Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบร้ายขายของชำร้านป้ามาลี

ระบบร้ายขายของชำร้านป้ามาลี

Description: ระบบร้ายขายของชำร้านป้ามาลี

Search

Read the Text Version

ระบบรา้ นขายของชา ร้านป้ามาลี นายวรฤทธ์ิ สาเนียงลา นายศภุ โชค บรรจบ นายสภุ กณิ ห์ กิจประเสริฐ ระดบั ชนั ประกาศนยี บัตรวิชาชีพ (ปวส.) ปที ่ี 1/1 แผนกเทคโนโลยธี ุรกิจดจิ ิทัล เสนอ ครจู ิรวรรณ มะลาไสย รายงานเล่มนเี ป็นส่วนหน่ึงของวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชงิ วตั ถุ รหัสวชิ า 30204-2003 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 วทิ ยาลัยเทคนิคจนั ทบรุ ี สานกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

ระบบรา้ นขายของชา ร้านป้ามาลี นายวรฤทธ์ิ สาเนยี งลา นายศภุ โชค บรรจบ นายสุภกิณห์ กิจประเสรฐิ ระดบั ชนั ประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวส.) ปีที่ 1/1 แผนกเทคโนโลยธี รุ กจิ ดิจทิ ลั เสนอ ครูจิรวรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นเี ป็นสว่ นหน่ึงของวิชาการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหสั วิชา 30204-2003 ภาคเรยี นที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 วทิ ยาลัยเทคนคิ จันทบุรี สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศกึ ษา

คานา รายงานคร้งั นีจ้ ัดทาขึ้นเพ่ือประกอบการเรยี นในรายวิชาการวเิ คราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003 หลกั สตู รประกาศนียบัตรวชิ าชีพชนั้ สูง (ปวส.) อาชวี ศึกษา โดยจดั ทาขนึ้ เพื่อศึกษา วิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของชา ร้านป้ามาลี และเป็นการศึกษาเรียนรู้โดยตัวผู้เรียน ศึกษา และปฏบิ ตั โิ ดยใชท้ กั ษะและสมรรถนะตามรายวชิ า คณะผู้จัดทาได้ทารายงานผลการวิจัย ได้ทาการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและนามาวิเคราะห์ ออกแบบระบบ คณะผู้จดั ทาหวงั วา่ รายงานเล่มนจี้ ะเปน็ ประโยชนแ์ ก่ผู้ท่ีอา่ นหรือผทู้ ส่ี นใจและกาลังศึกษา เรอ่ื งนอี้ ยู่ หากมขี ้อผิดพลาดประการใด ผู้วิจัยขอน้อมรับไวแ้ ละขออภัยมา ณ ทีน่ ด้ี ว้ ย คณะผจู้ ัดทา ก

สารบญั หนา้ ก คานา ข สารบัญ ค สารบญั (ตอ่ ) ง สารบัญตาราง จ สารบญั รูปภาพ ฉ สารบัญรปู ภาพ (ต่อ) 1 บทท่ี 1 บทนา 1 1 หลกั การและเหตุผล 1 วตั ถุประสงค์ของการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 2 เป้าหมาย 2 การติดตามผลและการประเมิน 2 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั 3 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 3 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง 7 ระบบ (System) 10 ประเภทของระบบ 13 ความสาคัญของการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ 19 ผงั งาน (Flowchart) 24 DFD 28 ER-Model 31 ระบบฐานข้อมูล (Database System) 32 บทท่ี 3 วธิ ีดาเนินงาน 33 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 34 วิเคราะห์ระบบโดยใช้ DFD ออกแบบ ER-Model ข

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 36 ออกแบบฐานข้อมลู และสรา้ งความสัมพนั ธโ์ ดยใช้ Microsoft Access 39 บทที่ 4 ผลการดาเนนิ งาน 39 42 การออกแบบระบบร้านขายของชา ร้านป้ามาลี 46 การจดั เก็บ Data Base 46 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวิเคราะห์ ออกแบบระบบและข้อเสนอแนะ 46 วตั ถปุ ระสงค์ของการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 46 การเกบ็ รวบรวมข้อมลู 46 สรุปผลการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 47 ข้อเสนอแนะ 48 บรรณานกุ รม 49 ภาคผนวก ก 50 Context Diagram Level 0 ระบบรา้ นขายของชา ร้านปา้ มาลี 51 ภาคผนวก ข 52 Context Diagram Level 1 ระบบรา้ นขายของชารา้ นป้ามาลี 53 ภาคผนวก ค 54 ER-Model ระบบร้านขายของชาร้านป้ามาลี 55 ภาคผนวก ง Entity Relationship Diagram ร้านขายของชาร้านปา้ มาลี ค

สารบญั ตาราง หนา้ 2 ตารางที่ 13 1.1 ระยะเวลาทใี่ ช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 13 2.1 สญั ลกั ษณ์ของผังงาน 14 2.2 สญั ลกั ษณ์ของผังงาน (ต่อ) 15 2.3 สัญลักษณ์ของผงั งาน (ต่อ) 20 2.4 สัญลักษณ์ของผงั งาน (ต่อ) 2.5 สญั ลกั ษณต์ า่ ง ๆ ท่ีใช้ในการเขยี นแผนภาพการไหลของขอ้ มูล ง

สารบัญรูปภาพ หนา้ 16 ภาพท่ี 17 2.1 ภาพผงั งานระบบ 21 2.2 ภาพแสดงตัวอย่างการกาหนดจดุ เริ่มตน้ และส้ินสดุ ของการเขยี นผังงาน 22 2.3 ภาพตวั อย่างการใช้สญั ลกั ษณ์การประมวลผล (Process) 22 2.4 ภาพตัวอย่างการใช้สญั ลักษณ์กระแสขอ้ มูล (Data Flow) 23 2.5 ตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์กระแสขอ้ มลู (Data Flow) 23 2.6 ภาพตัวอย่างการใชส้ ญั ลักษณ์แหลง่ ที่เกบ็ ข้อมลู (Data Store) 24 2.7 ตัวอยา่ งการใชส้ ัญลักษณ์แหลง่ ท่ีเก็บข้อมูล (Data Store) 25 2.8 ภาพตัวอยา่ งการใช้สญั ลักษณ์สิ่งทอ่ี ย่ภู ายนอก (External Entities) 25 2.9 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen 26 2.10 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ตอ่ ) 27 2.11 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Chen (ต่อ) 28 2.12 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Crow’s Foot 32 2.13 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Crow’s Foot (ต่อ) 33 3.1 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 0 ระบบร้านคา้ ขายของชา ร้านปา้ มาลี 34 3.2 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 1 ระบบร้านค้าขายของชา รา้ นปา้ มาลี 35 3.3 ภาพออกแบบ Chen ER-MODEL รา้ นคา้ ขายของชา ร้านปา้ มาลี 36 3.4 ภาพออกแบบ Craw's Foot ER-MODEL ร้านค้าขายของชา ร้านปา้ มาลี 36 3.5 การออกแบบตารางข้อมูลร้านคา้ ขายของชา รา้ นปา้ มาลี 36 3.6 ออกแบบตารางขอ้ มลู Customer 37 3.7 ออกแบบตารางขอ้ มูล Products 3.8 ออกแบบตารางขอ้ มลู Employee จ

สารบัญรปู ภาพ (ตอ่ ) หนา้ 37 ภาพท่ี 37 3.9 ออกแบบตารางขอ้ มูล Orders 37 3.10 ออกแบบตารางข้อมูล Order Details 38 3.11 ออกแบบตารางข้อมูล Category 38 3.12 ออกแบบตารางข้อมลู Receipt 39 3.13 การสร้างความสัมพนั ธห์ รอื Entity Relationship Diagram 42 4.1 หนา้ จอ Login 40 4.2 รายการสนิ รายการสินค้า 41 4.3 รายการสนิ รายการสินค้า 41 4.4 รายการสินรายการสนิ ค้า 42 4.5 รายการสนิ รายการสนิ ค้า 42 4.6 รายการสั่งซอ้ื 42 4.7 แสดงข้อมูลลูกค้า 43 4.8 แสดงข้อมลู ลูกคา้ (ต่อ) 43 4.9 แสดงขอ้ มูลสินค้า 43 4.10 แสดงข้อมูลสนิ ค้า (ต่อ) 43 4.11 แสดงข้อมลู รายการขายสนิ ค้า 44 4.12 แสดงข้อมูลรายการขายสินค้า (ต่อ) 44 4.13 แสดงข้อมูลการสั่งซอ้ื สินค้า 44 4.14 แสดงข้อมลู การส่ังซ้อื สินค้า (ตอ่ ) 44 4.15 แสดงข้อมลู ประเภทสินคา้ 45 4.16 แสดงข้อมูลประเภทสินค้า (ต่อ) 45 4.17 แสดงข้อมูลใบเสร็จ 45 4.18 แสดงข้อมูลใบเสรจ็ (ต่อ) 45 4.19 แสดงข้อมลู พนักงาน 4.20 แสดงข้อมูลพนักงาน (ต่อ) ฉ

บทที่ 1 บทนา 1.1 หลักการและเหตุผล ในการเปิดร้านขายของชาน้ันเป็นอาชีพท่ีเน้นการขายของอย่างหลากหลายของกินของใช้ของ จิปาถะและจาหน่ายให้กับลูกค้าโดยลูกค้าส่วนใหญ่น้ันนิยมซื้อของกินเล่นและของใช้ในครัวเรือน ซ่ึงร้าน ขายของชาโดยท่ัวไปน้ันลูกค้ามักจะอยู่ใกล้ร้านเสมอเพ่ือความสะดวกสบายในการเดินทางอย่างรวดเร็ว และเป็นการสนับสนุนคนในชุมชนด้วยกันเองได้อีกด้วย ในการแข่งขันของร้านขายของชานั้นมักจะ แตกต่างไปในแต่ละพื้นท่ี ถ้าเป็นชุมชนขนาดใหญ่จะมีการแข่งขันท่ีสูงทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจานวนครัวเรือนใน บริเวณรอบ ๆ ร้านขายของชาอีกด้วย ร้านขายของชาส่วนใหญ่น้ันมีความเป็นกันเอง สนิทสนมกับลูกค้า เพ่ือสร้างความสมั พันธ์ท่ดี เี พื่อใหล้ ูกค้าเกดิ ความสนใจทีจ่ ะมาซอ้ื ของทรี่ ้านค้ามากย่ิงข้ึน เน่ืองจากร้านขายของชา ร้านป้ามาลี เป็นการขายสินค้าอยู่ในรูปแบบธุรกิจท่ีเป็นกิจการเจ้าของ คนเดียวซึ่งทาให้ร้านขายของชา ร้านป้ามาลีมีพนักงานคิดเงินแค่คนเดียว ทาให้มีการบริการท่ีไม่ท่ัวถึงจึง เกดิ ความลา่ ช้าในการคิดเงนิ ให้กบั ลูกคา้ ซงึ่ รวมไปถึงปริมาณของสินค้าท่ีมีไมเ่ พยี งพอต่อความต้องการของ ผู้บริโภค แต่ในปัจจุบันความหลากหลายของสินค้าคือจุดเด่นของร้านขายของชาทาให้มีลูกค้าจานวนมาก ทมี่ าซ้อื ของกนิ ของใชภ้ ายในบ้านและของจปิ าถะทาใหร้ ้านมีการพฒั นามากกว่าแต่ก่อน ดังนั้น คณะผู้จัดทาได้มีแนวคิดในการทาระบบของร้านของชา ร้านป้ามาลี น้ีข้ึนมาเพ่ือประยุกต์ ให้ร้านขายของชา ร้านปา้ มาลี มรี ะบบที่มีประสิทธภิ าพ โดยมีเทคโนโลยีตา่ ง ๆ และมีการวิเคราะหใ์ นส่วน ของระบบภายในและภายนอกใหอ้ อกมาอย่างเป็นระบบ 1.2 วัตถปุ ระสงค์ของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1.2.1 เพือ่ วิเคราะห์และออกแบบระบบรา้ นขายของชา รา้ นปา้ มาลี 1.2.2 เพอ่ื ศกึ ษาและสารวจระบบร้านขายของชา ร้านปา้ มาลี 1.2.3 เพอ่ื เรยี นรแู้ ละเกบ็ ประสบการณจ์ ากการทาธรุ กจิ ของผ้ปู ระกอบการ 1.3 เป้าหมาย 1.3.1 สามารถนาระบบท่ีวิเคราะหแ์ ละออกแบบมาใช้งานไดจ้ ริง 1.3.2 เรียนรู้การทางานธุรกิจกับผู้ประกอบการเพื่อนาไปใชใ้ นอนาคต 1.4 การตดิ ตามผลและการประเมิน 1.4.1 การสารวจและตดิ ตามผลระบบในทุก ๆ ครงั้ 1.4.2 รายงานสรปุ ผลการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ

2 1.5 ประโยชนท์ ค่ี าดว่าจะได้รบั 1.5.1 ได้ระบบสารสนเทศท่มี ลี ักษณะของสารสนเทศทดี่ ีครบถ้วน 1.5.2 เจา้ ของธรุ กจิ หรอื พนักงานมีความพอใจในการนาระบบทม่ี ีการวเิ คราะห์และออกแบบ 1.5.3 สามารถนาความรู้เกย่ี วกบั การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบนาไปปรับใชใ้ นอนาคตได้ 1.6 ระยะเวลาทใี่ ชใ้ นการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ ตารางในการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบคร้ังน้ีใช้ระยะเวลา ต้งั แตเ่ ดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ถงึ เดอื นมนี าคม พ.ศ. 2565 ดงั ตารางที่ 1.1 ขันตอนใน สปั ดาหท์ ่ี การวิเคราะหแ์ ละออกแบบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 ระบบ 1. กาหนดรูปแบบร้านทจี่ ะ วเิ คราะห์ 2. เสนอกบั อาจารย์ทป่ี รกึ ษา ประจาวิชา 3. ศึกษารายละเอยี ดขอ้ มูล 4. ออกแบบระบบ 5. ดาเนินการทาระบบ 6. นาเสนอระบบ 7. ประเมินผลและสรปุ ผล 8. จัดทาเอกสารรายงาน

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยทเ่ี ก่ยี วข้อง คณะผจู้ ัดทา ได้ทาการวิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของชา ร้านปา้ มาลี โดยคณะผู้จัดทา ได้รวบรวมข้อมูล ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ระบบร้านร้านขายของชา ร้านป้ามาลี ออกมาไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพ โดยศกึ ษาหลักการและทฤษฎี ดงั หัวข้อตอ่ ไปนี้ 2.1 ระบบ (System) 2.2 ประเภทของระบบ 2.3 ความสาคัญของการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ 2.4 ผังงาน (Flowchart) 2.5 DFD 2.6 ER-Model 2.7 ระบบฐานข้อมลู (Database System) 2.1 ระบบ (System) ระบบ (อังกฤษ: System, มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน systēma, ในภาษากรีก σύστημα systēma, , ดูเพิ่มเติมได้จากบทความเก่ียวกับ องค์ประกอบ หรือ \"composition\") คือชุดของสิ่งท่ีมี ปฏิสัมพันธ์ หรือ การพ่ึงพาซ่ึงกันและกัน ของส่ิงที่มีการดารงอยู่ที่แตกต่างและ อย่างเป็นอิสระ ที่ได้ถูก ควบรวมในรูปแบบบูรณาการทั้งหมด ดังนน้ั ระบบสว่ นใหญจ่ ะมีลกั ษณะบางอยา่ งรว่ มกนั ระบบหน่งึ อาจเป็น เซต็ ขององค์ประกอบย่อยของเซต็ ใด ๆ ในระบบอืน่ ๆ ซง่ึ มคี วามแตกต่างกัน ตรงที่ ความสมั พนั ธ์ของเซ็ตนั้นๆ กับ องค์ประกอบย่อยของมัน ต่อ องคป์ ระกอบยอ่ ย หรอื เซต็ อื่น ๆ หรอื อาจกล่าวได้ว่า ทุกสิ่งในสภาพแวดล้อมในโลก เรียกว่า ระบบ ท่ีมีองค์ประกอบต่าง ๆ ภายในของมันเอง หรือ เป็นองค์ประกอบส่วนหน่ึงของสภาพแวดล้อมให้กับ ระบบอื่น ๆ หรือ อย่างน้อย ทุก ๆ สิ่งในโลกนี้ เป็น เซ็ตของความสัมพันธ์ขององค์ประกอบตา่ ง ๆ ทเ่ี ป็นส่วนหน่งึ ภายใน \"โลก\" คอื ระบบโดยรวม นัน่ เอง ขอบเขตของการศกึ ษาเกย่ี วกับ ระบบ ในคณุ ลกั ษณะทั่วไป \"general properties of systems\" จะพบได้ ใน ศาสตร์ต่าง ๆ เหล่าน้ีทฤษฎีระบบ, cybernetics, ระบบพลวัต, อุณหพลศาสตร์ และ complex systems ศาสตร์เหล่านี้ ต่างศึกษาหาคาจากัดความ หรือ สรุปแนวคิดโดยรวมเก่ียวกับคุณสมบัติ หรือ คุณลักษณะโดยท่ัวไปของ ระบบ ซึ่งเป็นเร่ืองที่จะต้องให้คาจากัดความโดยไม่ข้ึนอยู่กับ แนวคิด เฉพาะเจาะจง สาขา ชนิด หรือ สิง่ ท่ีเกดิ ข้นึ เพยี งคร้งั คราวเท่าน้ัน ระบบ ส่วนใหญ่จะแบง่ ปันลักษณะบางอย่างร่วมกัน ดงั นี้ :  ระบบ มี โครงสรา้ ง รปู ร่าง หรอื structure, ท่ถี กู กาหนดโดย องค์ประกอบภายใน components และ สว่ นประกอบต่าง ๆ ภายใน;

4  ระบบ มี พฤติกรรม ซ่ึงเก่ียวข้องกับ “กระบวนการภายใน” (input, process, output)ซึ่ง องคป์ ระกอบเหลา่ น้ันเปน็ ได้ท้ัง วัตถุดบิ ,พลังงาน หรอื ข้อมลู ข่าวสาร หรือ แม้แต่ data เปน็ ต้น  ระบบ มี การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันภายใน interconnectivity: ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ส่วนต่าง ๆ ภายในระบบที่มี ฟังก์ชันการปฏิบัติหน้าท่ีท่ีสอดคล้องกันเช่นเดียวกับ ความสัมพันธ์ ของโครงสรา้ งท่ีมตี อ่ กันภายใน  ระบบ อาจจะมี การทางานหรือ ฟังก์ชันบางส่วน หรือ อาจจะเป็นการทางานของท้ังกลุ่มท่ีอยู่ ภายใน ในความหมายของคาวา่ ระบบ อาจจะอา้ งถงึ เก่ียวกับ เซ็ตของ กฎ ทีค่ วบคมุ โครงสรา้ ง รปู รา่ ง โครงสร้าง หรอื พฤตกิ รรม ของ ระบบทง้ั หมด นั้น ๆ 2.1.1 ลกั ษณะของระบบ ระบบมลี กั ษณะที่ควรรูแ้ ละศึกษาดังนี้ 2.1.1.1 ระบบ หมายถึง การรวมของส่ิงย่อย ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่หน่ึงส่วนข้ึนไปเป็น หน่วยเดยี วกนั เพือ่ วตั ถปุ ระสงค์หรือความม่งุ หมายอย่างเดียวกนั เช่น ระบบราชการแผน่ ดนิ ประกอบดว้ ย กระทรวง ทบวง กรมและกองต่าง ๆ เป็นต้น หรอื ระบบสรุ ิยะจักรวาล (Solar System) 2.1.1.2 การทางานของหน่วยงานย่อยต่าง ๆ ของระบบ จะตอ้ งมีความสัมพนั ธ์เกี่ยวข้อง ประสานกัน โดยมีวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายร่วมกันหรืออย่างเดียวกัน เช่น ในองค์กรหนึ่งอาจแบ่ง ออกเป็นหลายฝ่าย หรือหลายแผนก โดยแต่ละฝ่ายหรือแต่ละแผนกจะมีหน้าท่ีในการทางานร่วมประสาน เพ่อื นวตั ถปุ ระสงค์เดียวกัน 2.1.1.3 ระบบอาจถูกจาแนกแยกเป็นประเภทใดประเภทหน่ึง หรือหลายประเภท ทั้งนี้ สุดแต่ใครเป็นผู้จาแนก และผู้ที่ทาการจาแนกจะเห็นว่าควรแบ่งหรือควรจะจัดเป็นประเภทใด เช่น เป็น ระบบเปดิ หรอื ระบบปดิ ระบบเครอื่ งจักร หรือระบบกึง่ เครอื่ งจกั ร เป็นตน้ 2.1.2 องค์ประกอบของระบบ การที่จะกล่าวหรืออธิบายถึงองค์ประกอบของระบบว่าประกอบด้วยอะไรบ้างนั้นข้ึนอยู่กับ ความ คดิ เห็นของผทู้ ี่เก่ียวข้องกับระบบ ซ่งึ จะไม่เหมือนกนั แต่โดยท้ัง ๆ ไปแล้วมกั จะแบ่งองคป์ ระกอบออกเป็น 2 องคป์ ระกอบใหญ่ ๆ คือ 2 . 1 . 2 . 1 อ ง ค์ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ 6 M คื อ Man, Money, Material, Machine, Management, และ Morale ดงั รายละเอยี ดตอ่ ไปนี้ 1) Man หมายถึง บุคลากร คือ ผู้ท่ีจะต้องเกี่ยวข้องกับระบบงาน หรือหมายถงึ คนทุกคนท่ีเกี่ยวข้องกับระบบนั้นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่าง ๆ ซ่ึงจะมีทั้งผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง และระดบั ปฏบิ ตั ิงาน และอาจประกอบด้วยนักวิชาการในระดับตา่ ง ๆ แต่จะนับรวม ลูกค้าหรือผู้บริโภค ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสาคัญไม่น้อยของระบบด้วยหรือไม่ก็ย่อมสุดแล้วแต่นักวิชาการ ทางด้านบริหารระบบจะตัดสนิ ใจ

5 2) Money หมายถึง เงินหรอื ทรพั ยส์ ินท่ีมคี ่าเป็นเงินของระบบ ซ่งึ นับเป็นหัวใจ ท่สี าคญั อย่างหนึง่ ของระบบ เชน่ เงนิ ทนุ เงินสด เงินหมุนเวียน เงนิ คาใชจ้ ่าย หรอื เงนิ รายรบั รายจ่ายตา่ ง ๆ เหล่านี้ เป็นตน้ ถ้าการเงินของระบบไม่ดพี อแล้ว ระบบนน้ั ยอ่ มจะประสบกบั ความยุ่งยากหรืออาจถึงแก่ การหายนะได้ เพราะฉะนน้ั ระบบธุรกิจทกุ ชนิดจะต้องมคี วามระมดั ระวังในเรอ่ื งของการเงินเปน็ พิเศษ 3) Material หมายถึง ตัวสินค้าหรือวัสดุที่ใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นอีก องค์ประกอบหน่ึงที่มีความสาคัญของระบบไม่น้อย ปัญหาในเร่ือง Material หรือสินค้าและวัสดุน้ีมี 2 ประการใหญ่ ๆ (1) ประการแรก เป็นการขาดแคลนวัสดุ เช่น การขาดวัตถดุ บิ สาหับใช้ ในการผลติ สินคา้ ของโรงงานอุตสาหกรรม เมอื่ ขาดวัตถดุ บิ ท่ีใชใ้ นการผลิต ก็จะทาให้ไม่มสี นิ ค้าสาหรับขาย ผลกค็ ือการขาดทนุ (2) ประการที่สอง คือ การมีวัตถุดิบมากเกินความต้องการ เช่น มี สินค้าท่ีจาหน่ายหรือขายไม่ออกมากเกินไป ทาให้เงินทุนไปจมอยู่กับวัตถุดิบทาให้เกิดการขาดทุน เชน่ เดยี วกันน้นั เอง 4) Machine หมายถึง เคร่ืองจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือเคร่ืองใช้ในโรงงาน หรือในสานักงาน ซ่ึงนับว่าเป็นองค์ประกอบที่สร้างปัญหาให้กับระบบอย่างสาคัญประการหน่ึงเหมือนกัน ปญั หาท่ีทาให้ไดก้ าไรหรอื ขาดทุนมากทส่ี ดุ ของธรุ กจิ มักเกดิ จากเครื่องจักรและอุปกรณ์การทางานเป็นส่วน ใหญ่ เชน่ เคร่ืองมีกาลังผลิตไมพ่ อ เครอ่ื งเก่า หรอื เป็นเครือ่ งทล่ี ่าสมยั ทาใหต้ อ้ งเสยี ค่าซ่อมบารงุ สูง มกี าลงั ผลิตน้อยประสิทธิภาพ ในการทางานต่า แต่ค่าใช้จ่ายในการซ่อมบารุงหรือค่าทางานท่ีลา่ ชา้ ทางานไม่ทัน กาหนดเวลาท่ีกาหนดไว้ ทาใหเ้ กิดความเสยี หายและขาดรายได้หรือขาดทุน เป็นต้น 5) Management หมายถึง การบริหารระบบ ซึง่ เปน็ อกี เรื่องหนงึ่ ที่ทาให้ระบบ เกดิ ปญั หา เพราะการบริหารทไ่ี ม่ดีหรอื การบริหารท่ไี ม่ทนั ต่อการเปลีย่ นแปลง ของสภาวะแวดลอ้ มหรือไม่ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงต่อสังคม เศรษฐกิจและการเมือง ที่เรียกกันว่า ไม่เป็นไปตามโลกานุวัตร หรือการ ได้ผู้บริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพมาบริหารงาน ซึ่งส่วนมากมักเกิดข้ึนในระบบราชการ สาหรับระบบทาง ธุรกิจของเอกชนจะถือว่า การบริหารงานเป็นเร่ืองที่สาคัญที่สุดเพราะถ้าการบริหารไม่ดีแล้วธุรกิจน้ันก็ไม่ สามารถทจ่ี ะอย่ไู ด้ กจิ การตอ้ งล้มเลิกไปในท่ีสุด 6) Morale หมายถึง ขวญั และกาลังใจของบุคคลในระบบ หรอื หมายถึง ค่านยิ ม ของคนที่มีต่อระบบหรือต่อองค์กรมากกว่า ซึ่งเป็นค่านิยมของคนในระบบที่มีขวัญและกาลังใจในการ ปฏบิ ัติงานอย่างมปี ระสิทธภิ าพ และเปน็ ค่านิยมของผู้บริโภคหรือบุคคลภายนอกทเี่ ก่ียวข้องเพ่ือสนับสนุน ให้ระบบอยู่รอด และกระตุ้นจูงใจด้วยวิธีต่างๆ ก็มีจุดมุ่งหมายในสิ่งน้ีระบบท่ีขาดค่านิยมหรือขาดความ เชอ่ื มน่ั ของบุคคล ระบบนนั้ ก็มักจะอย่ตู อ่ ไปไมไ่ ด้ จะต้องประสบกบั ความลม้ เหลวในทสี่ ุด

6 2.1.2.2 องค์ประกอบแบบ 4 ส่วน ซึ่ง 4 ส่วนนี้ ประกอบไปด้วย Input, Processing, Output และ Feedback 1) Input หมายถึง ข้อมูลหรือระบบข้อมูลท่ีใชเ้ ข้าสู่ระบบ เพ่ือประโยชน์ในการ นาไปใช้ในสารสนเทศเพ่ือการบริหาร หรือเพื่อการตัดสินใจ ข้อมูลดังกล่าวมีอยู่ในหลายลักษณะด้วยกัน เชน่ ใบเสรจ็ รบั เงนิ ใบสั่งซือ้ สนิ คา้ เป็นต้น 2) Processing หมายถึง ขัน้ ตอนการปฏิบตั งิ าน ซึ่งอาจจะแบง่ ไดเ้ ป็น (1) การปฏบิ ัติงานตามขัน้ ตอนตา่ ง ๆ ตามท่กี าหนดไว้ (2) การควบคมุ การปฏบิ ัตงิ าน (3) การตรวจสอบผลการปฏิบัตงิ าน (4) การรวบรวมขอ้ มูล (5) การตรวจสอบขอ้ มลู (6) การ Update ข้อมูล (7) การประมวลผลข้อมลู เพอื่ ให้ได้ Output 3) Output หมายถงึ ผลการปฏบิ ัติงานต่างๆ ซง่ึ อาจแบ่งได้เป็น (1) ข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการปฏบิ ัตงิ าน (2) ขอ้ มลู ทไ่ี ดจ้ ากการประมวลผลขอ้ มูล (3) ใบรายงานตา่ ง ๆ จากการปฏบิ ัตงิ าน (4) ใบบนั ทกึ การปฏบิ ตั ิงาน (5) การทาทะเบียนและบญั ชตี ่าง ๆ เป็นต้น 4) Feedback หมายถึง ข้อมูลย้อนกลับ หรือผลสะท้อนท่ีได้รับจากการ ปฏิบตั งิ าน เชน่ ความนิยมในผลงานท่ีไดป้ ฏบิ ตั ิ ความเจริญหรือความเส่อื มของธรุ กจิ เปน็ ต้น 2.1.3 กระบวนการ (Procedure) กระบวนการ คอื การแสดงถึงการทางานแต่ละข้นั ตอน ซึ่งอธิบายใหเ้ หน็ ถึง  สิ่งที่ถกู กระทา (What)  จะทาเมอ่ื ไร (When)  ใครเปน็ คนทา (Who)  จะทาอยา่ งไร (How) ซ่ึงในการที่จะทาการศึกษาระบบใด ก็ตามจะต้องทาความเข้าใจการทางานของระบบนั้น ๆ ให้ดีก่อนโดย การอาศัยคาถามขา้ งต้น 4 ข้อ มาถามตนเองอยู่ตลอดเวลา

7 2.2 ประเภทของระบบ ระบบยงั สามารถท่ีจะแบง่ แยกออกได้หลายลักษณะดว้ ยกนั ท้ังนีข้ ้นึ อยู่กับลกั ษณะความตอ้ งการ ของผใู้ ช้ระบบว่าต้องการแบง่ ระบบออกมาในลักษณะใด การแบง่ ประเภทของระบบแบง่ ไดเ้ ปน็ 2.2.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) และระบบทคี่ นสรา้ งขึน้ (Manmade System) 2.2.1.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) หมายถงึ ระบบทีเ่ ป็นไปตามธรรมชาติหรือ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ หรือโดยการอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ เช่น ระบบไฟฟ้าน้าตกระบบ การค้าขายของเอกชนท่ีเป็นไปโดยธรรมชาติต่างคนต่างทาซ่ึงไม่มีการจัดระบบหรือระเบียนอย่างใดอย่าง หนงึ่ ไว้ 2.2.1.2 ระบบท่ีคนสร้างข้ึน (Manmade System) หมายถึง ระบบท่ีมีการสร้างขึ้นซึ่ง อาจเป็นการสร้างจากระบบธรรมชาติเดิมหรืออาจจะไม่ได้อาศัยธรรมชาติเดิมก็ได้ เช่น ระบบบริหาร ราชการแผน่ ดนิ ทเี่ ป็นไปตามกฎหมาย ระบบธนาคาร ระบบบริษัท ระบบเครื่องจกั ร เปน็ ต้น 2.2.2 ระบบปิด (Close System) และระบบเปิด (Open System) 2.2.2.1 ระบบปิด (Close System) หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทางาน และการ แก้ไขด้วยตัวของระบบเองอย่างอัตโนมัติ โดยระบบไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติได้ด้วย ตนเอง หรือไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้เข้าร่วม การดาเนินการ เม่ือบุคคลภายนอกต้องการขอใช้ บริการจะต้องส่งงานให้บุคคล ในระบบงานเป็นผู้ปฏิบัติให้ ท้ังนี้ เพ่ือเป็นการป้องกันความเสียหายอันจะ เกดิ ขึ้น ของระบบหรือเพอ่ื ป้องกันความลับของการปฏิบัติงานกไ็ ด้ 2.2.2.2 ระบบเปิด (Open System) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทางานด้วย ตัวระบบเอง จะต้องควบคุมดูแลโดยมนุษย์ ระบบที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติงานได้ เช่น ยอมให้บุคคลภายนอกเข้าไปทางานกับ เคร่ืองคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตัวเองเป็นต้น ระบบเปิดส่วนมากเป็น ระบบการใช้เครื่องจักร เช่น ระบบเครือ่ ง ATM หรอื ระบบการใช้หอ้ งสมุดเปน็ ต้น 2.2.3 ระบบคน (Man System) ระบบเคร่ืองจักร (Machine System) และระบบคน– เครือ่ งจักร (Man-Machine System) 2.2.3.1 ระบบคน (Man System หรือ Manual System) หมายถึง ระบบที่การ ปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะใช้แรงงานคน หรือระบบท่ีใช้แรงงานคนในการทางานโดยตรงอาจจะมีเครื่องจักร ช่วยในการทางานบ้างก็ได้ แต่จะต้องเป็นเครื่องจักร ท่ีมีอยู่ภายใต้การควบคุมของคนโดยตรง เช่น ระบบ การประมวลผลด้วยมือ ระบบการลงบัญชีหรือทะเบียนโดยใช้คนเป็นผู้ทาได้แก่ การรับส่งหนังสือ การ พิมพ์หนังสือ การลงทะเบียน ระบบการควบคุมการจราจรโดยใช้เจ้าหน้าท่ีไปทาการโบกรถท่ีถนน การ ทางานอุตสาหกรรมในครัวเรอื นโดยใชค้ นทา การตดั เยบ็ เสอื้ ผ้าด้วยมือ เป็นต้น 2.2.3.2 ระบบเครื่องจกั ร (Machine System) หมายถึง ระบบการทางานท่ีใชเ้ ครอื่ งจักร โดยตรง คือ เครื่องจักรจะเป็นผู้ทางานให้ ซึ่งอาจจะจะใช้คนบ้างเพ่ือควบคุมให้เคร่ืองจักรทางานไ ปได้ เท่าน้ัน เช่น การฝากถอนเงินโดยเคร่ือง ATM การทอผ้าด้วยเคร่ืองทอผ้า การพิมพ์หนังสือของโรงพิมพ์ การบรรจุขวดของนา้ อดั ลม ยา หรอื อาหารกระปอ๋ ง การบรรจุหีบหอ่ ที่ทาโดยตรงด้วยเคร่ืองจักร เป็นต้น

8 2.2.4 ระบบหลกั (Main System) และระบบรอง (Minor System) 2.2.4.1 ระบบหลัก (Main System) หมายถึง ระบบที่วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทาง สาหรับการกาหนด หรือสาหรับการจัดทาระบบรองเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บางอย่างหรือเพื่อให้ เหมาะสมกับหนว่ ยปฏิบตั ิงานยอ่ ย ระบบหลักส่วนมากจะเป็นระบบที่วางไว้อย่างกว้าง ๆ เพื่อให้เข้ากันได้ กับทุกสถานการณ์หรือทุกหนว่ ยงาน 2.2.4.2 ระบบรอง (Minor System) หมายถึง ระบบที่ช่วยเสริมระบบหลักให้สมบูรณ์ หรอื มปี ระสทิ ธิภาพมากขน้ึ เชน่ การทางานท่ีมแี ผนระบบสน้ั และแผนระยะยาว 2.2.5 ระบบใหญ่ (System) และระบบย่อย (Sub System) 2.2.5.1 ระบบใหญ่ (System) หมายถึง ระบบรวม หรือระบบท่ีรวมระบบย่อย ๆ ต้ังแต่ หนึ่งระบบข้ึนไป เพ่ือปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายเดียวกันหรือร่วมกัน เช่นระบบบริหารราชการแผ่นดินท่ีประกอบด้วยกระทรวงและทบวง หรือระบบองค์ประกอบธุรกิจที่ ประกอบดว้ ยฝ่ายหรือแผนกงานต่างๆ 2.2.5.2 ระบบย่อย (Sub System) หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพ่ือปฏิบัติงาน อย่างใดอย่างหนึ่งของระบบใหญ่ หรือเป็นส่วนหน่ึงของระบบใหญ่ ซึ่งถ้าขาดระบบย่อยส่วนใดส่วนหนึ่ง แลว้ ระบบใหญ่จะดาเนินการต่อไปไม่ได้ และระบบยอ่ ย เหล่านีอ้ าจจะแบง่ ออกเปน็ ระบบย่อย ๆ ต่อไปได้ อีกเปน็ ลาดับ ๆ ไป 2.2.6 ระบบธรุ กจิ (Business System) และระบบสารสนเทศ (Information System) 2.2.6.1 ระบบธุรกิจ (Business System) หมายถึงระบบท่ีทางานเพ่ือจุดประสงค์ด้าน ธรุ กจิ โรงงานอตุ สาหกรรม เปน็ ระบบธุรกจิ เพื่อจดุ ประสงคด์ ้านการผลิต ระบบขนส่ง ระบบโรงแรม ระบบ การพิมพ์ ระบบธนาคาร และอ่ืน ๆ อีกมากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นระบบธุรกิจทั้งน้ันแต่ละระบบมี จดุ ประสงคแ์ ตกตา่ งกันออกไป ระบบธุรกิจอาจจะแบ่งเปน็ ย่อย ๆ ลงไปไดอ้ กี 2.2.6.2 ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่ช่วยในการจัดการ ข้อมูลท่ีต้องการใช้ในการจัดการข้อมูลท่ีต้องการใช้ในระบบธุรกิจ ช่วยเก็บตัวเลขและข่าวสารเพ่ือช่วยใน การดาเนินธุรกิจและการตัดสนิ ใจ เช่น ระบบการเก็บข้อมูลลูกค้า อันได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ สินค้าที่ซ้ือขาย การ จ่ายเงิน ของลูกค้าเป็นอย่างอย่างไร มีการติดหนี้หรือหนี้สูญหรือไม่อย่างไร ซึ่งระบบสารสนเทศน้ีอาจจะ ใช้หรือไม่ใช่คอมพิวเตอร์ก็ได้ การแผนข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพเป็นกุญแจสาคัญที่นาไปสู่ความสาเรจ็ ใน ด้านธรุ กิจอยา่ งมาก 2.2.7 ระบบงานประมวลผลข้อมูล (Data – Processing System) หมายถึง ระบบข้อมูลของ คอมพิวเตอร์ท่ีถูกพัฒนาข้ึนเพ่ือตอบสนองความต้องการของธุรกิจเพื่อใช้ประมวลผลข้อมูลจานวนมาก ๆ เป็นประจา เชน่ การประมวลผลเงนิ เดือน สินค้าคงคลัง เป็นตน้ ระบบงานประมวลผลข้อมูลจะเป็นระบบ ท่ีช่วยลดเวลาในการปฏิบัติงานลง โดยอาศัยความสามารถของคอมพิวเตอร์มาทดแทนการประมวลผล ข้อมูลดว้ ยคน

9 2.2.8 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (Management Information System) หมายถึง ระบบ ที่นาข้อมูลมาทางานวิเคราะห์ โดยมีจุดประสงค์เพ่ือสร้างข้อมูลให้กับนักบรหิ ารเพื่อประกอบการตัดสินใจ หรือเรียกระบบนี้วา่ MIS ระบบนีเ้ ป็นระบบงานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Information System) แบบหนึง่ ซงึ่ ต้องการปจั จัย 3 ประการ คือ 2.2.8.1 คน (People) 2.2.8.2 ฮาร์ดแวร์ (Hardware) 2.2.8.3 ซอฟต์แวร์ (Software) 2.2.9 ระบบช่วยการตัดสินใจ (Decision Support System) หมายถึง ระบบการทางานท่ีจะมี ลักษณะโครงสรา้ งการทางานคล้ายกับระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) จะแตกต่างกันตรงท่ี ระบบ น้ีไม่ได้มีการนาข้อมูลมาใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจเท่านั้น แต่ระบบน้ีจะนาข้อมูลมาทาการวิเคราะห์ พรอ้ มกับพิจารณาถึงทางเลือกท่ีเปน็ ไปได้ท้ังหมดของธรุ กจิ และรายงานผลให้นักบริหารทราบว่าทางเลือก ไหนท่ีระบบเห็นว่าดีที่สุด และทางเลือกไหนที่แย่ท่ีสุดลดหล่ันกันไปตามลาดับ ถึงแม้ว่าระบบน้ีจะทาการ เสนอทางเลือกต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ แต่สุดท้ายแล้วการตัดสินใจเลือกขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้บริหาร ระบบนีเ้ รียกอีกอยา่ งวา่ DSS 2.2.10 ระดบั ของผใู้ ช้ระบบ เม่ือมีระบบเกิดข้ึนมาแล้วก็ย่อมต้องมีผู้ใช้ระบบเกิดตามข้ึนมาด้วย ผู้ใช้ระบบในท่ีน้ี หมายถึง บุคคลท่ีเชื่อมโยง เกี่ยวข้อง หรือมีความสัมพันธ์กับระบบ ประเภทของผู้ใช้ระบบสามารถแบ่ง ออกตามขอบเขตหน้าทีแ่ ละความรบั ผดิ ชอบอย่างกว้าง ๆ เป็น 4 กลุ่ม คอื 2.2.10.1 เสมียนพนักงานและผู้ให้บรกิ าร หมายถึง พนักงานท่ีมีหน้าที่เก่ียวกับ การจัด กิจกรรมหรือ จัดกิจกรรมหรอื จดั ทาขอ้ มลู ในลักษณะท่ใี ช้ประจาวัน ในธุรกิจหรือหนว่ ยงานท่สี ังกัดอยู่ 2.2.10.2 หัวหน้าหน่วยหรือซุปเปอร์ไวเซอร์ หมายถึง ผู้ท่ีทาหน้าที่ควบคุมกิจกรรมที่ เกิดขึ้นประจาวันของธุรกิจ หรืออาจกล่าวอีกอย่างหน่ึง คือ บุคคลกลุ่มนี้ จะทาหน้าท่ีควบคุมการ ปฏบิ ัติงานในกลุม่ ของพนกั งานเสมียนและผู้ใหบ้ ริการ 2.2.10.3 ผู้จัดการหรือผู้บริหารระดับกลาง หมายถึง บุคคลท่ีทางานเกี่ยวกับแผนงาน ธุรกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ จะเป็นแผนงานระยะสั้น ทาหน้าที่ คอยควบคุมและจัดการ ให้การปฏิบัติงานของ หนว่ ยงานที่มเี ปน็ ไปตามแผนงานระยะสั้น ท่ีได้วางเอาไว้ 2.2.10.4 ผูอ้ านวยการหรือผูบ้ ริหารระดับสูง หมายถึง บคุ คลท่ีรับผดิ ชอบต่อการวางแผน ระยะยาว และการกาหนดนโยบาย เพื่อให้ธุรกิจนั้นดาเนินไปได้ อย่างมีเป้าหมาย เป็นบุคคลที่จะมอง ธรุ กจิ ไปข้างหนา้ เสมอ

10 2.3 ความสาคญั ของการวเิ คราะหแ์ ละการออกแบบระบบ ความหมายของการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบสามารถแบ่งการให้ความหมายออกเปน็ 2 สว่ น ดว้ ยกัน คือ 2.3.1 การวเิ คราะห์ระบบงาน คาว่า วเิ คราะห์มาจากคาว่า พิเคราะห์ ซง่ึ เป็นการเปล่ียน พ เป็น ว ในภาษาไทยซึ่งแปล ความหมายได้ว่า การพินิจพิเคราะห์ การพิจารณา การใคร่ครวญ การไต่สวนความหรือเรื่องราว ส่วนใน ภาษาอังกฤษก็ได้ให้ความหมายใกล้เคียงกันคือ Determine, Examine และ Investigate ซึ่งคาว่า วิเคราะห์นี้สามารถนาไปใช้กับวิชาการต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น การวิเคราะห์โครงสร้าง การวิเคราะห์เชิง คุณภาพ การวิเคราะหเ์ ชงิ ปรมิ าณ การวเิ คราะห์ปัญหา เป็นต้น คาว่า “วิเคราะห์” ที่ใช้กับการวิเคราะห์ระบบนั้น ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Analysis” ซ่งึ แปลว่า การแยกส่งิ ที่ประกอบกันออกเป็นส่วน ๆ เช่น การแยกระบบใหญ่ออกเป็นสว่ นย่อย ๆ คือ เป็น การแยกปัญหาออกเป็นส่วน ๆ เพ่ือสะดวกในการพิจารณาหรือตัดสินใจ จามความหมายของคาว่า วิเคราะห์ดังกล่าวน้ี จะเห็นว่า การวิเคราะห์ระบบงานไม่ใช่เรื่องท่ียุ่งยากหรือเร่ืองที่สลับซับซ้อนแต่ ประการใด การพิจารณาใคร่ครวญในปัญหาต่าง ๆ ของคนเรานั้น มีวิธีการใหญ่ ๆ อยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ 2.3.1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination) เป็น วิธีที่คนส่วนมากใช้กันเป็นปกติ ธรรมดาโดยอาศัยประสบการณ์และสามัญสานึกของแต่ละบุคคลเป็นหลัก คนที่มีวิจารณญาณสูง ๆ อาจจะสามารถพิจารณาตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วไม่แพ้นักวิชาการทางด้าน วิเคราะห์ระบบ อย่างไรก็ตาม การพิจารณาใคร่ครวญและตัดสนิ ใจด้วยวิธีการน้ีโอกาสทีจ่ ะผิดพลาดอยา่ ง มีสงู ซึง่ เป็นเหตใุ หเ้ กดิ การสูญเสยี แก่ธุรกิจเป็นอย่างมากเชน่ เดียวกัน ดงั น้นั ถา้ เปน็ งานสาคัญ ๆ ทางธุรกิจ แล้วไม่ควรใชว้ ธิ ีนเี้ ป็นอย่างย่งิ 2.3.1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Methodology Determination หรือ System Analysis) เป็นวธิ กี ารพจิ ารณาใครค่ รวญและตดั สนิ ใจโดยอาศยั ระบบทางวิทยาศาสตร์ เชน่ สถิติ และการ คานวณ เป็นต้น วิธีน้ีเป็นวธิ ีท่ีใช้หลักวิชาการทางวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ เข้าช่วยผู้ที่จะทาการวิเคราะห์ จะต้องเป็นผู้ที่มีความรู้ในวิชาการแขนงต่าง ๆ ที่จะใช้ในการวิเคราะห์และออกแบบระบบงาน จึงได้มีการ จดั ให้สอนในสถาบนั การศกึ ษาตา่ ง ๆ ข้ึน นอกจากน้ียังมีคาที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายคลึงกันกับคาว่า “วิเคราะห์” ท่ีควรจะทา ความเข้าใจเพ่ือป้องกันการสับสนในการใช้ เช่น คาว่า การวิจัย การค้นคว้า การค้นคิด เป็นต้น ซึ่งความ จริงแล้วการวเิ คราะห์กับการวิจัยเป็นคนละเร่ือง คนละความมุ่งหมายกัน แต่มีความใกล้เคียงกันมาก การ วิจัยน้ันมุ่งในการค้นหาข้อเท็จจริง หรือความถูกต้องท่ีสุดของปัญหาเช่น การวิจัยภาวะของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย เป็นการหาสาเหตุว่า เป็น เพราะอะไรบ้าง เหลา่ นเ้ี ปน็ ตน้ สว่ นการวเิ คราะห์น้นั จะเป็นการมุ่งหาสาเหตุเพื่อทาการแก้ปญั หาท่ีเกิดข้ึน

11 น้ันให้ดที ีส่ ดุ หรือเหมาะสมทส่ี ดุ เท่าทจ่ี ะทาได้ การแก้ปญั หาท่ีได้จากการวิเคราะห์ระบบนั้นอาจไม่ใช่ทางท่ี ถูกตอ้ งทส่ี ดุ แต่เป็นทางที่ดีท่ีสุดทค่ี วรจะกระทาเท่าน้ัน ทัง้ นเี้ พราะการแก้ไขปัญหาของนักวิเคราะห์ระบบ เป็นการประนีประนอมกับบุคคลในหลาย ๆ ฝ่ายท่ีจะต้องทางานร่วมกันเพื่อให้การทางานของระบบมี ประสิทธภิ าพสูงสุดนน่ั เอง การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) หมายถึง วิธีการวิเคราะห์ระบบใดระบบหนึ่ง โดยมีการคาดหมายและจดุ มุ่งหมายที่จะมีการปรับปรุงและแก้ไขระบบน้ัน การวเิ คราะหน์ ั้นจะต้องทาการ แยกแยะปญั หาออกมาใหไ้ ด้ แลว้ กาหนดปญั หาเปน็ หวั ข้อเพ่ือทาการศึกษา และหาวิธีแกไ้ ขในท่สี ุด การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) หมายถึง วิธีการท่ี ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศข้ึนมาใหม่ในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรือในระบบย่อยของธุรกิจ นอกจากการ สรา้ งระบบสารสนเทศใหม่แล้วการวิเคราะหร์ ะบบชว่ ยในการแก้ไขระบบสารสนเทศเดมิ ทมี่ ีอยแู่ ล้วให้ดีข้ึน ดว้ ยก็ได้ การวเิ คราะห์ระบบ คือ การหาความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือต้องการเพ่ิมเตมิ อะไรเข้ามาในระบบ 2.3.2 การออกแบบระบบงาน การออกแบบ หมายถึง การนาเอาความต้องการของระบบมาเป็นแบบแผน หรือเรยี กว่า พิมพ์เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศให้ใช้งานได้จริง ความต้องการของระบบ เช่น สามารถติดตาม ยอดขายได้เป็นระยะ เพอ่ื ให้ฝา่ ยบริหารสามารถปรับปรงุ การขายไดท้ นั ทว่ งที 2.3.3 นกั วเิ คราะห์ระบบ (System Analysis) เม่ือได้ทาความรู้จักและเข้าใจถึงความหมายของการวิเคราะห์และออกแบบระบบแล้วก็ ตอ้ งมาทาความรู้จักกบั ผทู้ ี่จะมาทาการวเิ คราะห์และออกแบบระบบที่ได้กล่าวถึงมาตงั้ แต่ตน้ ให้ดีก่อนท่ีจะ ไปเร่มิ การทาการวเิ คราะห์และออกแบบระบบตอ่ ไป นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลที่ศึกษาปัญหาซับซ้อนท่ี เกดิ ขน้ึ ในระบบและแยกแยะปญั หาเหล่านั้นอย่างมหี ลักเกณฑ์ นักวิเคราะห์ระบบหรือท่ีเราเรียกกันว่า SA จะทาหน้าที่หาวิธีการแก้ไขปัญหาท่ีแยกแยะเหล่าน้ัน พร้อมทั้งให้เหตุผลด้วยการวิเคราะห์ระบบน้ัน นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกาหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ และต้องกาหนดจุดมุ่งหมายหรือเป้าหมายใน การวเิ คราะห์นัน้ ด้วย นอกจากน้ยี งั ตอ้ งทาความเข้าใจโครงสร้างลักษณะขององค์การน้ันในด้านตา่ ง ๆ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลท่ีมีหน้าที่วิเคราะห์และ ออกแบบระบบ ซ่ึงปกติแล้วนักวิเคราะห์ระบบควรจะอยู่ในทีมระบบสารสนเทศขององค์กรหรือของธรุ กิจ นน้ั ๆ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลท่ีมีหน้าท่ีในการออกแบบ และพัฒนาระบบงานในระบบการประมวลผลข้อมูล ด้วยระบบและวิธีการต่าง ๆ เพ่ือให้ระบบงานบรรลุ ถึงเป้าหมายตามต้องการของผู้ใช้ระบบ เร่ิมต้ังแต่การวิเคราะห์ระบบข้อมูล การออกแบบระบบการ ปฏิบัติงานในการประมวลผลข้อมูล การสร้างข้ันตอนการปฏิบัติงาน การพัฒนาโปรแกรม และการเขียน เอกสารตา่ ง ๆ ประกอบการปฏิบัตงิ านของระบบ

12 จากความหมายข้างต้น จะเห็นได้ว่านักวิเคราะห์ระบบงานเป็นผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับ ระบบงานในการวิเคราะห์และออกแบบระบบการประมวลผล นอกจากน้ันนักวิเคราะห์ระบบยังต้อง รบั ผิดชอบงานในสว่ นทเ่ี กย่ี วกับการจดั หาอปุ กรณ์ตา่ ง ๆ ทเี่ กยี่ วกับคอมพวิ เตอร์ ผู้ทจ่ี ะใชร้ ะบบแฟ้มข้อมูล หรอื ฐานขอ้ มลู ตา่ ง ๆ รวมท้งั ข้อมลู เดมิ ทีจ่ ะป้อนเข้าส่รู ะบบ อีกสิ่งหน่ึงท่ีจะต้องศึกษา คือ ลักษณะโครงสร้างข้อมูลท่ีมีอยู่ในการทางานของ ระบบท่ีทาการวิเคราะห์น้นั และทีส่ าคญั ทีน่ ักวเิ คราะหร์ ะบบจะมองข้ามไปไม่ได้ น่นั คอื คนหรอื บุคลากรท่ี ทางานอยูก่ ับระบบทที่ าการวิเคราะห์ ตอ้ งทาการศึกษาวา่ คนเกีย่ วข้องกบั ระบบอย่างไร เกี่ยวขอ้ งตรงไหน ทาอะไร เพราะคนเปน็ ปัจจยั ท่สี าคัญทส่ี ุด ถา้ ขาดความร่วมมือจากบคุ ลากรท่ที างานอยู่ในระบบท่ีจะศึกษา ก็ถือว่าล้มเหลวไปแล้วคร่ึงหนึ่ง ดังนน้ั จะมองข้ามคนไปไม่ได้ 2.4 ผงั งาน (Flowchart) ผังงาน Flowchart เป็นผังงานท่ีแสดงให้เหน็ ถงึ แนวคิด และขน้ั ตอนการทางานของโปรแกรม อีก ท้ังยงั ช่วยใหม้ องเห็นภาพรวมของโปรแกรมทาให้เขียนโปรแกรมได้งา่ ยขึน้ การเขยี น Flowchart นั้นจะใช้ สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนคาอธิบายและกระบวนการทางานของโปรแกรมในแต่ละส่วนตั้งแต่เร่ิมแรกจนถึง ส้ินสุดการทางานของโปรแกรม เพื่อให้ผู้พัฒนาโปรแกรมได้เข้าใจแนวคิด และการทางานท่ีชัดเจนมาก ทีส่ ุด 2.4.1 สญั ลกั ษณ์ของผังงาน การเขียนผังงาน Flowchart นั้นได้มีการกาหนดสัญลักษณ์ที่ใช้งานให้เป็นสากล และ เปน็ มาตรฐานเดียวกัน โดยการกาหนดมาตรฐานนี้ไดถ้ ูกกาหนดตามแบบของ ANSI (American National Standards Institute) และ ISO (International Standard Organization) เพ่ือส่ือความหมาย และให้ เกิดความเขา้ ใจในสญั ลกั ษณท์ ี่ใชใ้ นการเขียนผงั งาน Flowchart ทัว่ โลก โดยสญั ลักษณ์ต่าง ๆ นนั้ สามารถ แบง่ ออกไดเ้ ปน็ หลายสัญลักษณ์

ตารางท่ี 2.1 สญั ลักษณ์ของผังงาน 13 สญั ลกั ษณ์ Terminal ความหมายและการใช้งาน คา่ เร่มิ ตน้ และสินสุด Input / Output การรบั ขอ้ มูลและแสดงผลข้อมูล Manual Input การรับขอ้ มูลจากคยี บ์ อร์ด Process การประมวลผลหรือการกาหนดคา่ ตารางที่ 2.2 สญั ลกั ษณ์ของผังงาน (ต่อ) สญั ลกั ษณ์ ความหมายและการใช้งาน การแสดงผลขอ้ มลู ผ่านจอภาพ Display การตัดสินใจเม่ือมีทางเลอื ก การแสดงผลโดยพิมพ์ออกเป็นกระดาษ Decision Document

14 Preparation การกาหนดค่าล่วงหนา้ รูปแบบข้อมลู Internal Subroutine การเก็บข้อมูล Connector แสดงจดุ ตอ่ เน่อื งในหนา้ เดียวกนั Off-Page Connector แสดงจดุ ตอ่ เนื่องในคนละหน้ากัน ตารางที่ 2.3 สัญลักษณ์ของผังงาน ความหมายและการใช้งาน สญั ลักษณ์ การรบั ขอ้ มูล-แสดงผลข้อมลู โดยใชบ้ ัตรเจาะรู การรบั ขอ้ มูล-แสดงผลขอ้ มูลโดยใช้เทปกระดาษ Puched Card การรับขอ้ มูล-แสดงผลขอ้ มลู โดยใชเ้ ทปแม่เหล็ก Puched Tape การรับข้อมูล-แสดงผลขอ้ มลู โดยใช้จานแม่เหล็ก Magnetic Tape Magnetic Disk

15 Magnetic Core การรับขอ้ มูล-แสดงผลขอ้ มลู โดยใชแ้ กน Manual Operation แม่เหล็ก External Subroutine การประมวลผลด้วยมอื Sort เรียกใช้โปรแกรมย่อยจากภายนอกโปรแกรมนี แสดงถงึ การจัดเรยี งลาดับข้อมูล ตารางที่ 2.4 สญั ลักษณ์ของผังงาน (ต่อ) ความหมายและการใช้งาน สัญลกั ษณ์ การแยกขอ้ มลู ออกเป็นหลาย ๆ ชดุ Extract การรวมข้อมูลเขา้ มาเป็นชุดเดยี วกนั กระบวนการท่ตี ้องการจดั การข้อมูล Merge แสดงทิศทางของการทางานของโปรแกรม Collate Flowline

16 2.4.2 ประเภทของผงั งาน ประเภทของผังงาน โดยทว่ั ไปผงั งานคอมพวิ เตอรแ์ บง่ เปน็ 2 ประเภทใหญ่ 2.4.2.1 ผังงานระบบ (System Flowchart) เป็นผังงานท่ีแสดงถึงขั้นตอนการ ทางานภายในระบบหนงึ่ ๆ เพ่ือให้เหน็ โครงสรา้ งโดยภาพรวมของระบบ ซ่ึงจะแสดงถึงความเก่ียวข้องของ ส่วนที่สาคัญต่าง ๆ ในระบบนั้น เช่น เอกสารข้อมูลเบ้ืองต้น สื่อบันทึกข้อมูลท่ีใช้ ข้อมูลจะส่งผ่านไปยัง หน่วยงานใด มีกิจกรรมประมวลผลข้อมูลอะไรในหน่วยงานน้ัน แล้วจะส่งต่อไปหน่วยงานใด เป็นต้น ดังนั้นผังงานระบบอาจเก่ียวข้องกับข้อมูล สื่อหรือแหล่งบันทึกข้อมูล วัสดุปกรณ์ คน หรือฝ่ายงานที่ เกี่ยวข้อง ซ่ึงแต่ละจุดจะประกอบไปด้วย การนาข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล และการแสดงผลลัพธ์ (Input – Process - Output) ดงั ภาพ ภาพที่ 2.1 ภาพผังงานระบบ

17 2.4.2.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) ผังงานประเภทนี้แสดงถึง ขั้นตอนของคาส่ังที่ใช้ในโปรแกรม ผังงานน้ีอาจสร้างจากผังงานระบบโดยผู้เขียนผงั งานจะดึงเอาแต่ละจดุ ทเี่ ก่ียวข้องกบั การทางานของเครื่องคอมพิวเตอร์ที่ปรากฏในผังงานระบบมาเขียน เพอื่ ให้ทราบว่าถ้าจะใช้ คอมพิวเตอร์ทางานควรที่จะมีขั้นตอนคาสั่งอย่างไร เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ตามที่ต้องการ และจะได้นามาเขียน โปรแกรมคอมพิวเตอร์ต่อไป ดงั น้นั การเขยี นผังงานกจ็ ะมปี ระโยชน์ เหมาะสาหรับผบู้ ริหาร ผวู้ ิเคราะหร์ ะบบ ผู้เขียนโปรแกรม และบุคคลอ่ืนที่ต้องการศึกษา ทาให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของระบบต้ังแต่เริ่มต้น ว่ามี การปฏิบัติแต่ละข้ันตอนอย่างไร ใช้วิธีการอะไรบ้าง สุดท้ายจะได้ผลลัพธ์อะไรบ้าง เม่ือเข้าใจระบบงาน หรอื สิ่งทกี่ าลงั ศกึ ษาก็จะชว่ ยใหส้ ามารถปฏิบัติงานและแก้ปัญหาได้อย่างมปี ระสิทธภิ าพมากยง่ิ ขนึ้ ดงั ภาพ ภาพท่ี 2.2 ภาพแสดงตวั อยา่ งการกาหนดจดุ เริ่มต้นและส้นิ สุดของการเขียนผงั งาน

18 2.4.3 ประโยชนข์ องผังงาน ผังงานเป็นเคร่ืองมือที่ช่วยให้การศึกษาลาดับข้ันตอนของโปรแกรมง่ายขึ้น จึงนิยมเขียน ผังงานประกอบการเขยี นโปรแกรม ด้วยเหตุผลดงั น้ี 2.4.3.1 คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย เพราะผังงานไม่ข้ึนอยู่กับ ภาษาคอมพิวเตอร์ภาษาใดภาษาหนึ่ง เปน็ เคร่อื งมือทีใ่ ช้ในการสือ่ สารไดท้ ุกภาษา 2.4.3.2 ผังงานเป็นการส่ือความหมายด้วยภาพ ช่วยลาดับข้ันตอนการทางานของ โปรแกรมให้ง่ายและสะดวกต่อการทาความเข้าใจ สามารถนาปเขียนโปรแกรมได้โดยไม่สับสน ซึ่งถ้าหาก ใชข้ อ้ ความหรอื คาพดู อาจจะสือ่ ความหมายผิดไปได้ 2.4.3.3 ในงานโปรแกรมที่ไม่สลับซับซ้อน ช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องของลาดับ ขั้นตอน และแกไ้ ขโปรแกรมไดง้ ่าย เม่อื เกดิ ข้อผดิ พลาด 2.4.3.4 ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทางานของโปรแกรมได้อย่างง่าย สะดวก และ รวดเรว็ มากขนึ้ 2.4.3.5 การบารุงรักษาโปรแกรมหรือการเปล่ียนแปลงแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง ให้มี ประสิทธิภาพ ถ้าพิจารณาจากผังงานจะช่วยให้สามารถทบทวนงานในโปรแกรมก่อนปรับปรุง แก้ไขได้ สะดวกและง่ายขนึ้ 2.4.4 ข้อจากัดของการเขียนผงั งาน นักเขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานก่อนท่ีจะเขียนโปรแกรม เพราะเสียเวลา ในการ เขียนเป็นรูปภาพหรือสญั ลักษณต์ ่าง ๆ นอกจากนย้ี งั มเี หตุผลอน่ื ๆ ไดแ้ ก่ 2.4.4.1 ผังงานเป็นการส่ือความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะส่ือ ความหมายบุคคลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ข้ึนอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนึง่ ทาใหเ้ ครื่องคอมพิวเตอร์ไม่สามารถรบั รู้และเข้าใจว่าผังงานต้องการอะไร 2.4.4.2 ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคาส่ังของภาษาคอมพิวเตอร์บางคาสั่งได้อย่าง ชดั เจน 2.4.4.3 กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข จะทาได้ยาก ควรเขียนแยกเปน็ สว่ น ๆ แล้วค่อยสรา้ งจดุ เชอื่ มโยงในแตล่ ะส่วน 2.4.4.4 การเขียนผังงานอาจเป็นการส้ินเปลืองกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบการ เขียนภาพ ท้ัง ๆ ท่ีการอธิบายงานหรือการเขยี นโปรแกรมจะใชเ้ นือ้ ท่ีเพียง 3 - 4 บรรทดั เท่าน้ัน 2.4.5 วธิ กี ารเขียนผังงานท่ีดี การเขยี นผงั งานควรคานึงถึงสิง่ ต่าง ๆ ดังน้ี 2.4.5.1 ใชส้ ัญลักษณต์ ามทกี่ าหนดไว้ 2.4.5.2 ผงั งานจะตอ้ งมีจดุ เร่มิ ตน้ (Start) และสนิ้ สุด (Stop/End/Finish) 2.4.5.3 ใช้หัวลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่างหรือซ้ายไป ขวา (ยกเว้นทีต่ อ้ งทาซา้ )

19 2.4.5.4 ทุกแผนภาพต้องมีลูกศรแสดงทิศทางเข้า 1 เส้นและออก 1 เส้นโดยไม่ มกี ารปลอ่ ยจุดใดจุดหน่ึงไว้ 2.4.5.5 เขียนคาอธิบายการทางานในแต่ละข้ันตอนโดยใช้ข้อความท่ีสั้น กะทดั รัด ชัดเจนและเข้าใจไดง้ า่ ย 2.4.5.6 ควรหลีกเล่ียงโยงเส้นไปมาทาให้เกิดจุดตัดมากเพราะจะทาให้เกิด ข้อผดิ พลาดงา่ ย ควรใช้สญั ลักษณเ์ ชอ่ื มจุดตอ่ เนื่องแทน 2.4.5.7 ไม่ควรโยงเสน้ เชื่อมผงั งานท่อี ยู่ไกลมาก ๆ ควรใชส้ ญั ลักษณจ์ ุดเช่ือมต่อ แทน 2.4.5.8 ผังงานท่ีดีควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและชัดเจน สามารถเข้าใจและตดิ ตามข้นั ตอนไดง้ า่ ย 2.4.5.9 ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทางานก่อนไปเขียน โปรแกรม 2.5 DFD แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) หรือเรียกอีกอย่างหน่ึงว่า แผนภาการไหล ของข้อมูล เป็นเคร่ืองมือที่ใช้เพื่อแสดงการไหลของข้อมูลและการประมวลผลตา่ ง ๆ ในระบบ สัมพันธ์กับ แหล่งเก็บข้อมูลท่ีใช้ โดยแผนภาพนี้จะเป็นสื่อที่ช่วยให้การวิเคราะห์เป็นไปได้โดยง่าย และมีความเข้าใจ ตรงกันระหว่างผู้วิเคราะห์ระบบเองหรือระหว่างผู้วิเคราะห์ระบบกับโปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู้ วิเคราะห์ระบบกบั ผูใ้ ช้ระบบ (รัชนี กลั ยาวนิ ยั และ อัจฉรา ธารอไุ รกุลม 2542) 2.5.1 ประโยชน์ท่ไี ด้จากการใช้แผนภาพกระแสขอ้ มลู มีดังนี้ 2.5.1 มีความอิสระในการใช้งาน โดยไม่ต้องมีเทคนิคอื่นมาช่วย เนื่องจากสามารถใช้ สัญลกั ษณต์ า่ ง ๆ แทนสงิ่ ทว่ี ิเคราะห์มา 2.5.2 เป็นส่ือที่ง่าต่อการแสดงความสัมพันธ์ระหว่างระบบใหญ่และระบบย่อย ซ่ึงจะทา ให้เขา้ ใจความสัมพันธ์ตา่ ง ๆ ได้ดี 2.5.3 เป็นสื่อท่ีช่วยในการวิเคราะห์ระบบให้เป็นไปได้ง่าย และมีความเข้าใจตรงกัน ระหว่างผ้วู ิเคราะห์ระบบเองหรือระหว่างผวู้ ิเคราะห์ระบบกับโปรแกรมเมอร์ หรือระหวา่ งผู้วิเคราะหร์ ะบบ กับผู้ใช้ระบบ 2.5.4 ช่วยในการวิเคราะห์ระบบให้สะดวก โดยสามารถเห็นข้อมูลและข้ันตอนต่าง ๆ เปน็ แผนภาพ 2.5.2 สญั ลกั ษณ์ทีใ่ ช้ในการเขียนแผนภาพกระแสขอ้ มลู สัญลกั ษณ์ท่ใี ชใ้ นการเขียนแผนภาพกระแสข้อมูลนัน้ ประกอบด้วย 4 สัญลักษณ์ ท่แี สดง ถึงการประมวลผลการไหลของข้อมูล ส่วนท่ีใช้เก็บข้อมูล และสิ่งที่อยู่นอกระบบ โดยได้มีการศึกษาคิดค้น พัฒนาวิธีการอยู่หลายแบบ แต่ท่ีเป็นมาตรฐานมี 2 กลุ่ม คือกลุ่มท่ีคิดค้นโดย Gane and Sarson (1979)

20 และกลุ่มของ DeMarco and Yourdon (SeMarco, 1979) ถึงแม้สัญลักษณ์บางอย่างของสององค์กรน้ี จะต่างกนั แต่องคป์ ระกอบของแผนภาพและหลักการเขียนแผนภาพไม่ไดแ้ ตกต่างกัน ดังตารางที่ 2.2 ตารางท่ี 2.5 สญั ลักษณ์ตา่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการเขยี นแผนภาพการไหลของขอ้ มลู ช่อื สัญลักษณ์ DeMarco & Yourdon Symbols Gane & Sarson Symbols การประมวลผล (Process) แหลง่ เกบ็ ข้อมลู (Data Store) กระแสข้อมูล (Data Flow) สิง่ ที่อยภู่ ายนอก (External Entity) 2.5.3 สญั ลักษณก์ ารประมวลผล (Process Symbol) การประมวลผล (Process) เป็นการเปล่ียนแปลงข้อมูลจากรูปแบบหน่ึง (Input) ไปเป็น อีกรูปแบบหน่ึง (Output) เช่น การคานวณรายได้สุทธิของลกู จ้างรายวนั จะต้องประกอบด้วยข้อมูลาเข้า ท่ีเป็น “อัตราค่าจ้างต่อช่ัวโมง” และ “จานวนช่ัวโมงการทางาน” เม่ือผ่านการประมวลผลแล้วจะได้ “รายได้สุทธิ” ตัวอย่างการประมวลผล ไดแ้ ก่ - คานวณค่าคอมมชิ ชัน - ตรวจสอบใบสง่ั ซือ้ - ลงทะเบยี น เป็นตน้

21 การใช้สญั ลักษณก์ ารประมวลผล 2.5.3.1 ต้องใช้สัญลักษณ์การประมวลผล (Process) คู่กับสัญลักษณ์ กระแสข้อมูล (Data Flow) เสมอ โดยท่ีถ้าลูกศรชี้เข้าหมายถึงเป็นข้อมูลนาเข้า ถ้าลูกศรช้ีออกหมายถึงเป็นข้อมูลออก จากการประมวลผล ซงึ่ 1 Process สามารถมขี ้อมูลนาเข้ามากกว่า 1 เส้น หรอื ข้อมูลออกมากกว่า 1 เสน้ ได้ 2.5.3.2 การต้ังชอ่ื ของ Process ควรเปน็ วลเี ดียวท่อี ธบิ ายการทางานท้ังหมดได้ และควร อธิบายการทางานอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะมากกว่าที่จะอธิบายการทางานอย่างกว้าง ๆ เช่น หาก แสดงถึงการประมวลผล “ตรวจสอบรายการ” ควรจะระบุว่าเป็น “การตรวจสอบรายการถอนเงิน” หรือ “ตรวจสอบรายการค่าใชจ้ า่ ยรายสัปดาห์” เป็นต้น 2.5.3.3 แต่ละ Process จะมแี ตข่ ้อมูลเข้าอยา่ งเดียว หรือออกอยา่ งเดียวไมไ่ ด้ ภาพท่ี 2.3 ภาพตัวอยา่ งการใชส้ ญั ลักษณ์การประมวลผล (Process) 2.5.4 สญั ลักษณก์ ระแสข้อมลู (Data Flow Symbol) กระแสขอ้ มูล (Data Flow) เปน็ เส้นทางในการไหลของข้อมูลจากส่วนหนึง่ ไปยังอีกสว่ น หนึ่งของสารสนเทศ โดยจะมีลูกศรแสดงถึงการไหลจากปลายลูกศร ไปยังหัวลูกศร ซึ่งข้อมูลท่ีปรากฎบน เสน้ น้จี ะเป็นข้อความ ตวั เลข รายการเรคคอร์ดท่รี ะบบคอมพวิ เตอร์สรามารถนาไปประมวลผลได้ ตวั อย่างกระแสข้อมลู ได้แก่ - ใบสงั่ ซ้อื สินค้า - ใบเสร็จรับเงนิ - เกรดของนักศึกษา - ใบสง่ ของทผี่ ่านการตรวจสอบแล้ว เป็นต้น

22 การใช้สัญลกั ษณก์ ระแสข้อมูล 2.5.4.1 กระแสข้อมูลสามารถใช้คู่กับการประมวลผล (Process), ส่ิงที่อยู่นอกระบบ (External Entities) หรอื แหลง่ เกบ็ ขอ้ มลู (Data Store) ก็ได้ ขึน้ อยกู่ ับระบบงานวา่ ข้อมลู นน้ั จะนาไปไว้ ท่ไี หน หรอื ขอ้ มลู นน้ั จะนาออกจากส่วนใด ภาพที่ 2.4 ภาพตัวอย่างการใช้สญั ลักษณ์กระแสข้อมูล (Data Flow) ภาพที่ 2.5 ตัวอยา่ งการใชส้ ัญลักษณ์กระแสข้อมลู (Data Flow) 2.5.4.2 การต้ังช่ือกระแสข้อมูล โดยทั่วไปจะต้ังช่ือด้วยคาเพียงคาเดียว ท่ีมีความหมาย ชัดเจนและเขา้ ใจง่ายควรกากับชือ่ บนเสน้ ดว้ ย คานาม เชน่ “เวลาทางาน”, “ใบสง่ั ซือ้ สนิ คา้ ” เป็นตน้ 2.5.4.3 ควรตัง้ ช่ือกระแสขอ้ มลู ตามข้อมลู ทไี่ ด้เปล่ียนแปลงไปแลว้ หลงั จากออกจากการ ประมวลผล เนื่องจากการประมวลหรอื Process ใชแ้ สดงถงึ การเปล่ยี นขอ้ มูลหรอื การสง่ ผ่านขอ้ มลู ดงั นนั้ Data Flow ท่ีออกจาก Process มักจะมีการเขียนช่ือกากับให้แตกต่างออกไปจาก Data Flow ที่เข้ามา ใน Process เสมอ 2.5.5 สัญลักษณแ์ หลง่ เกบ็ ขอ้ มลู (Data Store Symbol) แหล่งท่ีเก็บข้อมูล (Data Store) เป็นส่วนท่ีใช้แทนช่ือแฟ้มข้อมูลท่ีเก็บข้อมูล เพราะมี การประมวลผลหลายแบบที่จะต้องมีการเก็บข้อมูลไว้เพื่อท่ีจะได้นาไปใช้ภายหลัง ซ่ึงแหล่งเก็บข้อมูล จะต้องมีทั้งข้อมูลเข้าและข้อมูลออกโดยข้อมูลท่ีออกจากแหล่งเก็บข้อมูลจะอยู่ในลักษ ณะที่ถูกอ่านข้ึนมา ส่วนข้อมูลทไ่ี หลเข้าสแู่ หล่งเก็บข้อมลู จะอยูใ่ นรปู ของการบนั ทึก การเพิ่ม-ลบ แก้ไข ตวั อย่างแหลง่ เก็บข้อมลู ได้แก่ - แฟ้มคนไข้ - แฟ้มพนักงาน เปน็ ต้น

23 การใชส้ ญั ลกั ษณ์แหลง่ เก็บข้อมูล 2.5.5.1 ต้องใช้สัญลักษณ์แหล่งเก็บข้อมูล (Data Store) คู่กับสัญลักษณ์ กระแสข้อมูล (Data Flow) เสมอ โดยท่ีถ้าลูกศรชี้เข้าหมายถึง เป็นข้อมูลนาเข้าไปเก็บยังแหล่งเก็บ ถ้าลูกศรชี้ออก หมายถงึ อา่ นข้อมลู จากแหลง่ เกบ็ ขอ้ มลู ไปใชใ้ นการประมวลผล 2.5.5.2 Data Store ตอ้ งเชื่อมต่อการประมวลผล (Process) เสมอโดยเช่อื มผ่านกระแส ขอ้ มลู (Data Flow) 2.5.5.3 เน่ืองจาก Data Store ใช้แทนส่ิงท่ีเก็บข้อมูลเกี่ยวกับคน, สถานที่, หรือส่ิงของ ดงั นั้นควรเขยี นชอ่ื กากบั ด้วยคานาม เชน่ “แฟ้มขอ้ มูลสินคา้ ”, “แฟม้ เวลาทางานของพนกั งาน” เปน็ ตน้ ภาพท่ี 2.6 ภาพตวั อย่างการใช้สญั ลกั ษณ์แหลง่ ที่เกบ็ ข้อมูล (Data Store) ภาพที่ 2.7 ตัวอย่างการใชส้ ญั ลักษณ์แหล่งท่ีเกบ็ ข้อมูล (Data Store)

24 2.5.6 สัญลักษณ์ส่ิงทอี่ ยู่ภายนอก (External Entity Symbol) สิ่งที่อยู่ภายนอก (External Entity) เป็นส่วนท่ีใช้แทนคน แผนกภายในองค์กรและ แผนกภายนอกองค์กรหรอื ระบบสารสนเทศอื่นที่เป็นส่วนทจ่ี ะให้ขอ้ มูลหรือรับข้อมลู สิ่งท่ีอยู่นอกระบบนี้ใช้แสดงถึงขอบเขตของระบบสารสนเทศ และแสดงถึงว่าระบบท่ี ศึกษาอยนู่ ้ีจะตดิ ต่อกับส่ิงทีอ่ ยู่ภายนอกดว้ ยวิธใี ด (นาข้อมูลเขา้ มา หรือไดข้ ้อมลู ออกไป) ภาพท่ี 2.8 ภาพตวั อยา่ งการใชส้ ัญลักษณ์สง่ิ ท่ีอยภู่ ายนอก (External Entities) 2.6 ER-Model ER โมเดล (Entity-Relationship Model) ใช้ในการออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด (High- Level Conceptual Data Model) เพ่ืออธิบายถึงเค้าร่างของฐานข้อมูล (Conceptual Database Schema) ที่ประกอบด้วยความหมายของเอนทิตี้ (Entity) คุณลักษณะของเอนทิต้ี (Entity) หรือแอททริ บิวต์และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Relationship) โดยการโมเดลข้อมูลด้วย ER โมเดลที่ช่วยในการ ออกแบบในระดับแนวคิดจะไม่คานึงว่าโมเดลของระบบจัดการฐานข้อมูลท่ีจะเลือกใช้หรือโครงสร้างการ จัดเก็บข้อมลู จรงิ เปน็ อยา่ งไร ER โมเดล เป็นการออกแบบในระดับแนวคิดในลักษณะจากบนมาล่าง (Top-Down Strategy) โดยผลจากการออกแบบฐานข้อมูลได้เคา้ รา่ งในระดบั แนวคดิ ทีป่ ระกอบดว้ ย  เอนทิตี้ท่คี วรจะมใี นระบบ  ความสมั พันธ์ระหว่างเอนทิตวี้ า่ เป็นอย่างไร  แอททริบิวต์ซ่งึ เป็นรายละเอยี ดท่อี ธิบายเอนทิต้ี และมีความสัมพันธก์ ันอยา่ งไรบ้าง

25 2.6.1 สญั ลักษณท์ ใี่ ช้ ER โมเดลจะมีการใช้สัญลักษณ์เพื่อแทนความหมายของเอนทิต้ี แอทริบิวต์และ ความสมั พนั ธข์ องเอนทิต้ีในฐานขอ้ มลู ทอ่ี อกแบบ ดงั นี้ 2.6.1.1 สญั ลักษณใ์ นการโมเดล ER แบบ Chen ภาพที่ 2.9 ภาพแสดงสัญลักษณ์ใน ER-Model แบบ Chen ภาพที่ 2.10 ภาพแสดงสัญลักษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ต่อ)

26 ภาพที่ 2.11 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ตอ่ )

27 2.6.1.2 สญั ลักษณ์ในการโมเดล ER แบบ Crow’s Foot ภาพที่ 2.12 ภาพแสดงสัญลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Crow’s Foot

28 ภาพที่ 2.13 ภาพแสดงสญั ลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Crow’s Foot (ต่อ) กล่าวโดยสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้สามารถเขียนได้หลายรูปแบบ หากนา รายละเอียดความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ท่ีกล่าวมาท้ังหมดข้างต้นมาประกอบกันความสัม พันธ์ระหว่าง เอนทติ ้ี จะสามารถโมเดลความสัมพันธ์และขอ้ กาหนดคารด์ ินลั ลติ ข้ี องเอนทติ ้ีในลักษณะต่าง ๆ 2.7 ระบบฐานข้อมูล (Database System) ระบบฐานข้อมูล คือ ระบบที่รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบ มี ความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูลต่าง ๆ ท่ีชัดเจน ในระบบฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มที่มี ข้อมูล เก่ียวข้องสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและเปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถใช้งานและดูแล รักษาป้องกันข้อมูลเหล่าน้ี ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีซอฟต์แวร์ที่เปรียบเสมือนส่ือกลางระหว่างผู้ใช้ และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (data base management system) มีหน้าท่ีช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและมีประสิทธิภาพ การ เข้าถงึ ขอ้ มูลของผใู้ ชอ้ าจเปน็ การสร้างฐานข้อมูล การแก้ไขฐานข้อมูล หรอื การต้ังคาถามเพอ่ื ใหไ้ ด้ข้อมูลมา โดยผใู้ ช้ไม่จาเป็นตอ้ งรบั รู้เกีย่ วกับรายละเอียดภายในโครงสรา้ งของฐานข้อมลู

29 2.7.1 ลกั ษณะขอ้ มูลในฐานข้อมูล ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลที่เกี่ยวข้องกันที่จะนามาใช้ในระบบต่าง ๆ ร่วมกัน ฐานข้อมูลเป็นการจัดเก็บข้อมลู อย่างเป็นระบบ ทาให้ผู้ใช้สามารถใช้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ ร่วมกันได้ โดยท่ีจะไม่เกิดความ ซ้าซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกท้ังข้อมูลในระบบก็จะถูกต้อง เช่ือถอื ได้ และเป็นมาตรฐานเดยี วกนั โดยจะมีการกาหนดระบบความปลอดภยั ของข้อมลู ขนึ้ 2.7.1.1 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลใน รูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเปน็ คอลัมน์ (column) การเช่ือมโยงข้อมลู ระหว่างตาราง จะเชื่อมโยงโดยใช้แอททริบวิ ต์ (attribute) หรือคอลัมน์ท่ีเหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเช่ือมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์น้ีจะเป็นรูปแบบของ ฐานขอ้ มูลที่นิยมใชใ้ นปัจจบุ นั 2.7.1.2 ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)ฐานข้อมูลแบบ เครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์จะแฝงความสมั พันธ์เอาไว้ โดยระเบียนท่ีมีความสมั พันธ์กันจะต้องมี ค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดง ความสมั พนั ธอ์ ยา่ งชดั เจน 2.7.1.3 ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น (Hierarchical Database)ฐานข้อมูลแบบ ลาดับชั้น เป็นโครงสร้างท่ีจัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ -ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในท่ีน้ี คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิต้ีหนึ่ง ๆ ฐานข้อมูลแบบลาดบั ชน้ั น้ีคล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบเครือข่าย แต่ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลาดับชั้น มีกฎเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่ง ประการ คอื ในแตล่ ะกรอบจะมลี ูกศรว่ิงเข้าหาได้ไมเ่ กิน 1 หัวลกู ศร 2.7.2 ประโยชน์ของฐานข้อมูล 2.7.2.1 ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้าซ้อน ข้อมูลบางชุดท่ีอยู่ในรูปของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏ อยู่หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดน้ีหลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยให้ความซ้าซ้อนของ ข้อมลู ลดน้อยลง 2.7.2.2 รกั ษาความถูกตอ้ งของข้อมูล เน่ืองจากฐานข้อมลู มีเพยี งฐานข้อมูลเดยี ว ในกรณี ทม่ี ขี ้อมลู ชดุ เดียวกันปรากฏอยูห่ ลายแห่งในฐานข้อมูล ข้อมลู เหล่าน้ีจะตอ้ งตรงกนั ถ้ามีการแก้ไขขอ้ มูลนี้ ทุก ๆ แห่งที่ข้อมูลปรากฏอยูจ่ ะแก้ไขให้ถูกต้องตามกันหมดโดยอัตโนมตั ิด้วยระบบจัดการฐานข้อมูล 2.7.2.3 การป้องกันและรักษาความปลอดภยั ให้กับข้อมูลทาได้อยา่ งสะดวก การป้องกัน และรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผู้ท่ีเกี่ยวข้องเท่านั้น ซึ่งก่อให้เกิดความ ปลอดภัย(security) ของขอ้ มลู ด้วย

30 ภาพท่ี 2.14 แสดงแผนฐานข้อมูล

บทที่ 3 วธิ ีดาเนินงาน ในการดาเนินงานวิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของชา ร้านป้ามาลี คณะผู้จัดทาได้มีการ รวบรวมข้อมลู และนามาวิเคราะห์ระบบและกาหนดกระแสข้อมลู ตา่ ง ๆ โดยมหี วั ขอ้ ดังน้ี 3.1 การเก็บรวบรวมข้อมลู 3.2 วิเคราะห์ระบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model 3.4 ออกแบบฐานข้อมูลและสร้างความสัมพันธโ์ ดยใช้ Microsoft Access 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู คณะผจู้ ดั ทาได้มีการรวบรวมข้อมลู จากผู้ประกอบการหรือเจา้ ของรา้ น โดยมกี ารต้ังคาถามตา่ ง ๆ และไดด้ าเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพอื่ ใช้ในการดาเนนิ งาน ดั้งนี้ 3.1 คณะผจู้ ัดทา ทาการเกบ็ วางแผนและรวบรวมข้อมลู เพือ่ ดาเนินกจิ กรรม 3.2 คณะผู้จัดทา ได้ทาการสร้างคาถามขึ้นจานวน 15 ข้อ เพ่ือสัมภาษณ์กับเจ้าของร้านที่จะไป ศกึ ษา 3.3 คณะผู้จัดทา ได้ทาการสัมภาษณ์กับเจ้าของโดยใช้คาถามที่สร้างข้ึนจานวน 15 ข้อ กับ เจ้าของรา้ นผา่ นทาง Online เนอ่ื งในสถานการณ์ Covid-19 ทาให้ไม่สามารถลงไปพื้นทเี่ พ่ือสัมภาษณ์กับ เจา้ ของรา้ นได้ 3.4 นาข้อมลู ทไี่ ดจ้ ากการสัมภาษณก์ ับเจา้ ของร้านมาเรียบเรยี งและวเิ คราะห์เพ่ือนามาออกแบบ ระบบ

32 3.2 วิเคราะห์ระบบโดยใช้ DFD คณะผ้จู ัดทาได้ทาการวิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD โดยมีรูปแบบ ดงั นี้ 3.2.1 Context Diagram Level 0 ร้านปา้ มาลี ภาพที่ 3.1 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของชา ร้านป้ามาลี จากภาพที่ 3.1 Context Diagram Level 0 มขี บวนการทางานดงั น้ี โดยระบบนี้มีการติดตอ่ กบั ลูกค้า ท่ีมาใช้บริการร้านป้ามาลีตัวแทนจาหน่ายและเจา้ ของรา้ น โดยประกอบด้วย Process: รา้ นป้ามาลี Data Flow In: สัง่ ซอ้ื สินคา้ , รายการส่ังซื้อสนิ ค้า, ชาระเงิน, รายงานการขายสินค้า Data Flow Out: สนิ ค้า, รายการสินคา้ , รายการส่ังซื้อสินค้า, ใบเสรจ็ รบั เงิน, รายงานการสงั่ ซ้ือสินคา้

33 3.2.2 Context Diagram Level 1 รา้ นป้ามาลี ภาพที่ 3.2 ภาพวิเคราะห์ Context Diagram Level 1 ร้านป้ามาลี จากภาพที่ 3.2 Context Diagram Level 1 มีขบวนการทางานดังนี้ โดยเริ่มต้นจะมีการ ตรวจสอบขอ้ มูลของลกู ค้ากอ่ นจึงจะสามารถทารายการสั่งซื้อสนิ ค้าได้ เมือ่ ได้รับรายส่ังซื้อสินค้าแล้วก็จะมี การบนั ทกึ ข้อมูลการขายสินค้าและเช็คสนิ ค้าในคลังเกบ็ สนิ คา้ น้ัน ๆ และมีการจดั ทารายงานเมื่อมรี ายการ สั่งซ้ือเข้ามาก็จะมีการตรวจสอบรายการสินค้าคงเหลือ ข้อมูลการขายสินค้า จากนั้นจะรายงานการขาย สินค้าให้กับเจา้ ของร้าน และนารายการส่ังซ้อื สินค้าไปให้แผนกจัดซอ้ื แผนกจัดซอื้ จะนาใบสง่ั ซอ้ื สินค้าไปท่ี ตัวแทนจาหน่าย และเม่ือได้สินค้าแล้วก็จะตรวจสอบสินค้าก่อนส่งไปให้ลูกค้า เมื่อลูกค้าได้รับสินค้าและ ชาระเงินเรียบร้อยแลว้ จะมกี ารบนั ทกึ ในบญั ชีและให้ใบเสรจ็ รบั เงนิ แกล่ ูกค้าแลว้ นาไปจัดทารายงาน

34 3.3 ออกแบบ ER-Model เมอ่ื คณะผจู้ ดั ทาได้ทาการวิเคราะหร์ ะบบในส่วนของ DFD เรียบร้อยแลว้ หลงั จากนั้นคณะผูจ้ ดั ทา ไดท้ าการออกแบบ ER-Model ขึน้ มา โดยมีดังน้ี 3.3.1 Chen ER-MODEL ร้านป้ามาลี ภาพท่ี 3.3 ภาพออกแบบ Chen ER-MODEL ร้านปา้ มาลี

35 3.3.2 Craw's Foot ER-MODEL ร้านป้ามาลี ภาพที่ 3.4 ภาพออกแบบ Craw's Foot ER-MODEL รา้ นป้ามาลี

36 3.4 ออกแบบฐานข้อมูลและสรา้ งความสัมพันธ์โดยใช้ Microsoft Access หลงั จากทคี่ ณะผ้จู ัดทาได้ทาการศึกษาและวิเคราะหร์ ะบบ ไดท้ าการออกแบบตารางข้อมูลและ สร้างความสมั พันธ์หรือ Entity Relationship Diagram ของระบบฐานข้อมลู การขายสนิ คา้ 3.4.1 การออกแบบตารางข้อมลู ภาพที่ 3.5 การออกแบบตารางขอ้ มูลรา้ นป้ามาลี 3.4.1.1 การออกแบบตารางข้อมูล Customer ภาพท่ี 3.6 ออกแบบตารางข้อมูล Customer 3.4.1.2 การออกแบบตารางข้อมลู Products ภาพที่ 3.7 ออกแบบตารางข้อมลู Products

37 3.4.1.3 การออกแบบตารางข้อมูล Employee ภาพท่ี 3.8 ออกแบบตารางข้อมลู Employee 3.4.1.4 การออกแบบตารางข้อมูล Orders ภาพที่ 3.9 ออกแบบตารางข้อมูล Orders 3.4.1.5 การออกแบบตารางข้อมลู Order Details ภาพท่ี 3.10 ออกแบบตารางขอ้ มลู Order Details 3.4.1.6 การออกแบบตารางข้อมูล Category ภาพที่ 3.11 ออกแบบตารางข้อมูล Category

38 3.4.1.7 การออกแบบตารางข้อมูล Receipt ภาพที่ 3.12 ออกแบบตารางข้อมูล Receipt 3.4.2 การสร้างความสัมพันธ์หรือ Entity Relationship Diagram หลังจากท่ีคณะผู้จัดทาได้ทาการออกแบบตารางของข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็จะมา ดาเนินการสร้างความสมั พันธห์ รือ Entity Relationship Diagram ดงั ภาพ 3.13 ภาพท่ี 3.13 การสร้างความสัมพันธห์ รือ Entity Relationship Diagram

บทที่ 4 ผลการดาเนินงาน 4.1 การออกแบบระบบรา้ นขายของชา รา้ นปา้ มาลี 4.1.1 ออกแบบหน้า Login ภาพที่ 4.1 หนา้ จอ Login

40 4.1.2 ออกแบบหนา้ Menu ภาพท่ี 4.2 รายการสินรายการสนิ ค้า ภาพที่ 4.3 รายการสนิ รายการสนิ คา้

41 ภาพท่ี 4.4 รายการสนิ รายการสินค้า ภาพท่ี 4.5 รายการสินรายการสินค้า

42 4.1.3 ออกแบบหน้ารายการสั่งซอื้ ภาพท่ี 4.6 รายการส่งั ซ้ือ 4.2 การจดั เก็บ Data Base 4.2.1 แสดงขอ้ มูลลกู คา้ ภาพท่ี 4.7 แสดงข้อมลู ลูกค้า ภาพท่ี 4.8 แสดงข้อมูลลูกคา้ (ตอ่ )


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook