Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ระบบร้านขายของชำร้านป้ามาลี

ระบบร้านขายของชำร้านป้ามาลี

Description: -

Search

Read the Text Version

ระบบร้านขายของชำ ร้านปา้ มาลี นายวรฤทธิ์ สำเนียงลำ้ นายศุภโชค บรรจบ นายสภุ กิณห์ กิจประเสรฐิ ระดับชนั้ ประกาศนียบัตรวชิ าชีพ (ปวส.) ปที ี่ 1/1 แผนกเทคโนโลยีธุรกจิ ดจิ ทิ ัล เสนอ ครูจิรวรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นเ้ี ปน็ สว่ นหนึ่งของวชิ าการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบเชิงวตั ถุ รหัสวชิ า 30204-2003 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศกึ ษา 2564 วทิ ยาลยั เทคนิคจนั ทบรุ ี สำนักงานคณะกรรมการการอาชวี ศกึ ษา

ระบบร้านขายของชำ ร้านปา้ มาลี นายวรฤทธิ์ สำเนยี งลำ้ นายศุภโชค บรรจบ นายสุภกณิ ห์ กิจประเสรฐิ ระดบั ชั้นประกาศนียบตั รวิชาชีพ (ปวส.) ปที ี่ 1/1 แผนกเทคโนโลยีธรุ กจิ ดจิ ทิ ัล เสนอ ครูจริ วรรณ มะลาไสย รายงานเลม่ นี้เปน็ สว่ นหนงึ่ ของวิชาการวิเคราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003 ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 วิทยาลยั เทคนคิ จันทบรุ ี สำนกั งานคณะกรรมการการอาชวี ศึกษา

คำนำ รายงานคร้งั น้ีจัดทำขึน้ เพ่ือประกอบการเรยี นในรายวิชาการวเิ คราะห์และออกแบบระบบเชิงวัตถุ รหัสวิชา 30204-2003 หลกั สูตรประกาศนยี บัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) อาชวี ศึกษา โดยจดั ทำขนึ้ เพอื่ ศึกษา วิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของชำ ร้านป้ามาลี และเป็นการศึกษาเรียนรู้โดยตัวผู้เรียน ศึกษา และปฏิบัตโิ ดยใชท้ กั ษะและสมรรถนะตามรายวชิ า คณะผู้จัดทำได้ทำรายงานผลการวิจัย ได้ทำการศึกษาค้นคว้า รวบรวมข้อมูลและนำมาวเิ คราะห์ ออกแบบระบบ คณะผู้จดั ทำหวังว่ารายงานเล่มนจี้ ะเป็นประโยชนแ์ กผ่ ู้ท่อี ่านหรือผู้ทส่ี นใจและกำลังศึกษา เรอ่ื งนี้อยู่ หากมีข้อผิดพลาดประการใด ผู้วจิ ัยขอนอ้ มรับไวแ้ ละขออภยั มา ณ ทีน่ ด้ี ว้ ย คณะผจู้ ัดทำ ก

สารบัญ หน้า ก คำนำ ข สารบัญ ค สารบัญ (ตอ่ ) ง สารบญั ตาราง จ สารบญั รูปภาพ ฉ สารบญั รปู ภาพ (ต่อ) 1 บทที่ 1 บทนำ 1 1 หลกั การและเหตุผล 1 วตั ถุประสงค์ของการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 2 เป้าหมาย 2 การติดตามผลและการประเมิน 2 ประโยชนท์ ่ีคาดว่าจะได้รบั 3 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 3 บทท่ี 2 แนวคดิ ทฤษฎี เอกสารและงานวิจยั ทเี่ กี่ยวขอ้ ง 7 ระบบ (System) 10 ประเภทของระบบ 13 ความสำคัญของการวิเคราะห์และการออกแบบระบบ 21 ผงั งาน (Flowchart) 26 DFD 30 ER-Model 33 ระบบฐานข้อมูล (Database System) 33 บทที่ 3 วิธีดำเนินงาน 34 การเก็บรวบรวมขอ้ มูล 36 วิเคราะห์ระบบโดยใช้ DFD ออกแบบ ER-Model ข

สารบัญ (ตอ่ ) หน้า 37 ออกแบบฐานข้อมูลและสร้างความสัมพันธ์โดยใช้ Microsoft Access 41 บทที่ 4 ผลการดำเนนิ งาน 41 43 การออกแบบระบบร้านขายของชำ รา้ นป้ามาลี 47 การจดั เก็บ Data Base 47 บทท่ี 5 สรปุ ผลการวเิ คราะห์ ออกแบบระบบและข้อเสนอแนะ 47 วตั ถปุ ระสงค์ของการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 47 การเกบ็ รวบรวมข้อมูล 47 สรุปผลการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบ 48 ข้อเสนอแนะ 49 บรรณานกุ รม 50 ภาคผนวก ก 51 Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของชำ ร้านปา้ มาลี 52 ภาคผนวก ข 53 Context Diagram Level 1 ระบบร้านขายของชำรา้ นป้ามาลี 54 ภาคผนวก ค 55 ER-Model ระบบร้านขายของชำร้านปา้ มาลี 56 ภาคผนวก ง Entity Relationship Diagram รา้ นขายของชำร้านปา้ มาลี ค

สารบัญตาราง หน้า 2 ตารางที่ 14 1.1 ระยะเวลาที่ใช้ในการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ 15 2.1 สญั ลักษณข์ องผงั งาน 16 2.2 สญั ลักษณ์ของผงั งาน (ต่อ) 17 2.3 สญั ลักษณข์ องผังงาน (ต่อ) 21 2.4 สัญลกั ษณ์ของผังงาน (ต่อ) 22 2.5 สัญลกั ษณต์ า่ ง ๆ ทใ่ี ชใ้ นการเขียนแผนภาพการไหลของข้อมูล 2.5 สญั ลกั ษณต์ ่าง ๆ ทใ่ี ช้ในการเขียนแผนภาพการไหลของขอ้ มูล(ตอ่ ) ง

สารบญั รปู ภาพ หนา้ 17 ภาพท่ี 19 2.1 ภาพผังงานระบบ 23 2.2 ภาพแสดงตวั อย่างการกำหนดจุดเริม่ ต้นและสนิ้ สุดของการเขียนผังงาน 24 2.3 ภาพตวั อย่างการใชส้ ัญลกั ษณ์การประมวลผล (Process) 24 2.4 ภาพตัวอยา่ งการใชส้ ญั ลักษณ์กระแสขอ้ มูล (Data Flow) 25 2.5 ตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์กระแสข้อมูล (Data Flow) 25 2.6 ภาพตวั อยา่ งการใช้สัญลักษณ์แหลง่ ที่เกบ็ ข้อมูล (Data Store) 26 2.7 ตัวอย่างการใช้สัญลกั ษณ์แหล่งท่ีเก็บข้อมูล (Data Store) 27 2.8 ภาพตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์ส่ิงทีอ่ ยูภ่ ายนอก (External Entities) 27 2.9 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Chen 28 2.10 ภาพแสดงสัญลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ตอ่ ) 29 2.11 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Chen (ตอ่ ) 30 2.12 ภาพแสดงสัญลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Crow’s Foot 34 2.13 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Crow’s Foot (ตอ่ ) 35 3.1 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 0 ระบบร้านค้าขายของชำ ร้านปา้ มาลี 36 3.2 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 1 ระบบร้านคา้ ขายของชำ ร้านป้ามาลี 37 3.3 ภาพออกแบบ Chen ER-MODEL รา้ นคา้ ขายของชำ ร้านปา้ มาลี 37 3.4 ภาพออกแบบ Craw's Foot ER-MODEL ร้านคา้ ขายของชำ รา้ นป้ามาลี 38 3.5 การออกแบบตารางขอ้ มูลร้านคา้ ขายของชำ รา้ นป้ามาลี 38 3.6 ออกแบบตารางข้อมูล Customer 38 3.7 ออกแบบตารางข้อมลู Products 3.8 ออกแบบตารางข้อมูล Employee จ

สารบญั รปู ภาพ (ตอ่ ) หนา้ 38 ภาพท่ี 39 3.9 ออกแบบตารางข้อมูล Orders 39 3.10 ออกแบบตารางข้อมลู Order Details 39 3.11 ออกแบบตารางข้อมลู Category 40 3.12 ออกแบบตารางข้อมูล Receipt 41 3.13 การสรา้ งความสัมพนั ธ์หรือ Entity Relationship Diagram 42 4.1 หน้าจอ Login 43 4.2 รายการสินรายการสินคา้ 43 4.3 รายการสง่ั ซือ้ 44 4.4 แสดงขอ้ มลู ลูกคา้ 44 4.5 แสดงขอ้ มูลลูกค้า (ต่อ) 44 4.6 แสดงข้อมลู สินค้า 44 4.7 แสดงขอ้ มูลสนิ ค้า (ต่อ) 45 4.8 แสดงข้อมลู รายการขายสินค้า 45 4.9 แสดงขอ้ มูลรายการขายสินคา้ (ตอ่ ) 45 4.10 แสดงข้อมลู การส่ังซ้อื สินค้า 45 4.11 แสดงข้อมูลการสั่งซ้ือสินค้า (ตอ่ ) 45 4.12 แสดงข้อมลู ประเภทสินคา้ 46 4.13 แสดงข้อมลู ประเภทสินคา้ (ต่อ) 46 4.14 แสดงข้อมลู ใบเสร็จ 46 4.15 แสดงข้อมูลใบเสรจ็ (ต่อ) 46 4.16 แสดงข้อมูลพนักงาน 4.17 แสดงข้อมลู พนักงาน (ต่อ) ฉ

บทท่ี 1 บทนำ 1.1 หลักการและเหตุผล ในการเปิดร้านขายของชำนั้นเป็นอาชีพที่เน้นการขายของอย่างหลากหลายของกินของใช้ของ จิปาถะและจำหน่ายให้กับลูกค้าโดยลูกค้าส่วนใหญ่นั้นนิยมซื้อของกินเล่นและของใช้ในครัวเรือน ซึ่งร้าน ขายของชำโดยทั่วไปนั้นลูกค้ามักจะอยู่ใกล้ร้านเสมอเพื่อความสะดวกสบายในการเดินทางอย่างร วดเร็ว และเป็นการสนับสนุนคนในชุมชนด้วยกันเองได้อีกด้วย ในการแข่งขันของร้านขายของชำนั้นมักจะ แตกต่างไปในแต่ละพื้นที่ ถ้าเป็นชุมชนขนาดใหญ่จะมีการแข่งขันที่สูงทั้งนี้ขึ้นอยู่กับจำนวนครัวเรือนใน บริเวณรอบ ๆ ร้านขายของชำอีกด้วย ร้านขายของชำส่วนใหญ่นั้นมีความเป็นกันเอง สนิทสนมกับลูกค้า เพ่อื สรา้ งความสัมพันธท์ ดี่ เี พื่อให้ลกู ค้าเกิดความสนใจที่จะมาซ้อื ของทีร่ ้านค้ามากยิ่งขน้ึ เนื่องจากร้านขายของชำ ร้านป้ามาลี เป็นการขายสินค้าอยู่ในรูปแบบธุรกิจทีเ่ ป็นกิจการเจ้าของ คนเดียวซึ่งทำให้ร้านขายของชำ ร้านป้ามาลีมีพนักงานคิดเงินแค่คนเดียว ทำให้มีการบริการที่ไม่ท่ัวถึงจงึ เกดิ ความลา่ ช้าในการคิดเงินให้กบั ลูกคา้ ซ่งึ รวมไปถึงปริมาณของสนิ ค้าทมี่ ีไมเ่ พยี งพอตอ่ ความต้องการของ ผู้บริโภค แต่ในปัจจุบันความหลากหลายของสินคา้ คือจุดเด่นของร้านขายของชำทำให้มีลูกค้าจำนวนมาก ทมี่ าซ้อื ของกินของใชภ้ ายในบา้ นและของจิปาถะทำให้ร้านมกี ารพฒั นามากกวา่ แต่ก่อน ดังนั้น คณะผู้จัดทำได้มีแนวคิดในการทำระบบของร้านของชำ ร้านป้ามาลี นี้ขึ้นมาเพื่อประยุกต์ ใหร้ า้ นขายของชำ รา้ นปา้ มาลี มรี ะบบท่มี ีประสทิ ธิภาพ โดยมเี ทคโนโลยตี ่าง ๆ และมีการวเิ คราะห์ในส่วน ของระบบภายในและภายนอกใหอ้ อกมาอย่างเปน็ ระบบ 1.2 วัตถุประสงค์ของการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบ 1.2.1 เพื่อวเิ คราะห์และออกแบบระบบร้านขายของชำ รา้ นป้ามาลี 1.2.2 เพ่ือศกึ ษาและสำรวจระบบร้านขายของชำ รา้ นป้ามาลี 1.2.3 เพ่อื เรียนร้แู ละเก็บประสบการณ์จากการทำธุรกิจของผปู้ ระกอบการ 1.3 เป้าหมาย 1.3.1 สามารถนำระบบท่ีวเิ คราะห์และออกแบบมาใช้งานไดจ้ ริง 1.3.2 เรียนรู้การทำงานธุรกิจกบั ผปู้ ระกอบการเพอ่ื นำไปใช้ในอนาคต 1.4 การติดตามผลและการประเมิน

2 1.4.1 การสำรวจและตดิ ตามผลระบบในทุก ๆ ครง้ั 1.4.2 รายงานสรุปผลการวิเคราะห์และออกแบบระบบ 1.5 ประโยชน์ท่คี าดว่าจะได้รบั 1.5.1 ไดร้ ะบบสารสนเทศท่ีมีลกั ษณะของสารสนเทศท่ีดคี รบถว้ น 1.5.2 เจา้ ของธุรกจิ หรอื พนกั งานมคี วามพอใจในการนำระบบที่มีการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบ 1.5.3 สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการวเิ คราะหแ์ ละออกแบบระบบนำไปปรบั ใช้ในอนาคตได้ 1.6 ระยะเวลาท่ใี ชใ้ นการวเิ คราะห์และออกแบบระบบ ตารางในการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบคร้งั นใ้ี ช้ระยะเวลา ต้งั แต่เดอื นพฤศจิกายน พ.ศ. 2564 ถงึ เดือนมีนาคม พ.ศ. 2565 ดังตารางที่ 1.1 ข้ันตอนใน สปั ดาหท์ ี่ การวเิ คราะหแ์ ละออกแบบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 18 ระบบ 1. กำหนดรูปแบบร้านทจ่ี ะ วิเคราะห์ 2. เสนอกับอาจารย์ทป่ี รึกษา ประจำวชิ า 3. ศกึ ษารายละเอียดขอ้ มลู 4. ออกแบบระบบ 5. ดำเนินการทำระบบ 6. นำเสนอระบบ 7. ประเมนิ ผลและสรปุ ผล 8. จัดทำเอกสารรายงาน

บทที่ 2 แนวคิด ทฤษฎี เอกสารและงานวจิ ัยท่เี ก่ยี วข้อง คณะผู้จดั ทำ ไดท้ ำการวิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของชำ รา้ นปา้ มาลี โดยคณะผู้จัดทำ ได้รวบรวมข้อมูล ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้ระบบร้านร้านขายของชำ ร้านป้ามาลี ออกมาได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยศกึ ษาหลักการและทฤษฎี ดังหัวขอ้ ตอ่ ไปนี้ 2.1 ระบบ (System) 2.2 ประเภทของระบบ 2.3 ความสำคญั ของการวเิ คราะห์และการออกแบบระบบ 2.4 ผงั งาน (Flowchart) 2.5 DFD 2.6 ER-Model 2.7 ระบบฐานขอ้ มูล (Database System) 2.1 ระบบ (System) ระบบ (อังกฤษ: System, มีรากศัพท์มาจากภาษาลาติน systēma, ในภาษากรีก σύστημα systēma, , ดูเพิ่มเติมได้จากบทความเกี่ยวกับ องค์ประกอบ หรือ \"composition\") คือชุดของสิ่งที่มี ปฏิสัมพันธ์ หรือ การพึ่งพาซึ่งกันและกัน ของสิ่งที่มีการดำรงอยู่ที่แตกต่างและ อย่างเป็นอิสระ ที่ได้ถูก ควบรวมในรูปแบบบรู ณาการทัง้ หมด ดังนน้ั ระบบส่วนใหญจ่ ะมลี ักษณะบางอยา่ งรว่ มกัน ระบบหนง่ึ อาจเปน็ เซต็ ขององค์ประกอบย่อยของเซต็ ใด ๆ ในระบบอืน่ ๆ ซง่ึ มีความแตกต่างกัน ตรงที่ ความสมั พันธ์ของเซต็ นนั้ ๆ กบั องค์ประกอบยอ่ ยของมัน ต่อ องค์ประกอบย่อย หรอื เซ็ตอื่น ๆ หรือ อาจกล่าวได้ว่า ทุกสิ่งในสภาพแวดล้อมในโลก เรียกว่า ระบบ ที่มีองค์ประกอบต่าง ๆ ภายในของมันเอง หรือ เป็นองค์ประกอบส่วนหนึ่งของสภาพแวดล้อมให้กับ ระบบอื่น ๆ หรือ อย่างน้อย ทุก ๆ สิ่งในโลกนี้ เปน็ เซต็ ของความสมั พันธ์ขององคป์ ระกอบต่าง ๆ ท่เี ป็นสว่ นหนึ่งภายใน \"โลก\" คอื ระบบโดยรวม นั่นเอง ขอบเขตของการศึกษาเก่ยี วกบั ระบบ ในคุณลักษณะทวั่ ไป \"general properties of systems\" จะพบได้ ใน ศาสตร์ต่าง ๆ เหล่านี้ทฤษฎีระบบ, cybernetics, ระบบพลวัต, อุณหพลศาสตร์ และ complex systems ศาสตร์เหล่านี้ ต่างศึกษาหาคำจำกัดความ หรือ สรุปแนวคิดโดยรวมเกี่ยวกับคุณสมบัติ หรือ คุณลักษณะโดยทั่วไปของ ระบบ ซึ่งเป็นเรื่องที่จะต้องให้คำจำกัดความโดยไม่ขึ้นอยู่กับ แนวคิด เฉพาะเจาะจง สาขา ชนิด หรือ สิง่ ทเ่ี กดิ ข้นึ เพยี งครง้ั คราวเท่านนั้

4 ระบบ สว่ นใหญจ่ ะแบง่ ปนั ลกั ษณะบางอย่างร่วมกัน ดังน้ี : • ระบบ มี โครงสรา้ ง รูปรา่ ง หรือ structure, ท่ีถูกกำหนดโดย องค์ประกอบภายใน components และ สว่ นประกอบต่าง ๆ ภายใน; • ระบบ มี พฤติกรรม ซึ่งเกี่ยวข้องกับ “กระบวนการภายใน” (input, process, output)ซึ่ง องค์ประกอบเหล่าน้ันเปน็ ไดท้ ง้ั วัตถดุ บิ ,พลงั งาน หรือ ขอ้ มลู ขา่ วสาร หรอื แมแ้ ต่ data เป็นตน้ • ระบบ มี การปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันภายใน interconnectivity: ความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิก ส่วนต่าง ๆ ภายในระบบที่มี ฟังก์ชันการปฏิบัติหน้าที่ที่สอดคล้องกันเช่นเดียวกับ ความสัมพันธ์ ของโครงสรา้ งท่ีมีตอ่ กนั ภายใน • ระบบ อาจจะมี การทำงานหรือ ฟังก์ชันบางส่วน หรือ อาจจะเป็นการทำงานของทั้งกลุ่มที่อยู่ ภายใน ในความหมายของคำวา่ ระบบ อาจจะอ้างถงึ เก่ียวกบั เซ็ตของ กฎ ทคี่ วบคุม โครงสร้าง รูปรา่ ง โครงสร้าง หรือ พฤตกิ รรม ของ ระบบทง้ั หมด นั้น ๆ 2.1.1 ลกั ษณะของระบบ ระบบมีลักษณะท่ีควรรูแ้ ละศึกษาดังน้ี 2.1.1.1 ระบบ หมายถึง การรวมของสิ่งยอ่ ย ๆ ที่เกี่ยวข้องกัน ตั้งแต่หนึ่งส่วนขึ้นไปเป็น หน่วยเดียวกัน เพื่อวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน เช่น ระบบราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย กระทรวง ทบวง กรมและกองต่าง ๆ เปน็ ตน้ หรอื ระบบสุริยะจักรวาล (Solar System) 2.1.1.2 การทำงานของหนว่ ยงานย่อยตา่ ง ๆ ของระบบ จะต้องมคี วามสัมพันธ์เกี่ยวข้อง ประสานกัน โดยมีวัตถุประสงค์หรือความมุ่งหมายร่วมกันหรืออย่างเดียวกัน เช่น ในองค์กรหนึ่งอาจแบ่ง ออกเป็นหลายฝ่าย หรือหลายแผนก โดยแต่ละฝา่ ยหรือแตล่ ะแผนกจะมีหน้าที่ในการทำงานร่วมประสาน เพื่อนวตั ถุประสงค์เดียวกัน 2.1.1.3 ระบบอาจถูกจำแนกแยกเป็นประเภทใดประเภทหนึ่ง หรือหลายประเภท ทั้งน้ี สุดแต่ใครเป็นผู้จำแนก และผู้ที่ทำการจำแนกจะเห็นว่าควรแบ่งหรือควรจะจัดเป็นประเภทใด เช่น เป็น ระบบเปดิ หรอื ระบบปดิ ระบบเคร่อื งจกั ร หรอื ระบบกงึ่ เคร่ืองจกั ร เปน็ ตน้ 2.1.2 องค์ประกอบของระบบ การที่จะกล่าวหรืออธิบายถึงองค์ประกอบของระบบว่าประกอบด้วยอะไรบ้างนั้นขึ้นอยู่กับความ คิดเหน็ ของผทู้ ีเ่ ก่ียวข้องกับระบบ ซง่ึ จะไมเ่ หมอื นกัน แตโ่ ดยทั้ง ๆ ไปแลว้ มักจะแบ่งองค์ประกอบออกเป็น 2 องคป์ ระกอบใหญ่ ๆ คอื

5 2 . 1 . 2 . 1 อ ง ค ์ ป ร ะ ก อ บ แ บ บ 6 M ค ื อ Man, Money, Material, Machine, Management, และ Morale ดังรายละเอยี ดตอ่ ไปน้ี 1) Man หมายถึง บุคลากร คือ ผู้ที่จะตอ้ งเก่ียวข้องกับระบบงาน หรือหมายถงึ คนทุกคนที่เกี่ยวข้องกับระบบนั้นเอง อาจจะประกอบไปด้วยผู้บริหารระดับต่าง ๆ ซึ่งจะมีทั้งผู้บริหาร ระดับสูง ระดับกลาง และระดับปฏบิ ัตงิ าน และอาจประกอบด้วยนักวชิ าการในระดับตา่ ง ๆ แตจ่ ะนับรวม ลูกค้าหรือผู้บริโภค ซึ่งเป็นผู้ที่มีความสำคัญไม่น้อยของระบบด้วยหรือไม่ก็ย่อมสุดแล้วแต่นักวิชาการ ทางด้านบรหิ ารระบบจะตดั สนิ ใจ 2) Money หมายถงึ เงินหรือทรัพย์สนิ ท่ีมีค่าเป็นเงินของระบบ ซงึ่ นบั เป็นหัวใจ ท่ีสำคญั อย่างหน่ึงของระบบ เชน่ เงนิ ทุน เงินสด เงินหมนุ เวยี น เงินคาใช้จ่าย หรือ เงนิ รายรับ รายจา่ ยต่าง ๆ เหล่านี้ เปน็ ตน้ ถา้ การเงินของระบบไมด่ ีพอแลว้ ระบบนนั้ ยอ่ มจะประสบกับความยุ่งยากหรืออาจถึงแก่ การหายนะได้ เพราะฉะนนั้ ระบบธุรกจิ ทกุ ชนดิ จะตอ้ งมคี วามระมดั ระวงั ในเรือ่ งของการเงนิ เปน็ พเิ ศษ 3) Material หมายถึง ตัวสินค้าหรือวัสดุที่ใช้ในการผลิตสินค้า ซึ่งเป็นอีก องค์ประกอบหนึ่งที่มีความสำคัญของระบบไม่น้อย ปัญหาในเรื่อง Material หรือสินค้าและวัสดุนี้มี 2 ประการใหญ่ ๆ (1) ประการแรก เปน็ การขาดแคลนวัสดุ เชน่ การขาดวัตถุดบิ สำหับใช้ ในการผลติ สินคา้ ของโรงงานอุตสาหกรรม เมอ่ื ขาดวัตถดุ บิ ทใ่ี ชใ้ นการผลติ ก็จะทำใหไ้ มม่ ีสินค้าสำหรับขาย ผลก็คือการขาดทนุ (2) ประการที่สอง คือ การมีวัตถุดิบมากเกินความต้องการ เช่น มี สินค้าที่จำหน่ายหรือขายไม่ออกมากเกินไป ทำให้เงินทุนไปจมอยู่กับวัตถุดิบทำให้เกิดการขาดทุน เช่นเดยี วกนั นน้ั เอง 4) Machine หมายถึง เครื่องจักร อุปกรณ์ และเครื่องมือเครื่องใช้ในโรงงาน หรือในสำนักงาน ซึ่งนับว่าเป็นองค์ประกอบที่สร้างปัญหาให้กับระบบอย่างสำคัญประการหนึ่งเหมือนกนั ปญั หาทท่ี ำใหไ้ ด้กำไรหรอื ขาดทุนมากที่สดุ ของธรุ กจิ มักเกิดจากเคร่ืองจักรและอปุ กรณ์การทำงานเป็นส่วน ใหญ่ เชน่ เครือ่ งมีกำลงั ผลิตไม่พอ เครอ่ื งเกา่ หรอื เป็นเครื่องที่ล่าสมัยทำใหต้ อ้ งเสียค่าซอ่ มบำรุงสงู มีกำลัง ผลิตน้อยประสิทธภิ าพ ในการทำงานต่ำ แตค่ า่ ใช้จา่ ยในการซ่อมบำรุงหรือค่าทำงานท่ลี ่าช้า ทำงานไม่ทัน กำหนดเวลาท่กี ำหนดไว้ ทำให้เกิดความเสียหายและขาดรายได้หรอื ขาดทุน เป็นตน้ 5) Management หมายถึง การบริหารระบบ ซ่งึ เปน็ อีกเร่ืองหนึ่งท่ีทำให้ระบบ เกดิ ปญั หา เพราะการบริหารที่ไมด่ หี รือการบรหิ ารท่ีไม่ทันต่อการเปล่ยี นแปลง ของสภาวะแวดลอ้ มหรือไม่ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงตอ่ สังคม เศรษฐกิจและการเมือง ที่เรียกกันว่า ไม่เป็นไปตามโลกานุวัตร หรือการ

6 ได้ผู้บริหารที่ไม่มีประสิทธิภาพมาบริหารงาน ซึ่งส่วนมากมักเกิดขึ้นในระบบราชการ สำหรับระบบทาง ธุรกิจของเอกชนจะถือว่า การบริหารงานเป็นเร่ืองท่ีสำคัญท่ีสุดเพราะถา้ การบรหิ ารไม่ดีแล้วธรุ กิจนั้นก็ไม่ สามารถทจ่ี ะอย่ไู ด้ กิจการต้องลม้ เลิกไปในที่สุด 6) Morale หมายถึง ขวัญและกำลงั ใจของบคุ คลในระบบ หรอื หมายถงึ ค่านยิ ม ของคนที่มีต่อระบบหรือต่อองค์กรมากกว่า ซึ่งเป็นค่านิยมของคนในระบบที่มีขวัญและกำลังใจในการ ปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิทธภิ าพ และเป็นค่านิยมของผู้บริโภคหรือบคุ คลภายนอกทเ่ี ก่ียวข้องเพื่อสนับสนุน ให้ระบบอยู่รอด และกระตุ้นจูงใจด้วยวิธีต่างๆ ก็มีจุดมุ่งหมายในสิ่งนี้ระบบที่ขาดค่านิยมหรือขาดความ เชือ่ มนั่ ของบุคคล ระบบน้ันก็มักจะอยู่ต่อไปไมไ่ ด้ จะตอ้ งประสบกับความล้มเหลวในท่ีสดุ 2.1.2.2 องค์ประกอบแบบ 4 ส่วน ซึ่ง 4 ส่วนนี้ ประกอบไปด้วย Input, Processing, Output และ Feedback 1) Input หมายถึง ข้อมูลหรือระบบข้อมูลท่ีใชเ้ ข้าสูร่ ะบบ เพอื่ ประโยชน์ในการ นำไปใช้ในสารสนเทศเพื่อการบริหาร หรือเพื่อการตัดสินใจ ข้อมูลดังกล่าวมีอยู่ในหลายลักษณะด้วยกัน เช่น ใบเสร็จรับเงนิ ใบสง่ั ซอ้ื สนิ ค้า เปน็ ตน้ 2) Processing หมายถงึ ข้นั ตอนการปฏบิ ัติงาน ซ่งึ อาจจะแบ่งได้เป็น (1) การปฏิบัติงานตามขนั้ ตอนตา่ ง ๆ ตามท่ีกำหนดไว้ (2) การควบคุมการปฏิบตั งิ าน (3) การตรวจสอบผลการปฏิบตั งิ าน (4) การรวบรวมข้อมูล (5) การตรวจสอบขอ้ มูล (6) การ Update ขอ้ มูล (7) การประมวลผลข้อมูลเพือ่ ใหไ้ ด้ Output 3) Output หมายถงึ ผลการปฏิบัตงิ านต่างๆ ซ่ึงอาจแบง่ ไดเ้ ปน็ (1) ขอ้ มูลทีไ่ ดจ้ ากการปฏิบัติงาน (2) ขอ้ มูลท่ีไดจ้ ากการประมวลผลข้อมลู (3) ใบรายงานต่าง ๆ จากการปฏิบตั งิ าน (4) ใบบนั ทกึ การปฏิบตั งิ าน (5) การทำทะเบยี นและบัญชีตา่ ง ๆ เป็นตน้

7 4) Feedback หมายถึง ข้อมูลย้อนกลับ หรือผลสะท้อนที่ได้รับจากการ ปฏิบัติงาน เชน่ ความนยิ มในผลงานที่ได้ปฏบิ ตั ิ ความเจริญหรือความเส่ือมของธรุ กจิ เป็นตน้ 2.1.3 กระบวนการ (Procedure) กระบวนการ คือ การแสดงถงึ การทำงานแต่ละขน้ั ตอน ซ่ึงอธิบายให้เห็นถงึ • ส่งิ ท่ถี กู กระทำ (What) • จะทำเมือ่ ไร (When) • ใครเป็นคนทำ (Who) • จะทำอย่างไร (How) ซึ่งในการที่จะทำการศึกษาระบบใด ก็ตามจะต้องทำความเข้าใจการทำงานของระบบนั้น ๆ ให้ดีก่อนโดย การอาศัยคำถามข้างต้น 4 ขอ้ มาถามตนเองอยตู่ ลอดเวลา 2.2 ประเภทของระบบ ระบบยังสามารถท่จี ะแบ่งแยกออกได้หลำยลกั ษณะดว้ ยกนั ทง้ั นข้ี ้ึนอย่กู ับลักษณะความตอ้ งกำร ของผใู้ ช้ระบบว่าต้องการแบง่ ระบบออกมำในลักษณะใด การแบง่ ประเภทของระบบแบ่งได้เปน็ 2.2.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) และระบบท่ีคนสร้างขนึ้ (Manmade System) 2.2.1.1 ระบบธรรมชาติ (Natural System) หมายถึง ระบบทีเ่ ปน็ ไปตามธรรมชาติหรือ ปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ หรือโดยการอาศัยธรรมชาติเป็นส่วนใหญ่ เช่น ระบบไฟฟ้าน้ำตกระบบ การค้าขายของเอกชนที่เป็นไปโดยธรรมชาติต่างคนต่างทำซึง่ ไม่มีการจัดระบบหรือระเบียนอย่างใดอย่าง หน่งึ ไว้ 2.2.1.2 ระบบที่คนสร้างขึ้น (Manmade System) หมายถึง ระบบที่มีการสร้างขึ้นซ่ึง อาจเป็นการสร้างจากระบบธรรมชาติเดิมหรืออาจจะไม่ได้อาศัยธรรมชาติเดิมก็ได้ เช่น ระบบบริหาร ราชการแผน่ ดินทเ่ี ป็นไปตามกฎหมาย ระบบธนาคาร ระบบบรษิ ทั ระบบเคร่ืองจกั ร เปน็ ต้น 2.2.2 ระบบปิด (Close System) และระบบเปิด (Open System) 2.2.2.1 ระบบปิด (Close System) หมายถึง ระบบที่มีการควบคุมการทำงาน และการ แก้ไขด้วยตัวของระบบเองอย่างอัตโนมัติ โดยระบบไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติได้ด้วย ตนเอง หรือไม่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกได้เข้าร่วม การดำเนินการ เมื่อบุคคลภายนอกต้องการขอใช้

8 บริการจะต้องส่งงานให้บุคคล ในระบบงานเป็นผู้ปฏิบัติให้ ทั้งนี้ เพื่อเป็นการป้องกันความเสียหายอันจะ เกิดข้ึน ของระบบหรือเพื่อป้องกนั ความลับของการปฏบิ ัตงิ านก็ได้ 2.2.2.2 ระบบเปิด (Open System) หมายถึง ระบบที่ไม่มีการควบคุมการทำงานด้วย ตัวระบบเอง จะต้องควบคุมดูแลโดยมนุษย์ ระบบที่เปิดโอกาสให้บุคคลภายนอกเข้าไปปฏิบัติงานได้ เช่น ยอมให้บุคคลภายนอกเข้าไปทำงานกับ เครื่องคอมพิวเตอร์ได้ด้วยตัวเองเป็นต้น ระบบเปิดส่วนมากเป็น ระบบการใช้เคร่ืองจักร เชน่ ระบบเคร่ือง ATM หรือระบบการใชห้ อ้ งสมดุ เปน็ ต้น 2.2.3 ระบบคน (Man System) ระบบเครื่องจักร (Machine System) และระบบคน– เครือ่ งจักร (Man-Machine System) 2.2.3.1 ระบบคน (Man System หรือ Manual System) หมายถึง ระบบที่การ ปฏิบัติงานส่วนใหญ่จะใช้แรงงานคน หรือระบบที่ใช้แรงงานคนในการทำงานโดยตรงอาจจะมีเครื่องจักร ช่วยในการทำงานบ้างก็ได้ แต่จะต้องเป็นเครื่องจักร ที่มีอยู่ภายใต้การควบคุมของคนโดยตรง เช่น ระบบ การประมวลผลด้วยมือ ระบบการลงบัญชีหรือทะเบียนโดยใช้คนเป็นผู้ทำได้แก่ การรับส่งหนังสือ การ พิมพ์หนังสือ การลงทะเบียน ระบบการควบคุมการจราจรโดยใช้เจ้าหน้าที่ไปทำการโบกรถที่ถนน การ ทำงานอตุ สาหกรรมในครัวเรอื นโดยใช้คนทำ การตัดเย็บเสื้อผ้าด้วยมือ เปน็ ตน้ 2.2.3.2 ระบบเครอ่ื งจกั ร (Machine System) หมายถึง ระบบการทำงานท่ีใชเ้ คร่ืองจักร โดยตรง คือ เครื่องจักรจะเป็นผู้ทำงานให้ ซึ่งอาจจะจะใช้คนบ้างเพื่อควบคุมให้เครื่องจักรทำงานไปได้ เท่านั้น เช่น การฝากถอนเงินโดยเครื่อง ATM การทอผ้าด้วยเครื่องทอผ้า การพิมพ์หนังสือของโรงพิมพ์ การบรรจุขวดของน้ำอดั ลม ยา หรอื อาหารกระป๋อง การบรรจุหบี หอ่ ท่ีทำโดยตรงดว้ ยเครือ่ งจกั ร เปน็ ตน้ 2.2.4 ระบบหลกั (Main System) และระบบรอง (Minor System) 2.2.4.1 ระบบหลัก (Main System) หมายถึง ระบบที่วางไว้เป็นหลัก หรือแนวทาง สำหรับการกำหนด หรือสำหรับการจัดทำระบบรองเพื่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์บางอย่างหรือเพื่อให้ เหมาะสมกับหนว่ ยปฏิบัติงานย่อย ระบบหลกั สว่ นมากจะเป็นระบบที่วางไว้อย่างกว้าง ๆ เพ่ือให้เข้ากันได้ กบั ทกุ สถานการณห์ รือทุกหนว่ ยงาน 2.2.4.2 ระบบรอง (Minor System) หมายถึง ระบบที่ช่วยเสริมระบบหลักให้สมบูรณ์ หรอื มีประสิทธิภาพมากข้ึน เชน่ การทำงานทมี่ แี ผนระบบสนั้ และแผนระยะยาว 2.2.5 ระบบใหญ่ (System) และระบบยอ่ ย (Sub System) 2.2.5.1 ระบบใหญ่ (System) หมายถึง ระบบรวม หรือระบบที่รวมระบบย่อย ๆ ตั้งแต่ หนึ่งระบบขึ้นไป เพื่อปฏิบัติงานอย่างใดอย่างหนึ่ง โดยมีวัตถุประสงค์หรือ เป้าหมายเดียวกันหรอื ร่วมกัน

9 เช่นระบบบริหารราชการแผ่นดินที่ประกอบด้วยกระทรวงและทบวง หรือระบบองค์ประกอบธุรกิจที่ ประกอบดว้ ยฝ่ายหรือแผนกงานตา่ งๆ 2.2.5.2 ระบบย่อย (Sub System) หมายถึง ระบบย่อยของระบบใหญ่ เพื่อปฏิบัติงาน อย่างใดอย่างหนึ่งของระบบใหญ่ หรือเป็นส่วนหนึ่งของระบบใหญ่ ซึ่งถ้าขาดระบบย่อยส่วนใดส่วนหนึ่ง แล้ว ระบบใหญจ่ ะดำเนินการต่อไปไมไ่ ด้ และระบบยอ่ ย เหลา่ นอ้ี าจจะแบ่งออกเปน็ ระบบย่อย ๆ ต่อไปได้ อีกเป็นลำดบั ๆ ไป 2.2.6 ระบบธรุ กิจ(Business System) และระบบสารสนเทศ (Information System) 2.2.6.1 ระบบธุรกิจ (Business System) หมายถึงระบบที่ทำงานเพื่อจุดประสงค์ด้าน ธรุ กจิ โรงงานอตุ สาหกรรม เปน็ ระบบธรุ กจิ เพอ่ื จดุ ประสงคด์ ้านการผลติ ระบบขนสง่ ระบบโรงแรม ระบบ การพิมพ์ ระบบธนาคาร และอื่น ๆ อีกมากมาย ล้วนแล้วแต่เป็นระบบธุรกิจทั้งนั้นแต่ละระบบมี จดุ ประสงค์แตกต่างกันออกไป ระบบธรุ กิจอาจจะแบ่งเปน็ ย่อย ๆ ลงไปไดอ้ ีก 2.2.6.2 ระบบสารสนเทศ (Information System) หมายถึง ระบบที่ช่วยในการจัดการ ข้อมูลที่ต้องการใช้ในการจัดการข้อมูลที่ต้องการใช้ในระบบธุรกิจ ช่วยเก็บตัวเลขและข่าวสารเพื่อช่วยใน การดำเนินธรุ กิจและการตัดสินใจ เช่น ระบบการเก็บขอ้ มูลลูกค้า อันได้แก่ ชื่อ ที่อยู่ สินค้าที่ซื้อขาย การ จ่ายเงิน ของลูกค้าเป็นอย่างอย่างไร มีการติดหนี้หรือหนี้สูญหรอื ไม่อย่างไร ซึ่งระบบสารสนเทศนี้อาจจะ ใชห้ รอื ไมใ่ ช่คอมพิวเตอร์ก็ได้ การแผนขอ้ มลู อยา่ งมีประสทิ ธิภาพเป็นกุญแจสำคัญท่ีนำไปสู่ความสำเร็จใน ด้านธุรกิจอย่างมาก 2.2.7 ระบบงานประมวลผลข้อมูล (Data – Processing System) หมายถึง ระบบข้อมูลของ คอมพิวเตอร์ที่ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการของธุรกิจเพื่อใช้ประมวลผลข้อมูลจำนวนมาก ๆ เป็นประจำ เช่น การประมวลผลเงนิ เดือน สินค้าคงคลัง เปน็ ตน้ ระบบงานประมวลผลข้อมูลจะเป็นระบบ ที่ช่วยลดเวลาในการปฏิบัติงานลง โดยอาศัยความสามารถของคอมพิวเตอร์มาทดแทนการประมวลผล ข้อมูลดว้ ยคน 2.2.8 ระบบสารสนเทศเพ่ือการบริหาร (Management Information System) หมายถงึ ระบบ ท่นี ำข้อมลู มาทำงานวเิ คราะห์ โดยมจี ุดประสงค์เพ่ือสร้างข้อมูลให้กับนักบริหารเพื่อประกอบการตัดสินใจ หรือเรียกระบบนีว้ ่า MIS ระบบนเ้ี ปน็ ระบบงานข้อมูลคอมพิวเตอร์ (Information System) แบบหน่ึง ซ่ึง ตอ้ งการปจั จัย 3 ประการ คือ 2.2.8.1 คน (People) 2.2.8.2 ฮารด์ แวร์ (Hardware) 2.2.8.3 ซอฟต์แวร์ (Software)

10 2.2.9 ระบบช่วยการตัดสินใจ (Decision Support System) หมายถึง ระบบการทำงานที่จะมี ลกั ษณะโครงสร้างการทำงานคลา้ ยกับระบบสารสนเทศเพื่อการบริหาร (MIS) จะแตกตา่ งกันตรงท่ี ระบบ นี้ไม่ได้มีการนำข้อมูลมาใช้เพื่อประกอบการตัดสินใจเท่านั้น แต่ระบบนี้จะนำข้อมูลมาทำการวิเคราะห์ พร้อมกบั พจิ ารณาถงึ ทางเลอื กท่ีเปน็ ไปไดท้ ั้งหมดของธุรกจิ และรายงานผลใหน้ กั บรหิ ารทราบวา่ ทางเลือก ไหนที่ระบบเห็นว่าดีที่สุด และทางเลือกไหนที่แย่ที่สุดลดหลั่นกันไปตามลำดบั ถึงแม้ว่าระบบนี้จะทำการ เสนอทางเลือกต่าง ๆ ให้กับผู้ใช้ แต่สุดท้ายแล้วการตัดสินใจเลือกขึ้นอยู่กับการตัดสินใจของผู้บริหาร ระบบนเ้ี รียกอีกอย่างว่า DSS 2.2.10 ระดบั ของผูใ้ ช้ระบบ เมื่อมีระบบเกิดขึ้นมาแล้วก็ย่อมต้องมีผู้ใช้ระบบเกิดตามขึ้นมาด้วย ผู้ใช้ระบบในที่น้ี หมายถึง บุคคลที่เชื่อมโยง เกี่ยวข้อง หรือมีความสัมพันธ์กับระบบ ประเภทของผู้ใช้ระบบสามาร ถแบ่ง ออกตามขอบเขตหน้าที่และความรบั ผิดชอบอย่างกว้าง ๆ เป็น 4 กลุ่ม คือ 2.2.10.1 เสมียนพนกั งานและผู้ให้บรกิ าร หมายถึง พนักงานที่มีหนา้ ทีเ่ ก่ียวกับ การจัด กิจกรรมหรอื จัดกิจกรรมหรือ จัดทำข้อมลู ในลักษณะท่ใี ช้ประจำวัน ในธรุ กิจหรือหนว่ ยงานท่ีสงั กดั อยู่ 2.2.10.2 หัวหน้าหน่วยหรือซุปเปอร์ไวเซอร์ หมายถึง ผู้ที่ทำหน้าที่ควบคุมกิจกรรมที่ เกิดขึ้นประจำวันของธุรกิจ หรืออาจกล่าวอีกอย่างหนึ่ง คือ บุคคลกลุ่มนี้ จะทำหน้าที่ควบคุมการ ปฏบิ ัติงานในกล่มุ ของพนักงานเสมยี นและผใู้ หบ้ รกิ าร 2.2.10.3 ผู้จัดการหรือผู้บริหารระดับกลาง หมายถึง บุคคลที่ทำงานเกี่ยวกับแผนงาน ธุรกิจ ซึ่งโดยส่วนใหญ่ จะเป็นแผนงานระยะสั้น ทำหน้าที่ คอยควบคุมและจัดการ ให้การปฏิบัติงานของ หนว่ ยงานที่มีเป็นไปตามแผนงานระยะสนั้ ที่ไดว้ างเอาไว้ 2.2.10.4 ผู้อำนวยการหรือผู้บริหารระดับสูง หมายถึง บุคคลที่รับผิดชอบต่อการ วางแผนระยะยาว และการกำหนดนโยบาย เพื่อใหธ้ ุรกิจนน้ั ดำเนินไปได้ อย่างมีเปา้ หมาย เป็นบุคคลที่จะ มองธรุ กิจไปข้างหนา้ เสมอ 2.3 ความสำคัญของการวเิ คราะหแ์ ละการออกแบบระบบ ความหมายของการวเิ คราะห์และออกแบบระบบสามารถแบ่งการให้ความหมายออกเป็น 2 ส่วน ดว้ ยกัน คอื 2.3.1 การวิเคราะห์ระบบงาน คำว่า วเิ คราะหม์ าจากคำว่า พิเคราะห์ ซึ่งเป็นการเปลยี่ น พ เปน็ ว ในภาษาไทยซ่ึงแปล ความหมายได้ว่า การพินิจพิเคราะห์ การพิจารณา การใคร่ครวญ การไต่สวนความหรือเรื่องราว ส่วนใน

11 ภาษาอังกฤษก็ได้ให้ความหมายใกล้เคียงกันคือ Determine, Examine และ Investigate ซึ่งคำว่า วิเคราะห์นี้สามารถนำไปใช้กับวิชาการต่าง ๆ ได้มากมาย เช่น การวิเคราะห์โครงสร้าง การวิเคราะห์เชิง คณุ ภาพ การวเิ คราะห์เชงิ ปริมาณ การวเิ คราะห์ปญั หา เปน็ ตน้ คำว่า “วิเคราะห์” ที่ใช้กับการวิเคราะห์ระบบนั้น ตรงกับภาษาอังกฤษว่า “Analysis” ซง่ึ แปลว่า การแยกส่งิ ทีป่ ระกอบกนั ออกเปน็ ส่วน ๆ เช่น การแยกระบบใหญ่ออกเปน็ ส่วนย่อย ๆ คือ เป็น การแยกปัญหาออกเป็นส่วน ๆ เพื่อสะดวกในการพิจารณาหรือตัดสินใจ จามความหมายของคำว่า วิเคราะห์ดังกล่าวนี้ จะเห็นว่า การวิเคราะห์ระบบงานไม่ใช่เรื่องที่ยุ่งยากหรือเรื่องที่สลับซับซ้อนแต่ ประการใด การพิจารณาใคร่ครวญในปัญหาต่าง ๆ ของคนเรานั้น มีวิธีการใหญ่ ๆ อยู่ด้วยกัน 2 วิธี คือ 2.3.1.1 วิธีธรรมดา (Natural Determination) เป็น วิธีที่คนส่วนมากใช้กันเป็นปกติ ธรรมดาโดยอาศัยประสบการณ์และสามัญสำนึกของแต่ละบุคคลเป็นหลัก คนที่มีวิจารณญาณสูง ๆ อาจจะสามารถพิจารณาตัดสินใจในปัญหาต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้องและรวดเร็วไม่แพ้นักวิชาการทางด้าน วเิ คราะหร์ ะบบ อยา่ งไรก็ตาม การพิจารณาใคร่ครวญและตัดสินใจด้วยวธิ ีการน้โี อกาสที่จะผิดพลาดอย่าง มสี ูง ซึง่ เป็นเหตใุ ห้เกิดการสูญเสยี แกธ่ รุ กิจเป็นอยา่ งมากเช่นเดยี วกัน ดังน้นั ถา้ เป็นงานสำคญั ๆ ทางธุรกิจ แลว้ ไม่ควรใช้วิธีนีเ้ ป็นอย่างย่งิ 2.3.1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ (Methodology Determination หรือ System Analysis) เป็นวิธีการพจิ ารณาใครค่ รวญและตดั สินใจโดยอาศัยระบบทางวิทยาศาสตร์ เชน่ สถติ ิ และการ คำนวณ เป็นตน้ วิธีน้เี ป็นวิธีทใี่ ชห้ ลักวชิ าการทางวิทยาศาสตร์แขนงต่าง ๆ เขา้ ช่วยผู้ที่จะทำการวิเคราะห์ จะต้องเปน็ ผู้ท่ีมีความรู้ในวิชาการแขนงตา่ ง ๆ ทจ่ี ะใช้ในการวเิ คราะห์และออกแบบระบบงาน จึงได้มีการ จัดให้สอนในสถาบนั การศึกษาต่าง ๆ ขนึ้ นอกจากนี้ยังมีคำที่ใกล้เคียงกันหรือคล้ายคลึงกันกับคำว่า “วิเคราะห์” ที่ควรจะทำ ความเข้าใจเพื่อป้องกันการสับสนในการใช้ เช่น คำว่า การวิจัย การค้นคว้า การค้นคิด เป็นต้น ซึ่งความ จริงแลว้ การวิเคราะห์กับการวิจัยเปน็ คนละเรื่อง คนละความมุ่งหมายกัน แตม่ ีความใกล้เคียงกันมาก การ วิจัยนั้นมุ่งในการค้นหาขอ้ เทจ็ จรงิ หรือความถูกตอ้ งที่สุดของปัญหาเช่น การวิจยั ภาวะของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย คือ การค้นหาสภาพของผู้มีรายได้น้อย เป็นการหาสาเหตุว่า เป็น เพราะอะไรบ้าง เหลา่ นเี้ ปน็ ตน้ สว่ นการวเิ คราะหน์ ้นั จะเป็นการมุ่งหาสาเหตุเพ่ือทำการแก้ปัญหาท่ีเกิดขึ้น นัน้ ใหด้ ที สี่ ุดหรอื เหมาะสมทีส่ ุดเท่าที่จะทำได้ การแก้ปัญหาทีไ่ ด้จากการวิเคราะห์ระบบนั้นอาจไม่ใช่ทางที่ ถกู ตอ้ งทีส่ ุด แต่เป็นทางทีด่ ีที่สุดที่ควรจะกระทำเท่านั้น ทง้ั นเี้ พราะการแก้ไขปัญหาของนักวิเคราะห์ระบบ

12 เป็นการประนีประนอมกับบุคคลในหลาย ๆ ฝ่ายที่จะต้องทำงานร่วมกันเพื่อให้การทำงานของระบบมี ประสิทธิภาพสงู สุดน่นั เอง การวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) หมายถึง วิธีการวิเคราะห์ระบบใดระบบหน่ึง โดยมกี ารคาดหมายและจดุ มงุ่ หมายท่ีจะมีการปรบั ปรุงและแก้ไขระบบน้นั การวิเคราะห์นนั้ จะต้องทำการ แยกแยะปญั หาออกมาใหไ้ ด้ แลว้ กำหนดปัญหาเป็นหวั ขอ้ เพอ่ื ทำการศึกษา และหาวิธีแก้ไขในทีส่ ุด การวิเคราะห์และออกแบบระบบ (System Analysis and Design) หมายถึง วิธีการท่ี ใช้ในการสร้างระบบสารสนเทศขึน้ มาใหม่ในธุรกิจใดธุรกิจหนึ่ง หรือในระบบย่อยของธุรกิจ นอกจากการ สรา้ งระบบสารสนเทศใหม่แลว้ การวิเคราะห์ระบบช่วยในการแกไ้ ขระบบสารสนเทศเดิมที่มีอยู่แล้วให้ดีข้ึน ดว้ ยก็ได้ การวเิ คราะหร์ ะบบ คือ การหาความต้องการ (Requirements) ของระบบสารสนเทศว่าคืออะไร หรือต้องการเพิม่ เติมอะไรเขา้ มาในระบบ 2.3.2 การออกแบบระบบงาน การออกแบบ หมายถึง การนำเอาความต้องการของระบบมาเปน็ แบบแผน หรือเรียกว่า พิมพ์เขียวในการสร้างระบบสารสนเทศให้ใช้งานได้จริง ความต้องการของระบบ เช่น สามารถติดตาม ยอดขายได้เป็นระยะ เพ่อื ใหฝ้ ่ายบรหิ ารสามารถปรบั ปรุงการขายได้ทันท่วงที 2.3.3 นกั วิเคราะห์ระบบ (System Analysis) เมื่อได้ทำความรู้จักและเข้าใจถงึ ความหมายของการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบแลว้ ก็ ต้องมาทำความรจู้ ักกับผู้ที่จะมาทำการวเิ คราะห์และออกแบบระบบท่ีได้กล่าวถึงมาตงั้ แต่ต้นให้ดีก่อนที่จะ ไปเร่ิมการทำการวิเคราะหแ์ ละออกแบบระบบตอ่ ไป นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลที่ศึกษาปัญหาซับซ้อนท่ี เกิดขน้ึ ในระบบและแยกแยะปัญหาเหลา่ นั้นอย่างมหี ลักเกณฑ์ นกั วเิ คราะห์ระบบหรือท่ีเราเรียกกันว่า SA จะทำหน้าที่หาวิธีการแก้ไขปัญหาที่แยกแยะเหล่านั้น พร้อมทั้งให้เหตุผลด้วยการวิเคราะห์ระบบนั้น นักวิเคราะห์ระบบจะต้องกำหนดขอบเขตของการวิเคราะห์ และต้องกำหนดจุดมุ่งหมายหรอื เป้าหมายใน การวิเคราะหน์ น้ั ดว้ ย นอกจากนี้ยงั ตอ้ งทำความเข้าใจโครงสร้างลกั ษณะขององค์การนัน้ ในด้านต่าง ๆ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลที่มีหน้าที่วิเคราะห์และ ออกแบบระบบ ซึ่งปกติแล้วนกั วิเคราะห์ระบบควรจะอยู่ในทีมระบบสารสนเทศขององค์กรหรอื ของธุรกิจ น้นั ๆ นักวิเคราะห์ระบบ (System Analysis) คือ บุคคลที่มีหน้าที่ในการออกแบบ และพัฒนาระบบงานในระบบการประมวลผลข้อมูล ด้วยระบบและวิธีการต่าง ๆ เพื่อให้ระบบงานบรรลุ ถึงเป้าหมายตามต้องการของผู้ใช้ระบบ เริ่มตั้งแต่การวิเคราะห์ระบบข้อมูล การออกแบบระบบการ

13 ปฏิบัติงานในการประมวลผลข้อมูล การสร้างขั้นตอนการปฏิบัติงาน การพัฒนาโปรแกรม และการเขียน เอกสารต่าง ๆ ประกอบการปฏบิ ตั งิ านของระบบ จากความหมายข้างต้น จะเห็นได้ว่านักวเิ คราะห์ระบบงานเป็นผู้ท่ีเกี่ยวข้องกบั ระบบงานในการวิเคราะห์และออกแบบระบบการประมวลผล นอกจากนั้นนักวิเคราะห์ระบบยังต้อง รับผิดชอบงานในส่วนทเ่ี กยี่ วกบั การจดั หาอุปกรณต์ ่าง ๆ ทเ่ี ก่ียวกบั คอมพิวเตอร์ ผู้ท่ีจะใช้ระบบแฟม้ ข้อมูล หรอื ฐานข้อมูลตา่ ง ๆ รวมท้งั ขอ้ มูลเดิมทีจ่ ะป้อนเขา้ สู่ระบบ อีกสิ่งหนึ่งที่จะต้องศึกษา คือ ลักษณะโครงสร้างข้อมูลที่มีอยู่ในการทำงานของ ระบบทีท่ ำการวเิ คราะหน์ น้ั และทส่ี ำคัญท่นี ักวิเคราะห์ระบบจะมองข้ามไปไมไ่ ด้ นนั่ คือ คนหรอื บุคลากรท่ี ทำงานอยูก่ บั ระบบทท่ี ำการวิเคราะห์ ต้องทำการศกึ ษาว่าคนเกยี่ วข้องกบั ระบบอยา่ งไร เกยี่ วข้องตรงไหน ทำอะไร เพราะคนเปน็ ปัจจยั ทส่ี ำคญั ทส่ี ดุ ถ้าขาดความรว่ มมือจากบคุ ลากรทท่ี ำงานอยู่ในระบบท่ีจะศึกษา กถ็ ือวา่ ลม้ เหลวไปแล้วครึ่งหนึ่ง ดังนน้ั จะมองข้ามคนไปไมไ่ ด้ 2.4 ผังงาน (Flowchart) ผงั งาน Flowchart เปน็ ผังงานที่แสดงให้เห็นถงึ แนวคิด และข้ันตอนการทำงานของโปรแกรม อีก ทัง้ ยงั ช่วยให้มองเห็นภาพรวมของโปรแกรมทำใหเ้ ขยี นโปรแกรมได้งา่ ยขน้ึ การเขยี น Flowchart น้นั จะใช้ สัญลักษณ์ต่าง ๆ แทนคำอธิบายและกระบวนการทำงานของโปรแกรมในแต่ละส่วนตั้งแต่เริ่มแรกจนถึง สิ้นสุดการทำงานของโปรแกรม เพื่อให้ผู้พัฒนาโปรแกรมได้เข้าใจแนวคิด และการทำงานที่ชัดเจนมาก ที่สุด 2.4.1 สญั ลักษณ์ของผังงาน การเขียนผังงาน Flowchart นั้นได้มีการกำหนดสัญลักษณ์ที่ใช้งานให้เป็นสากล และ เป็นมาตรฐานเดียวกนั โดยการกำหนดมาตรฐานนี้ได้ถูกกำหนดตามแบบของ ANSI (American National Standards Institute) และ ISO (International Standard Organization) เพื่อสื่อความหมาย และให้ เกิดความเข้าใจในสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงาน Flowchart ทั่วโลก โดยสัญลักษณ์ต่าง ๆ นั้น สามารถแบ่งออกไดเ้ ป็นหลายสญั ลักษณ์

14 ตารางท่ี 2.1 สัญลักษณข์ องผังงาน ความหมายและการใช้งาน สญั ลักษณ์ คา่ เรม่ิ ตน้ และสน้ิ สุด Terminal การรบั ข้อมูลและแสดงผลข้อมลู Input / Output การรบั ขอ้ มูลจากคยี ์บอร์ด Manual Input การประมวลผลหรือการกำหนดค่า Process การแสดงผลข้อมลู ผ่านจอภาพ ตารางที่ 2.2 สญั ลกั ษณข์ องผังงาน (ตอ่ ) Display

15 Decision การตดั สินใจเม่อื มีทางเลือก การแสดงผลโดยพิมพอ์ อกเป็นกระดาษ Document การกำหนดค่าล่วงหนา้ รปู แบบข้อมูล Preparation Internal Subroutine การเก็บข้อมูล Connector แสดงจดุ ตอ่ เนื่องในหน้าเดยี วกนั Off-Page Connector แสดงจุดต่อเนื่องในคนละหน้ากนั ตารางที่ 2.3 สัญลกั ษณข์ องผังงาน Puched Card การรบั ขอ้ มูล-แสดงผลข้อมูลโดยใช้บัตรเจาะรู

16 Puched Tape การรับข้อมูล-แสดงผลขอ้ มลู โดยใช้เทปกระดาษ Magnetic Tape การรับข้อมูล-แสดงผลข้อมลู โดยใชเ้ ทปแม่เหล็ก Magnetic Disk การรับขอ้ มูล-แสดงผลข้อมูลโดยใช้จานแม่เหล็ก Magnetic Core Manual Operation การรับขอ้ มูล-แสดงผลข้อมลู โดยใชแ้ กน External Subroutine แมเ่ หลก็ Sort การประมวลผลด้วยมือ ตารางที่ 2.4 สัญลกั ษณ์ของผังงาน (ตอ่ ) เรยี กใช้โปรแกรมย่อยจากภายนอกโปรแกรมน้ี Extract แสดงถงึ การจัดเรยี งลำดับข้อมูล การแยกขอ้ มูลออกเป็นหลาย ๆ ชุด

Merge 17 Collate Flowline การรวมข้อมูลเข้ามาเปน็ ชดุ เดียวกนั กระบวนการทีต่ ้องการจัดการขอ้ มูล แสดงทิศทางของการทำงานของโปรแกรม 2.4.2 ประเภทของผังงาน ประเภทของผังงาน โดยทั่วไปผังงานคอมพวิ เตอรแ์ บ่งเปน็ 2 ประเภทใหญ่ 2.4.2.1 ผังงานระบบ (System Flowchart) เป็นผังงานที่แสดงถึงขั้นตอนการ ทำงานภายในระบบหน่ึง ๆ เพอื่ ให้เหน็ โครงสร้างโดยภาพรวมของระบบ ซึง่ จะแสดงถึงความเกี่ยวข้องของ ส่วนที่สำคัญต่าง ๆ ในระบบนั้น เช่น เอกสารข้อมูลเบื้องต้น สื่อบันทึกข้อมูลที่ใช้ ข้อมูลจะส่งผ่านไปยัง หน่วยงานใด มีกิจกรรมประมวลผลข้อมูลอะไรในหน่วยงานนั้น แล้วจะส่งต่อไปหน่วยงานใด เป็นต้น ดังนั้นผังงานระบบอาจเกี่ยวข้องกับข้อมูล สื่อหรือแหล่งบันทึกข้อมูล วัสดุปกรณ์ คน หรือฝ่ายงานท่ี เกี่ยวข้อง ซึ่งแต่ละจุดจะประกอบไปด้วย การนำข้อมูลเข้า วิธีการประมวลผล และการแสดงผลลัพธ์ (Input – Process - Output) ดังภาพ

18 ภาพท่ี 2.1 ภาพผงั งานระบบ 2.4.2.2 ผังงานโปรแกรม (Program Flowchart) ผังงานประเภทนี้แสดงถึง ขัน้ ตอนของคำสั่งที่ใช้ในโปรแกรม ผังงานนอี้ าจสรา้ งจากผังงานระบบโดยผู้เขียนผังงานจะดึงเอาแต่ละจุด ทเี่ กย่ี วขอ้ งกับการทำงานของเคร่ืองคอมพิวเตอร์ทปี่ รากฏในผังงานระบบมาเขยี น เพอ่ื ให้ทราบว่าถ้าจะใช้ คอมพิวเตอร์ทำงานควรท่ีจะมีขัน้ ตอนคำสั่งอยา่ งไร เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามทีต่ อ้ งการ และจะได้นำมาเขยี น โปรแกรมคอมพิวเตอรต์ ่อไป ดงั นั้นการเขยี นผงั งานกจ็ ะมีประโยชน์ เหมาะสาหรบั ผบู้ ริหาร ผ้วู ิเคราะห์ระบบ ผู้เขียนโปรแกรม และบุคคลอื่นที่ต้องการศึกษา ทำให้ทราบถึงความสัมพันธ์ของระบบตั้งแต่เริ่มต้น ว่ามี การปฏิบัติแต่ละขั้นตอนอย่างไร ใช้วิธีการอะไรบ้าง สุดท้ายจะได้ผลลัพธ์อะไรบ้าง เมื่อเข้าใจระบบงาน หรอื สง่ิ ทกี่ ำลงั ศกึ ษากจ็ ะชว่ ยให้สามารถปฏบิ ตั งิ านและแก้ปัญหาไดอ้ ยา่ งมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น ดังภาพ

19 ภาพที่ 2.2 ภาพแสดงตวั อยา่ งการกำหนดจุดเริ่มต้นและส้นิ สุดของการเขียนผังงาน 2.4.3 ประโยชนข์ องผังงาน ผังงานเป็นเครือ่ งมือท่ีช่วยให้การศกึ ษาลาดับข้ันตอนของโปรแกรมง่ายข้ึน จึงนิยมเขยี น ผังงานประกอบการเขยี นโปรแกรม ด้วยเหตุผลดังน้ี 2.4.3.1 คนส่วนใหญ่สามารถเรียนรู้และเข้าใจผังงานได้ง่าย เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับ ภาษาคอมพิวเตอรภ์ าษาใดภาษาหนง่ึ เปน็ เคร่อื งมือท่ใี ช้ในการสือ่ สารไดท้ ุกภาษา 2.4.3.2 ผังงานเป็นการสื่อความหมายด้วยภาพ ช่วยลำดับขั้นตอนการทำงานของ โปรแกรมให้ง่ายและสะดวกต่อการทำความเข้าใจ สามารถนำปเขียนโปรแกรมไดโ้ ดยไม่สับสน ซึ่งถ้าหาก ใชข้ ้อความหรอื คำพูดอาจจะสอ่ื ความหมายผดิ ไปได้ 2.4.3.3 ในงานโปรแกรมที่ไม่สลับซับซ้อน ช่วยในการตรวจสอบความถูกต้องของลำดับ ข้ันตอน และแก้ไขโปรแกรมได้ง่าย เมือ่ เกดิ ข้อผดิ พลาด 2.4.3.4 ช่วยให้ผู้อื่นสามารถศึกษาการทำงานของโปรแกรมได้อย่างง่าย สะดวก และ รวดเรว็ มากขึ้น 2.4.3.5 การบำรุงรักษาโปรแกรมหรือการเปลี่ยนแปลงแก้ไขโปรแกรมในภายหลัง ให้มี ประสิทธิภาพ ถ้าพิจารณาจากผังงานจะช่วยให้สามารถทบทวนงานในโปรแกรมก่อนปรับปรุง แก้ไขได้ สะดวกและง่ายขึ้น 2.4.4 ข้อจำกดั ของการเขยี นผงั งาน นักเขียนโปรแกรมบางคนไม่นิยมการเขียนผังงานก่อนที่จะเขียนโปรแกรม เพราะเสียเวลา ในการ เขียนเปน็ รปู ภาพหรอื สัญลกั ษณ์ตา่ ง ๆ นอกจากน้ยี ังมีเหตุผลอน่ื ๆ ได้แก่

20 2.4.4.1 ผังงานเป็นการสื่อความหมายระหว่างบุคคลต่อบุคคลมากกว่าที่จะสื่อ ความหมายบุคคลกับเครื่องคอมพิวเตอร์ เพราะผังงานไม่ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ ภาษาใดภาษาหนง่ึ ทำใหเ้ ครือ่ งคอมพวิ เตอรไ์ ม่สามารถรบั รแู้ ละเข้าใจวา่ ผังงานต้องการอะไร 2.4.4.2 ผังงานไม่สามารถแทนลักษณะคำสั่งของภาษาคอมพิวเตอร์บางคำสั่งได้อย่าง ชดั เจน 2.4.4.3 กรณีที่งานมีขนาดใหญ่ ผังงานจะมีขนาดใหญ่ด้วย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงแก้ไข จะทำได้ยาก ควรเขยี นแยกเป็นส่วน ๆ แลว้ คอ่ ยสร้างจุดเชือ่ มโยงในแตล่ ะสว่ น 2.4.4.4 การเขียนผงั งานอาจเปน็ การสนิ้ เปลืองกระดาษและอุปกรณ์อื่น ๆ ประกอบการ เขยี นภาพ ท้ัง ๆ ท่ีการอธิบายงานหรือการเขียนโปรแกรมจะใชเ้ น้ือทเ่ี พยี ง 3 - 4 บรรทดั เท่านน้ั 2.4.5 วิธีการเขยี นผังงานท่ีดี การเขียนผังงานควรคานึงถึงส่ิงตา่ ง ๆ ดงั น้ี 2.4.5.1 ใชส้ ญั ลกั ษณ์ตามทีก่ ำหนดไว้ 2.4.5.2 ผังงานจะต้องมีจุดเริ่มตน้ (Start) และส้นิ สดุ (Stop/End/Finish) 2.4.5.3 ใช้หัวลูกศรแสดงทิศทางการไหลของข้อมูลจากบนลงล่างหรือซ้ายไป ขวา (ยกเว้นท่ตี อ้ งทาซ้ำ) 2.4.5.4 ทกุ แผนภาพต้องมลี ูกศรแสดงทศิ ทางเข้า 1 เส้นและออก 1 เส้นโดยไม่ มีการปล่อยจดุ ใดจดุ หน่ึงไว้ 2.4.5.5 เขียนคำอธิบายการทำงานในแต่ละขั้นตอนโดยใช้ข้อความที่สั้น กะทดั รัด ชดั เจนและเขา้ ใจได้งา่ ย 2.4.5.6 ควรหลีกเลี่ยงโยงเส้นไปมาทำให้เกิดจุดตัดมากเพราะจะทำให้เกิด ข้อผิดพลาดง่าย ควรใช้สญั ลักษณ์เชอื่ มจุดต่อเน่ืองแทน 2.4.5.7 ไม่ควรโยงเส้นเชือ่ มผงั งานทอ่ี ยู่ไกลมาก ๆ ควรใช้สญั ลกั ษณ์จดุ เชื่อมต่อ แทน 2.4.5.8 ผังงานที่ดีควรมีความเป็นระเบียบเรียบร้อย สะอาดและชัดเจน สามารถเขา้ ใจและติดตามข้นั ตอนไดง้ า่ ย 2.4.5.9 ผังงานควรมีการทดสอบความถูกต้องของการทำงานก่อนไปเขียน โปรแกรม

21 2.5 DFD แผนภาพกระแสข้อมูล (Data Flow Diagram: DFD) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า แผนภาการไหล ของข้อมูล เป็นเครื่องมือที่ใช้เพื่อแสดงการไหลของข้อมูลและการประมวลผลต่าง ๆ ในระบบ สัมพันธ์กบั แหล่งเก็บข้อมูลที่ใช้ โดยแผนภาพนี้จะเป็นสื่อที่ช่วยให้การวิเคราะห์เป็นไปได้โดยง่าย และมีความเข้าใจ ตรงกันระหว่างผู้วิเคราะห์ระบบเองหรือระหว่างผู้วิเคราะห์ระบบกับโปรแกรมเมอร์ หรือระหว่างผู้ วิเคราะหร์ ะบบกับผูใ้ ชร้ ะบบ (รัชนี กัลยาวินยั และ อจั ฉรา ธารอุไรกุลม 2542) 2.5.1 ประโยชน์ที่ไดจ้ ากการใชแ้ ผนภาพกระแสข้อมลู มีดงั น้ี 2.5.1 มีความอิสระในการใช้งาน โดยไม่ต้องมีเทคนิคอื่นมาช่วย เนื่องจากสามารถใช้ สญั ลักษณต์ ่าง ๆ แทนสิง่ ทีว่ ิเคราะห์มา 2.5.2 เป็นสื่อที่ง่าต่อการแสดงความสัมพันธร์ ะหว่างระบบใหญ่และระบบย่อย ซึ่งจะทำ ให้เขา้ ใจความสมั พันธต์ ่าง ๆ ไดด้ ี 2.5.3 เป็นสื่อที่ช่วยในการวิเคราะห์ระบบให้เป็นไปได้ง่าย และมีความเข้าใจตรงกัน ระหวา่ งผู้วเิ คราะหร์ ะบบเองหรือระหว่างผวู้ ิเคราะหร์ ะบบกับโปรแกรมเมอร์ หรือระหวา่ งผู้วเิ คราะห์ระบบ กับผใู้ ช้ระบบ 2.5.4 ช่วยในการวิเคราะห์ระบบให้สะดวก โดยสามารถเห็นข้อมูลและขั้นตอนต่าง ๆ เปน็ แผนภาพ 2.5.2 สญั ลักษณท์ ใี่ ชใ้ นการเขียนแผนภาพกระแสข้อมูล สัญลกั ษณท์ ใ่ี ช้ในการเขยี นแผนภาพกระแสข้อมลู นนั้ ประกอบด้วย 4 สัญลกั ษณ์ ทแ่ี สดง ถงึ การประมวลผลการไหลของข้อมลู สว่ นที่ใชเ้ ก็บข้อมลู และส่งิ ทอ่ี ยูน่ อกระบบ โดยได้มีการศึกษาคิดค้น พฒั นาวิธกี ารอยู่หลายแบบ แตท่ เี่ ปน็ มาตรฐานมี 2 กลมุ่ คอื กลุ่มท่ีคดิ คน้ โดย Gane and Sarson (1979) และกลุ่มของ DeMarco and Yourdon (SeMarco, 1979) ถึงแม้สัญลักษณ์บางอย่างของสององค์กรน้ี จะต่างกนั แต่องค์ประกอบของแผนภาพและหลักการเขยี นแผนภาพไม่ได้แตกต่างกนั ดงั ตารางท่ี 2.2 ตารางที่ 2.5 สัญลักษณ์ตา่ ง ๆ ท่ใี ช้ในการเขียนแผนภาพการไหลของข้อมลู ชอื่ สัญลกั ษณ์ DeMarco & Yourdon Symbols Gane & Sarson Symbols การประมวลผล (Process)

22 แหล่งเก็บข้อมูล (Data Store) กระแสข้อมลู (Data Flow) สิง่ ท่ีอย่ภู ายนอก (External Entity) 2.5.3 สญั ลักษณ์การประมวลผล (Process Symbol) การประมวลผล (Process) เปน็ การเปลี่ยนแปลงข้อมลู จากรูปแบบหน่ึง (Input) ไปเป็น อีกรูปแบบหน่ึง (Output) เช่น การคำนวณรายไดส้ ุทธิของลูกจ้างรายวัน จะต้องประกอบด้วยข้อมูลำเขา้ ที่เป็น “อัตราค่าจ้างต่อชั่วโมง” และ “จำนวนชั่วโมงการทำงาน” เมื่อผ่านการประมวลผลแล้วจะได้ “รายได้สทุ ธิ” ตวั อยา่ งการประมวลผล ได้แก่ - คำนวณคา่ คอมมิชชนั - ตรวจสอบใบส่งั ซอื้ - ลงทะเบียน เป็นต้น การใชส้ ญั ลกั ษณ์การประมวลผล 2.5.3.1 ต้องใช้สัญลักษณ์การประมวลผล (Process) คู่กับสัญลักษณ์ กระแสข้อมูล (Data Flow) เสมอ โดยที่ถ้าลูกศรชี้เข้าหมายถึงเป็นข้อมูลนำเข้า ถ้าลูกศรชี้ออกหมายถึงเป็นข้อมูลออก จากการประมวลผล ซึ่ง 1 Process สามารถมีข้อมลู นำเข้ามากกว่า 1 เสน้ หรอื ขอ้ มลู ออกมากกว่า 1 เส้น ได้ 2.5.3.2 การต้ังชือ่ ของ Process ควรเป็นวลเี ดยี วทอ่ี ธิบายการทำงานทั้งหมดได้ และควร อธิบายการทำงานอย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะมากกว่าที่จะอธิบายการทำงานอย่างกว้าง ๆ เช่น หาก

23 แสดงถึงการประมวลผล “ตรวจสอบรายการ” ควรจะระบุว่าเป็น “การตรวจสอบรายการถอนเงิน” หรือ “ตรวจสอบรายการคา่ ใช้จ่ายรายสปั ดาห์” เปน็ ต้น 2.5.3.3 แตล่ ะ Process จะมีแต่ข้อมูลเขา้ อยา่ งเดยี ว หรือออกอยา่ งเดยี วไมไ่ ด้ ภาพท่ี 2.3 ภาพตัวอย่างการใชส้ ัญลกั ษณก์ ารประมวลผล (Process) 2.5.4 สัญลักษณก์ ระแสข้อมูล (Data Flow Symbol) กระแสข้อมูล (Data Flow) เปน็ เส้นทางในการไหลของข้อมูลจากส่วนหนง่ึ ไปยงั อกี ส่วน หนึ่งของสารสนเทศ โดยจะมีลูกศรแสดงถึงการไหลจากปลายลูกศร ไปยังหัวลูกศร ซึ่งข้อมูลที่ปรากฎบน เส้นน้จี ะเป็นข้อความ ตัวเลข รายการเรคคอรด์ ท่รี ะบบคอมพวิ เตอรส์ รามารถนำไปประมวลผลได้ ตัวอย่างกระแสข้อมูล ได้แก่ - ใบสั่งซ้ือสินคา้ - ใบเสรจ็ รบั เงิน - เกรดของนักศึกษา - ใบสง่ ของทีผ่ า่ นการตรวจสอบแลว้ เปน็ ต้น การใช้สัญลักษณก์ ระแสข้อมลู 2.5.4.1 กระแสข้อมูลสามารถใช้คู่กับการประมวลผล (Process), สิ่งที่อยู่นอกระบบ (External Entities) หรอื แหล่งเกบ็ ข้อมูล (Data Store) กไ็ ด้ ข้ึนอยู่กบั ระบบงานว่า ข้อมูลนัน้ จะนำไปไว้ ทไี่ หน หรอื ขอ้ มูลนั้นจะนำออกจากสว่ นใด

24 ภาพที่ 2.4 ภาพตัวอย่างการใชส้ ญั ลกั ษณก์ ระแสข้อมลู (Data Flow) ภาพท่ี 2.5 ตวั อย่างการใชส้ ัญลกั ษณ์กระแสขอ้ มลู (Data Flow) 2.5.4.2 การตั้งชื่อกระแสข้อมูล โดยทั่วไปจะตั้งชื่อด้วยคำเพียงคำเดียว ที่มีความหมาย ชัดเจนและเขา้ ใจง่ายควรกำกบั ช่ือบนเส้นดว้ ย คำนาม เช่น “เวลาทำงาน”, “ใบสง่ั ซ้ือสนิ ค้า” เปน็ ตน้ 2.5.4.3 ควรตง้ั ช่ือกระแสขอ้ มูล ตามขอ้ มลู ท่ไี ด้เปล่ยี นแปลงไปแลว้ หลงั จากออกจากการ ประมวลผล เนอ่ื งจากการประมวลหรือ Process ใช้แสดงถึงการเปล่ยี นขอ้ มูลหรือการสง่ ผา่ นข้อมูล ดังน้นั Data Flow ที่ออกจาก Process มักจะมีการเขียนชื่อกำกับให้แตกต่างออกไปจาก Data Flow ที่เข้ามา ใน Process เสมอ 2.5.5 สญั ลักษณแ์ หล่งเกบ็ ข้อมูล (Data Store Symbol) แหล่งที่เก็บข้อมูล (Data Store) เป็นส่วนท่ีใช้แทนชื่อแฟ้มข้อมูลที่เก็บข้อมูล เพราะมี การประมวลผลหลายแบบที่จะต้องมีการเก็บข้อมูลไว้เพื่อที่จะได้นำไปใช้ภายหลัง ซึ่งแหล่งเก็บข้อมูล จะต้องมีทั้งข้อมูลเข้าและข้อมูลออกโดยข้อมูลที่ออกจากแหล่งเก็บข้อมูลจะอยู่ในลักษณะที่ถูกอ่านขึน้ มา ส่วนข้อมูลท่ไี หลเขา้ สู่แหลง่ เกบ็ ขอ้ มลู จะอย่ใู นรูปของการบนั ทกึ การเพิ่ม-ลบ แก้ไข ตวั อยา่ งแหลง่ เก็บข้อมลู ได้แก่ - แฟ้มคนไข้ - แฟม้ พนกั งาน เป็นตน้ การใชส้ ญั ลักษณแ์ หลง่ เกบ็ ข้อมูล

25 2.5.5.1 ต้องใช้สัญลักษณ์แหล่งเก็บข้อมูล (Data Store) คู่กับสัญลักษณ์ กระแสข้อมูล (Data Flow) เสมอ โดยที่ถ้าลูกศรชี้เข้าหมายถึง เป็นข้อมูลนำเข้าไปเก็บยังแหล่งเก็บ ถ้าลูกศรชี้ออก หมายถึง อา่ นข้อมูลจากแหล่งเกบ็ ขอ้ มลู ไปใช้ในการประมวลผล 2.5.5.2 Data Store ตอ้ งเชื่อมต่อการประมวลผล (Process) เสมอโดยเชื่อมผ่านกระแส ข้อมลู (Data Flow) 2.5.5.3 เน่ืองจาก Data Store ใช้แทนสิ่งที่เก็บข้อมูลเกี่ยวกับคน, สถานที่, หรือสิ่งของ ดงั นน้ั ควรเขยี นช่ือกำกับดว้ ยคำนาม เชน่ “แฟม้ ข้อมูลสินค้า”, “แฟม้ เวลาทำงานของพนกั งาน” เปน็ ตน้ ภาพท่ี 2.6 ภาพตวั อยา่ งการใชส้ ัญลกั ษณ์แหล่งท่เี ก็บข้อมูล (Data Store) ภาพที่ 2.7 ตัวอย่างการใชส้ ญั ลกั ษณแ์ หลง่ ที่เกบ็ ขอ้ มลู (Data Store) 2.5.6 สัญลกั ษณ์ส่ิงท่อี ยู่ภายนอก (External Entity Symbol) สิ่งที่อยู่ภายนอก (External Entity) เป็นส่วนที่ใช้แทนคน แผนกภายในองค์กรและ แผนกภายนอกองคก์ รหรือระบบสารสนเทศอนื่ ทีเ่ ปน็ สว่ นที่จะให้ข้อมลู หรือรับข้อมูล

26 สิ่งที่อยู่นอกระบบนี้ใช้แสดงถึงขอบเขตของระบบสารสนเทศ และแสดงถึงว่าระบบที่ ศึกษาอย่นู ้จี ะตดิ ต่อกับสง่ิ ที่อยูภ่ ายนอกดว้ ยวิธใี ด (นำข้อมลู เขา้ มา หรอื ได้ขอ้ มูลออกไป) ภาพที่ 2.8 ภาพตวั อย่างการใช้สัญลักษณ์สิง่ ท่ีอยภู่ ายนอก (External Entities) 2.6 ER-Model ER โมเดล (Entity-Relationship Model) ใช้ในการออกแบบฐานข้อมูลในระดับแนวคิด (High- Level Conceptual Data Model) เพื่ออธิบายถึงเค้าร่างของฐานข้อมูล (Conceptual Database Schema) ที่ประกอบด้วยความหมายของเอนทิตี้ (Entity) คุณลักษณะของเอนทิตี้ (Entity) หรือแอททริ บิวต์และความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ (Relationship) โดยการโมเดลข้อมูลด้วย ER โมเดลที่ช่วยในการ ออกแบบในระดับแนวคิดจะไม่คำนึงว่าโมเดลของระบบจัดการฐานข้อมูลที่จะเลือกใช้หรือโครงสร้างการ จัดเกบ็ ขอ้ มลู จรงิ เปน็ อย่างไร ER โมเดล เป็นการออกแบบในระดับแนวคิดในลักษณะจากบนมาล่าง (Top-Down Strategy) โดยผลจากการออกแบบฐานขอ้ มลู ไดเ้ คา้ ร่างในระดบั แนวคิดท่ีประกอบดว้ ย • เอนทิตท้ี ี่ควรจะมใี นระบบ • ความสมั พันธร์ ะหว่างเอนทติ ้ีวา่ เป็นอย่างไร • แอททรบิ วิ ต์ซงึ่ เป็นรายละเอยี ดท่ีอธิบายเอนทิต้ี และมีความสมั พันธก์ นั อย่างไรบ้าง 2.6.1 สัญลกั ษณ์ท่ีใช้ ER โมเดลจะมีการใช้สัญลักษณ์เพื่อแทนความหมายของเอนทิตี้ แอทริบิวต์และ ความสมั พันธข์ องเอนทติ ี้ในฐานขอ้ มูลทีอ่ อกแบบ ดงั น้ี

27 2.6.1.1 สญั ลกั ษณ์ในการโมเดล ER แบบ Chen ภาพท่ี 2.9 ภาพแสดงสัญลักษณใ์ น ER-Model แบบ Chen ภาพที่ 2.10 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Chen (ต่อ)

28 ภาพที่ 2.11 ภาพแสดงสญั ลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Chen (ตอ่ )

29 2.6.1.2 สญั ลักษณ์ในการโมเดล ER แบบ Crow’s Foot ภาพที่ 2.12 ภาพแสดงสัญลกั ษณ์ใน ER-Model แบบ Crow’s Foot

30 ภาพที่ 2.13 ภาพแสดงสัญลกั ษณใ์ น ER-Model แบบ Crow’s Foot (ต่อ) กล่าวโดยสรุป ความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้สามารถเขียนได้หลายรูปแบบ หากนำ รายละเอียดความสัมพันธ์ระหว่างเอนทิตี้ที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้นมาประกอบกันความสัมพันธ์ระหว่าง เอนทติ ี้ จะสามารถโมเดลความสมั พนั ธ์และข้อกำหนดคารด์ ินัลลติ ีข้ องเอนทิต้ใี นลักษณะต่าง ๆ 2.7 ระบบฐานข้อมูล (Database System) ระบบฐานข้อมูล คือ ระบบที่รวบรวมข้อมูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกันเข้าไว้ด้วยกันอย่างมีระบบ มี ความสัมพันธ์ระหว่างขอ้ มูลตา่ ง ๆ ที่ชัดเจน ในระบบฐานข้อมูลจะประกอบด้วยแฟ้มข้อมูลหลายแฟ้มท่มี ี ข้อมูล เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันเข้าไว้ด้วยกันอย่างเป็นระบบและเปิดโอกาสให้ผู้ใช้สามารถใช้งานและดูแล รักษาป้องกันข้อมูลเหล่านี้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีซอฟต์แวร์ที่เปรียบเสมือนสื่อกลางระหว่างผู้ใช้ และโปรแกรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการใช้ฐานข้อมูล เรียกว่า ระบบจัดการฐานข้อมูล หรือ DBMS (data base management system) มีหน้าที่ช่วยให้ผู้ใช้เข้าถึงข้อมูลได้ง่ายสะดวกและมีประสิทธิภาพ การ เขา้ ถงึ ขอ้ มลู ของผ้ใู ช้อาจเปน็ การสร้างฐานข้อมลู การแกไ้ ขฐานขอ้ มูล หรอื การตงั้ คำถามเพือ่ ใหไ้ ดข้ ้อมูลมา โดยผใู้ ช้ไมจ่ ำเปน็ ตอ้ งรบั รเู้ ก่ยี วกบั รายละเอยี ดภายในโครงสร้างของฐานข้อมลู

31 2.7.1 ลักษณะข้อมลู ในฐานขอ้ มูล ระบบฐานข้อมูล (Database System) หมายถึง โครงสร้างสารสนเทศที่ประกอบด้วย รายละเอียดของข้อมูลท่ีเกยี่ วข้องกนั ท่ีจะนำมาใชใ้ นระบบต่าง ๆ ร่วมกนั ฐานขอ้ มูลเป็นการจัดเก็บข้อมูล อยา่ งเป็นระบบ ทำให้ผใู้ ช้สามารถใช้ข้อมูลท่ีเกี่ยวข้องในระบบงานต่าง ๆ รว่ มกนั ได้ โดยที่จะไม่เกิดความ ซ้ำซ้อนของข้อมูล และยังสามารถหลีกเลี่ยงความขัดแย้งของข้อมูลด้วย อีกทั้งข้อมูลในระบบก็จะถูกต้อง เชอื่ ถือได้ และเป็นมาตรฐานเดียวกัน โดยจะมีการกำหนดระบบความปลอดภยั ของข้อมลู ขึน้ 2.7.1.1 ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์ (Relational Database) เป็นการเก็บข้อมูลใน รูปแบบที่เป็นตาราง (Table) หรือเรียกว่า รีเลชั่น (Relation) มีลักษณะเป็น 2 มิติ คือเป็นแถว (row) และเป็นคอลมั น์ (column) การเช่อื มโยงข้อมลู ระหวา่ งตาราง จะเชอ่ื มโยงโดยใชแ้ อททรบิ วิ ต์ (attribute) หรือคอลัมน์ที่เหมือนกันทั้งสองตารางเป็นตัวเชื่อมโยงข้อมูล ฐานข้อมูลเชิงสัมพันธ์นี้จะเป็นรูปแบบของ ฐานขอ้ มูลท่ีนยิ มใช้ในปัจจุบนั 2.7.1.2 ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย (Network Database)ฐานข้อมูลแบบ เครือข่ายจะเป็นการรวมระเบียนต่าง ๆ และความสัมพันธ์ระหว่างระเบียนแต่จะต่างกับฐานข้อมูลเชิง สัมพันธ์ คือ ในฐานข้อมูลเชิงสมั พันธ์จะแฝงความสมั พันธ์เอาไว้ โดยระเบียนที่มีความสัมพันธ์กันจะต้องมี ค่าของข้อมูลในแอททริบิวต์ใดแอททริบิวต์หนึ่งเหมือนกัน แต่ฐานข้อมูลแบบเครือข่าย จะแสดง ความสัมพันธ์อยา่ งชดั เจน 2.7.1.3 ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น (Hierarchical Database)ฐานข้อมูลแบบ ลำดับชั้น เป็นโครงสร้างที่จัดเก็บข้อมูลในลักษณะความสัมพันธ์แบบพ่อ-ลูก (Parent-Child Relationship Type : PCR Type) หรือเป็นโครงสร้างรูปแบบต้นไม้ (Tree) ข้อมูลที่จัดเก็บในที่นี้ คือ ระเบียน (Record) ซึ่งประกอบด้วยค่าของเขตข้อมูล (Field) ของเอนทิตี้หนึ่ง ๆ ฐานข้อมูลแบบลำดบั ช้ัน นี้คล้ายคลึงกับฐานข้อมูลแบบเครือข่าย แต่ต่างกันที่ฐานข้อมูลแบบลำดับชั้น มีกฎเพิ่มขึ้นมาอีกหน่ึง ประการ คือ ในแต่ละกรอบจะมีลูกศรวงิ่ เข้าหาได้ไม่เกนิ 1 หวั ลกู ศร 2.7.2 ประโยชนข์ องฐานข้อมลู 2.7.2.1 ลดการเก็บข้อมูลที่ซ้ำซ้อน ข้อมูลบางชุดที่อยู่ในรปู ของแฟ้มข้อมูลอาจมีปรากฏ อยู่หลาย ๆ แห่ง เพราะมีผู้ใช้ข้อมูลชุดนี้หลายคน เมื่อใช้ระบบฐานข้อมูลแล้วจะช่วยใหค้ วามซ้ำซ้อนของ ขอ้ มูลลดน้อยลง

32 2.7.2.2 รักษาความถูกต้องของขอ้ มูล เน่อื งจากฐานข้อมลู มีเพยี งฐานข้อมลู เดียว ในกรณี ท่ีมีข้อมลู ชุดเดยี วกันปรากฏอยูห่ ลายแหง่ ในฐานข้อมูล ขอ้ มลู เหล่านีจ้ ะต้องตรงกนั ถ้ามีการแก้ไขข้อมูลน้ี ทกุ ๆ แห่งทีข่ ้อมลู ปรากฏอยจู่ ะแก้ไขให้ถกู ต้องตามกนั หมดโดยอตั โนมตั ิด้วยระบบจดั การฐานข้อมูล 2.7.2.3 การป้องกนั และรักษาความปลอดภยั ให้กับข้อมลู ทำได้อย่างสะดวก การป้องกัน และรักษาความปลอดภัยกับข้อมูลระบบฐานข้อมูลจะให้เฉพาะผู้ที่เกี่ยวข้องเท่านั้น ซึ่งก่อให้เกิดความ ปลอดภัย(security) ของขอ้ มูลด้วย ภาพท่ี 2.14 แสดงแผนฐานข้อมูล

บทท่ี 3 วธิ ดี ำเนินงาน ในการดำเนินงานวิเคราะห์และออกแบบระบบร้านขายของชำ ร้านป้ามาลี คณะผู้จัดทำได้มีการ รวบรวมข้อมลู และนำมาวิเคราะห์ระบบและกำหนดกระแสข้อมลู ต่าง ๆ โดยมหี วั ขอ้ ดังนี้ 3.1 การเก็บรวบรวมข้อมูล 3.2 วิเคราะห์ระบบโดยใช้ DFD 3.3 ออกแบบ ER-Model 3.4 ออกแบบฐานข้อมูลและสร้างความสัมพันธ์โดยใช้ Microsoft Access 3.1 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล คณะผจู้ ดั ทำได้มีการรวบรวมข้อมูลจากผู้ประกอบการหรือเจ้าของรา้ น โดยมกี ารตง้ั คำถามตา่ ง ๆ และไดด้ ำเนนิ การเก็บรวบรวมขอ้ มูลเพอื่ ใช้ในการดำเนนิ งาน ดง้ั นี้ 3.1 คณะผ้จู ัดทำ ทำการเก็บวางแผนและรวบรวมข้อมลู เพ่ือดำเนินกจิ กรรม 3.2 คณะผู้จัดทำ ได้ทำการสร้างคำถามขึ้นจำนวน 15 ข้อ เพื่อสัมภาษณ์กับเจ้าของร้านที่จะไป ศกึ ษา 3.3 คณะผู้จัดทำ ได้ทำการสัมภาษณ์กับเจ้าของโดยใช้คำถามที่สร้างขึ้นจำนวน 15 ข้อ กับ เจ้าของรา้ นผา่ นทาง Online เนอ่ื งในสถานการณ์ Covid-19 ทำใหไ้ มส่ ามารถลงไปพ้นื ท่เี พ่ือสัมภาษณ์กับ เจา้ ของรา้ นได้ 3.4 นำข้อมูลทไี่ ดจ้ ากการสัมภาษณก์ บั เจ้าของร้านมาเรยี บเรียงและวิเคราะหเ์ พ่ือนำมาออกแบบ ระบบ

34 3.2 วิเคราะห์ระบบโดยใช้ DFD คณะผ้จู ัดทำได้ทำการวิเคราะหร์ ะบบโดยใช้ DFD โดยมีรูปแบบ ดงั นี้ 3.2.1 Context Diagram Level 0 ร้านปา้ มาลี ภาพที่ 3.1 ภาพวเิ คราะห์ Context Diagram Level 0 ระบบร้านขายของชำ ร้านป้ามาลี จากภาพที่ 3.1 Context Diagram Level 0 มขี บวนการทำงานดงั น้ี โดยระบบนี้มีการติดตอ่ กบั ลูกค้า ท่ีมาใช้บริการร้านป้ามาลีตัวแทนจำหน่ายและเจา้ ของรา้ น โดยประกอบด้วย Process: รา้ นป้ามาลี Data Flow In: สัง่ ซอ้ื สินคา้ , รายการส่ังซื้อสนิ ค้า, ชำระเงิน, รายงานการขายสินค้า Data Flow Out: สนิ ค้า, รายการสินคา้ , รายการส่ังซื้อสินค้า, ใบเสรจ็ รบั เงิน, รายงานการสงั่ ซ้ือสินคา้

35 3.2.2 Context Diagram Level 1 ร้านป้ามาลี ภาพที่ 3.2 ภาพวิเคราะห์ Context Diagram Level 1 ร้านปา้ มาลี จากภาพที่ 3.2 Context Diagram Level 1 มีขบวนการทำงานดังนี้ โดยเริ่มต้นจะมีการ ตรวจสอบขอ้ มูลของลูกค้าก่อนจงึ จะสามารถทำรายการสัง่ ซื้อสินคา้ ได้ เมอื่ ได้รับรายสง่ั ซอ้ื สินคา้ แล้วก็จะมี การบนั ทึกข้อมูลการขายสนิ ค้าและเช็คสินค้าในคลังเก็บสินคา้ นน้ั ๆ และมกี ารจัดทำรายงานเม่ือมีรายการ สั่งซื้อเข้ามาก็จะมีการตรวจสอบรายการสินค้าคงเหลือ ข้อมูลการขายสินค้า จากนั้นจะรายงานการขาย สินคา้ ให้กบั เจ้าของร้าน และนำรายการสง่ั ซือ้ สินค้าไปใหแ้ ผนกจดั ซือ้ แผนกจัดซ้อื จะนำใบส่งั ซอ้ื สนิ ค้าไปท่ี ตัวแทนจำหน่าย และเมื่อได้สินค้าแล้วก็จะตรวจสอบสินค้าก่อนส่งไปให้ลูกค้า เมื่อลูกค้าได้รับสินค้าและ ชำระเงินเรยี บรอ้ ยแล้ว จะมีการบันทกึ ในบญั ชแี ละให้ใบเสร็จรบั เงินแกล่ ูกคา้ แล้วนำไปจัดทำรายงาน

36 3.3 ออกแบบ ER-Model เมอ่ื คณะผจู้ ดั ทำได้ทำการวิเคราะหร์ ะบบในส่วนของ DFD เรียบร้อยแลว้ หลงั จากนั้นคณะผูจ้ ดั ทำ ไดท้ ำการออกแบบ ER-Model ขึน้ มา โดยมีดังน้ี 3.3.1 Chen ER-MODEL ร้านป้ามาลี ภาพท่ี 3.3 ภาพออกแบบ Chen ER-MODEL ร้านปา้ มาลี

37 3.3.2 Craw's Foot ER-MODEL รา้ นปา้ มาลี ภาพที่ 3.4 ภาพออกแบบ Craw's Foot ER-MODEL รา้ นป้ามาลี 3.4 ออกแบบฐานข้อมลู และสรา้ งความสัมพันธ์โดยใช้ Microsoft Access หลังจากทค่ี ณะผู้จดั ทำได้ทำการศึกษาและวเิ คราะห์ระบบ ได้ทำการออกแบบตารางข้อมูลและ สร้างความสัมพนั ธห์ รือ Entity Relationship Diagram ของระบบฐานขอ้ มูลการขายสินค้า 3.4.1 การออกแบบตารางข้อมลู

38 ภาพท่ี 3.5 การออกแบบตารางข้อมูลรา้ นป้ามาลี 3.4.1.1 การออกแบบตารางข้อมูล Customer ภาพท่ี 3.6 ออกแบบตารางข้อมูล Customer 3.4.1.2 การออกแบบตารางข้อมลู Products ภาพท่ี 3.7 ออกแบบตารางข้อมลู Products 3.4.1.3 การออกแบบตารางข้อมลู Employee ภาพที่ 3.8 ออกแบบตารางข้อมูล Employee 3.4.1.4 การออกแบบตารางข้อมูล Orders

39 ภาพที่ 3.9 ออกแบบตารางข้อมลู Orders 3.4.1.5 การออกแบบตารางข้อมูล Order Details ภาพท่ี 3.10 ออกแบบตารางข้อมลู Order Details 3.4.1.6 การออกแบบตารางข้อมลู Category ภาพท่ี 3.11 ออกแบบตารางขอ้ มูล Category 3.4.1.7 การออกแบบตารางข้อมูล Receipt ภาพท่ี 3.12 ออกแบบตารางขอ้ มลู Receipt

40 3.4.2 การสรา้ งความสมั พนั ธห์ รือ Entity Relationship Diagram หลังจากที่คณะผู้จัดทำได้ทำการออกแบบตารางของข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ก็จะมา ดำเนนิ การสรา้ งความสมั พนั ธ์หรือ Entity Relationship Diagram ดงั ภาพ 3.13 ภาพท่ี 3.13 การสรา้ งความสัมพันธ์หรอื Entity Relationship Diagram

บทที่ 4 ผลการดำเนินงาน 4.1 การออกแบบระบบรา้ นขายของชำ รา้ นปา้ มาลี 4.1.1 ออกแบบหน้า Login ภาพที่ 4.1 หนา้ จอ Login

42 4.1.2 ออกแบบหน้า Menu ภาพท่ี 4.2 รายการสนิ รายการสินคา้


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook