร์โดยใช้ การวิจัยแผนแบบ pretest – posttest design with nonequivalent group วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ ANCOVA และ MANCOVA ซ่ึงใช้เจตคติต่อ วิชาคณิตศาสตร์ก่อนทดลองเป็นตัวแปรร่วมในการวิจัย ผลการวิจัยพบว่า 1.ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ของผู้เรียนกลุ่มทดลองจัดการเรียนรู้ รูปแบบซิปปากับกลุ่มที่จัดการเรียนรู้รูปแบบวัฏจกั รการเรียนรู้ แตกต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ี ระดับ .05 โดยกล่มุ ทจี่ ัดการเรยี นรู้รปู แบบซิปปามคี ะแนนเฉลีย่ ของผลสัมฤทธ์ทิ างการเรยี นสูงกวา่ กลมุ่ ที่ จดั การเรียนรู้รูปแบบวัฏจักรการเรียนรู้ 2.ทักษะการเชื่อมโยงทางคณิตศาสตร์ของกลุ่มทดลองจัดการ เรียนรู้รูปแบบซิปปา กับกลุ่มทีจ่ ัดการเรียนรรู้ ูปแบบวัฏจกั รการเรียนรู้ แตกต่างกนั อย่างมีนัยสาคัญทาง สถิตทิ ีร่ ะดบั .05 โดยกลุ่มทีจ่ ดั การเรียนรู้รปู แบบวัฏจกั รการเรียนรู้สงู กวา่ กลุ่มทจี่ ดั การเรียนร้รู ูปแบบซิป ปา ปราณี กองจินดา (2550) ได้ศึกษาการวิจัยเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ และทักษะการคิดเลขในใจก่อนและหลังเรียนของผู้เรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้ แบบฝึกหัดท่ีเน้นทกั ษะการคดิ เลขในใจกับผู้เรยี นท่ไี ดร้ ับการสอนตามคมู่ ือครู กลมุ่ ตัวอย่างเป็นผู้เรียนช้ัน ประถมศึกษาปีท่ี 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2546 ซึ่งเป็นห้องเรียนตามสภาพจริง จับฉลากเปน็ กลุ่ม ทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มทดลองไดร้ ับการสอนตามรูปแบบของซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดทเ่ี น้นทักษะ การคิดเลขในใจ กลุ่มควบคุมได้รับการสอนโดยใช้คู่มือครู ระยะในการทดลอง 18 ชั่วโมง ดาเนินการ ทดลองโดยใช้แผนแบบการทดลอง Nonrandomized control group pretest – posttest design วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ MANCOVA ผลการวิจัยพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของผู้เรียนท่ี เรียนด้วยการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดท่ีเน้นทักษะการคิดเลขในใจมีความแตกต่างกับ กลุ่มทีเ่ รียนด้วยการสอนตามคู่มือครู อยา่ งมีนัยสาคัญทางสถิตทิ ่ีระดบั .01 โดยกลมุ่ ทเ่ี รียนด้วยการสอน ตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดท่เี น้นทักษะการคดิ เลขในใจมีค่าเฉล่ียสงู กว่าค่าเฉลี่ยของกลุม่ ท่ีเรียน ด้วยการสอนตามคู่มือครู ทักษะการคิดในใจของผู้เรียนท่ีเรียนด้วยการสอนตามรูปแบบซิปปา โดยใช้ แบบฝึกหัดท่ีเน้นทกั ษะการคิดเลขในใจมีความแตกต่างกับกลุ่มท่ีเรียนด้วยการสอนตามคู่มือครู อย่างมี

นัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มท่ีเรียนด้วยการสอนด้วยรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดที่เน้น ทกั ษะการคิดเลขในใจมคี า่ เฉลี่ยสูงกว่าค่าเฉลีย่ ของกลมุ่ ทีเ่ รียนดว้ ยการสอนตามคูม่ ือครู นงเยาว์ แก้วบณั ฑิต (2552) ไดศ้ ึกษาผลการจดั การเรยี นรคู้ ณิตศาสตร์พ้ืนฐานตามรูปแบบซิป ปา เรื่อง การวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 5 โดยมีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยน้ี ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ในรูปแบบซิปปา รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานเรื่องการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น แบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรยี น วชิ าคณิตศาสตรพ์ ื้นฐาน เรือ่ งการวิเคราะหข์ ้อมูลเบื้องต้น เป็น แบบทดสอบปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลอื กจานวน 40 ขอ้ และแบบสอบถามวัดความพึงพอใจของ ผู้เรยี นที่มตี อ่ การเรยี นโดยแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามรูปแบบซิปปา ผลวจิ ัยพบวา่ 1) แผนการ จดั กิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาคณิตศาสตร์พ้ืนฐานตามรูปแบบซิปปา เรื่อง การวิเคราะห์ขอ้ มูลเบ้ืองต้น มีประสิทธิภาพเท่ากับ 74.70/75.67 2) ดัชนีประสิทธิภาพ เท่ากับ 0.6556 แสดงว่าผู้เรียนมี ความก้าวหนา้ ทางการเรียนคิดเป็นร้อยละ 65.56 3) ผู้เรยี นมีผลสมั ฤทธ์ิทางการเรียนเพ่มิ ข้ึนจากก่อน เรียนอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติท่ีระดับ .05 และผู้เรียนมีความพึงพอใจต่อการเรียนรู้ตามแผนการจัด กิจกรรมการเรียนรู้ตามรปู แบบซปิ ปา เร่ือง การวเิ คราะหข์ ้อมลู เบอื้ งตน้ โดยรวมอยใู่ นระดับมากท่สี ดุ ยพุ า ภาคา (2550) ได้พัฒนาแผนการจดั การเรียนรู้ เร่ืองความนา่ จะเป็น ช้ันมธั ยมศึกษาปีท่ี 3 โดยการจัดกิจกรรมตามรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) โดยมีเครื่องมือท่ีใช้ในการวิจัยครั้งน้ี ได้แก่ แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่อง ความน่าจะเป็น โดยการจัดกิจกรรมตามรูปแบบซิปปา (CIPPA MODEL) จานวน 6 แผน และ แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง ความน่าจะเป็น ซ่ึงเป็นข้อสอบแบบ ปรนัยชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จานวน 30 ข้อ ผลการวิจัย พบว่า แผนการจัดการเรียนรู้เร่ืองความ น่าจะเป็น มีประสิทธิภาพ 79.98/75.80 ดัชนีประสิทธิผลเท่ากับ 0.6024 หรือ คิดเป็นร้อยละ 60.24 แสดงวา่ ผ้เู รียนมีความก้าวหนา้ ทางการเรียนคิดเปน็ ร้อยละ 60.24 และผูเ้ รยี นท่เี รียนดว้ ยแผนการจดั การ เรยี นรู้ เรือ่ งความน่าจะเป็น โดยการจัดกจิ กรรมตามรูปแบบซปิ ปา มคี วามคงทนในการเรียนรู้ได้ร้อยละ 96.74 ของคะแนนเฉลีย่ ซึง่ นอ้ ยกว่าคะแนนเฉล่ียหลงั เรยี นผลการวิจยั พบว่า 1. การพัฒนากิจกรรมการ เรยี นรู้วชิ าคณิตศาสตร์โดยใช้โมเดลซปิ ปาเรื่องการแก้โจทย์ปญั หา การบวก ลบ คูณ หาร ช่วยให้ผู้เรียน ผ้เู รียนมีส่วนร่วมในกระบวนการเรียนรู้เปิดโอกาสให้ผู้เรียน ได้ปฏิบัติกิจกรรมอย่างท่ัวถึง จากขั้นตอน ของโมเดลซิปปา 7 ขั้นตอนสามารถพัฒนาผู้เรียนทั้ง ทางด้านสติปัญญา อารมณ์ และสังคมตลอดจน คุณลักษณะอันพงึ ประสงค์ คือ มคี วามรอบคอบและรบั ผดิ ชอบต่องานท่ีไดร้ บั มอบหมาย ทางานอยา่ งมี ระบบและมีระเบียบวินัย มีวจิ ารณญาณและมคี วาม เช่ือม่นั ในตนอง ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติท่ีดี ต่อคณิตศาสตร์ 2. การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน คะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการ บวก ลบ คูณ หาร มีค่าเฉลี่ย 33.09จากคะแนนเต็ม 40 คะแนนคิดเป็น ร้อยละ 82.71 มีผู้เรียนผา่ นเกณฑ์ท่ีกาหนด 26 คน จากจานวนผูเ้ รียน 35 คน คดิ เป็นร้อยละ 74.29 3. ความพึงพอใจของผูเ้ รยี น ผู้เรียนมคี วามพึงพอใจต่อการจัดกจิ กรรมการเรียนร้โู ดยใช้ โมเดลซิปปาอยใู่ น ระดับพงึ พอใจมากท่ีสดุ คือมคี ะแนนเฉล่ยี เทา่ กับ 4.52

จากการศกึ ษาเอกสารและงานวิจยั ท่ีเก่ียวข้องกับการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซปิ ปา (CIPPA MODEL) ข้างต้น พบว่า เมื่อนาการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปา(CIPPA MODEL) มาใช้ในการ จัดการเรียนการสอนแล้ว ผู้เรียนสามารถเกิดการเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีผลสัมฤทธิ์ทางการ เรียนที่สงู ข้ึน ผเู้ รยี นสามารถสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตนเอง มีปฏิสัมพันธท์ ่ีดีกบั ครูและเพ่ือน มีส่วนร่วม ในการเรียนรู้ และสามารถนาความรู้ที่ได้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจาวันได้ จงึ ทาให้ผู้วิจัยสนใจท่ีจะนา รปู แบบการสอนนี้มาใชท้ ดลองสอนกบั ผู้เรยี น เพื่อศกึ ษาเปรียบเทยี บผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นในรายวชิ า คณติ ศาสตร์ ก่อนและหลังการจัดการเรยี นรู้โดยใชร้ ูปแบบซปิ ปา

บทที่ 3 วิธดี าเนนิ การวิจยั งานวจิ ัยเรอื่ ง การศกึ ษาผลสัมฤทธิท์ างการเรียนรายวิชาคณติ ศาสตร์ของผูเ้ รียนชั้นประถมศึกษา ปที ี่ 4 โรงเรียนเทศบาล 5 (อาคารสลากกินแบง่ รฐั บาล)ก่อนและหลังการจัดการเรียนรโู้ ดยใชร้ ูปแบบซิป ปามี วั ตถุป ร ะ ส งค์ สาคัญ เพื่ อเป รียบ เที ย บ ผ ลสัม ฤท ธิ์ ท าง ก าร เรียน วิ ชาค ณิ ต ศาสต ร์ของ ผู้เรียน ช้ั น ประถมศึกษาปีที่ 4 โรงเรียนเทศบาล 5 (อาคารสลากกินแบ่งรัฐบาล) ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ รปู แบบซปิ ปา และเพอื่ ศกึ ษาความพงึ พอใจของผูเ้ รยี นต่อการจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซิปปา ในการ ดาเนินการวิจัยคณะผู้วิจัยใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลอง มีการกาหนดแบบแผนวิจัย ประชากรและ ตัวอยา่ ง เครือ่ งมือที่ใชใ้ นการวจิ ยั การเก็บรวบรวมข้อมูล และการวเิ คราะหข์ อ้ มูลดงั รายละเอยี ดต่อไปนี้ แบบแผนการวิจัย ในการวิจัยครั้งน้ี ผู้วิจัยได้ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงทดลองแบบกลุ่มเดียว โดยผู้วิจัยใช้วิธีการ ทดสอบกอ่ นและหลังการจัดการเรยี นร้โู ดยใชร้ ูปแบบซิปปา ดงั แผนการทดลอง o1 x o2 เม่ือกาหนดให้ O1 หมายถงึ ผลการทดสอบก่อนการจัดการเรียนรู้โดยใชร้ ูปแบบซปิ ปา X หมายถงึ การจัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบซปิ ปา O2 หมายถงึ ผลการทดสอบหลงั การจัดการเรยี นรโู้ ดยใชร้ ปู แบบซิปปา ประชากร ตัวอย่าง ประชากรทีใ่ ชใ้ นการวิจัยคร้งั น้ีเป็นผเู้ รยี นชั้นประถมศึกษาปที ี่ 4 โรงเรยี นเทศบาล 5 (อาคาร สลากกนิ แบง่ รัฐบาล) จงั หวัดปตั ตานี ภาคการศึกษา 1 ปกี ารศกึ ษา 2560 2 หอ้ งเรยี น จานวน 60 คน ตัวอยา่ งที่ใช้ในการวิจยั ครง้ั น้เี ป็นผูเ้ รียนช้นั ประถมศกึ ษาปีท่ี 4/1 โรงเรียนเทศบาล 5 (อาคาร สลากกินแบ่งรฐั บาล) จงั หวดั ปตั ตานี 1 ห้องเรยี น จานวน 23 คน ซง่ึ ไดม้ าโดยการสุม่ แบบยกกล่มุ โดยใช้ หอ้ งเรยี นเปน็ หนว่ ยในการสมุ่ ตัวแปรท่ีใชใ้ นการวิจัย ตวั แปรอิสระ คอื การจัดการเรียนรูแ้ บบซิปปา ตัวแปรตาม คือ ผลสมั ฤทธ์ทิ างการเรียนวชิ าคณติ ศาสตร์ และความพึงพอใจของผเู้ รียนตอ่ การ จดั การเรยี นร้โู ดยใช้รปู แบบซิปปา

เคร่อื งมอื และการพัฒนาคณุ ภาพเคร่อื งมอื ทใ่ี ชใ้ นการวจิ ยั ในการวจิ ัยเครื่องมอื ท่ีใช้ในการวิจยั ในครัง้ น้ี มี 2 ประเภท ได้แก่ 1. เครื่องมือที่ใช้ในการดาเนินการวจิ ยั ไดแ้ ก่ 1.1 แผนการจัดการเรียนรู้แบบซปิ ปา (CIPPA MODEL) 2. เครือ่ งมอื ท่ใี ช้การเก็บรวบรวมข้อมลู ตวั แปรตาม ได้แก่ 2.1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรยี นวิชาคณติ ศาสตร์ เร่ือง โจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคน 2.2 แบบสอบถามความพึงพอใจ โดยมขี น้ั ตอนในการสรา้ งและพฒั นาเครอื่ งมอื ดังนี้ 1. 1 ขนั้ ตอนการสรา้ งแผนการจัดการเรยี นรู้แบบซปิ ปา (CIPPA MODEL) แผนการจัดการเรียนรทู้ ่ีคณะผวู้ ิจัยทาข้ึน ไดใ้ ห้อาจารย์ทีป่ รกึ ษาและผู้เชี่ยวชาญจานวน 3 ท่าน ตรวจสอบความถูกตอ้ งเหมาะสม ผลปรากฏวา่ แผนการจัดการเรียนรู้ มคี ุณภาพอย่ใู นระดบั ดี เหมาะสม สามารถนาไปใช้จัดการเรียนรไู้ ด้ โดยแผนการจดั การเรยี นรูด้ งั กล่าวมีขนั้ ตอนในการสรา้ งดังตอ่ ไปนี้ 1) ศกึ ษาหลกั สูตรการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551 ของกล่มุ สาระการเรียนรู้ คณติ ศาสตร์ 2) ศกึ ษามาตรฐานการเรยี นรชู้ ว่ งชน้ั ของกลมุ่ สาระการเรียนรคู้ ณิตศาสตร์ 3) ศึกษาหลกั สตู รสถานศกึ ษาของโรงเรียนเทศบาล 5 (อาคารสลากกนิ แบ่งรัฐบาล) ระดบั ช้นั ประถมศกึ ษาปที ่ี 4 4) ศกึ ษาแนวคิด ทฤษฎี และผลการวิจยั ทเี่ ก่ียวข้องกับการจัดการเรียนร้แู บบซิปปา (CIPPA MODEL) จากเอกสารและงานวิจยั ทเ่ี กีย่ วข้อง 5) วเิ คราะหส์ าระการเรยี นร้วู ิชาคณิตศาสตร์ เรอ่ื ง โจทย์การบวก ลบ คณู หารระคน เพอื่ กาหนดจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้และสาระการเรยี นรู้ 6) จดั ทาแผนการจัดการเรียนรู้ เรอ่ื ง โจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคน ให้สอดคลอ้ ง กบั จุดประสงค์การเรยี นรูแ้ ละสาระการเรียนรู้ที่กาหนดไว้ 7) นาไปใหผ้ ู้เชย่ี วชาญจานวน 3 ทา่ นประเมินความเหมาะสมของแผนการจดั การ เรยี นรู้ (อย่ใู นระดับท่ดี ี เหมาะสม นาไปใช้ในการวิจัยได)้ 2.1 ขั้นตอนในการสรา้ งแบบทดสอบวดั ผลสมั ฤทธทิ์ างการเรียนวิชาคณติ ศาสตร์ เรือ่ ง โจทย์การบวก ลบ คณู หารระคน แบบทดสอบท่ีผ้วู ิจัยสรา้ งขนึ้ เพอื่ วัดผลสัมฤทธทิ์ างการเรยี นวชิ าคณิตศาสตร์ เรือ่ งโจทยก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน โดยเปน็ แบบทดสอบปรนัยชนดิ เลือกตอบแบบ 4 ตวั เลอื ก จานวน 20 ข้อ ซ่งึ มี ข้ันตอนในการสร้างดังน้ี

1) ศกึ ษาหนังสอื เรยี นกล่มุ สาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เรอื่ ง โจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคน ชัน้ ประถมศึกษาปที ี่ 4 และเอกสารทีเ่ กี่ยวข้องกับการวัดผลและประเมนิ ผล วิธกี ารสร้างแบบทดสอบวดั ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ 2) ศึกษาจุดประสงค์การเรียนรู้ ผลการเรียนรู้ทีค่ าดหวัง และสาระการเรยี นรู้คณติ ศาสตร์ เรื่อง โจทย์การบวก ลบ คูณ หารระคน 3) ร่างขอ้ คาถามจานวน 30 ข้อ นาไปให้ผเู้ ชีย่ วชาญตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหา ซงึ่ พบวา่ ข้อ คาถามมีคา่ IOC มากกวา่ 0.5 ขนึ้ ไปทกุ ขอ้ สามารถนาไปทดลองใช้ตอ่ ไป 4) นาแบบทดสอบไปทดลองใช้กลับกลมุ่ อนื่ ทม่ี ีลักษณะใกลเ้ คยี งกบั กลมุ่ ตวั อย่าง นาผลมา วิเคราะห์คุณภาพเครือ่ งมือได้แก่คา่ ความยากง่าย อานาจจาแนก ซงึ่ ผูว้ ิจยั ได้ทาการคดั เลือกขอ้ สอบทีม่ ี คา่ ความยากง่ายในชว่ ง 0.2 – 0.8 และค่าอานาจจาแนกตง้ั แต่ 0.2 ขน้ึ ไป ไดจ้ านวนท้งั สิน้ 20 ข้อ โดยแบบทดสอบทั้งฉบับมีค่าความเชอื่ มนั่ เท่ากบั 0.61 2.2 ขน้ั ตอนในการสรา้ งแบบสอบถามความพึงพอใจ มีขนั้ ตอนดังต่อไปนี้ 1) ศกึ ษาตารา เอกสารเก่ยี วกับความพงึ พอใจ และสรา้ งแบบสอบถาม 2) นาแบบสอบถามเสนอต่ออาจารย์ที่ปรึกษาและผู้เช่ียวชาญจาวน 3 ท่านตรวจสอบ ความเหมาะสมของข้อคาถามและให้ข้อเสนอแนะในด้านความครอบคลุมเชิงเน้ือหา ความชัดเจนและ ความถูกต้องและสอดคล้องกับนิยามของข้อคาถาม ซ่ึงพบว่าข้อคาถามมีความเหมาะสม สามารถนา เครื่องมือไปใชก้ ับกลมุ่ ตัวอยา่ งได้ (คา่ IOC มากกว่า 0.5 ทกุ ข้อคาถาม) 3) นาแบบสอบถามท่ผี ่านการปรบั ปรุงแก้ไขตามขอ้ เสนอแนะเรยี บรอ้ ยแล้วนาไปใช้เก็บ ขอ้ มลู กบั กลุ่มตัวอยา่ ง 4) วิเคราะห์ค่าความเช่ือมัน่ ของแบบสอบถามความพงึ พอใจโดยวธิ ีของครอนบาค แอลฟา มคี ่าเท่ากบั 0.975 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ในการวิจัยคร้ังนี้ ผู้วจิ ัยได้ดาเนนิ การเก็บรวบรวมข้อมูลวจิ ัยประกอบด้วย 3 ขน้ั ตอน คือ (1) ข้ัน กอ่ นการทดลอง (2) ขนั้ การทดลอง (3) ข้ันหลงั การทดลอง ดงั น้ี 1. ขั้นก่อนการทดลอง ในการวจิ ัยคร้ังนี้ คณะผวู้ จิ ัยไดด้ าเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลกับตัวอยา่ งผู้เรียนชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 4/1 โรงเรียนเทศบาล 5 (อาคารสลากกินแบง่ รัฐบาล) ในภาคเรียนที่ 1 ปกี ารศึกษา 2560 ซงึ่ มีรายละเอียดดังต่อไปน้ี

1.1 คณะผ้วู จิ ัยได้ติดตอ่ ขอความอนเุ คราะห์จากโรงเรยี นเทศบาล 5 (อาคารสลากกิน แบง่ รัฐบาล) เพื่อใช้ผูเ้ รียนชนั้ ประถมศกึ ษาปีที่ 4/1 จานวน 23 คน เปน็ กลุ่มตัวอยา่ งในการวจิ ยั ครง้ั น้ี โดยประสานงานผ่านผบู้ ริหารโรงเรียน และครูกลุ่มสาระการเรยี นรคู้ ณติ ศาสตร์ 1.2 คณะผู้วิจัยได้สมั ภาษณ์การจดั การเรียนการสอนของครูผู้สอนรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 4 เพื่อวเิ คราะห์สภาพปัญหาการจัดการเรียนการสอน จากน้ันไดศ้ ึกษาคา้ ควา้ แนวทางพัฒนาการจดั การสอนของครูผู้สอน และนามาพัฒนาเป็นหัวข้อวจิ ัย 1.3 คณะผวู้ ิจยั ได้จัดเตรยี มเคร่อื งมอื ท่ใี ช้ในการวจิ ัย ซึ่งเป็นเคร่อื งมอื ท่ีใชใ้ นการทดลอง คือ แผนการจดั การเรียนรู้แบบซิปปา เรอ่ื ง โจทย์การบวก ลบ คณู หารระคน และแบบทดสอบ ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนและแบบสอบถามความพึงพอใจ 2. ขน้ั การทดลอง 2.1 คณะผวู้ จิ ัยได้ดาเนนิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยใช้เวลาในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล 5 คาบ ดงั นี้ ชว่ั โมงที่ 1 เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบทดสอบกอ่ นเรียน เร่อื ง โจทยก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน ไปทดสอบกับผู้เรยี นชั้นประถมศึกษาปที ่ี 4/1 โรงเรยี นเทศบาล 5 (อาคารสลากกนิ แบง่ รัฐบาล) ทเี่ ป็นกล่มุ ตัวอยา่ ง แลว้ บนั ทกึ คะแนนกล่มุ ตัวอยา่ งท่ีได้รับจากการทดสอบครั้งนีเ้ ป็นคะแนน ทดสอบกอ่ นเรยี น (Pretest) ชว่ั โมงที่ 2-4 เป็นการสอนตามแผนการจัดการเรียนรแู้ บบซิปปา ใชเ้ วลาการสอน จานวน 3 คาบ ช่วั โมงที่ 5 เก็บรวบรวมขอ้ มูลโดยใชแ้ บบทดสอบหลงั เรียน เร่ือง โจทยก์ ารบวก ลบ คณู หารระคน และบนั ทึกผลการทดสอบให้เปน็ คะแนนหลังเรียน (Posttest) พร้อมท้ังให้ผ้เู รยี นทาแบบ ประเมินความพึงพอใจต่อการจดั การเรียนร้โู ดยใช้รูปแบบซปิ ปา 3. ขน้ั หลังการทดลอง คณะผวู้ ิจยั ตรวจให้คะแนนแบบทดสอบและตรวจสอบความถูกตอ้ งครบถว้ นของข้อมูล ในกรณีที่ข้อมูลผลการทดสอบของผู้เรยี นไมค่ รบถ้วน คณะผูว้ ิจัยจะตดิ ตามให้ผู้เรียนทดสอบเพิม่ เติม หลงั จากนนั้ ได้จดั เตรียมบนั ทกึ ข้อมูลเพือ่ จะวเิ คราะหข์ อ้ มูลในข้นั ตอ่ ไป การวเิ คราะห์ขอ้ มลู การวิเคราะห์ขอ้ มูลเพื่อตอบวัตถปุ ระสงค์การวิจัย 1. การวเิ คราะหผ์ ลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตรเ์ ร่ือง โจทยก์ ารบวก ลบ คูณ หารระคน ผู้วจิ ัยวิเคราะหค์ ่าเฉลยี่ ส่วนเบ่ียงเบนมาตรฐาน คะแนนพฒั นาการสัมพทั ธ์ และเปรียบเทียบคะแนน กอ่ นและหลงั การทดลอง โดยใช้สถิตทิ ดสอบทีแบบกลมุ่ ตัวอย่างไมเ่ ปน็ อสิ ระตอ่ กัน (Dependent Samples t-test) 2. การวเิ คราะหค์ วามพึงพอใจของผู้เรยี นต่อการจัดการเรยี นการสอนโดยใช้รูปแบบซปิ ปา ผูว้ จิ ยั วิเคราะห์ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉล่ยี และสว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน โดยเทียบกับเกณฑด์ งั นี้

ค่าเฉลี่ย 4.51 - 5.00 มีความพงึ พอใจระดบั มากที่สุด คา่ เฉลย่ี 3.51 - 4.50 มีความพงึ พอใจระดับมาก ค่าเฉลี่ย 2.51 - 3.50 มีความพงึ พอใจระดับปานกลาง ค่าเฉล่ยี 1.51 - 2.50 มีความพึงพอใจระดบั นอ้ ย คา่ เฉลย่ี 1.00 - 1.50 มคี วามพึงพอใจระดับน้อยทีส่ ุด

สถิติทีใ่ ช้ในการวิจัย - คะแนนพัฒนาการสัมพทั ธ์ เมอ่ื GS% คอื คะแนนร้อยละของพฒั นาการผเู้ รยี น X คอื คะแนนทดสอบก่อนจดั การเรยี นรู้แบบซปิ ปา Y คอื คะแนนทดสอบหลงั จัดการเรยี นรู้แบบซปิ ปา F คอื คะแนนเตม็ - สถติ ิทดสอบทีแบบกลุ่มตัวอยา่ งไม่เป็นอสิ ระจากกนั (Dependent Samples T Test) t  D ;df = n - 1 n D2   D2 N 1 เมอ่ื t แทน คา่ สถิติที่ใช้พจิ ารณาใน t-distribution  D แทน ผลรวมของความแตกตา่ งระหว่างคะแนนการทดสอบหลังก่อนและ หลังไดร้ บั การจัดการเรยี นรูแ้ บบซิปปา(CIPPA MODEL) n แทน จานวนผเู้ รียน  D2 แทน ผลรวมกาลังสองของความแตกต่างระหวา่ งคะแนนการทดสอบหลัง และกอ่ นได้รับการจดั การเรียนรู้แบบซปิ ปา(CIPPA MODEL)


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook