Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า

การทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า

Published by GaMe MaMMon, 2020-02-20 09:18:45

Description: การทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้า

Search

Read the Text Version

การทางานของเครื่องใช้ไฟฟ้า เคร่ืองใช้ไฟฟ้า ให้พลงั งานแสง

หลอดฟลูออเรสเซนด์ ( Fluorescent Lamp ) 1. ตัวหลอด ภายในสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจไุ อปรอทและก๊าซ อาร์กอน เลก็ น้อย ผวิ ด้านในของหลอดเรืองแสงฉาบด้วยสารเรืองแสง เป็ นหลอดแก้วทรงกระบอก มหี ลายแบบ เช่น หลอดยาว วงกลม เกือก ชนิดต่างๆ แล้วแต่ความต้องการให้เรืองแสงเป็ นสีใด เช่น ถ้าต้องการให้ ม้า ภายในหลอดสูบอากาศออกจนหมดแล้วบรรจปุ รอทไว้เพยี งเล็กน้อย เรืองแสงสีเขยี ว ต้องฉาบด้วยสารซิงค์ซิลเิ คต แสงสีขาวแกมฟ้าฉาบด้วย ท่ผี วิ ด้านในของหลอดแก้วจะฉาบด้วยสารเรืองแสง และท่ปี ลายหัวและ ท้ายของหลอดมไี ส้หลอดทาด้วยโลหะทังสเตน หรือ วลุ แฟรมขดเป็ นเส้น มักเนเซียมทังสเตน แสงสีชมพูฉาบด้วยแคดเนียมบอเรต เป็ นต้น เลก็ ๆ ซ่ึงมีความต้านทานกระแสไฟฟ้าสูงมาก 2. ไส้หลอด ทาด้วยทงั สเตนหรือวลุ แฟรมอยู่ทป่ี ลายท้งั สองข้าง เม่ือ กระแสไฟฟ้าผ่านไส้หลอดจะทาให้ไส้หลอดร้อนขนึ้ ความร้อนท่ีเกดิ ขนึ้ จะทาให้ไอปรอททบี่ รรจไุ ว้ในหลอดกลายเป็ นไอมากขึน้ แต่ขณะน้ัน กระแสไฟฟ้ายงั ผ่านไอปรอทไม่สะดวก เพราะปรอทยังเป็ นไอน้อยทาให้ ความต้านทานของหลอดสูง

3. สตาร์ตเตอร์ ทาหน้าทีเ่ ป็ นสวิตซ์ไฟฟ้าอัตโนมตั ิของวงจรโดยต่อขนาน ภายในหลอดฟลูออเรสเซนต์( fluorescent tube) จะบรรจุไอของปรอท กับหลอด ทาด้วยหลอดแก้วภายในบรรจุก๊าซนีออนและแผ่นโลหะคู่ท่ีงอ และก๊าซอาร์กอนแรงดันตา่ ทผ่ี วิ ภายในของหลอดเช่ือมต่อกบั อปุ กรณ์สองชิน้ คือบัล ตวั ได้ เม่ือได้รับความร้อน เม่ือกระแสไฟฟ้าผ่านก๊าซนีออน ก๊าซนีออน ลาสต์( ballast) และสตาร์ทเตอร์(starter) จะตดิ ไฟเกิดความร้อนขนึ้ ทาให้แผ่นโลหะคู่งอจนแตะติดกนั ทาให้ กระแสไฟฟ้าไหลตามสาย ผ่านข้ัวหลอดด้านหนง่ึ ไปยงั สตาร์ทเตอร์ทตี่ ่ออย่กู บั ข้ัว กลายเป็ นวงจรปิ ดทาให้กระแสไฟฟ้าผ่านแผ่นโลหะได้ครบวงจร ก๊าซ หลอดอกี ด้านหนึง่ แล้วไหลต่อไปยงั บลั ลาสต์ แล้วกลบั เข้าสู่แหล่งกาเนดิ ไฟฟ้าใหม่ นีออนทต่ี ิดไฟอยู่จะดับและเย็นลง แผ่นโลหะคู่จะแยกออกจากกนั ทาให้ ในตอนแรกข้ัวท้งั สองของสตาร์ทเตอร์จะแยกออกจากกนั เมื่อมกี ระแสไฟฟ้าไหล เกิดความต้านทานสูงขนึ้ อย่างทันทีซึ่งขณะเดียวกนั กระแสไฟฟ้าจะผ่าน ผ่านจะอาศัยการนาไฟฟ้าของก๊าซอาร์กอนแรงดนั ตา่ ในหลอดทาให้เกิดแสงสีแดง ไส้หลอดได้มากขนึ้ ทาให้ไส้หลอดร้อนขนึ้ มาก ปรอทกจ็ ะเป็ นไอมากขนึ้ เข้ม ในขณะเดียวกนั ความร้อนในหลอดจะทาให้แผ่นโลหะค่รู ้อนขึน้ จนโค้งงอเข้า หากนั ข้วั ท้งั สองจึงสัมผสั กนั ทาให้กระแสไฟฟ้าผ่านได้ กระแสไฟฟ้าทข่ี ้วั หลอดจะ จนพอทน่ี ากระแสไฟฟ้าได้ เพิม่ สูงขนึ้ จึงปล่อยอเิ ลก็ ตรอนอสิ ระออกมาจานวนมาก ขณะเดยี วกนั เนื่องจาก กระแสไฟฟ้าไหลผ่านโลหะคู่ทาให้ส่วนทีไ่ หลผ่านก๊าซอาร์กอนลดลง แสงสีแดงส้ม 4. แบลลสั ต์ เป็ นขดลวดทพ่ี นั อยู่บนแกนเหลก็ ขณะกระแสไฟฟ้าไหล จึงดบั ไปอุณหภมู จิ ะลดลง ทาให้โลหะคู่แยกออกจากกนั จงึ เกดิ ไฟฟ้าไม่ครบวงจร ผ่านจะเกิดการเหนี่ยวนาแม่เหลก็ ไฟฟ้าทาให้เกดิ แรงเคลื่อนไฟฟ้า ในช่วงทก่ี ระแสไฟขาดตอนนีเ่ องขดลวดในบลั ลาสต์จะเกดิ การเหนี่ยวนาตวั เอง ทา ให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าสูงขนึ้ อาศัยก๊าซอาร์กอนในหลอดฟลูออเรสเซนต์นาไฟฟ้า เหน่ียวนาขนึ้ เมื่อแผ่นโลหะคู่ในสตาร์ตเตอร์แยกตวั ออกจากกนั น้ันจะเกิด กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านข้วั หลอดด้านหนง่ึ ผ่านก๊าซภายในหลอดไปยงั ข้วั หลอดอกี วงจรเปิ ดชั่วขณะ แรงเคล่ือนไฟฟ้าเหนี่ยวนาทเี่ กิดขนึ้ ในแบลลัสต์จึงทา ด้านหนึ่ง โดยไม่ผ่านสตาร์ทเตอร์ในขณะเดยี วกนั บลั ลาสต์ยงั ทาหน้าทเ่ี ป็ นตวั จากดั ให้เกิดความต่างศักย์ระหว่างไส้หลอดท้ังสองข้างสูงขนึ้ เพียงพอท่จี ะทาให้ กระแสไฟฟ้ าไหลผ่านไอปรอทจากไส้ หลอดข้างหนึ่งไปยังไส้ หลอดอกี กระแสไฟฟ้าให้มคี ่าพอเหมาะกบั ความต้องกนั ของหลอดไฟ ข้างหน่ึงได้ แรงเคลื่อนไฟฟ้าเหน่ียวนาท่เี กิดจากแบลลสั ต์น้ันจะทาให้ เกิดกระแสไฟฟ้าเหนยี่ วนาไหลสวนทางกบั กระแสไฟฟ้าจากวงจรไฟฟ้า เมื่อกระแสไฟฟ้าไหลผ่านหลอด อเิ ลก็ ตรอนความเร็วสูงจะวง่ิ เข้าชนโมเลกุล ของ ปรอทภายใน ทาให้เกดิ รังสีอตั ราไวโอเลตซ่ึงเป็ นรังสีท่มี พี ลงั งานสูงมองด้วยตา ในบ้าน ทาให้กระแส ไฟฟ้าทจ่ี ะเข้าสู่วงจรของหลอดเรืองแสงลดลง เปล่าไม่เห็น แต่เม่ือรังสีอตั ราไวโอเลตกระทบกบั ผงเรืองแสงทฉี่ าบผวิ ในของ หลอด ผงเรืองแสงจะเปล่งแสงสว่างทเี่ รามองเหน็ ได้

เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ใี ห้พลังงานความร้อน เป็ นเคร่ืองใช้ทเ่ี ปลี่ยนพลงั งาน ไฟฟ้าเป็ นพลงั งานความร้อน โดยใช้หลกั การคือ เม่ือปล่อยกระแสไฟฟ้า ท่ีให้พลงั งานความร้อน ผ่านขดลวดตัวนาทมี่ ีความต้านทานสูงๆ ลวดตัวนาน้ันจะร้อนจน สามารถนาความร้อนออกไปใช้ประโยชน์ได้ เน่ืองจากเป็ นเคร่ืองใช้ไฟฟ้า ทใ่ี ห้พลังงานความร้อนมาก จึงสิ้นเปลยี่ นพลงั งานไฟฟ้ามากเมื่อเปรียบ กบั การใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าประเภทอ่ืนๆ เมอื่ ใช้ในเวลาท่ีเท่ากัน ฉะน้ัน ขณะใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้พลังงานความร้อนจึงควรใช้ด้วยความ ระมดั ระวงั ตัวอย่างเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทใ่ี ห้พลังงานความร้อน เช่น เตารีด หม้อหุงข้าว กระทะไฟฟ้า กาต้มนา้ เคร่ืองต้มกาแฟ เตาไฟฟ้า ฯลฯ

หม้อหุงข้าวไฟฟ้า 1.แผ่นความร้อน เป็ นแผ่นโลหะผสมให้ความร้อนแก่หม้อหุงข้าวช้ันใน อยู่ส่วนล่างของหม้อ มีขดลวดความร้อนแฝงอยู่ในโลหะผสมนี้ ขด หม้อหุงข้าวไฟฟ้ามสี ่วนประกอบทสี่ าคญั ลวดความร้อนกค็ ือ ขดลวดนิโครม เมื่อมกี ระแสไฟฟ้าผ่านความร้อน ได้แก่ แผ่นแผ่กระจายความร้อนหรือแผ่นความร้อน เทอร์โมสตทั ทใ่ี ช้ ควบคุมอณุ หภูมิ สวิตซ์ หลอดไฟบอกสภาวะการทางาน หม้อหุงข้าว จากลวดนิโครมส่งไปยังแผ่นความร้อน บริเวณส่วนกลางของแผ่นความ ร้อนจะมลี กั ษณะเป็ นช่องวงกลม ซ่ึงเป็ นช่องว่างของเทอร์โมสตทั ช้ันใน และ หม้อหุงข้าวช้ันนอก ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้ 2.หลอดไฟบอกสภาวะการทางาน โดยปกติมี 2 หลอดได้แก่ หลอดไฟ ทีใ่ ช้กับวงจรการหุงข้าว และหลอดไฟทีใ่ ช้กบั วงจรอ่นุ ข้าว 3.หม้อข้าวช้ันใน ส่วนนมี้ ีความสาคญั มากทาด้วยอลูมเิ นียมหรือโลหะ ผสม และต้องไม่บุบเบีย้ วง่าย มฉิ ะน้ันแล้วจะทาให้บริเวณก้นหม้อสัมผัส กบั ความร้อนได้ไม่ดี 4.หม้อข้าวช้ันนอก ส่วนนีท้ าด้วยโลหะท่พี ่นสีให้มีลวดลายทส่ี วยงาม และมหี ูจับสองด้าน บริเวณด้านล่างติดกบั แผ่นความร้อน มสี วติ ซ์ตดิ อยู่ และมเี ต้าเสียบทใ่ี ช้กับเต้ารับวงจรไฟฟ้าในบ้าน 5.เทอร์โมสตทั เป็ นอปุ กรณ์ควบคุมอุณหภูมิความร้อนอัตโนมัติ การ ทางานของเทอร์โมสตทั หม้อหุงข้าวไฟฟ้าต่างจากอปุ กรณ์ชนิดอื่นๆ เพราะไม่สามารถใช้แผ่นโลหะคู่ได้

เมื่อผู้ใช้ใส่ข้าวและนา้ ในหม้อช้ันในตามสัดส่วนทก่ี าหนดและวางหม้อ หลกั การทางานและแผนภาพของตวั ตัดต่อวงจรหุงของหม้อหุงข้าว ช้ันในลงในทแ่ี ล้วก้นหม้อจะกดเทอร์โมสตัทท่อี ย่ตู รงกลางของแผ่นความ ไฟฟ้า ร้อน พร้อมท่ีจะทางานเม่ือเรากดสวติ ซ์ ON แล้ว คนั กระเด่ืองจะดนั ให้ แท่งแม่เหลก็ เลื่อนขนึ้ ไปดูดกบั แท่งแม่เหลก็ อนั บนทีอ่ ยู่ในทรงกระบอก ทา 1. ขณะยงั ไม่กดหุงทอี่ ุณหภูมิห้อง25 องศาเซลเซียส ระยะห่าง ให้คนั โยกปล่อยให้หน้าสัมผสั เตะกนั กระแสไฟฟ้าไหลผ่านจดุ สัมผสั ผ่าน ระหว่างแม่เหลก็ และแผ่นเหลก็ มีมากเกินไปทาให้แรงจากสปริงมากกว่า ลวดความร้อน ทาให้แผ่นความร้อนมอี ุณหภูมิสูงขึน้ เมื่อข้าวเดือดจะเกดิ ความร้อนสะสมอยู่ภายในหม้อมากและเนื่องจากเราใส่นา้ และข้าวสัดส่วน แรงจากอานาจแม่เหลก็ *ไม่มกี ระแสไฟฟ้าในวงจรหุง* ทบ่ี ริษทั ผู้ผลติ กาหนดไว้ เมื่อนา้ เดือดกลายเป็ นไอ ข้าวก็จะสุกพอดี เมอื่ นา้ ภายในหม้อหมดอุณหภูมขิ องหม้อช้ันในสูงเกนิ 100 องศาเซลเซียสโดย 2.ขณะกดหุงท่อี ณุ หภูมิห้อง 25 องศาเซลเซียส แรงแม่เหล็กดูดตดิ แผ่นเหล็กมมี ากกว่าแรงของสปริง และเป็ นเช่นนีต้ ลอดช่วงทีก่ าลังหุง สูงขนึ้ อย่างรวดเร็ว เพราะไม่มีนา้ คอยรักษาอณุ หภูมิแล้ว ความร้อน ภายในหม้อจะทาให้แท่งแม่เหลก็ กลายสภาพเป็ นแม่เหล็กขดสปริงก็ดันให้ ข้าว*สวติ ซ์จะต่อกระแสไฟฟ้าเข้าวงจรหุง* แท่งแม่เหล็กอันล่างเลือนลงคนั กระเด่ืองกจ็ ะดนั ให้หน้าสัมผัสแยกออก จากกนั ทาให้วงจรเปิ ดของกระแสไฟฟ้าจึงไหลเข้าสู่ลวดความร้อนไม่ได้ ถงึ แม้จะไม่มไี ฟฟ้าผ่านภายในหม้อหุงข้าวยังมคี วามร้อนอยู่ จงึ ทาให้ข้าว สุกและระอุได้พอดีในหม้อหุงข้าวบางแบบ จะมีสวิตซ์อุ่นข้าวโดยมเี ทอ โมสตัทตัดวงจรไฟฟ้าแล้วเปลีย่ นมาเป็ นสวติ ซ์อ่นุ ข้าวแทน นอกจากเครื่องไฟฟ้าทก่ี ล่าวมา ยงั มีเคร่ืองใช้ไฟฟ้าประเภทอน่ื ๆสามารถ เปล่ยี นพลังงานไฟฟ้าเป็ นพลงั งานความร้อน เช่น เตาปิ้ งขนมปังกาต้มนา้ ร้อน กาชงกาแฟ เป็ นต้น

3.ขณะตัดวงจรไฟฟ้าอุณหภูมปิ ระมาณ 190 องศาเซลเซียส แรงของ ขนาดของหม้อหุงข้าวและกาลังไฟฟ้าที่ใช้ สปริง มากกว่าแรงของแม่เหล็ก*สวิตซ์จะตัดกระแสไฟฟ้าออกจากวงจร หม้อหุงข้าวขนาด 1ลิตร ใช้กาลังไฟฟ้า 450 วัตต์ หุง* หม้อหุงข้าวขนาด 1.8ลิตร ใช้กาลังไฟฟ้า 600 วตั ต์ หม้อหุงข้าวขนาด 2.2 ลติ ร ใช้กาลงั ไฟฟ้า 800 วัตต์ หม้อหุงข้าวขนาด 2.8ลติ ร ใช้กาลังไฟฟ้า 1,000 วตั ต์

เคร่ืองใช้ไฟฟ้า เคร่ืองใช้ไฟฟ้าทเ่ี ปลย่ี นพลงั งานไฟฟ้าเป็ นพลงั งานเสียง ได้แก่ เคร่ืองรับวทิ ย เคร่ืองขยายเสียง ุุ เคร่ืองบนั ทึกเสียง ฯลฯ ที่ให้พลังงานเสียง คอื เครื่องใช้ไฟฟ้าท่ีเปลีย่ นพลงั งานไฟฟ้าเป็ นพลังงานเสียงโดยรับ สัญญาณไฟฟ้าจากไมโครโฟน หัวเทป หรือจาก เครื่องกาเนิด สัญญาณไฟฟ้าจากเสียงต่างๆ มาขยายสัญญาณไฟฟ้าจนมกี าลงั มากพอ จงึ ส่งออกสู่ลาโพงเสียง

การทางานของไมโครโฟน อื่นๆชนิดของไมโครโฟน แบ่งตามหลกั การทางไฟฟ้า ได้ 2 ประเภท ได้แก่ ไมโครโฟน เป็ นอปุ กรณ์ทางอเิ ล็กทรอนิกส์ ทาหน้าท่ีเปลยี่ นสัญญาณคล่ืนเสียง แบบไดนามิก ( Sound wave)หรือคล่ืนอากาศจากแหล่งกาเนิดเสียง เช่น แบบคอนเดนเซอร์ เสียงพดู เสียงเพลง เสียงดนตรี เป็ นต้นให้เป็ นสัญญาณ แม่เหล็กไฟฟ้า โดยมีหลักการ คอื เม่ือคลื่นเสียงกระทบแผ่นส่ัน หรือ แบบไดนามิก ทางานโดยการส่ันสะเทอื นของขดลวด ที่อยู่รอบแกน แผ่นไดอะแฟรม จะทาให้เกิดกระแสไฟฟ้าเปลย่ี นแปลงส่งผ่านสายนา แม่เหล็ก ทาให้เกดิ กระแสไฟฟ้า อาศัยหลักการเหนี่ยวนาไฟฟ้า สัญญาณไปยงั เครื่องขยายเสียง แบบคอนเดนเซอร์ ปล่อยกระแสไฟฟ้าสายตรง ไหลไปยงั ตัวไมค์ ซ่ึงมี แผ่นโลหะบางๆตรวจจับการส่ันสะเทือนของอากาศ แล้วเปิ ด-ปิ ด ทางเดนิ ของวงจรไฟฟ้า

มอเตอร์ เป็ นเคร่ืองใช้ไฟฟ้าทเ่ี ปล่ยี นพลงั งานไฟฟ้าเป็ นพลังงาน กล ประกอบด้วยขดลวดทพี่ ันรอบแกนโลหะทว่ี างอยู่ระหว่าง ข้วั แม่เหล็ก โดยเมอื่ ผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปยังขดลวดทีอ่ ยู่ระหว่าง ข้วั แม่เหลก็ จะทาให้ขดลวดหมนุ ไปรอบแกน และเม่ือสลับข้วั ไฟฟ้า การ หมนุ ของขดลวดจะหมนุ กลับทิศทางเดมิ เคร่ืองใช้ไฟฟ้า พลังงานกล

มอเตอร์ มี 2 ประเภท คอื มอเตอร์กระแสตรง และมอเตอร์ กระแสสลบั มอเตอร์กระแสตรง เป็ นมอเตอร์ทีต่ ้องใช้ไฟฟ้ากระแสตรงผ่านเข้าไปใน ขดลวดอาร์เมเจอร์เพ่ือทาให้เกิดการดูดและผลกั กันของแม่เหลก็ ถาวรกบั แม่เหลก็ ไฟฟ้าที่เกิดจากขดลวดมอเตอร์จงึ หมนุ ได้ มอเตอร์กระแสสลับ เป็ นมอเตอร์ที่ต้องใช้กับไฟฟ้ากระแสสลบั โดยใช้ หลักการดูดและผลักกนั ของแม่เหลก็ ถาวรกับแม่เหลก็ ไฟฟ้าจากขดลวดมา ทาให้เกดิ การหมนุ ของมอเตอร์ ข้อควรระวงั ในการใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าทม่ี มี อเตอรเป็ นส่วนประกอบ คอื ห้ามใช้เคร่ืองใช้ประเภทนี้ในช่วงที่ไฟตก หรือแรงดนั ไฟฟ้าไม่ถงึ 220 โวลต์ เนื่องจากมอเตอร์จะไม่หมนุ และทาให้เกดิ กระแสไฟฟ้าดนั กลับ จะ ทาให้ขดลวดร้อนจดั จนเกิดไหม้เสียหายได้ ขณะทีม่ อเตอร์กาลงั หมนุ จะเกดิ การเหนี่ยวนาไฟฟ้าขนึ้ ทาให้เกดิ กระแสไฟฟ้าซ้อนขนึ้ ภายในขดลวด แต่มีทศิ ทางการไหลสวนทางกบั กระแสไฟฟ้าที่มาจากแหล่งกาเนิดพลังงานไฟฟ้าเดมิ ทาให้ขดลวดของ มอเตอร์ไม่ร้อนจนเกดิ ไฟไหม้ได้

พัดลม การทางานของพดั ลมต้งั โต๊ะ พัดลมจะทางานได้เม่ือกระแสไฟฟ้าเข้าสู่ระบบ และเมื่อกดป่ มุ เลือกให้ ลมแรงหรือเร็วตามท่ผี ู้ใช้ต้องการ กระแสไฟฟ้าจงึ ไหลเข้าสู่ตวั มอเตอร์ ทาให้แกนมอเตอร์หมนุ ใบพดั ท่ตี ดิ อยู่กับแกนก็จะหมนุ ตามไปด้วยจึง เกดิ เป็ นลมพดั ออกมา พัดลม พดั ลม แบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คอื – พัดลมต้งั พื้นหรือต้งั โต๊ะ นิยมใช้โดยท่ัวไป – พดั ลมตดิ เพดาน จะกนิ ไฟมากกว่าแบบต้งั พื้นหรือต้งั โต๊ะ 1 เท่าตวั ฉะน้ันควรเลือกใช้พัดลม ต้งั พื้นหรือต้งั โต๊ะ เพราะกนิ ไฟน้อยกว่าแบบตดิ เพดานถึงร้อยละ 50

เมื่อกดสวทิ ซ์เบอร์ 1 จะมกี ระแสไฟฟ้าไหลจากสาย ไลท์ ผ่านฟิ วส์ไหลเข้า กระแสจงึ ไหลได้น้อย ความเร็วในการหมุนจึงน้อยลงไปด้วย ) เมอ่ื กด แคปสตาร์ทออกมาเข้าขดลวดสตาร์ท L 1 เม่ือกระแสไหลออกจากขดลวด เบอร์2 เน่ืองจากกระแสไฟฟ้า ไหลผ่านขดลวด MAIN COIL และ L3 ทา ให้ขดลวดชุดนี้มีความต้านทานน้อยกว่า กระแสจึงไหลได้มากขนึ้ L1 ไหลไปผ่านสวทิ ซ์ S1 (สวิทซ์เบอร์ 1 ) ไปครบวงจรทน่ี ิวตรอน ใน ความเร็วในการหมนุ จงึ เพ่ิมไปด้วย และเมื่อกดสวิทซ์เบอ 3 กระแสไฟฟ้า จงั หวะน่ีเองที่ทาให้มอเตอร์เริ่มหมุน มอเตอร์จะเร่ิมหมนุ ไปเรื่อยๆจนถงึ ไหลผ่านขดลวด MAIN COIL เพยี งอย่างเดียว ทาให้ขดลวดชุดนีม้ คี วาม ประมาณ 70% จงึ เร่ิมอยุดการทางาน กระแสไฟฟ้าจึงไหลผ่านขดลวด ต้านทานน้อยท่สี ุด กระแสจึงไหลได้มากขึน้ ความเร็วในการหมนุ จึงมาก MAIN COIL ( ขดรัน ) ไหลผ่านผ่าน L3 และ L2 ผ่านสวิทซ์ S1 ไปครบ ท่สี ุด วงจรทีน่ ิวตรอน พัดลมจงึ หมนุ ต่อเนื่องไปท่ีความเร็วเบอร์ 1 ซึ่งเป็ น ความเร็วทช่ี ้าทสี่ ุด (เน่ืองจากกระแสไฟฟ้า ไหลผ่านขดลวด MAIN COIL L3 และ L2 ทาให้ขดลวดชุดนีม้ ีความต้านทานมากทีส่ ุด


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook