Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษาป6 เรื่อง ภัยธรรมชาติ (ภัยแล้ง)

สุขศึกษาป6 เรื่อง ภัยธรรมชาติ (ภัยแล้ง)

Published by viewcyku555, 2021-01-19 03:35:36

Description: สุขศึกษาป6 เรื่อง ภัยธรรมชาติ (ภัยแล้ง)

Search

Read the Text Version

ภัย ธรรมชาติ จัดทาโดย ครูภารวี หรริ ักษ์ (ครวู ิว) โรงเรยี นบา้ นหนองบอน (นยั นานนท์อนุสรณ์)

04 ความแห้งแลง้ 05 พายุฝนฟา้ คะนอง 06 คลืน่ พายุซดั ฝงั่

07 แผ่นดินไหว 08 แผ่นดินถลม่ 09 ไฟปา่ 10 สนึ ามิ

04 ความแห้งแล้ง หรอื ภัยแล้ง

ภยั แล้ง หมายถึง ภัยทเ่ี กดิ จากการขาดแคลนนา ในพืนที่ใดพนื ที่หนึง่ เป็นเวลานาน ฝนแลง้ ไม่ตกตอ้ งตามฤดูกาล จนก่อใหเ้ กิดความแห้งแล้ง และส่งผลกระทบต่อชุมชน

สาเหตทุ ่เี กดิ ภัยแลง้ โดยธรรมชาติ 1. การเปล่ยี นแปลงอณุ หภมู ิโลก 2. การเปล่ยี นแปลงสภาพภูมิอากาศ 3. การเปลยี่ นแปลงของระดบั นาทะเล เชน่ ปรากฎการณแ์ อลนิญโญ 4. ภยั ธรรมชาติ เชน่ วาตภัย แผน่ ดนิ ไหว ซง่ึ ก่อใหเ้ กิดการเปลีย่ นแปลงภูมิประเทศ

สาเหตุทเ่ี กิดภัยแล้ง โดยการกระทาของมนุษย์ 1. การทาลายชันโอโซน 2. ผลกระทบของภาวะเรือนกระจก 3. การพฒั นาด้านอุตสาหกรรม 4. การตัดไม้ทาลายปา่

ผลกระทบจากปญั หาภยั แลง้ 1. ด้านเศรษฐกิจ สินเปลืองและสูญเสยี ผลผลิตด้านเกษตร ปศสุ ตั ว์ ป่าไม้ การประมง 2. ด้านส่ิงแวดลอ้ ม ส่งผลกระทบตอ่ สัตว์ต่างๆ ทาให้ขาดแคลนนา ระดบั นาในดนิ เปลยี่ นแปลง เกดิ การกดั เซาะของดิน ไฟปา่ เพิม่ ขนึ

ผลกระทบจากปญั หาภยั แลง้ 3. ด้านสังคม สง่ ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย เกิดความขัดแย้งในการใช้นา และการจดั การคุณภาพชีวิตลดลง

วิธกี ารแก้ปัญหาภยั แลง้ 1. แก้ปญั หาเฉพาะหน้า เช่น แจกนาใหป้ ระชาชน ขุดเจาะนาบาดาล สร้างศนู ยจ์ า่ ยนา จัดทาฝนเทยี ม

วธิ ีการแกป้ ญั หาภยั แลง้ 2. การแกป้ ญั หาระยะยาว เชน่ สรา้ งฝาย เข่ือน ขุดลอกแหลง่ นา รักษาปา่ ปลูกปา่ พัฒนาชลประทาน

05 พายุฝนฟ้า คะนอง

พายุฝนฟ้าคะนอง เป็นปรากฎการณ์ทางธรรมชาติ โดยการก่อตัวที่เกดิ ขึนในแต่ละพืนทจ่ี ะเปน็ ไปตามฤดูกาล ในบรเิ วณใกลเ้ ส้นศนู ย์สตู ร เนื่องจากมสี ภาพอากาศในเขตรอ้ น จึงมีอากาศร้อน อบอา้ ว ซึ่งเอือตอ่ การก่อตวั ของพายฝุ นฟ้าคะนองได้

ข้อสงั เกต กอ่ นเกดิ 1. อากาศร้อนอบอ้าว 2. ลมสงบ อากาศร้อนจนรูส้ ึกเหนียวตวั 3. เมฆก่อตัวเปน็ รปู ทั่งสเี ทาเข้ม

ขอ้ สงั เกต ขณะเกดิ 1. ฟ้าแลบ ฟา้ รอ้ ง และฟา้ ผา่ ลมกระโชกแรง 2. ฝนตกหนกั ถึง หนกั มาก บางครงั มลี กู เห็บ

ข้อสงั เกต ขณะเกิด 1. ฟา้ แลบ ฟ้ารอ้ ง และฟ้าผา่ ลมกระโชกแรง 2. ฝนตกหนัก ถึง หนกั มาก บางครังมีลูกเหบ็ หลงั เกิด รูส้ ึกเย็นสบาย ทอ้ งฟ้าแจม่ ใส

การปอ้ งกันพายุฝนฟา้ คะนอง 1. อยใู่ นรถยนต์ 2. อยู่หา่ งจากบริเวณท่เี ปน็ นา หรอื ชายหาด 3. ถา้ อยู่ในปา่ หรอื ที่โล่งแจง้ ควรคุกเข่า และโน้มตัวไปขา้ งหนา้ แต่ไมค่ วรนอนราบกบั พืน เนอ่ื งจากพืนเปียกเป็นส่อื ไฟฟ้า และไม่ควรอยใู่ นท่ีต่า ซึ่งอาจเกิดนาทว่ มฉบั พลันได้

06 คลน่ื พายุซัดฝง่ั

คล่นื พายุซดั ฝง่ั คลน่ื ซดั ชายฝั่งขนาดใหญ่ อันเนือ่ งมาจาก ความแรงของลมที่เกิดขึนจากพายุหมุนเขตร้อน ที่เคล่ือนตวั เขา้ หาฝ่งั โดยปกติมีความรนุ แรงมากในรศั มีประมาณ 100 กโิ ลเมตร แตบ่ างครัง อาจไดร้ บั อิทธิพลเสรมิ ความรนุ แรงจากลมมรสุมตะวันออกเฉยี งเหนือ

สาเหตขุ องคล่นื พายซุ ัดฝ่งั เกดิ จากพายุหมนุ เขตรอ้ นท่ีเคลอ่ื นตวั เขา้ ใกลช้ ายฝงั่ ทะเล กรณขี อง ประเทศไทย จะเปน็ พายุหมุนเขตร้อนอาจก่อตัวในทะเลจีนใต้ แล้วเคลอ่ื นตัวผา่ นปลายแหลมญวนเขา้ สู่อ่าวไทย หรอื ก่อ ตวั ในบรเิ วณอา่ วไทยตอนล่างโดยตรง เรม่ิ ตังแต่กลางเดือน ตุลาคม - ธันวาคม

ผลกระทบของคลน่ื พายซุ ดั ฝ่ัง 1. ป่าชายเลนและหาดทรายถูกทาลาย 2. ต้นไม้ ขนาดใหญโ่ ค่นลม้ ถนนชารดุ เสยี หาย รวมไปถึง ท่าเรือ และหมู่บา้ นชาวประมง 3. เสียชีวิตและทรัพยส์ นิ ของประชาชน

การป้องกนั คลนื่ พายุซัดฝง่ั 1. สร้างแนวเขือ่ นกันคลื่นพายซุ ดั ฝัง่ 2. ให้คาแนะนาเก่ยี วกับพายุหมนุ เขตรอ้ น คล่ืนพายุซดั ฝ่งั ใหก้ บั ประชาชน 3. ตดิ ตามข่าวอากาศเตอื นภัยพายุหมนุ เขตร้อน และคล่ืนพายุซัดฝั่งจากกรมอตุ ถนยิ มวิทยาอย่างใกล้ชิด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook