Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พิษวิทยาอาชีพ ฉบับจัดทำ พ.ศ. 2554

พิษวิทยาอาชีพ ฉบับจัดทำ พ.ศ. 2554

Published by arsa.260753, 2015-11-09 02:35:42

Description: สามาถหาอ่านได้ที่ห้องสมุดค่ะ

Search

Read the Text Version

พิษวิทยาอาชีพOccupational Toxicology ฉบบั จดั ทำ พ.ศ. 2554 ววิ ฒั น เอกบรู ณะวฒั น สทุ ธิพฒั น วงศวทิ ยว ิโชติ บรรณาธิการ

พษิ วทิ ยาอาชพี Occupational Toxicology ฉบบั จดั ทาํ พ.ศ. 2554 วิวัฒน เอกบูรณะวฒั น สทุ ธิพฒั น วงศว ิทยวิโชติ บรรณาธกิ ารหนังสือมูลนธิ ิสมั มาอาชวี ะลําดับท่ี 2554-005เลขมาตรฐานสากลประจาํ หนงั สอื (ISBN) 978-616-90900-2-1ขอ มลู บรรณานกุ รมววิ ฒั น เอกบรู ณะวฒั น, สุทธิพัฒน วงศว ทิ ยวโิ ชติ (บรรณาธกิ าร). พิษวทิ ยาอาชีพ.ชลบรุ :ี สัมมาอาชีวะ, 2554.109 หนา , หมวดหมหู นงั สอื 616.98จดั พิมพข ้ึนสาํ หรบั แจกฟรใี หแกผ ูส นใจ หากผใู ดตอ งการรับหนงั สอื เลมนี้เพิม่ เตมิ กรุณาตดิ ตอนพ.วิวัฒน เอกบรู ณะวัฒน หมายเลขโทรศพั ท 087-9792169 อเี มล [email protected]สถานทีท่ าํ งาน โรงพยาบาลสมติ ิเวช ศรีราชา เลขท่ี 8 ซอยแหลมเกตุ ถนนเจมิ จอมพล ศรรี าชา ชลบรุ ี 20110หรอื ดาวนโ หลดหนงั สอื ในรปู แบบอเิ ลก็ ทรอนกิ สไ ดท ่ี www.summacheeva.orgเน้อื หาในสวนที่เปน ลิขสทิ ธ์ขิ องคณะผูเรียบเรยี งนน้ั หากไมม กี ารบดิ เบอื นเนอ้ื หาแลวอนญุ าตใหน าํ ไปใชอ า งองิ ประกอบการเรยี นการสอน การทาํ งาน หรือจัดพมิ พซ ้ําไดโดยไมส งวนลขิ สทิ ธิ์

คาํ ชีแ้ จง *** กรุณาอานกอนใชหนังสอื เลมน้เี พือ่ ประโยชนข องตัวทา นเอง ***1. หนงั สือ พิษวทิ ยาอาชพี (Occupational Toxicology) เลม น้ี นาํ เนอ้ื หามาจากฐานขอ มลู การดแู ล รักษาผปู ว ยทีไ่ ดร ับสารพิษ ThaiTox หรือชอ่ื เตม็ คอื Thailand’s Toxicological Profile Database ซ่ึงเปนฐานขอ มลู ออนไลน เปดใหบ รกิ ารฟรีทางเว็บไซต www.thaitox.com เนอ้ื หาภายในหนงั สอื จะเปน การรวบรวมขอ มลู พษิ ของสารเคมีชนิดตางๆ ท่พี บไดบ อ ยในการประกอบอาชีพ รวมถงึ วธิ ี การดแู ลรักษาผปู ว ยทไ่ี ดร ับสารพิษนน้ั2. วตั ถุประสงคข องหนงั สอื เพื่อตองการใหเ ปน ขอ มูลสาํ หรบั บคุ ลากรทางดานสาธารณสขุ เชน แพทย พยาบาล หมออนามยั เจาหนาท่คี วามปลอดภัย นกั อาชวี อนามยั หนวยกชู พี รวมถึงบคุ คลที่สนใจ ไดใชใ นการดแู ลชว ยเหลือผปู ว ยทไ่ี ดรบั พิษจากสารเคมี3. หนงั สอื เลม น้ีจดั พมิ พเ ผยแพรโ ดยมูลนธิ ิสมั มาอาชวี ะ โดยไดรับการสนับสนนุ ขอ มูลและงบประมาณ จากโรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรรี าชา และโรงพยาบาลระยอง4. เนอื้ หาภายในฐานขอ มูล จะเนน ทีอ่ าการพิษของสารเคมีทจี่ ะเกิดขึ้นกับผปู วย และวธิ ีการดแู ลรักษา การลา งตวั การปฐมพยาบาล การใหย า รวมถงึ การใหส ารตา นพษิ แกผูปว ยเปนหลัก รายละเอียด เกี่ยวกับคณุ สมบตั ิทางเคมจี ะมีการกลา วถึงเฉพาะในเบื้องตน เทานัน้ คุณสมบัตทิ างเคมีบางอยา ง เชน จุดหลอมเหลว จุดวาบไฟ อาจไมไดแ สดงไว รายละเอยี ดเกีย่ วกบั ดานสิง่ แวดลอ ม เชน อตั รา การกระจายตวั ในอากาศ คา ครง่ึ ชวี ติ ในดนิ และในน้าํ ของสารเคมแี ตล ะตัว จะมกี ารกลา วถงึ เฉพาะ ในสว นทเ่ี กี่ยวของกบั อาการเจ็บปวยเทา นั้น ไมไดแสดงรายละเอียดไวทัง้ หมดเชน กนั5. หากไมม กี ารบดิ เบอื นขอ มูลแลว อนญุ าตใหน าํ ขอมูลในหนงั สอื นไ้ี ปใชป ระกอบการเรยี น การสอน การทาํ งาน การจดั นทิ รรศการ การอบรมใหค วามรู หรือกิจกรรมอันเปนประโยชนอ่ืนใดกไ็ ด โดย ไมสงวนลิขสทิ ธ์ิ6. ฐานขอ มลู การดแู ลรักษาผปู ว ยทไ่ี ดร ับสารพษิ ThaiTox และหนงั สือเลม นี้ กําลังอยูระหวา งการ พฒั นาเนอ้ื หา ดงั นน้ั ขอมลู ในบางสว นอาจยงั มีความไมครบถว นในบางประเดน็ หากทา นตอ งการ สนับสนุนใหมเี นอ้ื หาทคี่ รบถว นสมบูรณยง่ิ ข้นึ หรือตองการสนบั สนนุ ดา นงบประมาณในการจดั ทาํ กรณุ าตดิ ตอ นพ.ววิ ฒั น เอกบรู ณะวัฒน หมายเลขโทรศัพท 087-9792169 หรอื โอนเงนิ ใหก บั มลู นธิ ิสมั มาอาชวี ะทางบญั ชอี อมทรพั ย ธนาคารกรงุ ศรอี ยธุ ยา สาขาศรรี าชา หมายเลขบญั ชี 086- 1-59102-4 เพอ่ื สนบั สนนุ ในการจดั ทาํ โครงการ จักเปน พระคุณอยางยง่ิ7. เนอ่ื งจากขอมลู มเี ปนจํานวนมาก แมวาจะไดม กี ารตรวจสอบความถกู ตองของเนื้อหาแลวกต็ าม แต เราไมส ามารถรบั ประกนั ไดวาเนอื้ หาจะมีความถูกตอ งสมบรู ณท ง้ั หมด ความผิดพลาดระหวา งการ จดั เตรียมตนฉบับและการเผยแพร มโี อกาสเกดิ ขน้ึ ไดเ สมอ ผูใชขอมลู ควรตรวจสอบความถกู ตอ ง ของขอมลู ในหนงั สอื เลม น้ี โดยการเทียบเคยี งกบั แหลง ขอ มูลอนื่ ๆ ดว ย8. ความรบั ผดิ ชอบในการดูแลรักษาผปู วยทไี่ ดรับสารพษิ นั้น ขน้ึ อยกู ับแพทยเจาของไขท่ีเปน ผดู แู ล รกั ษาผปู วยเปน หลัก ขอ มลู ในหนงั สือเลมนี้เปนแตเพยี งแหลงขอมลู ทจี่ ะชว ยสนับสนุนใหก ารดูแล รกั ษาเปนไปไดโดยสะดวกขนึ้ เทา นั้น มูลนิธสิ มั มาอาชีวะ คณะผเู รียบเรยี งเนื้อหา รวมถงึ องคก ร ผูสนบั สนุน ไมรับผดิ ชอบตอ ผลเสียใดๆ กต็ ามทีเ่ กิดขนึ้ กับผปู วย จากการใชข อ มลู ในหนงั สอื เลม น้ี ประกอบการดแู ลรกั ษา

คํานาํ จากการพฒั นาทางวทิ ยาศาสตรอ ยา งไมห ยดุ ยง้ั ทาํ ใหป จ จบุ นั มนษุ ยไ ดส กดั สารเคมจี ากธรรมชาติและผลติ สงั เคราะหส ารเคมชี นดิ ตางๆ ขน้ึ มาใชม ากมาย สารเคมีเหลาน้ถี ูกนาํ มาใชทง้ั ในโรงงานอตุ สาหกรรมการทาํ งาน และในชวี ติ ประจําวนั ของเรา ในแตล ะวันมนษุ ยย คุ ใหมต องสมั ผัส สดู ดม กิน ด่มื และใชสารเคมอี ยูแทบจะตลอดเวลา เมื่อมีการใชส ารเคมมี ากข้ึน พษิ ภยั จากสารเคมีจงึ เปนเรือ่ งสาํ คัญทเ่ี ราควรใสใ จ ในวงการอาชวี เวชศาสตรน น้ั ความสนใจในพษิ ภยั ของสารเคมที พ่ี บจากการประกอบอาชพี เปนส่งิสาํ คัญอยา งยงิ่ ผปู วยที่เปนโรคจากการทํางานจาํ นวนหน่งึ มีสาเหตุการเจ็บปวยมาจากการทํางานสมั ผัสกับสารเคมเี หลา นน้ี น่ั เอง การใชส ารเคมใี นโรงงานอตุ สาหกรรมนน้ั สว นใหญม กี ารใชใ นปรมิ าณมากกวา การใชตามบา น หากคนทํางานตอ งสมั ผัสสารเคมอี ันตรายโดยไมมีการปอ งกนั ทด่ี ี หรือหากเกิดการรัว่ ไหลขน้ึ จะมีโอกาสเกิดอันตรายตอสุขภาพไดค อนขา งสงู ความรูเทาทันถงึ พษิ ภยั ของสารเคมชี นิดตางๆ จงึ เปน สว นหน่ึงท่ีจะชว ยใหบ ุคลากรสาธารณสขุ สามารถดแู ลสขุ ภาพของคนทาํ งานไดอยา งปลอดภยั จากแนวคดิ ดงั กลา ว ทําใหหนงั สือพิษวิทยาอาชพี (Occupational Toxicology) เลมน้ี ไดถ กู เรยี บเรียงข้ึน เนื้อหาภายในหนังสอื เปน การรวบรวมอาการพษิ ของสารเคมชี นดิ ตา งๆ ทม่ี กั พบมกี ารใชบ อ ยในการประกอบอาชีพ พรอมท้ังวธิ กี ารดูแลรกั ษาผูปว ยเมอ่ื ไดรับพษิ จากสารเคมนี น้ั จาํ นวนทงั้ หมด 39 ชนดิ สารเคมีผูเรียบเรยี งเปน คณะแพทยผ ูเชยี่ วชาญสาขาตา งๆ ทั้ง แพทยอ าชีวเวชศาสตร อายุรแพทย และแพทยเ วชศาสตรค รอบครัว รวมถงึ แพทยป ระจําบานสาขาอาชีวเวชศาสตรด วย เน้อื หาของหนังสอื เลม น้ี มาจากฐานขอมูลการดูแลรักษาผปู วยทไ่ี ดร ับสารพิษออนไลน ทม่ี ชี อ่ื วาThaiTox (www.thaitox.com) ซ่ึงเปน ฐานขอมลู ออนไลนทางการแพทยท ่ีไมสงวนลิขสทิ ธ์ิ เปดใหเ ขา ชมไดเ ปนการสาธารณะตง้ั แตเ ดอื น พฤษภาคม พ.ศ. 2554 ฐานขอมูลนี้จดั ทําโดยมูลนธิ ิสมั มาอาชวี ะ โดยไดร บั การสนบั สนุนขอ มูลและงบประมาณจาก โรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรรี าชา และ โรงพยาบาลระยอง ในการทท่ี างมลู นธิ ิสมั มาอาชีวะจะจดั ทําฐานขอ มูล ThaiTox และหนังสือเลม นสี้ าํ เร็จขนึ้ มาได ตองขอขอบพระคณุ ทานผมู ีอุปการคณุ หลายๆ ทา น ทีต่ องกลา วถึงเปนอันดับแรกคอื คุณอมรรัตน สขุ ปน พยาบาลอาชวี อนามยั หวั หนา งานศนู ยร กั ษาพษิ และสารเคมอี นั ตรายภาคตะวันออก โรงพยาบาลระยอง ทีเ่ ปนผรู ิเรมิ่แนวคดิ ในการจดั ทาํ ฐานขอ มูลสารพษิ และหนงั สอื เลมน้ีขน้ึ มา ทา นอาจารยน ายแพทยภราดร กุลเกลี้ยง ผชู ว ยผอู าํ นวยการฝา ยการแพทย โรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรรี าชา ทา นอาจารยน ายแพทยส นุ ทร เหรยี ญภมู กิ ารกจิรองผอู ํานวยการ และหัวหนากลมุ งานอาชวี เวชกรรม โรงพยาบาลระยอง ทง้ั 2 ทา น ท่ไี ดช วยเหลือสนบั สนนุใหกาํ ลังใจ พรอมท้งั ใหค ําแนะนําตลอดชว งเวลาทจ่ี ดั ทาํ บคุ คลทีส่ ําคัญอยา งยิ่งอีก 2 ทานที่ชว ยใหห นงั สอื เลมนี้เกดิ ข้นึ ไดค ือ ทานอาจารยนายแพทยช ยั รตั น บัณฑรุ อมั พร ผอู ํานวยการโรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรรี าชา และทานอาจารยน ายแพทยนฤทธิ์ อน พรอ ม ผูอ ํานวยการโรงพยาบาลระยอง ซงึ่ เปน ผใู หการชว ยเหลอื สนบั สนนุท้ังขอมลู ในการเรยี บเรียงและงบประมาณ นอกจากนี้ในนามของบรรณาธิการ เราตอ งขอขอบพระคณุ คณะแพทยท ุกทา น ท่ีไดอตุ สาหส ละเวลาอันมีคามาชว ยกนั จัดทําฐานขอ มลู สารพิษและเรียบเรียงหนังสอื เลม น้ีขึน้ หลายทา นชว ยเหลือเราอยางไมเห็นแกเ หนด็ เหนอ่ื ย เพ่อื งานอันเปนสาธารณะประโยชนค ร้งั นี้ เปนทนี่ าซาบซงึ้ ใจอยา งยงิ่ แตอ ยา งไรก็ตาม เนื่องจากสารเคมที พี่ บไดในการประกอบอาชพี นนั้ มอี ยจู าํ นวนนับหมนื่ นบั แสน การเลอื กสารเคมีที่พบบอ ยมาเพียงจาํ นวนหนงึ่ เพื่อกลา วถงึ ในรายละเอยี ด จงึ ไมอาจครอบคลุม หรอื ใชอ างองิ ในการดแู ลรักษาผปู วยที่ไดรับพษิ ของสารเคมี “ทกุ ชนิด” ทมี่ โี อกาสพบได อกี ท้ังขอมูลทใ่ี ชใ นการเรยี บเรยี งน้ันมีอยูจ ํานวนมหาศาล การเรียบเรยี งเนื้อหาหนงั สอื ขนึ้ ในชวงระยะเวลาจาํ กดั ดว ยทรพั ยากรทจ่ี าํ กดั และจาํ นวนบุคลากรท่ีจาํ กัด จึงทาํ ใหหนงั สอื เลม น้ีไมส ามารถรับประกันความสมบูรณของเนอื้ หาได เราหวังวา การพฒั นา

ไปอยางตอเนื่องในอนาคต จะชว ยทาํ ใหห นังสอื เลมน้ีสามารถใชป ระโยชนเ ปนแหลง ขอมลู อางองิ ในการดูแลรักษาผูปว ยที่ไดร ับสารพิษไดม ากย่งิ ขึน้ ตอไป หวงั เปน อยางย่ิงวา หนงั สอื เลม น้ี จะมีสว นชว ยใหบ ุคลากรทท่ี ํางานทางดา นสาธารณสุข เชน แพทยพยาบาล เจาหนา ทค่ี วามปลอดภัย หมออนามยั เวชกร เจาหนา ที่หนว ยกูภัย หรอื บคุ ลากรทเ่ี กยี่ วขอ งทา นใดกต็ าม ไดร บั ประโยชนจ ากเนอ้ื หาของหนงั สอื สามารถใชเปน สว นชว ยเหลือในการดแู ลผูป ว ยทไ่ี ดร บั พิษจากสารเคมใี หปลอดภยั ไดมากยงิ่ ขน้ึ บุญกุศลจากการไดเปนสว นชว ยเหลือผปู ว ยใหร อดชวี ิต ลดภาวะทพุ พลภาพไปจนถงึ หายจากอาการพษิ ไดอ ยางสมบูรณก็ตาม ทั้งหมดขอใหตกเปน ของผมู สี วนรว มพฒั นางานดา นความปลอดภยั และอาชวี อนามัยของประเทศทกุ ทา นโดยทว่ั หนา กัน วิวฒั น เอกบูรณะวฒั น สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติ บรรณาธกิ าร กรกฎาคม พ.ศ. 2554เกย่ี วกบั มลู นธิ สิ ัมมาอาชีวะมลู นิธสิ มั มาอาชีวะ เปน มลู นิธทิ จ่ี ัดตัง้ ขึน้ โดยมวี ตั ถปุ ระสงคเ พอื่ การพัฒนางานดานอาชวี เวชศาสตรและทาํ กจิ กรรมสง เสรมิ การทาํ ความดี จดทะเบยี นในวนั ที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2554 โดยกลุมแพทย พยาบาลและนกั วชิ าการดา นอาชวี อนามยั จากหลากหลายองคกร ทงั้ ภาครัฐและเอกชนขอ มลู พื้นฐานทีต่ ง้ั มูลนิธสิ มั มาอาชวี ะ 800/3 ถนนสขุ ุมวทิ ตาํ บลแสนสขุ อําเภอเมอื ง จงั หวัดชลบรุ ี 20130คตพิ จนป ระจํามลู นิธิ “อาชวี เวชศาสตรค ศู าสนา”พทุ ธศาสนสภุ าษติ ประจํามูลนิธิ “ธมเฺ มน วิตตฺ เมเสยฺย” (บุคคลพงึ หาเล้ียงชีพ โดยทางชอบธรรม)ตราสัญลกั ษณเ ปน รูป “ดอกบวั พน นาํ้ ” (หมายถงึ ปณิธานในการชวยเหลือคนใหพ นทกุ ข)มลู นธิ ิสมั มาอาชวี ะ ไดท าํ กจิ กรรมสงเสริมงานทางดานอาชีวเวชศาสตรอ ยางหลากหลาย หนงึ่ ในน้นั กค็ อื การทําตําราวชิ าการทางดานอาชวี เวชศาสตรออกแจกจายโดยไมค ดิ มูลคา หนงั สอื ท่ที านกําลังอา นอยูเ ลมนี้เปน หนง่ึ ในโครงการจดั ทาํ ตาํ ราทางดา นอาชวี เวชศาสตรข องมลู นธิ สิ ัมมาอาชีวะทา นสามารถเขา ดขู อ มลู รายละเอยี ดเพม่ิ เตมิ ของมูลนิธสิ ัมมาอาชวี ะไดท่เี ว็บไซต www.summacheeva.orgดูขอมูลจากฐานขอมลู การดแู ลรกั ษาผปู ว ยทไี่ ดร ับพษิ สารเคมี (ThaiTox) ไดท่ี www.thaitox.comและเวบ็ บลอ็ กรวบรวมขอ มลู วชิ าการเกย่ี วกบั วชิ าอาชวี เวชศาสตรไ ดท ่ี www.wiwat.org

คณะผเู รยี บเรยี งเนอ้ื หาเกศ สัตยพงศแพทยอ าชวี เวชศาสตร โรงพยาบาลสมทุ รปราการคณุ ากร สินธพพงศแพทยป ระจาํ บา นสาขาอาชวี เวชศาสตร คณะแพทยศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยัจุฑารตั น ฉัตรวิรยิ าวงศแพทยเ วชศาสตรค รอบครวั โรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรรี าชาชลุ กี ร ธนธติ ิกรแพทยป ระจําบา นสาขาอาชวี เวชศาสตร คณะแพทยศาสตร จฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยัณรงฤทธิ์ กติ ติกวินแพทยป ระจาํ บา นสาขาอาชวี เวชศาสตร โรงพยาบาลนพรตั นราชธานี กรมการแพทยดารกิ า วอทองแพทยป ระจาํ บา นสาขาอาชวี เวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกนภวัต วทิ ยผโลทัยอายรุ แพทย โรงพยาบาลสมติ เิ วช ศรรี าชาวิวัฒน เอกบรู ณะวฒั นแพทยอาชีวเวชศาสตร โรงพยาบาลสมิติเวช ศรีราชาสุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติแพทยอาชีวเวชศาสตร คณะแพทยศาสตรวชิรพยาบาล มหาวิทยาลัยกรุงเทพมหานครอภญิ ญา พันธจนิ ดาทรพั ยแพทยใ ชท นุ โรงพยาบาลมาบตาพดุ จงั หวัดระยอง



สารบญัอธิบายคํายอทใ่ี ชใ นหนงั สอื เลม น้ี 1 7 วิวัฒน เอกบรู ณะวัฒน 8 111,2 Dibromoethane 12 15 สุทธิพฒั น วงศวิทยว โิ ชติ 16 181,2 Dichloroethane 19 21 สทุ ธพิ ัฒน วงศวทิ ยว โิ ชติ 23 251,2 Dichloropropane 29 32 สุทธิพัฒน วงศวิทยว โิ ชติ 34 361,3 Butadiene 37 39 ววิ ัฒน เอกบูรณะวัฒน 411,4 Dichlorobenzene สทุ ธิพัฒน วงศว ทิ ยว ิโชติ1,4 Dioxane สทุ ธพิ ฒั น วงศวิทยว โิ ชติAcetaldehyde สทุ ธิพัฒน วงศวทิ ยว ิโชติAcrolein สทุ ธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติAcrylonitrile สทุ ธิพัฒน วงศวิทยว โิ ชติAmmonia วิวัฒน เอกบรู ณะวฒั นArsenic เกศ สัตยพงศBenzene ววิ ฒั น เอกบรู ณะวัฒนBromomethane สุทธิพฒั น วงศว ทิ ยว ิโชติCadmium คณุ ากร สนิ ธพพงศCarbon disulfide วิวัฒน เอกบูรณะวัฒนCarbon monoxide ณรงฤทธ์ิ กิตติกวนิChlorine ววิ ัฒน เอกบูรณะวฒั นChloroform ววิ ัฒน เอกบรู ณะวฒั น

Chromium 45 48 ชุลกี ร ธนธติ กิ ร 49 53Cyclohexane 55 59 ณรงฤทธ์ิ กิตติกวนิ 62 65Ethanol 68 73 ดาริกา วอทอง 75 76Hydrochloric acid 78 80 อภญิ ญา พนั ธจ ินดาทรพั ย 81 84Hydrofluoric acid 86 89 ววิ ัฒน เอกบรู ณะวฒั น 91 95Hydrogen sulfide 96 ววิ ัฒน เอกบูรณะวฒั นIsopropyl alcohol ววิ ัฒน เอกบูรณะวฒั นManganese ววิ ัฒน เอกบรู ณะวฒั นMercury วิวัฒน เอกบูรณะวฒั นMethanol ภวตั วทิ ยผโลทัยMethyl Ethyl Ketone เกศ สัตยพงศn-Hexane ณรงฤทธิ์ กิตตกิ วนิPhenol เกศ สัตยพงศPhosgene วิวฒั น เอกบูรณะวฒั นPhosphine ววิ ฒั น เอกบรู ณะวัฒนStyrene ววิ ฒั น เอกบูรณะวฒั นSulfuric acid จุฑารตั น ฉตั รวิรยิ าวงศToluene ววิ ฒั น เอกบูรณะวฒั นTrichloroethylene ววิ ัฒน เอกบรู ณะวฒั นVinyl chloride สุทธพิ ฒั น วงศวิทยว ิโชติXylene วิวฒั น เอกบูรณะวฒั น

คําอธบิ ายอักษรยอทใ่ี ชในหนงั สือเลม นี้นพ.วิวฒั น เอกบรู ณะวัฒนACGIHAmerican Conference of Governmental Industrial Hygienistองคก รนกั สขุ ศาสตรอ ตุ สาหกรรมภาครฐั แหง ประเทศอเมรกิ า เปน องคก รของนกั สขุ ศาสตรอ ตุ สาหกรรม ท่ีมีความนาเชอื่ ถือสูงของประเทศอเมริกา วชิ าชีพนกั สขุ ศาสตรอ ตุ สาหกรรมนี้ เปน ผูเชย่ี วชาญสาขาหน่งึ ซึง่ มีความรใู นดานการตรวจวัดระดบั สิง่ คุกคาม และ / หรอื สารเคมใี นสถานทท่ี าํ งานโดยเฉพาะ องคก ร ACGIHเปน ผกู าํ หนดคา มาตรฐานสารเคมใี นบรรยากาศการทาํ งาน (TLV) และในรา งกายคนงาน (BEI) รายหนง่ึ ท่ีไดร ับความเชอ่ื ถอื สูงจากทั่วโลก คามาตรฐานน้จี ะจดั ทาํ เปน หนังสือออกปละครงั้ACGIH TLVACGIH - Threshold Limit Valuesคอื คา มาตรฐานของสารเคมใี นบรรยากาศการทาํ งานซง่ึ กาํ หนดโดยองคก ร ACGIHACGIH BEIACGIH – Biological Exposure Indicesคือคามาตรฐานตวั บงชี้การสัมผสั สารเคมี (biomarkers) สามารถตรวจไดใ นเลอื ด ปส สาวะ หรอื ในลมหายใจออกของคนทาํ งาน ซง่ึ กาํ หนดโดยองคก ร ACGIH คามาตรฐานตัวนจ้ี ะมีขอ กาํ หนดเวลาในการเก็บตวั อยา งดว ยคอื กอ นเขา งาน (Prior to shift หรอื PTS) ระหวางทํางาน (During shift หรอื DS) หลงั เลกิ งาน (End ofshift หรอื EOS) วันสุดทา ยของสัปดาห (End of workweek หรอื EWW) เวลาใดกไ็ ด (Discretionary) การเกบ็ ตวั อยางเลอื ด ปส สาวะ หรอื ลมหายใจออกของคนงาน ตองเกบ็ ตามเวลาทม่ี าตรฐานกําหนดจงึ จะแปลผลไดอยางถกู ตองACGIH Carcinogenicityคอื คาบงชก้ี ารกอ มะเร็งของสารเคมีซ่งึ กาํ หนดโดยองคกร ACGIH แบง เปน 5 ระดับ ดงั นี้ A1 (ConfirmedHuman Carcinogen) คอื ยนื ยนั เปน สารกอ มะเรง็ ในมนษุ ยแ นน อน A2 (Suspected Human Carcinogen) คอืสงสยั จะเปน สารกอ มะเรง็ ในมนษุ ย เนือ่ งจากมขี อมูลจากการศกึ ษาวาเปน สารกอ มะเรง็ ในสตั วท ดลอง แตข อมูลการกอ มะเร็งในมนุษยยังไมเพยี งพอ A3 (Confirmed Animal Carcinogen with Unknown Relevance toHumans) คอื ยืนยันเปนสารกอมะเร็งในสัตวทดลอง แตไ มท ราบวา เปน สารกอ มะเรง็ ในมนุษยหรอื ไม A4 (NotClassifiable as a Human Carcinogen) คอื ไมสามารถจัดกลมุ วา เปนสารกอ มะเรง็ ในมนษุ ยได สารเคมที ไ่ี ดระดับนี้เนอ่ื งจากมขี อมูลบางอยา งทท่ี าํ ใหส งสัยวาอาจจะเปนสารกอมะเรง็ ในมนษุ ย แตข อมลู การศึกษาทง้ั ในสัตวทดลองและในมนุษยย งั มีไมเ พียงพอทจี่ ะบอกได A5 (Not Suspected as a Human Carcinogen) คือไมนา สงสัยวาจะเปน สารกอ มะเรง็ ในมนษุ ย เนอ่ื งจากมขี อ มลู การศกึ ษาเกยี่ วกบั สารนี้ และขอมูลทพ่ี บไมแ สดงถงึผลการกอ มะเรง็ ในมนษุ ย 1

CAS NumberChemical Abstracts Service (CAS) registry numberเปน หมายเลขรหสั ของสารเคมซี ง่ึ กาํ หนดโดยหนว ยงาน American Chemical Society หมายเลขรหัสน้เี ปนรหสั สากลทีไ่ ดร ับความนยิ มสงู ในการกาํ หนดรหสั สารเคมที ว่ั โลก รหสั จะกําหนดใหก บั สารเคมที ุกชนิด ซ่ึงแตละชนดิ จะมเี ลขเฉพาะตวั การกาํ หนดรหัสจะไลเ รยี งกนั ไปเรอื่ ยๆ ทาํ ใหจ าํ นวนตวั เลขไมม คี วามหมายอะไรเปน พเิ ศษ รหัสจะประกอบไปดว ยเลข 3 กลุมค่ันดวยเครือ่ งหมายขดี (-) ดังนี้ XXXXXXX – XX – X (กลุมแรกสงู สดุ 7 หลกั กลมุ ที่สองสูงสดุ 2 หลกั และกลุมสุดทา ยจะเปนเลขหลกั เดยี วเสมอ) ตัวอยางเชน CASNumber ของนํ้าคือ 7732 – 18 – 5 เปน ตนEPAEnvironmental Protection Agencyคอื หนว ยงานของรัฐบาลกลางประเทศสหรฐั อเมรกิ า มหี นา ทด่ี แู ลรกั ษาสง่ิ แวดลอ ม โดยการออกกฎหมายและควบคมุ มาตรฐานทางดานสงิ่ แวดลอ มEPA NAAQSEPA – National Ambient Air Quality Standardsคอื คามาตรฐานระดับสารเคมมี ลพษิ ในอากาศในสง่ิ แวดลอ มทวั่ ไปของประเทศสหรฐั อเมรกิ า กาํ หนดโดย EPAตามกฎหมาย Clean Air Act (1990) คา มาตรฐานชุดนจ้ี ะมี 2 ระดบั คอื primary standard เปน มาตรฐานท่ีกําหนดเพอื่ ความปลอดภยั ของคนกลุมไวรบั (sensitive) เชน เดก็ คนสงู อายุ คนเปน โรคหอบหดื และsecondary standard เปนมาตรฐานทก่ี ําหนดขน้ึ เพื่อความปลอดภยั ของสาธารณะ เชน รบกวนการมองเหน็ความปลอดภัยตอสัตวเลี้ยง เปน ตน คา primary standard จะต่ํากวา คา secondary standard ในหนงั สอื เลมนี้คา EPA NAAQS ท่ีอางอิงจะหมายถึงคา primary standard เสมอIARCInternational Agency for Research on Cancerคือองคกรหนว ยยอ ยหนึง่ ของ World Health Organization (WHO) มีสํานกั งานอยทู ีเ่ มืองลยี ง ประเทศฝรัง่ เศส ทําหนา ทหี่ ลักในการพฒั นา สนบั สนุน การวิจยั เกี่ยวกบั โรคมะเรง็ องคกร IARC เปนผกู าํ หนดการจดักลมุ สารกอ มะเร็งท่ีไดร บั ความเชอ่ื ถือสูงทีส่ ุดในโลก โดยทางองคกรจะ พจิ ารณา ทบทวน ขอ มูลงานวจิ ัยทวั่โลกเกย่ี วกบั สารเคมี / เช้อื โรค / สภาพการณ ทก่ี อ ใหเกดิ มะเร็ง แลว ตีพมิ พอ อกมาเปนหนังสอื เรยี กวา IARCMonograph เลมหน่ึงจะมีการทบทวนขอมลู สารเคมี / เชอ้ื โรค / สภาพการณ ประมาณ 1 – 5 อยา ง การแบงกลมุ สารกอ มะเรง็ ของ IARC เปนดงั น้ี Group 1 ยืนยนั วาเปนสารกอมะเร็งในมนษุ ย Group 2A นา จะเปนสารกอ มะเรง็ ในมนษุ ย Group 2B อาจจะเปน สารกอ มะเรง็ ในมนษุ ย Group 3 ไมส ามารถจัดกลมุ ไดว า เปนสารกอ มะเรง็ ในมนษุ ย Group 4 นา จะไมเ ปนสารกอมะเรง็ ในมนษุ ย รายชื่อ สารเคมี / เชอ้ื โรค / สภาพการณท ไ่ี ดทาํ การจัดกลุมไวจ ะประกาศไวใ นเวบ็ ไซตข ององคกร (http://monograph.iarc.fr)IDLHImmediately Dangerous to Life or Healthเปนคามาตรฐานระดับสารเคมที แี่ สดงถึง “ความเขม ขน สงู สุดทีห่ ากตอ งสมั ผัส ณ ทจ่ี ดุ เกดิ เหตุเปน เวลา 30นาที เมอื่ หลบหนอี อกมาจะยงั ไมมีผลกระทบเร้ือรงั เกดิ ขน้ึ กบั รา งกาย” คา มาตรฐานนก้ี าํ หนดโดย NIOSH 2

รว มกบั OSHA วตั ถปุ ระสงคเ พอ่ื ใชก าํ หนดมาตรฐานของหนา กากกรองสารเคมี (respirator) องคก ร NIOSHจะทาํ การปรบั ปรงุ คา มาตรฐานนเ้ี ปนระยะ ในหนงั สอื เลมนีน้ ้ีคา IDLH ทาํ การอา งองิ มาจากหนงั สอื NIOSHPocket guide to chemical hazards (2005)N/ANone availableหมายถึงองคก รที่กลาวถงึ ไมม กี ารกําหนดคามาตรฐานของสารชนดิ น้ีไวNFPA CodeNational Fire Protection Association 704 Code Systemคอื รหัสบอกความรนุ แรงในการลกุ ไหมข องสารเคมี กําหนดโดยสมาพันธป อ งกันอคั คภี ัยประเทศสหรฐั อเมรกิ าชอื่ เตม็ ของระบบรหัส NFPA 704 น้ีคือ Standard System for the Identification of the Hazards ofMaterials for Emergency Response กาํ หนดข้ึนโดยมีความมงุ หมายเพอ่ื ใหห นวยกภู ยั หรือพนักงานดับเพลิงไดรูขอมูลเบื้องตนของสารเคมที จี่ ะเขา ไปทําการกภู ัยหรอื ดับเพลงิ ตัวรหสั อยใู นเครื่องหมายรปู เพชรหรอื รปู สี่เหลีย่ มขาวหลามตดั (ดงั ภาพ) แบง พื้นทอี่ อกเปน 4 สว น คอืสแี ดง (F) บอกความไวไฟ (Flammability) โดย• R4 ไวไฟมากทีส่ ดุ Flash point ตาํ่ กวา 23 °C• R3 ไวไฟมาก Flash point อยทู ี่ 23 – 38 °C• R2 ไวไฟปานกลาง Flash point อยูที่ 38 – 93 °C• R1 ไวไฟนอย Flash point มากกวา 93 °C• R0 ไมติดไฟสนี ํา้ เงิน (H) บอกผลตอ สุขภาพ (Health) โดย• H4 ผลรนุ แรงมาก สมั ผสั ไมน านทาํ ใหต ายหรอื ทพุ ลภาพถาวรได• H3 ผลรุนแรง สมั ผัสไมน านทําใหเ กดิ อาการรนุ แรงได• H2 ผลปานกลาง สมั ผัสตอเนอ่ื งทาํ ใหเ กดิ อาการรนุ แรงได• H1 ผลนอ ย ทําใหเกดิ ระคายเคอื งหรอื อาการเล็กนอย• H0 ไมมผี ลตอ สขุ ภาพ 3

สเี หลอื ง (R) บอกความไมคงตวั / ความสามารถในการทาํ ปฏกิ ริ ยิ า (Instability / Reactivity) โดย• R4 ความไมคงตวั สงู มาก ในอุณหภูมแิ ละความดันปกตกิ ส็ ามารถสลายตัวหรือระเบดิ รนุ แรงไดเ อง• R3 ความไมค งตวั สูง จะสลายตัวหรอื ระเบิดเมือ่ ไดรบั ความรอนและความดนั สูง หรือทําปฏกิ ริ ิยากบั นา้ํ ระเบดิ รนุ แรงได• R2 ความไมคงตวั ปานกลาง มโี อกาสสลายตัวอยางรนุ แรง แตไมถงึ กับระเบิดเมื่อไดร ับความรอนและ ความดันสงู หรอื ทาํ ปฏิกริ ยิ ากบั นํ้าเกดิ ระเบิดได• R1 ปกตเิ สถียร แตอ าจทาํ ปฏกิ ริ ยิ ากับสารอน่ื ถาอณุ หภูมิสูงหรือความดันสูง หรอื ทําปฏกิ ิริยากับนาํ้ เกิด ความรอ นขน้ึ ได• R0 สารเฉ่ือย ไมทาํ ปฏิกริ ยิ ากับสารอื่นสีขาว (W) สญั ลกั ษณพ ิเศษ ความหมายดงั นี้• W ทําปฏิกริ ิยากบั น้ํา• OX เปน สารออกซไิ ดส คอื ทําปฏิกริ ิยากบั ออกซิเจนในหนงั สือเลม น้ีคา NFPA จะอา งองิ มาจากเอกสาร International Chemical Safety Cards (ICSCs) ของสารแตล ะชนิดทก่ี ลา วถงึNIOSHThe National Institute for Occupational Safety and Healthหนว ยงานของรฐั บาลกลางสหรฐั อเมรกิ า สงั กดั กระทรวงสาธารณสขุ ตง้ั ขน้ึ ในป 1970 ทาํ หนา ทด่ี ูแล ใหค วามรู และสง เสรมิ สนบั สนนุ การดําเนนิ การดา นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ในสถานประกอบการในประเทศสหรฐั อเมรกิ าNIOSH CaNIOSH Recommends be treated as carcinogensคอื เครื่องหมายทร่ี ะบวุ า สารเคมชี นิดน้ี องคกร NIOSH แนะนาํ ใหด าํ เนนิ การปอ งกนั ทางดานอาชวี อนามยัโดยพจิ ารณาไวว า เปน สารกอ มะเรง็ (องคก ร NIOSH คาดการณว า สารนน้ี า จะเปน สารกอ มะเรง็ )NIOSH RELNIOSH Recommended Exposure Limitคอื คา มาตรฐานของสารเคมใี นบรรยากาศการทาํ งานซง่ึ แนะนาํ โดย NIOSH ในเอกสารชดุ นค้ี า NIOSH RELจะอางองิ มาจากหนงั สอื NIOSH Pocket guide to chemical hazards (2005)OSHAOccupational Safety and Health Administrationหนว ยงานของรฐั บาลกลางสหรฐั อเมรกิ า สงั กดั กระทรวงแรงงาน ตง้ั ขน้ึ ในป 1970 เชน เดยี วกบั NIOSH ทําหนา ทอ่ี อกและบงั คับใชกฎหมาย เกยี่ วกับดานอาชวี อนามยั และความปลอดภยั ในสถานประกอบการในประเทศสหรฐั อเมรกิ า กฎหมายท่ี OSHA ออกกาํ หนดนี้รวมถงึ คา PEL ซ่งึ เปน คามาตรฐานของระดบั สารเคมีในบรรยากาศการทาํ งานดว ย 4

OSHA CaOSHA Regulated as carcinogensคอื สารเคมชี นิดนี้ OSHA กาํ หนดใหเ ปน สารกอ มะเรง็ ถา OSHA กาํ หนดสัญลักษณนใี้ หก บั สารใดแลว มักจะมกี ฎหมายควบคมุ การดาํ เนนิ การทางดา นอาชวี อนามยั สาํ หรบั สารนก้ี าํ หนดขน้ึ มาเปน พเิ ศษOSHA PELOSHA Permissible Exposure Limitคอื คา มาตรฐานของสารเคมใี นบรรยากาศการทาํ งานซง่ึ กาํ หนดเปน กฎหมายควบคมุ โดย OSHA ในหนงั สอืเลมนี้คา OSHA PEL อา งองิ มาจากหนงั สอื NIOSH Pocket guide to chemical hazards (2005)TWA – STEL – C• Time-weighted Average (TWA) คา ทก่ี าํ หนดมาตรฐานเปน TWA นห้ี มายความวา คนงานสามารถ สมั ผสั สารเคมใี นบรรยากาศการทาํ งานทเ่ี ทา กบั หรือตํ่ากวาระดบั นีแ้ บบตอเนอ่ื งเปนเวลา 8 ชั่วโมงตอวนั (เทา กบั 1 กะปกติของคนงาน) หรอื 40 ชั่วโมงตอ สปั ดาห ไดโดยจะไมเ กดิ อาการผดิ ปกตขิ น้ึ• Short-term Exposure Limit (STEL) คาท่ีกําหนดมาตรฐานเปน STEL หมายความวาคนงานตองไม สัมผสั สารเคมีระดับสูงเกนิ คานี้เปนชวงนานเกิน 15 นาที ถา สมั ผัสตองไมเกนิ 4 ครัง้ ตอ วัน และระยะหา ง ระหวางแตละชว งการสัมผสั ท่ีเกินคา STEL ตอ งมากกวา 60 นาที คาทีก่ ําหนดน้ใี หพ จิ ารณาปฏบิ ัตติ าม แมวา คาเฉลย่ี โดยรวมท้งั วนั ระดบั จะต่ํากวา TWA กต็ าม การกาํ หนดคา STEL นมี้ งุ หมายเพือ่ ลด อนั ตรายจากสารทม่ี พี ษิ เฉียบพลัน หรอื มแี นวโนม วา คนงานจะตองสัมผสั เปนชว งสนั้ ๆ แตค วามเขม ขนสูง ในเวลาทาํ งาน คา STEL กําหนดขน้ึ เพ่อื ปองกนั ผล 4 อยางคือ 1) การระคายเคอื ง 2) การทาํ ลายเนอ้ื เยอ่ื แบบถาวร 3) อาการพษิ เฉยี บพลนั และ 4) อาการงว งซึมซึง่ เปนเหตุใหเกดิ อบุ ตั เิ หตุไดงา ย ไมส ามารถ ชว ยตวั เองไดเม่อื เกิดเหตฉุ ุกเฉนิ หรือประสทิ ธิภาพการทาํ งานลดลง คา STEL น้ีสว นใหญกาํ หนดขึ้น เพอ่ื เสรมิ กับคา TWA• Ceiling (C) คือคาเพดาน ซ่งึ คนงานตอ งไมส ัมผัสสารเคมีสูงเกินระดับนเ้ี ลยตลอดชว งเวลาทํางาน• คา TWA STEL และ C นี้ ผใู หน ยิ ามคือ ACGIH เพอ่ื ใชบ อกกาํ กบั คา มาตรฐาน TLV (โดยเขยี นเปน TLV – TWA, TLV – STEL และ TLV – C ตามลาํ ดบั ) อยา งไรกต็ ามหลกั การของคา เหลา นส้ี ามารถ นํามาใชกับคา PEL ของ OSHA และคา REL ของ NIOSH ไดเ ชน เดยี วกนั คา มาตรฐานระดบั สารเคมใี น บรรยากาศการทาํ งานเหลา นร้ี วมเรยี กวา คา Occupational Exposure Limit (OEL) ซงึ่ ในประเทศอน่ื นอกจากสหรฐั อเมรกิ า คา มาตรฐาน OEL อาจมชี อ่ื เรยี กเปน อยา งอน่ื ตา งออกไปได เชน ในองั กฤษจะ เรยี กวา คา Occupational Exposure Standard (OES) ในเยอรมนั จะเรยี กวา คา Maximum Workplace Concentration (MAK) แมช ่ือเรยี กจะตางกันไปในแตล ะประเทศ แตห ลกั การสว นใหญจ ะคลายคลึงกันคือ ตามหลกั การของ ACGIH – TLVUN NumberUnited Nations Numberคือเลขรหัสสากลของสารเคมีซ่งึ กําหนดโดยสหประชาชาติ (United Nations) รหสั นกี้ ําหนดขน้ึ เพ่อื วัตถุประสงคด า นความปลอดภัยในการขนสง จึงมกั พบติดอยดู านขางรถขนสารเคมเี พอ่ื ใหผทู ี่พบเหน็ สามารถทราบไดวา เปน รถขนสารอะไร เลขรหสั จะเปน เลข 4 หลักเสมอ ปจ จุบนั กําหนดไวตงั้ แต 0001 ถึงประมาณ 3500 โดยรวบรวมไวใ นหนังสือ Recommendations on the transport of dangerous goods (orange book) เลขรหสั 5

แตล ะหลกั ไมไดบ งบอกความหมายใดไว จะทราบไดวา รหัสที่พบคือรหสั ของสารเคมใี ดตอ งเปด ดจู ากหนงั สอืเอากฎหมายแรงงานไทยในทน่ี ้หี มายถงึ กฎหมายกาํ หนดมาตรฐานระดบั สารเคมใี นทท่ี าํ งานสาํ หรบั ประเทศไทย ฉบับทใี่ ชอ ยใู นปจ จบุ ันจะอา งองิ มาจาก ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื งความปลอดภยั ในการทาํ งานเกย่ี วกบั ภาวะแวดลอ ม (สารเคมี) พ.ศ. 2520 ซ่ึงเปน กฎหมายฉบบั ลา สุดเทา ทมี่ ขี องประเทศไทย (เนอ่ื งจากกฎหมายออกมาตั้งแตย งั ไมมีการกอ ตง้ั กระทรวงแรงงาน หนว ยงานผอู อกกฎหมายขณะนน้ั คอื กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ซง่ึ แยกตวัออกมาเปน กระทรวงแรงงานในภายหลัง ชื่อกฎหมายทีอ่ อกจงึ เปน ประกาศกระทรวงมหาดไทย ไมใ ชประกาศกระทรวงแรงงาน)กฎหมายสิง่ แวดลอ มไทยในท่ีนห้ี มายถึงกฎหมายมาตรฐานระดบั สารเคมีในสิง่ แวดลอ ม (มาตรฐานในอากาศ) ตามกฎหมายสิ่งแวดลอมของประเทศไทย ซงึ่ อางอิงมาจากกฎหมายสง่ิ แวดลอมหลายฉบบั ดงั นี้• มาตรฐานคณุ ภาพอากาศในบรรยากาศทว่ั ไป อา งองิ จาก ประกาศคณะกรรมการส่ิงแวดลอมแหงชาติ ฉบับท่ี 10 (พ.ศ. 2538) ฉบับท่ี 24 (พ.ศ. 2547) และฉบับที่ 28 (พ.ศ. 2550)• มาตรฐานคาสารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศทัว่ ไป อางอิงจากประกาศคณะกรรมการสิง่ แวดลอม แหง ชาติ ฉบบั ท่ี 30 (พ.ศ. 2550)• มาตรฐานอากาศเสยี ทร่ี ะบายออกจากโรงงานอตุ สาหกรรม อางอิงจากประกาศกระทรวงทรัพยากร ธรรมชาติและสงิ่ แวดลอม เรอ่ื งกาํ หนดมาตรฐานควบคมุ การปลอ ยทง้ิ อากาศเสยี จากโรงงานอตุ สาหกรรม (พ.ศ. 2549)• มาตรฐานอากาศเสียที่ระบายออกจากเตาเผามูลฝอยและเตาเผามูลฝอยติดเชื้อ อางอิงจากประกาศ กระทรวงทรพั ยากรธรรมชาตแิ ละสง่ิ แวดลอ ม เรอ่ื งกาํ หนดมาตรฐานควบคมุ การปลอ ยทง้ิ อากาศเสยี จาก เตาเผามลู ฝอย (พ.ศ. 2540) และเตาเผามลู ฝอยตดิ เชอ้ื (พ.ศ. 2546) ดขู อมูลการดแู ลรกั ษาผปู วยที่ไดร ับสารพิษออนไลนไ ดฟ รีทาง 6

1,2 Dibromoethaneนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชื่อสาร 1,2 dibromoethaneช่อื เรยี กอน่ื DBE, ethylene bromide, 1,2-ethylene dibromide (EDB), glycol dibromideสตู รเคมี C2H4Br2CAS Number 106-93-4UN Number 1605ขนาดโมเลกุล 188ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวขน ไมม สี ี มีกล่นิ หอมหวาน คลา ย Chloroform เกดิ ไดเ องตามธรรมชาติเลก็ นอ ยในมหาสมทุ ร ละลายไดใ นนาํ้ เลก็ นอ ย (0.4 %) แตละลายไดดีในตัวทาํ ละลาย ไมต ดิ ไฟ และไมก อประกายไฟอันตรายทางเคมี ถาสัมผสั กบั ความรอ นหรอื แสงในสภาวะทม่ี ีความช้ืน จะเกดิ การ hydrolyse กลายเปนhydrogen bromide ท่อี ุณหภูมสิ งู จะปลอย hydrogen bromide, bromide, carbon monoxide และ carbondioxideการผลติ 1,2 dibromoethane เปน halogenated aliphatic hydrocarbon ไดม าจากการทาํ ปฏกิ ิรยิ าของethylene และ bromide วิธที ่นี ยิ ม คือ liquid phase bromination ของ ethylene ที่อุณหภมู ิ 35 – 85 °Cหลงั จากน้นั เตมิ กรดเพื่อปรับใหเปน กลาง และทําการกลั่นเพื่อแยกใหบริสุทธิ์ อกี วิธคี อื การทาํ ปฏิกิรยิ าhydrobromination ของ acetylene และปฏกิ ริ ยิ า 1,2 dibromoethane กบั นํ้าการนาํ ไปใช ใชเ ปน สารรมควัน สารฆาแมลง (หยดุ การใชต งั้ แตป  1984) สาร anti-knock ในนาํ้ มันท่ีมตี ะกว่ัเปน สว นผสม เปนสารกึง่ กลาง (intermediate) ในการสงั เคราะหส ารประกอบโบรไมด ทใ่ี ชเปนตวั ทาํ ละลายในสี สารเคลือบเงาการเขาสูรางกาย ดูดซมึ ไดเ รว็ ทางปาก ทางผวิ หนัง และการหายใจผลระยะฉบั พลัน• ถาสูดดม จะมีอาการหายใจขัด หลอดลมตีบ คอหอยบวม chemical pneumonitis และ pulmonaryedema ระคายเคอื งรนุ แรงตอเยอ่ื บุ ดวงตา เยื่อบตุ าขาว แกว ตาเปนแผล (corneal abrasion) และผวิ หนงั มีความดนั ไอตํ่าและคอ นขางคงตัวจงึ พบการเปน พษิ ตอรางกายรุนแรงคอนขา งนอ ย อาการหลังสัมผัสฉับพลนั มีอาการไดตงั้ แต 24 – 48 ชั่วโมง ผูปวยมกั ตายจาก pulmonary edema หรอื ปอดอกั เสบตามหลงั จากภาวะเนอ้ื เยอ่ื ปอดถกู ทาํ ลาย• หากกนิ เขา ไปทําใหค ล่ืนไส อาเจยี น ทอ งเสยี ปวดบิดทอง ออ นแรง และปวดศรี ษะ เกดิ แผลพุพองในกระพงุ แกม และระบบทางเดนิ อาหาร หวั ใจเตนเรว็ ความดนั ตาํ่ ปสสาวะออกนอ ย ตวั เหลืองตาเหลืองหงดุ หงดิ สบั สน delirium และ coma หากกนิ มากกวา 140 mg/นา้ํ หนกั ตัวทาํ ใหเ สยี ชีวติ มีรายงานวา กินเพียง 3 ml (6840 mg) ก็ทาํ ใหเ สียชีวิตได [1] metabolic acidosis และ shock การทาํ งานของตบั และไตลม เหลว เกดิ ขน้ึ ภายใน 12 – 48 ชว่ั โมง มรี ายงานการเกดิ cerebral edema และ intracerebral edema• สมั ผัสทางผวิ หนังเกิดผนื่ แดงแบบ exfoliation บวม เนอื้ ตาย แผลพพุ อง ตุมนํ้า burn ระดับ 1 – 2 ใน 24ชว่ั โมง อาจกดระบบประสาทสวนกลาง ไตและตบั วาย กลา มเน้ือลายตาย (skeletal muscle necrosis)ผลระยะยาวหรอื การไดรบั ซาํ้ ๆ ทาํ ใหเ กดิ หลอดลมอกั เสบ (bronchitis) หายใจสน้ั pulmonary edema และpulmonary fibrosis 7

คามาตรฐาน• IARC carcinogenic classification : group 2A (inadequate evidence of carcinogenicity in human,sufficient evidence in animal) (IARC 1987)• OSHA PEL – TWA (8 hr) 20 ppm (OSHA 1974),Ceiling level (C) 30 ppm (OSHA 1974)STEL (15 min) 0.5 ppm (EPA 1987)• NIOSH REL – TWA (8 hr) 0.045 ppm (NIOSH 2005) Ceiling level (15 min) 0.13 ppm (1 mg/m3)• คาในสิง่ แวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษเรื่อง กําหนดคาเฝาระวังสาํ หรบั สารอนิ ทรยี ร ะเหยงา ยในบรรยากาศโดยทว่ั ไปใน 24 ช่ัวโมง กําหนดให 1,2 ไดโบรโมอเี ธน (1,2dibromoethane) ตอ งไมเ กนิ 370 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ. 2552)Biomarker ของการสมั ผสั 1,2 dibromoethane ในเลอื ด และ ลมหายใจออก ดวยวิธี gas chromatography(GC) โดย flame ionization detector วธิ ที ว่ี ัดปรมิ าณไดด คี ือ electron capture detector (ECD) หรอื Hallelectrolytic conductivity detector (HECD) สว นการตรวจ serum bromide ในเลอื ดนัน้ ไมจ าํ เพาะกบั การสมั ผัส 1,2 dibromoethane เพยี งอยา งเดยี ว เนอ่ื งจากสามารถตรวจพบไดถ า สัมผัสกบั สารเคมที มี่ ี bromideเปน สว นประกอบชนดิ อน่ืBiomarker ของผลตอ สขุ ภาพ มผี ลตอ การทาํ งานของ ตับ ไต และอณั ฑะ ||||| ตบั – ระดับเอนไซม AST,ALT และ LDH สงู ขึ้นเลก็ นอย ||||| ไต – ปส สาวะออกนอ ย (oliguria) หรอื ไมอ อกเลย (anuria) ระดบั สารBUN, serum creatinine และ uric acid ในเลอื ดสงู ขนึ้ ||||| อัณฑะ – ความเขมขนของน้ําอสจุ ลิ ดลง ปริมาณของตัวอสจุ ทิ ีเ่ คลือ่ นไหวลดลง และรูปรา งของตวั อสุจิผดิ ปกตมิ ากข้ึนการรกั ษา รกั ษาตามอาการไมม ียาตา นพษิ (antidote) สาํ หรบั สารน้ีเอกสารอา งอิง1. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. The chemical incident management handbook.London: The Stationery Office 2000.2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drugoverdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.3. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for 1,2 dibromoethane. 1992 [cited 2010 2 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp37.html.4. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007.1,2 Dichloroethaneนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชื่อสาร 1,2 dichloroethaneช่อื เรยี กอ่นื ethylene dichloride, dichloroethylene, EDC, glycol dichlorideสตู รเคมี ClCH2CH2Cl หรอื C2H4Cl2CAS Number 107-06-2UN Number 1184 8

ขนาดโมเลกุล 98.96ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวขน ไมม สี ี ที่อุณหภูมหิ องจะระเหยเปนไอไดเ รว็ มีกล่ินหอม รสหวาน ไอระเหยหนกั กวาอากาศ เผาไหมใ หห มอกควนั สามารถติดไฟได กอ ใหเ กิดประจไุ ฟฟา จะเปล่ยี นเปน สีดําเม่อืโดนอากาศ แสง หรอื ความช้นือนั ตรายทางเคมี ยอยสลายโดยความรอนให hydrogen chloride และ phosgene ทําปฏกิ ริ ยิ ารนุ แรงกบัaluminium, alkali metals, alkali amides, ammonia, ดา ง และสาร oxidants กดั โลหะถา ผสมนํา้ กัดพลาสตกิการผลติ เปนสารทส่ี งั เคราะหข นึ้ ไมพ บเกดิ ขน้ึ เองตามธรรมชาติ ไดม าจากการทาํ ปฏิกริ ยิ า chlorinationโดยตรงของเหลก็ aluminum, copper, antimony chloride ในสภาวะทเ่ี ปน ของเหลวหรอื ไอทาํ ปฏกิ ริ ยิ าที่อุณหภูมิ 60 °C หรอื oxychlorination ในภาวะ fixed หรอื fluidized bed reactor ที่อุณหภมู ิ 220 °C โดยมีสารประกอบ chloride ที่เหมาะสมทเ่ี ปนของแข็งเปน ตวั เรงการนําไปใช ใชเปนสารตงั้ ตน ในการผลติ vinyl chloride เพอื่ นาํ ไปใชท ําผลิตภณั ฑ polyvinylchloride หรอืPVC เชน ทอประปา วสั ดกุ อ สราง ถงุ และบรรจภุ ณั ฑ เฟอรน เิ จอร หมุ เบาะรถยนต เครอ่ื งใชภายในบาน และช้ินสว นรถยนต 1,2 dichloroethane ใชเ ปนตวั ทาํ ละลายและเตมิ ในน้ํามันทมี่ ีสารตะก่วั เพ่อื กาํ จดั สารตะกวั่ ในอดีตใชปรมิ าณนอยๆ ในอตุ สาหกรรม เชน ทาํ ความสะอาดเสอื้ ผา ขจัดคราบน้าํ มันทีอ่ ยบู นโลหะ ยอ ยสลายนํ้ามัน ไข เรซิน ยาง ใชเ ปนสวนประกอบในนาํ้ ยาทําความสะอาดในบาน ยาฆา แมลง กาวตางๆ เชน กาวติดwall paper พรม สีบางชนิด น้าํ ยาเคลือบเงาการเขาสูรางกาย โดยการดมื่ นา้ํ ทีป่ นเปอ น การหายใจสูดดมอากาศใกลแ หลง กาํ เนดิ และทางผวิ หนงัผลระยะฉบั พลนั ไอระเหยกอใหเ กดิ การระคายเคอื งตอตาและระบบทางเดนิ หายใจ คลืน่ ไส ทาํ ใหห วั ใจเตนผิดจังหวะ อาการทเ่ี กดิ ขน้ึ จะมากนอ ยตามแตร ะยะเวลาทส่ี ัมผสั การดื่มแอลกอฮอลจ ะเพมิ่ ความเปนพษิ ของ1,2 dichloroethane สารน้ีดดู ซึมทางผวิ หนงั ไดด ี ถาไดร บั ปริมาณมากจะทําลายระบบประสาท ตับ และไต แตไมทราบระดับปริมาณทีเ่ ปนพษิ แนน อน ผลจากการกนิ ทาํ ใหเ กดิ pulmonary edema และ bronchitisผลระยะยาวหรอื การไดร บั ซาํ้ ๆ มพี ิษตอ ตับ ไต และจัดเปน สารกอ มะเร็งในสตั ว (fibroma ของผิวหนงั และhemangiosarcoma ของตบั และไตในสตั วท ดลอง) อาจจะเปน สารกอมะเรง็ ในคนคามาตรฐาน• IARC carcinogenicity classification : group 2B (possible human carcinogen) (IARC 2001)• WHO Inhalation carcinogenic potency (50,000 – fold less than the estimated carcinogenic potential) 0.36–2.0 microgram/m3 (WHO 2001)• Drinking water (lifetime cancer risk of 10-5) 30 microgram/l (WHO 2001)• OSHA PEL – TWA = 50 ppm, Ceiling = 100 ppm (OSHA 2001)• ACGIH TLV – TWA = 10 ppm, Notation = A4 (ACGIH 2009)• NIOSH REL – TWA = 1 ppm (4 mg/m3), STEL = 2 ppm (8 mg/m3), IDLH = 50 ppm, Possibleoccupational carcinogen (NIOSH 2005)• Emergency Response Planning Guideline ERPG1 50 ppm ERPG2 200 ppm ERPG3 200 ppm 9

• คาในสิ่งแวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรือ่ ง กาํ หนดคา เฝา ระวงั สาํ หรบั สาร อินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทั่วไปใน 24 ชัว่ โมง กําหนดให 1,2 ไดคลอโรอีเทน (1,2 dichloroethane) ตอ งไมเ กนิ 48 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ. 2552)• EPA กาํ หนดคามาตรฐานในนาํ้ ดม่ื ไมเ กิน 0.005 mg per liter (5 ppb) (EPA 2001)ตวั บง ชที้ างชวี ภาพ (Biomarkers)• สามารถตรวจ 1,2 dichloroethane ไดในเลือด ลมหายใจ ปสสาวะ วธิ กี ารตรวจทางลมหายใจออกเปน วธิ ี ทีง่ ายจึงนาจะเปนวิธีที่ตรวจวัดในผูท ีพ่ ึ่งสัมผัส แตสารดังกลาวสลายตัวเร็ว โดยปกติระดับของ 1,2 dichloroethane ในลมหายใจท่ตี รวจวดั ไดอ ยูในชว ง trace – 0.2 ppb และในปส สาวะอยใู นชว ง 50 – 140 ng/L ในผูทมี่ ปี ระวัตกิ ารสมั ผัส สามารถตรวจพบในน้าํ นมของผูท สี่ ัมผสั แตไ มม หี ลกั ฐานยนื ยนั การ กอ ใหเ กดิ การพกิ ารแตก าํ เนดิ• ตรวจ thioethers ในปส สาวะ โดยวิธีการตรวจดว ย Gas Chromatography (GC) วดั หลงั จากสัมผัสเร็ว ท่ีสดุ และวัดภายใน 48 ชว่ั โมง แตถ กู รบกวนจากสารประกอบอนิ ทรยี ต วั อน่ื การตรวจไมส ามารถแยกกบั สารอนิ ทรยี อ ื่นได ไมมคี วามจาํ เพาะ โดย thioether ตวั ทไ่ี วตอ 1,2 dichloroethane คอื thidioglycolic acid (sensitive marker)• ตรวจผลกระทบกบั รา งกายโดยดใู นระบบประสาทสว นกลาง ตบั และไต บางคร้งั อาจมผี ลตอระบบภูมคิ มุ กนั การเปน พษิ ของตบั ดไู ดจ ากการมี alkylation ของ hepatocellular macromolecules การทต่ี บั มี น้ําหนักเพิม่ ข้ึน เอนไซมตบั AST, ALT และ LDH สูงขึน้ ผลกระทบตอ ไตดไู ดจ ากการมี macro- molecules ใน renal cells ไตมีนา้ํ หนกั เพมิ่ ข้ึน มกี ารขบั glomerular structural protein fibronectin ออกมาทางปส สาวะเปน ตวั บอกถงึ glomerular involvementระดับความเปนพษิ [1]• ระดบั 0.05-0.15 mg/l ถาสมั ผัสระยะยาวซํา้ ๆ กอใหเกิดการเปลยี่ นแปลงระบบประสาท เบอื่ อาหาร ระคายเคืองเยอื่ บุ เปน พษิ ตอตบั และไต• ระดับ 6 ppm = เริม่ ไดกลนิ่• ระดบั 356 mg/m3 = Odor threshold in air• ระดบั 7 mg/l = Odor threshold in water• ระดับ 40 ppm = ระบบประสาทสว นกลางผดิ ปกติ หงุดหงิด ทําใหโ รคตบั และถงุ นา้ํ ดแี ยล ง• ระดบั 10 – 200 ppm = เบ่ืออาหาร เวียนศรี ษะ นอนไมห ลบั อาเจยี น นํา้ ตาไหล ทอ งผูก ปวดใตล ิน้ ป ตับโตกดเจ็บ ความเขมขนของ urobilinogen สูงขึ้นการรกั ษา รกั ษาตามอาการไมม ียาตา นพษิ (antidote) สาํ หรบั สารน้ีขอ มูลดา นสงิ่ แวดลอ ม ตกคา งอยูในสง่ิ แวดลอ มได ในอากาศ ดนิ แหลงนํา้ และแหลงนา้ํ ใตดนิ มอี ายุอยูไดมากกวา 40 ป สารท่ีอยใู นดินหรือแหลงนา้ํ จะระเหยสูอ ากาศและทาํ ปฏิกริ ยิ ากบั แสงแดดโดยจะอยใู นอากาศไดน าน 5 เดือนกวา จะสลายตวั ไป แตก ารสลายตวั ในนาํ้ จะใชเ วลานานกวาเอกสารอา งอิง1. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for 1,2 dichloroethane .2001 [cited 2010 11 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp38.html.2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.3. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007. 10

4. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. The chemical incident management handbook. London: The Stationery Office 2000.1,2 Dichloropropaneนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชอ่ื สาร 1,2 dichloropropaneช่อื เรยี กอื่น Propylene dichloride, propylene chloride, 2,3 dichloride propaneสตู รเคมี C3H6Cl2CAS Number 78-87-5UN Number 1279ขนาดโมเลกุล 113.0ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวใส ไมม ีสี จดั อยใู นกลมุ สารเคมีอินทรียร ะเหยงา ย (volatile organiccompound) มกี ลิ่นคลา ย chloroform ใชเ ปน คณุ สมบตั ใิ นการเตอื นได [1] odor threshold ในอากาศเทา กบั0.25 ppm และ 50 – 90 % ของคนงานทีร่ ําคาญจะไดกลน่ิ ท่ี 75 ppm [2] ระเหยเปนไอไดง ายท่ีอุณหภูมหิ องไอหนกั กวา อากาศและกอ ใหเ กดิ ประกายไฟไดง า ยอันตรายทางเคมี ถาเผาไหมจ ะเกดิ ไอ (fume) ทเ่ี ปนพิษ (hydrogen chloride) และมีฤทธิก์ ัดกรอน กัดaluminum alloy และพลาสตกิ บางชนดิการผลติ เปนสารทม่ี นุษยสรางขึ้นและเกดิ จากกจิ กรรมของมนษุ ย ใชใ นการวจิ ัยและอตุ สาหกรรมเทา น้นั เปนสารกง่ึ กลางในการผลติ perchloroethylene และสารประกอบ chlorinated เปน สารท่ีไดจาก propyleneoxide โดยขบวนการ chlorohydrins ไดมาจากการทําปฏิกิริยา chlorination ของ benzene หรอืchlorobenzene โดยมีตวั เรง (มกั เปน ferric oxide) ตามดว ยการกลน่ั แบบแยกสว นหรอื การทาํ เปน ผลกึ จากสว นผสมของ chlorinated benzeneการนําไปใช ใชเ ปนตัวทําละลายในนํา้ มัน ไขมัน เรซนิ แวกซ และยาง ในการผลติ toluene diisocyanateการผลิตฟลม ถา ยภาพ กระดาษเคลอื บ ตัวเรงปฏกิ ิรยิ าในผลติ ภณั ฑป โ ตรเคมี และกอ นหนา ป 1983 เคยใชเปน สารรมควันใน สม สัปปะรด ถั่วลิสง ฝาย มะเขือเทศ และมนั ฝรง่ั เคยใชเ ปน สารฟอกสี สารเคลอื บเงาแตถกู ยกเลกิ การใชไ ปแลว ในประเทศสหรฐั อเมรกิ าการเขาสูรางกาย การหายใจและการด่ืมนํา้ ทป่ี นเปอ นผลระยะฉบั พลัน เวยี นศรี ษะ ปวดหวั คลื่นไส ระคายเคอื งตอ ตา ผวิ หนงั และระบบทางเดินหายใจ อาจมผี ลตอ ระบบประสาทสว นกลาง มีพษิ ตออัณฑะในสตั วท ดลองผลระยะยาวหรอื การไดร บั ซา้ํ ๆ สงผลตอ ตบั ไต ทําใหซดี และเสียชีวติ ไดคามาตรฐาน• IARC cancer classification – group 3 (IARC 1987)• OSHA PEL – TWA 75 ppm, Ceiling 110 ppm (OSHA 1989)• ACGIH TLV – TWA 10 ppm, STEL – Notation :SEN;A4 (ACGIH 2009)• EPA cancer classification – group B2 (probable human carcinogen) (EPA 1987)• NIOSH – IDLH 400 ppm (NIOSH 2005) 11

• คาในสิง่ แวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กาํ หนดคา เฝา ระวงั สาํ หรับ สารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทั่วไปใน 24 ชั่วโมง กาํ หนดให 1,2 ไดคลอโรโพรเพน (1,2 dichloropropane) ตองไมเ กิน 82 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ. 2552)ตวั บง ชที้ างชวี ภาพ (Biomarker) ไมม ี biomarker แตตรวจระดับ 1,2 dichloropropane ไดในปสสาวะ และเลอื ด แตร ะดบั ไมใ ชต วั บง บอกอาการ เพราะสามารถออกจากรา งกายไดอ ยา งรวดเรว็ โดยตอ งตรวจเรว็ ทส่ี ดุหลังจากสัมผัส ตรวจโดยวธิ ี gas chromatography หรอื high resolution gas chromatography ดวย halidespecific detector หรอื mass spectrometry [2]การรกั ษา รกั ษาตามอาการไมม ียาตา นพษิ (antidote) สาํ หรบั สารน้ีขอมูลดา นสิง่ แวดลอ ม สามารถระเหยจากน้ําท้ิงจากอุตสาหกรรมได ในประเทศสหรัฐอเมริกามีคาความเขมขน เฉล่ยี ในอากาศอยูที่ 22 parts per trillion (ppt) และจะเรม่ิ ไดกล่ินที่ 0.25 parts per million (ppm)เอกสารอา งอิง1. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.2. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for 1,2 dichloropropane. 1989 [cited 2009 11 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp134.html.3. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring 3rd ed. Florida: CRC Press 2001.1,3 Butadieneนพ.วิวฒั น เอกบรู ณะวัฒนชื่อ 1,3-บวิ ทาไดอนี (1,3-Butadiene)ชอื่ อ่นื Biethylene, Bivinyl, Divinyl, Vinylethyleneสูตรโมเลกลุ C4H6 หรอื CH2=(CH)2=CH2น้าํ หนักโมเลกลุ 54.1CAS Number 106 – 99 – 0UN Number 1010 (stabilized)ลักษณะทางกายภาพ แก็สไมมสี ี มีกล่นิ เฉพาะ บางครง้ั ถูกเกบ็ ไวในรปู ของเหลวในถังอดั ความดนัคาํ อธบิ าย 1,3-butadiene เปน แกส็ ทม่ี คี ุณสมบตั ิกอ มะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวและมะเรง็ น้ําเหลือง องคก ร IARC ไดจดั สารชนดิ น้ีไวใ นกลุม Carcinogen Group 1 คอื มหี ลักฐานการกอมะเรง็ ชดั เจน สารชนิดนี้เปน สารสงั เคราะหท่ีเกดิ ขึ้นในกระบวนการทางปโ ตรเคมี ใชเปนสารตั้งตน ในอตุ สาหกรรมผลติ ยางและพลาสติกสงั เคราะห หากมีผูปว ยไดรับสมั ผัสสารชนิดน้ี นอกจากตองดแู ลการไดรบั พษิ ในระยะเฉยี บพลนั แลว ยงั ตอ งตรวจติดตามผลในระยะยาวเพอ่ื เฝาระวังการเกิดมะเรง็ ดวยคามาตรฐานในสถานทที่ าํ งาน ACGIH TLV – TWA 2 ppm ||||| NIOSH REL – Ca ||||| OSHA PEL –TWA 1 ppm, STEL 5 ppm ||||| IDLH – 2000 ppm ||||| กฎหมายไทย N/Aคามาตรฐานในสิ่งแวดลอม NAAQS – N/A ||||| กฎหมายสิ่งแวดลอ มไทย – ตามประกาศคณะกรรมการสงิ่ แวดลอมแหง ชาตฉิ บบั ท่ี 30 (พ.ศ. 2550) คา เฉลีย่ ในอากาศ 1 ปต อ งไมเกนิ 0.33 ug/m3 12

คามาตรฐานในรา งกาย ACGIH BEI – 1,2 Dihydroxy-4-(N-acetylcysteinyl)-butane ในปสสาวะ หลังเลิกงาน 2.5 mg/L, Mixture of N-1 and N-2-(hydroxybutenyl)valine hemoglobin (Hb) adducts ในเลอื ด เจาะตรวจเวลาใดกไ็ ด 2.5 pmol/g Hbคณุ สมบัติกอ มะเร็ง IARC Group 1 ||||| ACGIH A2 Carcinogenicityแหลง ท่ีพบในธรรมชาติ ไมพบในธรรมชาติ เปน สารปโ ตรเคมที ่ไี ดจากการสงั เคราะห ในชวี ิตประจาํ วันจะพบในควันบหุ ร่ไี ดดว ย [1]อตุ สาหกรรมทใ่ี ช• เปนผลผลติ ท่ีเกดิ ข้นึ ในโรงงานปโ ตรเคมี เปน สารทไี่ ดร ะหวางการสังเคราะหแ กส็ เอธลิ นี (ethylene)• ใชเปนสารตัง้ ตนในอุตสาหกรรมยางสังเคราะหชนิด styrene-butadiene rubber (SBR) และ polybutadiene rubber• ใชใ นการผลติ พลาสตกิ ทนความรอ น Acrylonitrile-butadiene-styrene-copolymer (ABS)กลไกการกอ โรค การกอ โรคในระยะยาวคือทาํ ใหเ กิดมะเรง็ ระบบเลอื ด (leukemia) และระบบนํ้าเหลือง(lymphoma) กลไกการกอ โรคเชอ่ื วา เกดิ จากสารเมตาโบไลตก ลมุ epoxide ทีเ่ กดิ ขนึ้ ในรา งกาย [2]การเตรยี มตวั เมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ• นาํ ผปู ว ยออกจากจุดเกิดเหตใุ หเ ร็วทสี่ ดุ หยุดการรวั่ ไหลของสารเคมี เนอ่ื งจากสารชนดิ นเ้ี ปน สารกอ มะเร็ง ผทู ่เี ขา ไปทําการกภู ัยควรใสชดุ ปอ งกนั ทเ่ี หมาะสม ทดี่ ที สี่ ุดคือชุดปอ งกันชนดิ ทมี่ ถี งั บรรจอุ ากาศ ในตัว (Self-contained breathing apparatus, SCBA) และเน่อื งจากสารนต้ี ดิ ไฟงายมาก ชดุ กูภยั ควร เปน ชดุ กนั ไฟดว ย• บคุ ลากรทางสาธารณสุขท่ีดแู ลผปู วยควรลดการสัมผสั ตอ ตนเองใหม ากท่สี ุด ทาํ การลางตวั ผูป ว ยกอนให การรักษา ควรทําทะเบยี นผสู ัมผสั ทั้งกลุมผปู ระสบภยั และกลมุ บุคลากรท่เี ขา ไปชวยเหลอื เพื่อตดิ ตามเฝา ระวงั ในระยะยาวอาการทางคลนิ กิ• อาการเฉยี บพลัน ถา อยใู นรปู ของเหลวการสมั ผสั กับผิวหนงั โดยตรงจะทาํ ใหเ น้ือตาย (frostbite) ถา กระเดน็ เขา ตาจะทําใหตาแดง อักเสบ มองภาพไมชดั ถา อยใู นรปู แกส็ การสดู ดมเขา ไปจะทาํ ใหเ กดิ อาการระคายคอ ไอ เจบ็ คอ เวยี นศรี ษะ ปวดศรี ษะ คลื่นไส ถา สูดดมปรมิ าณมากอาจทาํ ใหซมึ ลง มอง ภาพไมช ัด จนถงึ หมดสตไิ ด [3]• อันตรายจากการระเบิด นอกจากตวั สารเองจะมพี ษิ แลว สารชนดิ นย้ี งั ตดิ ไฟไดง า ยมาก หนกั กวา อากาศ และเม่อื ถูกอากาศจะระเบิดไดดว ย (NFPA Code: H2 F4 R2) ดงั นน้ั ผูป ระสบภัยบางสวนอาจ ไดร บั อนั ตรายจากไฟไหมห รอื แรงระเบดิ ถา อยใู กลก บั จดุ กาํ เนดิ การรว่ั ไหล• อาการระยะยาว พบวาการสัมผสั สารชนดิ น้ีทําใหเกดิ มะเร็งของระบบเลอื ดและระบบนํา้ เหลืองทงั้ ในหนู ทดลองและจากการศึกษาทางระบาดวิทยาในมนษุ ย [4] การหลกี เลี่ยงการสัมผัสเปน สิ่งท่ดี ที ส่ี ุด กรณี ร่วั ไหลตองใหค วามสาํ คญั กบั การกําจดั สารนอ้ี อกจากส่งิ แวดลอม (clean-up) มกี ารตรวจวดั ระดบั สารเคมี ในบรรยากาศหลงั เกดิ เหตกุ ารณ และทางสขุ ภาพตอ งตดิ ตามโรคมะเรง็ ในระยะยาวดว ยการตรวจทางหองปฏิบัติการ• ขึน้ กับอาการของผปู วย กรณมี อี าการทางระบบหายใจควรถา ยภาพรงั สที รวงอก (Chest X-ray)• การตรวจเลอื ดดคู วามสมบรู ณข องเมด็ เลอื ด (Complete blood count) ระดบั นาํ้ ตาลในเลอื ด (Blood sugar) ระดบั เกลอื แรใ นเลอื ด (Blood electrolyte) ตรวจปส สาวะ (Urinalysis) ระดับแกส็ ในเลอื ด (Blood gas) หรือการตรวจอ่นื ๆ ใหข นึ้ อยกู ับอาการของผปู วย 13

• การตรวจพสิ จู นก ารสมั ผสั แกส็ 1,3-butadiene ทาํ โดยการตรวจ 1,2 Dihydroxy-4-(N-acetylcysteinyl)- butane ในปส สาวะ สามารถทําไดถา มหี อ งปฏบิ ัตกิ ารรองรับ [5]การดแู ลรกั ษา• ปฐมพยาบาล นําผูปว ยออกจากจดุ เกดิ เหตใุ หเร็วที่สุด ใหอ ยใู นท่อี ากาศถายเทดี ทาํ การลางตวั กรณีถูก ของเหลวแลว มเี นอื้ ตายไมค วรถอดเสื้อผา ผปู ว ย เน้อื จะติดเสอ้ื ผา ออกมาได กรณีกระเด็นเขา ตาใหถ อด คอนแทคเลนสออกถา ทําได ลา งตาดวยนา้ํ เปลา ระหวางลางตวั ดูสัญญาณชพี ชวยการหายใจและระบบ ไหลเวียนโลหติ ถาพบมีความผิดปกติ ใสท อ ชวยหายใจหากพบการหายใจลม เหลว• การรกั ษาระยะเฉยี บพลนั การลา งตัวเพื่อลดการสัมผสั สําคัญที่สุด ถาสารกระเด็นเขาตาใหล า งน้าํ อยา ง นอ ย 15 นาที ลางบริเวณผวิ หนงั ท่ีสมั ผสั ใหม ากท่สี ดุ ชว ยการหายใจโดยใหออกซเิ จน กรณมี แี ผลไฟไหม บริเวณใบหนา หรอื สดู สาํ ลักควันไฟ มคี วามเส่ียงตอการบวมของทางเดนิ หายใจตอ งสังเกตการหายใจไว ดวย ใหสารนํ้าหากมปี ญ หาระบบไหลเวยี นโลหติ อาการระคายคอ ไอ เจ็บคอ วิงเวยี นศีรษะ ปวดศีรษะ คลน่ื ไส ใหร กั ษาตามอาการ• การดูแลระยะยาว ผทู ่ีสัมผัสสารน้ีมีความเสย่ี งในการเกดิ มะเร็งในระยะยาว ตองทําการเฝา ระวงั มะเร็ง ระบบเลือดและระบบนา้ํ เหลืองทกุ รายการเฝาระวัง1. สอื่ สารความเสี่ยงใหประชาชนเขาใจ2. ทาํ ทะเบยี นผูส มั ผสั สารเคมี บนั ทกึ รายชือ่ และท่ีอยูข องผูท ีส่ ัมผสั สารนที้ กุ คน ควรตรวจดูความสมบูรณ ของเมด็ เลอื ด (complete blood count) เปน พน้ื ฐานไว การตรวจประเมนิ การสมั ผสั ระยะสน้ั ทาํ โดยตรวจ 1,2 Dihydroxy-4-(N-acetylcysteinyl)-butane ในปส สาวะ จะเหมาะสมกวา การตรวจ N-1 and N-2- (hydroxybutenyl)valine hemoglobin adducts ในเลอื ด ซง่ึ เหมาะจะใชต รวจการสมั ผสั สะสม การตรวจ ท้ัง 2 อยางนจี้ ะสามารถทําไดต อ งมหี อ งปฏิบตั กิ ารรองรบั การแปลผลตองทาํ โดยผเู ชี่ยวชาญเทา นั้น และ ตอ งระวงั ผลบวกลวงจากการสบู บหุ ร่ี3. การเฝา ระวงั ในระยะยาว ทางคลินกิ ทีด่ ีที่สดุ คือการซกั ประวตั แิ ละตรวจรา งกาย ตามอาการของโรคมะเรง็ ระบบเลือดและน้าํ เหลอื ง เชน ตรวจดูความซดี คลาํ ตอ มน้าํ เหลอื ง ใหค าํ แนะนาํ เพอื่ สังเกตอาการ แนะนํา เลกิ สูบบหุ ร่ี ตรวจความสมบูรณข องเมด็ เลอื ด (complete blood count) เปน ระยะ หากพบเซลลมะเร็ง ตอ งรีบสง ตวั ไปรักษาตอทันที การตรวจติดตามควรทําอยางนอย 10 ปข นึ้ ไป4. การตรวจผลกระทบทางพนั ธกุ รรม เชน micronuclei, sister chromatid exchange, chromosomal aberrations, ras oncoprotein level, hypoxanthine-guanine-phosphoribosyl transferase (HPRT) mutation และการตรวจหา GSTT1 หรอื GSTM1 genotype สาํ หรบั กรณกี ารเกดิ มะเรง็ จากสาร 1,3- butadiene แลว น้ัน ทก่ี ลาวมาทงั้ หมด ณ ปจ จุบันยังไมพ บวา มกี ารตรวจใดสามารถนํามาใชค น หาความ เสี่ยงของมะเรง็ ในระยะเรม่ิ แรกได [6]เอกสารอา งองิ1. Hecht SS, Samet JM. Cigarette Smoking. In: Rom WN, Markovitz SB, eds. Environmental and occupational medicine. 4th ed. Philadelphia: Lippincott Williams & Wilkins 2007:1522 - 51.2. Melnick RL. Rubber industry: 1,3-Butadiene. In: Stellman JM, ed. ILO Encyclopaedia of Occupational Health and Safety. 4th ed. Geneva: International Labour Office 1998.3. International Programme on Chemical Safety. International Chemical Safety Cards (ICSCs): 1,3- Butadiene. International Labour Office, 1998. 14

4. Delzell E, Sathiakumar N, Hovinga M, Macaluso M, Julian J, Larson R, et al. A follow-up study of synthetic rubber workers. Toxicology. 1996;113:182-9.5. American Conference of Governmental Industrial Hygienists (ACGIH). TLVs and BEIs. Cincinnati: American Conference of Govermental Industrial Hygienists 2009.6. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring 3rd ed. Florida: CRC Press 2001.1,4 Dichlorobenzeneนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชอ่ื สาร 1,4 dichlorobenzeneชอ่ื เรยี กอืน่ p-dichlorobenzene (p-DCB), p-chlorophenyl chloride (PDB), p-dichlorobenzolสตู รเคมี C6H4Cl2CAS Number 106-46-7UN Number 3077ขนาดโมเลกุล 147ลักษณะทางกายภาพ ของแขง็ คลายครสิ ตลั ไมม สี หี รอื มีสขี าว มีกลิ่นเฉพาะตวั กลิน่ เดียวกบั ยากําจัดมอดระเหดิ กลายเปนไอไดงา ย เร่ิมไดกลิ่นในอากาศและในนาํ้ เม่อื มคี วามเขม ขน 0.18 ppm (1.1 mg/m3) และ0.011 mg/l ตามลาํ ดบั ละลายนํา้ ไดน อย แตล ะลายไดด ใี นแอลกอฮอล อเี ธอร อะซโิ ตน และเบนซนีอันตรายทางเคมี ถาเผาไหมจะเกิดไอ (fume) ที่เปนพิษและมีฤทธิ์กัดกรอน เชน ไฮโดรเจนคลอไรด(hydrogen chloride) ทาํ ปฏิกิรยิ ารนุ แรงกบั ออกซิเจนการผลติ ไดม าจากการทาํ ปฏกิ ริ ยิ า chlorination ของ benzene หรอื chlorobenzene โดยมีตวั เรง มกั เปนferric oxide ตามดว ยการกลน่ั แบบแยกสว นหรอื การทาํ เปนผลึกจากสว นผสมของ chlorinated benzeneการนําไปใช ยาดับกลิ่นในถังขยะและในหองนาํ้ (ความเขม ขนของ 1,4 dichlorobenzene ในบา นและหอ งนา้ํสาธารณะอยูท่ี 0.291 – 272 ppb ของอากาศ) เปน สารรมควันเพ่อื กาํ จดั มอด เชือ้ รา ใชใ นการผลิตpolyphenylene sulfide (PPS) resin สารกง่ึ กลางในการผลติ 1,2,4 trichlorobenzene นอกจากนย้ี งั ใชควบคุมแมลงที่รบกวนพืช มด และราสฟี า ในเมล็ดใบยาสูบ หนงั สัตว และผา ขนสตั วการเขาสูรางกาย การหายใจ ผิวหนัง และการกนิผลระยะฉบั พลัน ระคายเคืองตอ ตาและระบบทางเดนิ หายใจ ปวดศรี ษะ คลนื่ ไส อาเจยี น ทอ งเสีย มผี ลตอเมด็ เลอื ด ทาํ ใหเ กดิ ภาวะซดี จากเมด็ เลอื ดแดงสลายตวั (hemolytic anemia) อาจมีผลตอ ระบบประสาทสว นกลางผลระยะยาวหรือการไดรบั ซา้ํ ๆ สงผลตอ ตบั ไต เมด็ เลือด อาจเปนสารกอมะเรง็ ในมนษุ ยคามาตรฐาน• IARC group 2B (possibly carcinogen to humans, liver & kidney cancer in mice) (IARC 1999)• WHO กําหนดคามาตรฐานในน้ําดืม่ ท่ีมีผลกระทบตอสุขภาพไมเกิน 300 µg/l และขอบเขตการรับรูคณุ ภาพกลนิ่ ไมเกิน 1 µg/l (WHO 2004)• ACGIH TLV (8-hr TWA) = 10 ppm, ACGIH carcinogenicity classification = A3 (confirmed animalcarcinogen with unknown relevance to humans) (ACGIH 2009) 15

• EPA = EPA hazardous air pollutants (EPA 2004)• NIOSH REL (10 hr-TWA) = carcinogen, IDLH = 150 ppm (NIOSH 2005)• OSHA PEL (8 hr-TWA) for general industry, construction industry and shipyard industry = 75 ppm (450 mg/m3) (OSHA 2004)• คาในสิง่ แวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กําหนดคาเฝาระวังสําหรับ สารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทั่วไปใน 24 ช่ัวโมง กําหนดให 1,4 ไดคลอโรเบนซีน (1,4 dichlorobenzene) ตอ งไมเ กิน 1,100 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ. 2552)• EPA มาตรฐานในนาํ้ ด่ืมตอ งไมเ กิน 0.075 mg/l (EPA2004)ตวั บงชท้ี างชีวภาพของการสมั ผัส (Biomarker of exposure)• ตรวจ p-dichlorobenzene ในปส สาวะ เปนสวนทยี่ ังไมม กี ารเปลยี่ นแปลง และสามารถตรวจพบไดใ น เลอื ด และเน้ือเย่ือชนั้ ไขมัน (adipose tissue)• ตรวจ 2,5 dichlorophenol ในปส สาวะ ตรวจภายใน 1- 2 วนั หลังสมั ผสั (การตรวจน้ไี มจ าํ เพาะ เนอ่ื งจาก สารน้ีพบเปน metabolite ของ lindane ในสัตวท ดลองดวย) คา มาตรฐานของ 2,5 dichlorophenol ใน ปส สาวะ (แนะนาํ โดย Deutsche Forschung Gemeinschaft 2000) คือ 150 mg/g creatinine (หลงั เลกิ กะ) และ 30 mg/g creatinine (กอ นเขา กะตอ ไป) [1]ตัวบงชท้ี างชีวภาพของผลตอ สุขภาพ (Biomarker of effect) ไต – พบมี hyaline droplet formation และtubular degeneration ในหนทู ดลอง kidney-type α2μ-globulin (aG-K) ในหนทู ดลองการรกั ษา รกั ษาตามอาการไมม ียาตา นพษิ (antidote) สาํ หรับสารน้ีขอมูลดา นสิ่งแวดลอ ม เปน พษิ ตอ สิ่งมชี ีวติ ในน้ํา และสามารถเกดิ การสะสมทางชวี ภาพ (bioaccumulation)ในปลาไดเอกสารอา งอิง1. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring 3rd ed. Florida: CRC Press 2001.2. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for dichlorobenzene. 2006 [cited 2010 11 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp10.html.3. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.4. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007.5. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. The chemical incident management handbook. London: The Stationery Office 2000.1,4 Dioxaneนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชื่อสาร 1,4-dioxaneช่อื เรียกอืน่ 1,4-diethylene dioxide, 1,4-diethyleneoxideสตู รเคมี C4H8O2 16

CAS Number 123-91-1UN Number 1165ขนาดโมเลกุล 88.1ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวใส ไมมีสี มีกลิ่นจําเพาะ ละลายน้ําไดงาย ไอระเหยหนกั กวา อากาศกอ ใหเกิดประกายไฟ ติดไฟไดง า ยอันตรายทางเคมี เปน สาร explosive peroxide ทําปฏิกิรยิ ารนุ แรงกบั สาร oxidant และกรดเขม ขน ทาํปฏิกิรยิ ากบั สารบางอยา งกอใหเ กดิ การระเบิด เชน นกิ เกิลทอี่ ุณหภมู ิ 210°C กดั พลาสตกิการผลติ 1,2 dibromoethane เปน halogenated aliphatic hydrocarbon ไดม าจากการทาํ ปฏกิ ริ ยิ าของethylene และ bromide วิธีทนี่ ยิ ม คือ liquid phase bromination ของ ethylene ทอ่ี ุณหภมู ิ 35 – 85 °Cหลังจากน้ันเติมกรดเพ่ือปรับใหเปนกลาง และทาํ การกลัน่ เพื่อแยกใหบริสุทธ์ิ อีกวิธีคือการทาํ ปฏิกิริยาhydrobromination ของ acetylene และปฏิกริ ยิ า 1,2 dibromoethane กบั น้าํการนําไปใช ใชเ ปน สารตัวทําละลายในการผลิตสารเคมีอนื่ ในหอ งทดลอง อาจพบปนเปอ นอยใู นเครอ่ื งสาํ อางผงซกั ฟอก และแชมพู ทีม่ สี ว นประกอบของ polyethylene glycol (PEG), polyethylene, polyoxyethyleneแตปจ จบุ นั การผลติ โดยโรงงานทม่ี มี าตรฐาน มกั พยายามลดการปนเปอ นของ 1,4-dioxane ลงในผลติ ภัณฑใหน อยที่สุด อาจพบใน กาว นาํ้ ยาทาํ ความสะอาด นํ้ายาดับกลน่ิ สารเคลือบเงา แลคเกอร นาํ้ ยารกั ษาเนอ้ื ไมการเขาสูรางกาย ดดู ซมึ จากการหายใจขณะอาบนาํ้ หรอื ใชช วี ติ ภายในอาคาร ทางผวิ หนงั หากดื่มเครื่องดมื่แอลกอฮอลจะทําใหม ีพษิ มากขนึ้ผลระยะฉบั พลนั ไอระคายเคอื งรุนแรงตอเย่อื บุจมูก ดวงตา ทางเดนิ หายใจ ถาไดรบั ปรมิ าณมากมีผลตอไตและตบั ทาํ ใหเสยี ชวี ติ ไดผลระยะยาวหรือการไดร ับซา้ํ ๆ มกี ารศกึ ษาในสตั วท ดลอง ถา สูดดมไอระเหย ด่ืมนํา้ ที่ปนเปอ น หรือสมั ผัสทางผวิ หนัง มผี ลตอการทํางานของตบั และไต ทาํ ลายชนั้ ไขมนั ในผิวหนัง การศกึ ษาในหนทู ดลองพบเปน สารกอมะเรง็ ตบั และมะเร็งจมูก สว นการศกึ ษาในคนงานไมบ ง ชว้ี า เปน สาเหตกุ ารเกดิ มะเรง็คามาตรฐาน• IARC carcinogenicity classification : group 2B (possibly carcinogenic to humans) (IARC 1999)• OSHA PEL – TWA (8 hr) for general industry, construction, shipyard = 100 ppm (OSHA 2004)• ACGIH TLV – TWA (8 hr) = 20 ppm, Notation-skin, carcinogenicity = A3 (ACGIH 2009)• NIOSH REL – Ceiling (30 minute) 1 ppm, Notation Ca, IDLH 500 ppm (NIOSH 2005)• EPA = EPA hazardous air pollutant (EPA 2004)• EPA มาตรฐานในน้าํ ดม่ื ไมเ กนิ 4 mg/l ใน 1 วันหรือ ไมเ กนิ 0.4 mg/l ใน 10 วนั ไมเ กดิ ผลตอ สขุ ภาพใน เดก็ (EPA 2004)• FDA – indirect food additive for use only as a component of adhesive กาํ หนดใหไมเ กิน 10 ppm ในสารฆา เช้ืออสจุ ิ N-9 ผลติ ภัณฑค มุ กาํ เนิด อาหารเสริม (US-FDA 2003)• คาในสิ่งแวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กําหนดคาเฝาระวังสําหรับ สารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทวั่ ไปใน 24 ชั่วโมง กาํ หนดให 1,4 ไดออกเซน (1,4-dioxane) ตอ งไมเ กนิ 860 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตรตวั บงชที้ างชีวภาพ (Biomarker)• ตรวจ 1,4-dioxane ในเลอื ดหรอื ในปส สาวะ โดยตรวจเรว็ ที่สดุ หลังสมั ผสั ภายใน 2 – 3 วนั เนอ่ื งจาก สลายตวั ไดเรว็ การตรวจ 1,4-dioxane ในปส สาวะเปนการตรวจทจ่ี าํ เพาะ (specific biomarker) ตอ การ 17

สมั ผัส 1,4-dioxane [1] หรือตรวจ metabolite คือ beta-hydoxy-ethoxyacetic acid (HEAA) ในปสสาวะ แตพบในผูสัมผัส 1,4-dioxane-2-one และ diethylene glycol ได ตรวจโดยวธิ ี gas chromatography - mass spectrometry (GC-MS) หรอื gas chromatography - flame ionization detector (GC-FID)การรกั ษา รกั ษาตามอาการไมม ียาตา นพษิ (antidote) สาํ หรบั สารน้ีขอมลู ดา นสิง่ แวดลอ ม อยใู นอากาศ ดนิ น้าํ และนา้ํ ใตดนิ ถา อยใู นนํา้ จะเสถยี รกวาในอากาศซ่ึงจะแตกตวัเปน สารประกอบหลายชนิด ไมส ามารถใชก ลน่ิ เปนเครือ่ งเตอื นอันตรายจากพษิ ไดเอกสารอา งอิง1. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for 1,4 dioxane. 2007 [cited 2010 2 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp187.html.2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.3. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007.4. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring 3rd ed. Florida: CRC Press 2001.5. International safety cards (ICSCs), 1,4 dioxane. 1993.Acetaldehydeนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชอ่ื สาร Acetaldehydeชอ่ื เรียกอนื่ ethanal, ethyl aldehyde, aldehyde C, acetic aldehydeสตู รเคมี CH3CHOCAS Number 75-07-0UN Number 1089ขนาดโมเลกุล 46.06ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวไมม ีสี ติดไฟได ละลายในน้ํา มกี ล่นิ ฉุนมากแตถ า เจอื จางลงจะมกี ล่ินเหมือนผลไม odor threshold อยูท ่ี 0.05 ppm (0.09 mg/m3) ระเหยเปน ไอท่อี ุณหภมู หิ อง เกิดในธรรมชาตอิ ยูในกาแฟ ขนมปง ผลไมส กุ และจากกระบวนการเผาผลาญอาหารของพชือันตรายทางเคมี ละลายไดใ นแอลกอฮอล ไวตอ ปฏิกริ ยิ าสูง มแี นวโนม ทจี่ ะเกดิ ปฏกิ ิรยิ าโพลิเมอร กอใหเ กดิเปอรอ อกไซด อาจเกิดปฏิกิรยิ าทรี่ นุ แรง เปนอนั ตรายเมื่อทาํ ปฏกิ ิรยิ ากับพลาสตกิ ยาง สารเคมใี นสภาพท่ีเปน ไอระเหยหรอื แกส เมอ่ื ผสมกับอากาศกอใหเกดิ การระเบดิ ไดการผลติ ไดม าจากปฏิกริ ยิ า oxidation ของ ethanolการนาํ ไปใช ใชเปนสารกงึ่ กลาง (intermediate) ของการผลติ สารเคมอี น่ื หลายชนดิ เชน acetic acid, aceticanhydride, cellulose acetate, vinyl acetate resins, acetate esters, pentaerythritol, การสงั เคราะหอนพุ นั ธข อง pyridine, terephthalic acid และ peracetic acid ใชใ นการผลติ นาํ้ หอม polyester resin สียอ มที่เปนดาง ใชเปนสารกันบูดในผลไมและเนื้อปลา ใชเปนสารแตงรสชาติ เปลี่ยนโครงสรางโมเลกุลของแอลกอฮอล เปน สว นประกอบของเชอ้ื เพลงิ ทาํ ให gelatin แข็งตวั เปน ตัวทาํ ละลายในอตุ สาหกรรมยาง ฟอกหนงั กระดาษ และทาํ กระจกเงา 18

การเขาสูรางกาย ในตบั เอนไซม alcohol dehydrogenase จะเปลีย่ น ethanol ใหเปน acetaldehyde และจะมีเอนไซม acetaldehyde dehydrogenase ที่เปล่ียน acetaldehyde ใหเปน acetic acid ในคนเอเชียตะวันออกจะมีการกลายพันธุของ gene ที่สรางเอนไซม acetaldehyde dehydrogenase ทําใหเอนไซมทํางานไดไมเต็มท่ี จึงทาํ ใหมีอาการ alcohol flush reaction และเมาคางในกลุมคนดังกลาว และacetaldehyde ยงั พบเปนสวนประกอบในบหุ รี่ โดยจะเสรมิ ฤทธข์ิ อง nicotine ทาํ ใหต ิดบหุ รี่ผลระยะฉบั พลัน ระคายเคืองตอ ดวงตา ผวิ หนงั และระบบทางเดินหายใจ ถา สดู ดมเขา ไปปรมิ าณมากทาํ ใหเกดิ ปอดบวมนาํ้ (pulmonary edema) กดการหายใจ และความดันสูงขึ้นในสัตวทดลอง ผลจากการหายใจมีโอกาสกอ พษิ นอ ยกวา จากการกนิ หรอื การสัมผัสทางผวิ หนงัผลระยะยาวหรอื การไดร ับซาํ้ ๆ อาการคลา ยคนตดิ สรุ า ทาํ ใหเกดิ มะเรง็ ที่เยือ่ บโุ พรงจมกู (nasal mucosa)และกลอ งเสยี ง (larynx) ในสตั วท ดลองคามาตรฐาน• IARC carcinogenic class 2B• OSHA PEL – TWA = 100 ppm (360 mg/m3)• ACGIH TLV - Ceiling = 25 ppm, Carcinogenicity = A3 (ACGIH 1992)• NIOSH – IDLH = 2,000 ppm (3,600 mg/m3) (NIOSH 2005)• ERPG-1 10 ppm• ERPG-2 200 ppm• ERPG-3 1,000 ppm• คาในสิง่ แวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กําหนดคาเฝาระวังสําหรับสารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทวั่ ไปใน 24 ชั่วโมง กําหนดให อะซทิ ลั ดไี ฮด (acetaldehyde)ตอ งไมเ กนิ 860 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ. 2552)ตวั บง ชที้ างชวี ภาพ (Biomarker) ไมส ามารถตรวจวดั ไดจ ากเลอื ดและทางลมหายใจการรกั ษา รกั ษาตามอาการ ไมม ยี าตา นพษิ (antidote) สาํ หรบั สารน้ีขอมูลดา นส่ิงแวดลอ ม เปน พษิ ตอ สิ่งมชี ีวติ ในนา้ํ เปน อันตรายตอแหลง น้าํ ดม่ื มีแนวโนม ในการสะสมทางชีวภาพตา่ํเอกสารอา งอิง1. http://www.epa.gov/ttn/atw/hlthef/acetalde.html [cited 2010, 5 January].2. http://msds.pcd.go.th/searchName.asp?vID=84 [cited 2010, 5 January].3. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007.4. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drugoverdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.Acroleinนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชอ่ื สาร Acroleinชอื่ เรยี กอืน่ 2-propenol, acrylic aldehyde, 2-propane-1-al, acraldehyde, propylene aldehyde 19

สตู รเคมี CH2=CHCHOCAS Number 107-02-8UN Number 1092ขนาดโมเลกุล 56.06ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวไมม ีสีหรือมีสีเหลือง มกี ลนิ่ เหม็นฉุน เผาไหมไ ดงาย กลายเปน ไอไดเรว็ กวานํ้าที่อุณหภูมหิ อง ไอระเหยหนกั กวา อากาศ เกดิ ขน้ึ ไดเ องตามธรรมชาตจิ ากน้าํ มันทีส่ กัดมาจากตน ไม เชนโอก สน ไมผลดั ใบทีข่ ึ้นอยูบรเิ วณท่รี าบสูงอันตรายทางเคมี สามารถรวมกบั สารอน่ื จนตดิ ไฟหรอื ระเบดิ ได ขึน้ กบั การใหความรอ น ทําปฏิกิรยิ ากบั กรดดา ง สาร oxidant เปน สาเหตกุ ารเกดิ เพลงิ ไหมห รอื ระเบดิ ได เกดิ จากการเผาไหมข องสารอนิ ทรยี  เชน ตน ไมยาสบู การเผาไหมเชอื้ เพลงิ และนา้ํ มนัการผลติ ไดม าจากการผลติ acrylic acid ผลติ โดยขบวนการ air oxidation ของ propylene เดิมใชการควบแนน ของ acetaldehyde และ formaldehydeการนาํ ไปใช• ใชเปนสว นประกอบของสารเคมอี ่นื และสารฆาแมลง• พบในอาหารสตั ว (ใชเ ปน กรดอะมโิ นในอาหารสตั ว)• ใชฆา เชื้อราและวชั พชื ฆา สง่ิ มีชวี ติ ในน้ําหลอเยน็ ในระบบระบายอากาศ และระบบบําบัดน้ําเสยี• ใชเ ปน slimicide ในอตุ สาหกรรมกระดาษ• ฆา สิ่งมชี วี ติ ในบอน้ํามนั และเช้อื เพลงิ ปโตรเคมีเหลว• ใชใ นการทาํ tissue fixation ในการตรวจชน้ิ เนอ้ื• เปนสารตัง้ ตนในการผลิตฉนวนกันไฟฟา เปนสารก่ึงกลาง (intermediate) ในการผลิต methionine,glutaraldehyde, allyl alcohol และ tetrahydrobenzaldehyde• เปน copolymer กบั acrylic acid, acrylonitrile, และ acrylic esters• ทาํ ปฏิกิรยิ ากบั formaldehyde, guanidine hydrochloride, ethylene diamine• ใชเปน แกส็ พษิ ในทางการทหารการเขาสูรางกาย ดดู ซมึ ทางการหายใจเอาไอระเหยเขา ไป ทางผิวหนงั และทางการกนิผลระยะฉบั พลัน นาํ้ ตาไหล ระคายเคืองอยา งรนุ แรงตอดวงตา ผวิ หนัง และระบบทางเดนิ หายใจ ถา สูดดมเขา ไปปริมาณมากทาํ ใหเกิดปอดบวมนาํ้ (pulmonary edema) อาการอาจเกดิ ภายหลงั การสมั ผสั ไดห ลายวนัผลระยะยาวหรอื การไดร บั ซา้ํ ๆ ยงั ไมทราบขอ มูลแนชดัอาการทเี่ กิดขน้ึ เมอ่ื สมั ผัสในระดบั ความเขมขนตางๆ [1]• สัมผสั ระยะส้ัน (นอ ยกวา หรอื เทา กบั 14 วนั ) ระยะเวลาในการสมั ผสั 40 นาทีระดบั ความเขม ขน ในอากาศ 0.00005 ppm = ระดับความเส่ยี งตาํ่ สดุ ตอ การเกดิ ผลตอ สุขภาพระดบั ความเขม ขน ในอากาศ 0.17 ppm = ระคายเคืองตาระดบั ความเขม ขน ในอากาศ 0.26 ppm = ระคายเคอื งจมูกระดบั ความเขม ขน ในอากาศ 0.43 ppm = ระคายเคืองคอ• สมั ผัสระยะยาว (มากกวา 14 วนั )ระดบั ความเขม ขน ในอากาศ 0.000009 ppm = ระดับความเสี่ยงตาํ่ สุดตอ การเกิดผลตอสขุ ภาพในสัตวทดลองผลระยะยาวจากการสดู ดมยงั ไมท ราบ 20

คามาตรฐาน• IARC carcinogenic group 3 (IARC 2004)• OSHA PEL (8-hr TWA) for general, construction, shipyard industry = 0.1 ppm (0.25 mg/m3) Highly hazardous chemical and threshold quantity = 150 pounds (OSHA 2005)• EPA = EPA hazard air pollutant• Regulated toxic substance and threshold quantity for accidental release prevention = 5000 pounds• Toxic end-point for accidental release prevention = 1.1x10-3 mg/L (EPA 2005)• ACGIH TLV – Ceiling = 0.1 ppm, Notation = skin, Carcinogenicity = A4 (ACGIH 1995)• NIOSH REL (10 hr-TWA) = 0.1 ppm, STEL = 0.3 ppm, IDLH = 2.0 ppm (NIOSH 2005)• คาในสิ่งแวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรือ่ ง กําหนดคาเฝาระวังสําหรับ สารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทวั่ ไปใน 24 ชั่วโมง กําหนดให อะโครลนี (acrolein) ตอ งไมเ กนิ 0.55 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ. 2552)ตัวบง ชที้ างชีวภาพ (Biomarker)• ยังไมม ีการตรวจตัวบง ชี้ทางชวี ภาพท่เี ชื่อถอื ไดส าํ หรบั acrolein การตรวจ 3-hydroxypropylmercapturic acid ในปสสาวะ ดวยวธิ ี gas chromatography (GC) พอจะใชเ ปนตัววัดการสัมผสั ได แตก็ตรวจพบได ในผทู ่กี ินยา cyclophosphamide เชนกนั• ตรวจวดั acrolein-2,4-dinitrophenylhydrazine (DNP) ดว ย High performance liquid chromatrography (HPLC) และ UV absorbency• กาํ ลงั มกี ารศกึ ษา ตรวจการจบั กบั DNA ในเซลล ดว ย antibody mediated assayการรกั ษา รกั ษาตามอาการ ใหย าตานพิษ (antidote) คือ physostigmine ถา มี anticholinergic effectขอมลู ดา นส่งิ แวดลอ ม เปนพษิ รนุ แรงตอ ส่ิงมีชวี ิตในนาํ้เอกสารอา งอิง1. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for Acrolein. 2007 [cited 2010 2 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp 124.html2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.3. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007.Acrylonitrileนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติชื่อสาร Acrylonitrileช่ือเรียกอน่ื acritet, acrylon, carbacryl, cyanoethylene, 2-propenenitrile, fumigrain, vinyl cyanideสตู รเคมี CH2=CH-CN หรอื C3H3NCAS Number 107-13-71UN Number 1093 21

ขนาดโมเลกุล 53.1ลักษณะทางกายภาพ ของเหลวไมม สี ี ระเหยไดก ล่นิ ฉุนออ นๆ กล่นิ หอมคลา ยกระเทยี ม คอยๆ เปลี่ยนเปน สีเหลืองถา ถกู แสง ระเบดิ ได ตดิ ไฟได ไอระเหยหนกั กวา อากาศและกระจายตามพน้ื ดนิอันตรายทางเคมี เม่อื ถูกความรอนจะยอ ยสลายบางสวนให cyanide (hydrogen cyanide) และ nitrogenoxide ทําปฏิกริ ิยารนุ แรงกบั กรดเขม ขน และสาร oxidants กดั พลาสตกิ และยางการผลติ ไดม าจากการทาํ ปฏิกริ ยิ า chlorination ของ benzene หรอื chlorobenzene โดยมตี ัวเรงมกั เปนferric oxide ตามดว ยการกลน่ั แบบแยกสว นหรอื การทาํ เปน ผลกึ จากสว นผสมของ chlorinated benzeneการนําไปใช ใชใ นการผลติ acrylic และ modacrylic fibers ยาง nitrile และพลาสตกิ และใชเปน สารรมควนัในการเกบ็ เมลด็ พชืการเขาสูรางกาย การสดู ดมไอระเหย ทางผวิ หนงั และการกนิผลระยะฉบั พลนั ลักษณะทางคลินิกไมจ าํ เพาะ• ไอระเหยทาํ ใหเ กิดอาการจาม เจ็บคอ เย่อื บอุ ักเสบ หายใจลําบาก• ผวิ หนงั ไหม แดง เปนตมุ น้ํา ผิวหนงั อกั เสบมักเปนหลงั จากสมั ผัสหลายชั่วโมง กอ ใหเกิดผนื่ ภมู ิแพได (allergic contact dermatitis)• ระคายเคืองตอตา ตาแดง ปวดตา และน้ําตาไหล ระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสว นลา ง• ปวดศรี ษะ เวยี นหวั คลนื่ ไส อาเจยี น ทองเสีย ออนเพลีย และหวั ใจเตน เรว็• ตับทาํ งานผิดปกติ ตวั เหลอื ง เจบ็ บริเวณตบั เบ่อื อาหาร• สงผลตอ ระบบประสาทสวนกลาง• ซดี และไตทํางานผิดปกติ• ชกั หยุดหายใจ เสียชวี ติ ในรายทีอ่ าการรนุ แรง• มผี ลตอ การเตบิ โตของทารกในครรภในสตั วท ดลองทค่ี วามเขม ขน สงูผลระยะยาวหรอื การไดรับซาํ้ ๆ กอใหเกดิ มะเรง็ ในสัตวทดลอง เพ่มิ ความเสยี่ งการเปน มะเร็งปอดคามาตรฐาน• IARC classification group 2A (probably carcinogenic to human) (IARC 1982)• OSHA PEL – TWA = 2 ppm, Ceiling = 10 ppm (OSHA 1978)• ACGIH TLV – TWA = 2 ppm (4.5 mg/m3), Notation = skin, Carcinogenicity = A3 (ACGIH 2009)• NIOSH REL – TWA = 1 ppm, Ceiling (10 min) = 10 ppm, IDIH = 85 ppm, ERPG1 = 10 ppm, ERPG2 = 35 ppm, ERPG3 = 75 ppm (NIOSH 2005)• คาในสิ่งแวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรื่อง กําหนดคาเฝาระวังสําหรับ สารอนิ ทรยี ร ะเหยงา ยในบรรยากาศโดยทวั่ ไปใน 24 ชั่วโมง กําหนดให อะครโิ ลไนไตร (acrylonitrile) ตอ งไมเ กนิ 10 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ.2552)ตัวบงชท้ี างชีวภาพ (Biomarker)• ตรวจ Acrylonitrile ในเลอื ดและปส สาวะ หรอื ตรวจ thiocyanate ในปส สาวะ <6 mg/g creatinine ในผูท ี่ ไมสบู บหุ ร่ี [1] การตรวจนไ้ี มจ าํ เพาะ สามารถถกู รบกวนจาก thiocyanate ในบหุ รี่ ในอาหาร เชน การดม่ื นม thiocyanogenic glucosides จากการกนิ กะหลาํ่ ปลี มสั ตารด หรอื cyanogenic glucosides ในเนอ้ื ใน ของลกู ไมเปลอื กแข็ง เมล็ดปอ ไผ หนอ ไม มันสาํ ปะหลงั และคนท่กี ินยาพวก sodium nitroprusside 22

• วธิ กี ารตรวจดว ย gas chromatography โดยวธิ ี nitrogen phosphorus detector (GC/NPD), gas chromatography โดยวธิ ี flame ionization detection (GC/FID), gas chromatography โดยวธิ ี mass spectroscopy (GC/MS) และ Infrared spectroscopy• Acrylonitrile ในปสสาวะจะสงู ทส่ี ุดเวลาเลกิ กะการทํางานและลดลงเรื่อยๆ จนกลับเขา กะทาํ งานอีกครงั้• Cyanoethyl mercapturic acid (CEMA) มคี า ขจดั ออกจากรา งกายครง่ึ ชวี ติ ประมาณ 8 ชว่ั โมง จงึ ตอง เก็บในปส สาวะหลังจากเรมิ่ สัมผสั acrylonitrile 6 – 8 ชวั่ โมง คาท่ไี ดคอ นขา งแตกตา งกนั ในแตล ะบุคคล จึงใชป ระเมนิ เปน รายบุคคลไมได แตใชป ระเมินในลกั ษณะรายกลมุ ได• Active metabolite ของ acrylonitrile จะจบั กับ hemoglobin ในเมด็ เลอื ดแดงเปน cyanoethyl adducts ซง่ึ จาํ นวนของ N-(2-cyanoethyl)valine adducts ท่ถี ูกปลอยจาก hemoglobin สามารถใชเ ปน ตัวบงชีก้ าร สมั ผสั acrylonitrile ในผูท่ไี มสูบบุหรไ่ี ด แตจะพบสูงในผทู ่ีสบู บหุ รต่ี ามปรมิ าณการสบู ตอ วันการรกั ษา รักษาเชนเดียวกบั ผูปว ยไดร บั พษิ ไซยาไนด (cyanide poisoning) รวมกับการให N-acetylcysteineและ thiosulfateขอ มลู ดา นสงิ่ แวดลอ ม เปนพษิ ตอส่งิ มชี ีวติ ในนาํ้เอกสารอา งอิง1. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring 3rd ed. Florida: CRC Press 2001.2. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for acrylonitrile. 1990 [cited 2010 11 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp 125.html.3. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.4. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007.5. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. The chemical incident management handbook. London: The Stationery Office 2000.Ammoniaนพ.ววิ ัฒน เอกบูรณะวัฒนชือ่ แอมโมเนยี (Ammonia) ||||| ชื่ออื่น Anhydrous ammoniaสตู รโมเลกุล NH3 ||||| นํา้ หนกั โมเลกลุ 17.03 ||||| CAS Number 7664-41-7 ||||| UN Number 1005ลักษณะทางกายภาพ ในบรรยากาศปกตจิ ะมสี ถานะเปนแก็ส ไมม สี ี มีกลนิ่ ฉุนคลา ยกล่ินปส สาวะ หากเก็บอยใู นถงั อดั ความดนั จะมสี ถานะเปน ของเหลวคาํ อธบิ าย แอมโมเนยี เปนแกส็ ทมี่ กี ารใชใ นอุตสาหกรรมหลายประเภท ท่ีพบไดบ อ ยคือใชเ ปน สารทาํ ความเยน็ (refrigerant) ในอุตสาหกรรมหอ งเย็น และโรงงานทาํ น้าํ แข็ง นอกจากนย้ี ังใชเปนสารต้ังตน ในการผลิตปุยสารทําความสะอาด และยงั เปนสารต้ังตนในการผลิตยาบา (methamphetamine) แอมโมเนยี เปน แก็สท่ีไมม สี ีแตมกี ล่ินฉุนแสบ มีฤทธ์ริ ะคายเคืองตอ ระบบทางเดนิ หายใจอยา งรนุ แรง แกส็ มีคุณสมบัติละลายนํ้าไดด ีมากทําใหออกฤทธไิ์ ดอยางรวดเรว็ ทนั ทีหลังการสูดดมเขา ไปคามาตรฐานในสถานที่ทํางาน ACGIH TLV (2011): TWA = 25 ppm, STEL = 35 ppm ||||| NIOSHREL: TWA = 25 ppm (18 mg/m3), STEL = 35 ppm (27 mg/m3), IDLH = 300 ppm ||||| OSHA PEL: 23

TWA = 50 ppm (35 mg/m3) ||||| ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื งความปลอดภยั ในการทาํ งานเกย่ี วกบัภาวะแวดลอ ม (สารเคมี) พ.ศ. 2520: TWA = 50 ppm (35 mg/m3)แหลงที่พบ สามารถพบแอมโมเนยี ในระดบั ตาํ่ ๆ เกดิ ขน้ึ ไดเ องจากกระบวนการเนา เปอ ยยอ ยสลายของ ซากพชื ซากสัตว มลู สตั ว และสง่ิ ปฏิกลู ตา งๆ ตามธรรมชาติ สาํ หรบั การใชใ นอตุ สาหกรรมทพ่ี บไดบ อ ยคอื ใชเ ปนสารทาํ ความเยน็ (refrigerant) ในอุตสาหกรรมหองเย็นและโรงงานทํานาํ้ แข็ง ใชเปน สว นประกอบของปุย อยูในสูตรนาํ้ ยาทําความสะอาดบางชนิด และใชเปนสารตัง้ ตน ในการลกั ลอบผลิตยาบา (methamphetamine)การสมั ผสั แอมโมเนยี ในงานอตุ สาหกรรม หากเกดิ การรว่ั ไหลขน้ึ มโี อกาสทจ่ี ะไดรับแก็สนใี้ นปริมาณความเขม ขนสงู และกอใหเ กดิ อนั ตรายรุนแรงได ในทางการแพทย ใชสารละลายแอมโมเนยี ความเขม ขน ตํ่าๆ ผสมกับสารมีกลิ่นอืน่ ๆ เพอ่ื ใหผ ูปว ยดมแกว งิ เวียน (แอมโมเนยี หอม) นอกจากแหลงที่กลาวมาขางตน แลว ยังอาจพบแอมโมเนยี ความเขม ขนตาํ่ ๆ ไดในควนั บหุ ร่อี กี ดวยกลไกการกอ โรค แอมโมเนยี ละลายนํา้ ไดดมี ากและเรว็ มาก เมอ่ื สัมผัสกับนา้ํ ทหี่ ลอ เล้ยี งเยอื่ บสุ ว นตางๆ ของรา งกาย เชน เยอ่ื บตุ า เยอ่ื บจุ มกู เยอ่ื บทุ างเดนิ หายใจ แอมโมเนยี (NH3) จะทําปฏกิ ิริยากับนํา้ (H2O) และไดสารทม่ี ฤี ทธิ์เปนดา งคือ แอมโมเนียมไฮดรอกไซด (NH4OH) ซง่ึ จะกดั กรอ นทาํ ลายเนอ้ื เยอ่ื ออ นของรา งกายไดการเตรยี มตวั เมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ เหตกุ ารณแก็สแอมโมเนยี รั่วพบไดบอย โดยเฉพาะจากโรงงานทาํ นาํ้ แข็งและหอ งเย็นตางๆ ผูปฏบิ ตั งิ านทางการแพทยฉุกเฉินควรเตรยี มความพรอ มรับมือเหตุการณรวั่ ไหลของแกส็ชนดิ นี้ไว แอมโมเนยี เมื่อร่วั จะสง กลิ่นฉนุ รนุ แรง ทาํ ใหผปู ระสบภยั มกั รตู ัวไดเ รว็ การระเบดิ ในอากาศจะเกดิ ไดก็ตอ เมือ่ ความเขม ขน ของแกส็ ในอากาศสูงมาก จงึ มโี อกาสเกดิ ระเบิดข้นึ ไดแ ตไ มบ อ ยนกั หนว ยกูภัยควรใสชดุปอ งกนั ในระดบั ที่เหมาะสม ถาการร่วั ไหลในปรมิ าณสงู แนะนําใหใ สช ุดปอ งกันทมี่ ีถงั บรรจุอากาศในตวัอาการทางคลนิ กิ• อาการเฉียบพลนั การสดู ดมแกส็ แอมโมเนยี เขา ไปจะทาํ ใหเ นอ้ื เยอ่ื รา งกายถกู ดา งกดั กรอ น อาการมกั เกิดขนึ้ ทันทที สี่ ัมผสั อาการทีพ่ บไดแ ก แสบตา แสบจมูก แสบคอ ไอ แนน หนา อก หากสมั ผสั ในปรมิ าณ สงู จะทําใหทางเดนิ หายใจบวม เรมิ่ แรกจะมอี าการเสยี งแหบ ไอเสียงทุม (croup-like cough) และฟง ปอด ไดเสียงทมุ (stidor) จากนน้ั จะทาํ ใหเ กดิ การบวมและอดุ กน้ั ของทางเดนิ หายใจสว นบนได (upper airway obstruction) ทางเดนิ หายใจสวนลางจะทําใหห ลอดลมตีบ (bronchospasm) ตรวจรา งกายจะพบเสียงวดี๊ (wheezing) หากสมั ผสั ในปรมิ าณสงู มากๆ จะทาํ ใหเ กดิ ภาวะปอดบวมนาํ้ (pulmonary edema) และถงึ แกช วี ติ ได การสมั ผสั ทต่ี าถา แกส็ มคี วามเขม ขน สงู มากกอ็ าจกดั กรอ นกระจกตาอยา งรนุ แรง แตโ อกาส เกิดนอยกวา การสัมผสั ในรปู สารละลาย การสมั ผสั ทผี่ ิวหนงั ทําใหแ สบไหมไดเชนกัน• อาการระยะยาว หากการสัมผัสในระยะเฉียบพลนั น้ันรุนแรง สัมผสั ในปรมิ าณสงู มาก จนเนอ้ื เยอ่ื ปอด ถกู ทําลายถาวรแลว กอ็ าจทาํ ใหผปู ว ยเกดิ อาการหอบเหน่อื ยจากปอดเปน พังผืดในระยะยาวได การ สมั ผัสในปรมิ าณสูงในครั้งเดียวอาจทําใหเ กดิ เปนโรคหอบหืดขนึ้ การสมั ผัสท่ีตาอาจกดั กรอ นกระจกตา จนมปี ญ หาการมองเหน็ ในระยะยาว สวนพิษในการกอ มะเรง็ และการกอผลตอบตุ รในคนตงั้ ครรภนน้ั ยัง ไมมขี อมูลชัดเจนการตรวจทางหองปฏิบัติการ การตรวจระดับแอมโมเนียในเลือดเพือ่ ยืนยันการสัมผัส อาจพบระดับแอมโมเนยี ในเลอื ดทส่ี งู ขน้ึ ได (ระดบั ปกติ 8 – 33 micromol/L) แตก ไ็ มไ ดเปนตวั ทาํ นายระดบั การเกิดพิษการวนิ จิ ฉยั โดยท่วั ไปอาจไมจาํ เปนตอ งตรวจระดบั แอมโมเนยี ในเลือด เนื่องจากหากมีประวัติการสัมผัสที่ชดั เจน รว มกบั มกี ลน่ิ แอมโมเนยี ซงึ่ เปนสารทม่ี ีกล่ินเฉพาะตดิ มากบั ตวั ผูป ว ย ก็สามารถวินิจฉยั ไดคอนขา งชดัแลว การตรวจอน่ื ๆ ทเี่ ปนประโยชนไดแกการตรวจ ระดับเกลอื แรในเลอื ด (serum electrolyte) ระดับแกส็ ในหลอดเลอื ดแดง (arterial blood gas) ระดบั ออกซเิ จนในเลอื ด (pulse oximetry) ควรตรวจถา ยภาพรงั สที รวงอก (chest X-ray) เพ่อื คนหาภาวะปอดบวมนา้ํ เฉยี บพลันดว ย 24

การดแู ลรกั ษา• ปฐมพยาบาล นาํ ผปู วยออกจากจุดเกิดเหตใุ หเ รว็ ทส่ี ุด ทาํ การลางตัวดว ยนาํ้ เปลา ตามความเหมาะสม สงั เกตดปู ญ หาการหายใจ หากเริ่มมีปญ หาการหายใจลม เหลว จากทางเดนิ หายใจตบี แคบ ทมี กชู พี อาจ พจิ ารณาใสท อชว ยหายใจเพอื่ รักษาชวี ติ หากรูสติดเี พยี งแตห ายใจเร็วควรใหอ อกซิเจนเสรมิ หากมกี าร สมั ผสั ท่ีดวงตา มอี าการแสบตามาก ควรรีบลางตาดว ยนา้ํ เปลา ใหม ากทส่ี ดุ กอนสงพบแพทย• การรกั ษา อันดบั แรกควรตรวจสอบระบบการหายใจของผปู ว ยวาปกตหิ รือไม หากพบภาวะทางเดิน หายใจอดุ กั้นควรรบี ใสท อชว ยหายใจเพ่อื รกั ษาชวี ิตของผูปว ย เยือ่ บุทางเดินหายใจสว นบนเมอ่ื เกดิ อาการบวมมากแลว จะทาํ ใหใ สท อ ชว ยหายใจไดย าก จงึ ควรรบี ตรวจและตดั สนิ ใจดาํ เนนิ การ จากนน้ั ทาํ การสงั เกตอาการอยา งตอ เนอ่ื ง ตรวจวดั สญั ญาณชพี วดั ระดบั ออกซเิ จนในเลอื ด ใหอ อกซเิ จนเสรมิ ใหอ ยู ในทโ่ี ลง อากาศถา ยเทดี หากมอี ากาศหายใจมเี สยี งวด๊ี พจิ ารณาใหยาขยายหลอดลม ตรวจรา งกายและ ถา ยภาพรังสที รวงอกเพ่ือคนหาภาวะปอดบวมนํ้า หากเกดิ ขึ้นใหทาํ การแกไ ข แอมโมเนยี นน้ั เปน แก็สท่ี เกดิ พษิ เรว็ หากสมั ผสั แลว เกดิ อาการกม็ กั จะเกดิ ภายในระยะเวลาไมน าน ผปู ว ยควรไดร บั การสงั เกต อาการระยะหนง่ึ หากมอี าการไมม ากนกั อาจแนะนําใหกลบั ไปสงั เกตอาการตอ ทบ่ี า นได แตห ากมอี าการ รนุ แรง เชน ปอดบวมนาํ้ ควรรบั ไวร กั ษาในโรงพยาบาล ไมม ยี าตา นพษิ (anti-dote) สาํ หรบั แกส็ แอมโมเนยี การลา งไต (dialysis) หรอื วธิ กี ารขจดั พษิ วธิ อี น่ื ๆ ยงั ไมม รี ายงานวา มบี ทบาทในการรกั ษา หากเกดิ อาการทางตาควรลา งตาใหน านท่ีสดุ ตรวจดวู า มกี ารกดั กรอ นกระจกตาหรอื เนอ้ื เยอ่ื ของตาในชน้ั ลึกกวา นน้ั เกดิ ขึน้ หรือไม หากไมแ นใ จ ผูปว ยมอี าการแสบตามาก ควรปรกึ ษาจกั ษแุ พทย เพอ่ื ทาํ การ ยอ มกระจกตาดว ยสี fluoresceine ตรวจดูรอยโรคใหช ัดเจนขึ้นการปอ งกนั และเฝา ระวงั การปองกันท่ีดที ่สี ุดคอื ลดการสมั ผสั ตามหลักอาชวี อนามัย ใชระบบปด ควบคมุ ท่ีแหลง กาํ เนดิ ใหความรแู กพ นกั งานท่ตี อ งทาํ งานกบั แกส็ ชนดิ น้ี หองเย็นและโรงน้ําแข็งควรตรวจสอบระบบทาํความเย็นใหอ ยใู นสภาพดีอยา งสมาํ่ เสมอ การเฝาระวังควรตรวจสขุ ภาพโดยเนน ดแู ลระบบทางเดินหายใจเอกสารอา งอิง1. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.2. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. Chemical Incident Management Handbook. London: The Stationery Office 2000.Arsenicพญ.เกศ สัตยพงศชอื่ สารหนู (arsenic) ||||| ชือ่ อ่ืน arsenic black, arsenic-75, colloidal arsenic, grey arsenic, metallicarsenic ||||| แกส็ ทเ่ี กดิ จากสารหนู แก็สอารซ นี (arsine gas; AsH3)สัญลกั ษณอะตอม As ||||| CAS Number 7440-38-2 ||||| UN Number 1558ลักษณะทางกายภาพ สารหนูในรูปธาตุบริสุทธ์ิ (elemental form) เปน โลหะสีเทาเงนิ มนั วาว คอนขางเปราะสารประกอบของสารหนู (amorphous form อาจมีสีเหลอื ง หรือดาํ ) สว นใหญอยูในรปู ผงหรือผลกึ ซ่ึงไมม ีสี ไมมกี ลิน่ ไมม รี ส บางครงั้ อาจอยใู นรูปผงสีเทาดาํ ผวิ ที่มันวาวเม่ือสมั ผสั กับออกซิเจนจะเปนสดี ําดาน สวนarsenic trichloride และ arsenic acid มีลกั ษณะเปนของเหลวคลา ยน้าํ มนั ความดนั ไอตํา่ มาก ประมาณ 1 25

mmHg (ทอ่ี ณุ หภมู ิ 372 องศาเซลเซยี ส) นาํ้ หนกั อะตอม 74.92 มี valency ท่ีสาํ คญั คอื 3 (trivalent arsenic,As III) และ 5 (pentavalent arsenic, As V)คาํ อธบิ าย สารหนู พบไดใ นหลายรปู แบบ ไดแก ในรปู ธาตบุ รสิ ทุ ธ์ิ (elemental arsenic) สารประกอบเกลอือนนิ ทรยี ข องสารหนู (inorganic salts) และสารประกอบเกลอื อนิ ทรยี ข องสารหนู (organic salts) สารหนใู นรปู ของธาตุบริสทุ ธ์ิ มีความเปนพิษนอยกวาในสารหนูในรูปสารประกอบ ความเปนพิษเฉียบพลันยังขึ้นกับวาเลนซอี กี ดว ย กลา วคอื สารหนวู าเลนซี 3 มีความเปนพษิ สงู ทส่ี ุด สามารถละลายในไขมันไดด ี ดูดซมึ ผานผวิ หนังไดดแี ละจับกบั sulphydryl groups ไดด ี สว นสารหนวู าเลนซี 5 แมม ีความเปน พษิ นอ ยกวา เพราะความสามารถในการละลายต่ํากวา แตเมอ่ื เขารางกายแลว จะถกู เปล่ยี นเปน สารหนู วาเลนซี 3 และถกู ดูดซึมในทางเดนิ อาหารไดคามาตรฐานในสภาพแวดลอ มการทาํ งาน ACGIH TLV 8-hour TWA = 0.01 mg/m3คามาตรฐานสิ่งสงตรวจทางชวี ภาพ ACGIH BEI (กรณวี ดั การสมั ผสั arsenic, elemental and solubleinorganic compounds) รายการทส่ี ง ตรวจคอื inorganic arsenic plus methylated metabolites in urine โดยเกบ็ วนั สดุ ทา ยของสปั ดาหก ารทาํ งาน (end of workweek) คาทก่ี าํ หนดคอื 35 µg As/Lการกอ มะเรง็ IARC Classification = Group 1 (เปนสารท่ียนื ยนั ชัดเจนวากอ มะเรง็ ) (skin, respiratory tract,liver), ACGIH Carcinogenicity = A1 (confirmed human carcinogen), OSHA = CA, NIOSH = CAแหลงทพ่ี บ ในสิง่ แวดลอม สารหนอู นินทรียท่เี กดิ จากอตุ สาหกรรม เหมืองแร อาจปนเปอนในสิ่งแวดลอมไดโดยสามารถสะสมในดนิ ตะกอนดนิ และนาํ้ ตลอดจนหว งโซอ าหารสมู นษุ ย ตวั อยา งเชน การปนเปอ นในแหลงนา้ํ บรโิ ภคในภาคใตข องประเทศไทย (อาํ เภอรอ นพิบลู ย จงั หวัดนครศรธี รรมราช) นอกจากนม้ี นษุ ยอ าจรับประทานพชื ผลทีป่ นเปอนสารกําจัดศตั รพู ชื ทม่ี ีสว นประกอบของสารหนู หรือมีสารหนูปนเปอนในสารเติมแตง ในอาหารเล้ียงสัตวประเภทหมแู ละเปดไก สําหรบั สารหนใู นอาหารทะเลนัน้ เปน สารหนูอินทรีย ไมม พี ษิ ตอมนุษย นอกจากนีย้ ังมีกรณีผปู ว ยท่ไี ดร ับสารหนจู ากการกนิ ยาตม ยาหมอ (ทงั้ แผนไทยและแผนจีน) ทมี่ ีการผสมสารหนลู งไปในยาอกี ดว ยอุตสาหกรรมทพี่ บได พบไดมากในงานหลอมโลหะ หรือถลุงแร เชน เหมอื งดีบกุ อตุ สาหกรรมผลติ สารเคมีกําจัดศตั รูพชื และสัตวทใ่ี ชส ารหนูเปน สวนผสม นอกจากนี้ มีการใชส ารหนแู ละสารประกอบของสารหนู ในการผลติ อลั ลอยด (alloys) แบตเตอร่ี ทห่ี ุมสายเคเบิล ผสมในสี อตุ สาหกรรมแกว ใชในการฟอกหนัง สารถนอมไมห รอื รกั ษาเนอื้ ไม สว นแก็สอารซ นี (arsine) ใชม ากในอตุ สาหกรรมชน้ิ สว นอเิ ล็กทรอนิกสกลไกกอ โรค สารหนอู นนิ ทรยี  วาเลนซี 3 เมือ่ เขาสรู า งกายจะจบั กับ sulfhydryls groups ภายในเซลล และกอ ใหเ กดิ การยบั ยง้ั เอนไซมต า งๆ ในเซลล (ซงึ่ เกีย่ วขอ งในกระบวนการ cell respiration, glutathionemetabolism, การซอ มแซม DNA) สว นสารหนอู นนิ ทรยี  วาเลนซี 5 และแกส็ arsine เมอ่ื เขาสรู า งกายจะกลายเปนวาเลนซี 3 ทําใหเกิดผลตามกลไกดังกลาว จากนั้นสารหนู วาเลนซี 3 จะถูก metabolizedกลายเปน DMA (dimethylarsinic acid) และ MMA (monomethylarsonic acid) ซ่ึงถูกขับออกทางปส สาวะอาการทางคลินกิ พษิ ของสารหนอู นนิ ทรยี จ ากการกนิ มกั เปน ชนดิ วาเลนซี 3 ซงึ่ ละลายน้ําไดดี เมอ่ื ถูกกรดจะเกิดเปน แกส็ พษิ อารซ นี (arsine) ซึง่ ระคายเคอื งมาก และทําใหอาการพษิ รุนแรงขน้ึ สว นสารหนูชนดิสารประกอบอินทรียซ ึ่งอยใู นอาหารทะเล ไมถกู ดูดซึมเขา สรู างกาย จะถกู ขบั ออกทางอจุ จาระ จงึ ไมเ กดิ พษิอวยั วะเปา หมายของสารหนคู อื ทางเดนิ อาหาร หวั ใจ สมอง และไต รองลงมาคอื ไขกระดกู มาม และระบบประสาทสว นปลาย (peripheral nervous system) 26

พษิ เฉียบพลัน• หากรับสัมผสั ทางการหายใจ จะทาํ ใหร ะคายเคืองเยอ่ื บทุ างเดนิ หายใจสว นตน อาจเร่ิมจากอาการไอ เจบ็ คอ หายใจลาํ บาก ในรายทเ่ี ปน รนุ แรงอาจเกดิ คออกั เสบ (pharyngitis) ปอดบวมนา้ํ (pulmonary edema) อาจถึงขน้ั ระบบหายใจลม เหลว (respiratory failure) นอกจากนย้ี งั เกดิ พิษแบบ systemic ไดด ว ย• หากรบั สมั ผัสทางผิวหนงั จะทาํ ใหระคายเคือง และกัดกรอ นผวิ หนงั เกิดผ่ืนผิวหนงั อักเสบ (dermatitis) กรณสี ารหนู วาเลนซี 3 ซ่ึงละลายในไขมันไดด ี จะถกู ดูดซมึ ผา นผวิ หนัง ทาํ ใหเ กดิ พิษแบบ systemic ได ดวย• หากสมั ผสั ถูกตา จะทําใหระคายเคือง และกดั กรอ นอยา งมาก ทาํ ใหเ กดิ เยอ่ื บตุ าอกั เสบ (conjunctivitis) มอี าการคนั ตา แสบตา นาํ้ ตาไหล อาจมอี าการตาสแู สงไมไ ด หรอื มองภาพไมช ดั ตามมาได• หากรบั สมั ผสั ทางการกนิ จะเกดิ อาการแสบรมิ ฝป าก ลมหายใจมกี ลน่ิ คลา ยกระเทยี ม รสู กึ ตบี ภายใน ลาํ คอ กลืนลําบาก ตอ มามอี าการปวดทอง คล่ืนไส อาเจยี นพงุ ถายอุจจาระเปน เลือด หรือเปนสีเหมอื น นาํ้ ซาวขา ว อาการดงั กลา วเกดิ ไดภ ายใน 30 นาที หรอื เปน ชว่ั โมง นอกจากนย้ี งั เกดิ พษิ แบบ systemic ไดด ว ย• พิษแบบ systemic ไดแ ก กลา มเนือ้ เปนตะคริว ผวิ หนงั เย็นช้ืน มีอาการสูญเสียนาํ้ และเกลือแร หรอื สญู เสยี เลือด อาจถึงข้นั ชอ็ กได เมื่อตรวจคล่ืนไฟฟาหวั ใจ อาจพบลักษณะหัวใจเตน เรว็ ventricular fibrillation หรอื ventricular tachycardia อาจพบ QT prolong หรอื T-wave เปล่ียนแปลงได รายท่ีเปน รนุ แรง อาจโคมา ชกั และเสียชีวติ ไดภายใน 24 ช่วั โมง แตในรายทพ่ี นชว งวิกฤต อาจมคี วามผิดปกติ ของเสน ประสาทสวนปลาย (delayed peripheral neuropathy) เกิดขนึ้ หลงั จากนั้นหลายสัปดาหไ ด โดยมี ลักษณะชาสวนปลายแบบสมมาตร (symmetric distal sensory loss) มกั เกดิ กบั สว นขามากกวา แขน• หากรบั สัมผัสแก็สอารซ นี (arsine) จะมีอาการปวดศีรษะ คล่ืนไส แนนหนาอก มผี ลใหเ ม็ดเลอื ดแดงแตก (intravascular hemolysis) อาจมปี สสาวะเปนเลอื ด (hematuria) และภาวะไตวายเฉียบพลันแบบ acute tubular necrosis หากมลี กั ษณะครบ 3 อาการ (triad) ไดแก ปวดทอ ง ดีซาน และปสสาวะออกนอ ย จะ ยงิ่ บง ช้ถี งึ การสมั ผัสแกส็ อารซ นี มากขน้ึ แกส็ อารซ นี ในระดบั ความเขม ขน เพยี ง 10 ppm สามารถทาํ ให เกดิ อาการสบั สน (delirium) โคมา และเสยี ชวี ติ ไดพษิ เรอ้ื รัง• อาการทพี่ บไดบอยคือ ผลตอระบบผวิ หนัง ไดแ ก ผิวหนังหนาแข็ง (hyperkeratosis) หรอื มีลกั ษณะ raised punctuate หรอื verrucous มักพบทฝี่ า มือฝา เทา ซึง่ เรยี กวา “Arsenical keratoses” บางรายเกดิ เปน แผลเร้ือรัง หรอื กอนทผ่ี ิวหนงั ซ่ึงอาจเปนรอยโรคมะเรง็ ผวิ หนงั ชนดิ ตางๆได (เชน Bowen disease, basal cell carcinoma, squamous cell carcinoma) นอกจากน้ยี งั พบลักษณะผิวหนังสเี ขมขนึ้ (hyperpigmentation) มักเหน็ เปนสีคลา ยทองแดง (bronze) กระจายโดยทว่ั สลับดวยหยอ มของสีผิวท่ี ออ นกวา ปกติ เล็บอาจมลี ักษณะเปราะ และมขี ีดขาวทีเ่ ลบ็ (เรยี กวา Mee’s line) อาจมผี มรว งได• ผลเฉพาะที่ ตอระบบทางเดินหายใจสว นตน คอื ทําใหเจ็บคอ ไอมีเสมหะ และทําใหผนังกน้ั โพรงจมูกเปน แผลหรือทะลไุ ด• ผลตอ ระบบประสาท คอื มอี าการชาจากความผดิ ปกตขิ องเสน ประสาท (peripheral neuritis and neuropathy) ในรายทเ่ี ปน มาก อาจมอี าการกลา มเนอ้ื ออ นแรงรว มดว ย• ผลตอระบบอืน่ ๆ ไดแก ตับโต ดีซา น ไตวาย อาจทาํ ใหก ลา มเนื้อหัวใจอักเสบ (myocarditis) มผี ลตอ ระบบโลหติ โลหติ จาง (เกดิ ภาวะ pancytopenia, aplastic anemia, leukemia) นอกจากนม้ี รี ายงานวา 27

ทาํ ใหห ลอดเลอื ดสว นปลายหดตวั (vasospasm) และเนอ้ื ตาย (gangrene) เรยี กวา “black foot disease” ซ่ึงเคยพบในผรู บั สมั ผสั สารหนจู ากสง่ิ แวดลอ ม• สารหนมู คี ุณสมบตั ิเปนสารกอ กลายพนั ธุ สารกอลูกวริ ปู (fetotoxicity) และกอมะเรง็ ผวิ หนงั มะเร็งปอด มะเรง็ เมด็ เลอื ดขาว (leukemia) มะเรง็ ตอมน้ําเหลือง (lymphoma) และมะเรง็ หลอดเลอื ดของตบั (angiosarcoma of liver)• สารหนสู ามารถผา นรกได ทาํ ใหเ กดิ ผลตอ ทารกในครรภ ทารกมภี าวะนาํ้ หนกั แรกคลอดนอ ย หรอื เกดิ ความผิดปกติในครรภไ ด (congenital abnormalities)การสงตรวจทางหองปฏบิ ัติการ• คาปกตขิ องระดบั สารหนใู นเลอื ด คือ 10 µg/L แตเ นอ่ื งจากสารหนใู นเลอื ดถกู กาํ จดั ออกไดเ รว็ จงึ นยิ ม ตรวจระดบั สารหนใู นปส สาวะมากกวา (total urine arsenic level) ในคนทว่ั ไป สามารถตรวจพบระดบั สารหนใู นปสสาวะ 24 ชวั่ โมง ไดใ นปริมาณนอยกวา 10 µg/gCr (เนอ่ื งจากเปน background exposure จากอาหาร) ผทู ส่ี มั ผสั สารหนจู ากการทาํ งานในปรมิ าณ 0.01 mg/m3 จะมีคา ระดบั สารหนใู นปสสาวะ ประมาณ 50 µg/gCr สวนรายทเ่ี ปนพษิ เฉียบพลนั มกั มีระดบั สารหนูสงู กวา 1000 µg/gCr• ขอ ควรระวงั คอื การรบั ประทานอาหารทะเล อาจทาํ ใหต รวจพบระดบั สารหนโู ดยรวม (total arsenic) สงู ขึ้นได เนอื่ งจากมีสารประกอบสารหนอู นิ ทรีย (ซง่ึ ไมม ีพษิ ตอรา งกาย) ปนอยใู นอาหารทะเลโดย ธรรมชาติ ในกรณที ต่ี อ งการเจาะจงตรวจระดบั สารหนอู นนิ ทรยี  สามารถสง ตรวจคา DMA, MMA (ซึ่งเปน metabolites ของสารหนอู นนิ ทรยี ) แทน total arsenic ได• รายทเ่ี กิดพิษแบบ systemic โดยเฉพาะการรบั สมั ผสั สารหนทู างการกนิ สามารถตรวจพบสารหนสู ะสม ในเสน ผมหรอื เลบ็ ได• CBC, blood smear (เพอ่ื ดู basophilic stripling), electrolytes, glucose, BUN, creatinine, liver enzymes, CPK, UA, EKG, x-ray abdomen & chest, nerve-conduction studies, tissue biopsy (เพอื่ ตรวจหามะเรง็ )การดแู ลรกั ษา• กรณสี มั ผสั ทางการสดู หายใจ ให maintain airway ให oxygen และดแู ลการหายใจตามอาการและความ รนุ แรง เฝา ระวงั การเกดิ chemical pneumonitis• กรณีสัมผสั ทางผิวหนงั และเยอื่ บตุ างๆ ใหถ อดเครอื่ งนุงหมทป่ี นเปอ นออกใหหมด และลา งดว ยน้ําสะอาด หรอื normal saline ปรมิ าณมาก หากเกดิ แผลไหม ใหร กั ษาแบบเดยี วกบั แผลไฟไหม หากเขา ตา เมอ่ื รักษาเบอ้ื งตน แลว ควรสงตอ ใหจ ักษแุ พทยด แู ลรักษาตอ• กรณกี ลืนกนิ ใหท ํา gastric lavage ไดห ากยงั กินมายงั ไมเกิน 1 ช่ัวโมง• นอกจากการดแู ลรกั ษาเฉพาะระบบแลว ควร monitor EKG และติดตามดูการทํางานของไตและตบั รวมถงึ แกไ ขภาวะ electrolyte imbalance อาจสง ตรวจระดบั สารหนใู นเลือดหรือในปส สาวะเปน ระยะ• เม่อื ระดับสารหนูในปส สาวะสงู กวา 200 µg/L ควรทาํ การ chelate• DMPS เปน treatment of choice ขนาดทใี่ หสาํ หรับภาวะพษิ เฉยี บพลนั คอื 100 – 300 mg กนิ ทกุ 2 ช่ัวโมง ในวันแรก จากนัน้ 100 mg กนิ ทกุ 4 – 8 ชั่วโมง หากใหแ บบ intravenous ขนาดคอื 5 mg/kg ทกุ 4 ชั่วโมงในชว ง 24 ชัว่ โมงแรก จากนั้นใหท งิ้ ชว งเปนทกุ 6, 8, 12 ชว่ั โมงโดยพจิ ารณาตามอาการ ของผูปวย สําหรบั กรณีพษิ เรือ้ รงั ควรใหก ิน 100 mg วันละ 3 เวลา ทั้งนค้ี วรใหการ chelate ไปจนกวา จะตรวจพบระดบั สารหนูในปสสาวะตํา่ กวา 200 µg/L• สารอนื่ ๆทใ่ี ช chelate ไดแ ก dimercaprol และ penicillamine 28

• ขนาดของ dimercaprol คอื 3 mg/kg ฉดี เขา กลา ม (ควรฉีด gluteal) ทกุ 4 ชวั่ โมงในชวง 2 วนั แรก จากนน้ั ทกุ 12 ชั่วโมงไปอกี 7 วนั จนอาการปกตหิ รอื จนระดบั สารหนใู นปส สาวะ 24 ช่วั โมงตาํ่ กวา 50 µg/L ทั้งน้ี side effect ของ dimercaprl ทพี่ บไดคือผ่นื urticaria อาการแสบรมิ ฝป ากและในลาํ คอ ไข ปวดศีรษะ เยือ่ บตุ าอักเสบ ตะครวิ ซง่ึ แกไ ขไดด ว ยการลดขนาดยา demercaprol ท่ีให• Penicillamine มี side effect นอ ยกวา (อาจเกดิ ไข, ผนื่ , leukopenia, eosinophilia, thrombocytopenia) มักใหรว มกับ dimercaprol ขนาดทีใ่ หคือ 500 mg กนิ ทกุ 6 ชวั่ โมง และสามารถใหซ ้าํ ไดอกี หลงั จาก 5 วนั หากอาการมากข้นึ หรอื ระดับสารหนสู งู ขึน้เอกสารอา งอิง1. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007.2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.Benzeneนพ.วิวัฒน เอกบรู ณะวัฒนช่ือ เบนซนี (Benzene)ชอ่ื อื่น Phenyl hydride, Benzohexatriene, Benzol, Pyrobenzole, Coal naphthaสตู รโมเลกุล C6H6นํา้ หนักโมเลกุล 78.1CAS Number 71-43-2UN Number 1114ลักษณะทางกายภาพ ของเหลว ไมม ีสี มกี ลนิ่ หอมอโรมาติก ระเหยเปน ไอไดงา ยคําอธบิ าย เบนซนี (benzene) เปนตัวทําละลายกลมุ อโรมาตกิ ชนดิ หนึง่ ลักษณะใสไมม ีสี ทค่ี วามเขม ขน ตา่ํ ๆจะมกี ลน่ิ หอม ในอดตี นยิ มใชเ ปน ตวั ทาํ ละลายในอตุ สาหกรรมหลายชนดิ สารเบนซนี มีคุณสมบตั กิ ดไขกระดกูและกอมะเร็งเม็ดเลือดขาวในมนุษย ปจจุบันจึงมีการใชนอยลง แตย งั สามารถพบไดใ นอตุ สาหกรรมบางประเภท และการปนเปอ นในสิ่งแวดลอ มคามาตรฐานในสถานที่ทํางาน ACGIH TLV – TWA 0.5 ppm, STEL 2.5 ppm ||||| NIOSH REL – Ca,TWA 0.1 ppm, STEL 1 ppm ||||| OSHA PEL – TWA 1 ppm, STEL 5 ppm ||||| IDLH 500 ppm |||||กฎหมายแรงงานไทย TWA 10 ppm, Ceiling 25 ppm, Maximum 50 ppm in 10 minutesคามาตรฐานในสิ่งแวดลอม EPA NAAQS – N/A ||||| กฎหมายสงิ่ แวดลอมไทย – มาตรฐานคา สารอนิ ทรยี ระเหยงา ยในบรรยากาศทว่ั ไปในเวลา 1 ป ตองไมเกิน 1.7 ug/m3คามาตรฐานในรา งกาย ACGIH BEI – S-Phenylmercapturic acid ในปสสาวะหลงั เลิกงาน 25 ug/g Cr,t,t-Muconic acid ในปส สาวะหลงั เลกิ งาน 500 ug/g Crคณุ สมบัติกอ มะเร็ง IARC Group 1 ||||| ACGIH A1 Carcinogenicityแหลง ท่ีพบในธรรมชาติ• โดยปกติไมพบในธรรมชาติทัว่ ไป เบนซีนเปนสวนผสมหนึง่ อยูใ นน้ํามันดิบ เปนผลผลิตที่ไดจ าก กระบวนการปโตรเคมี แตอ าจพบปนเปอ นในธรรมชาตไิ ด [1]• สามารถพบไดใ นมวนบุหรี่ [1] 29

อุตสาหกรรมทใ่ี ช• เปน สารทไ่ี ดจ ากกระบวนการกลน่ั นาํ้ มนั แกส็ ธรรมชาติ และน้ํามนั ดิน• เปน สวนผสมอยใู นน้าํ มันแกส็ โซลนี (gasoline)• ในอดตี เปน ตัวทําละลายท่ีผสมอยูในผลติ ภัณฑห ลายชนดิ เชน สี หมึก ทนิ เนอร ยาฆาแมลง นา้ํ ยาลบสี แตเนือ่ งจากมีคุณสมบัติกอมะเร็ง ทาํ ใหป จจบุ นั มกี ารใชเบนซนี เปน ตวั ทาํ ละลายในผลติ ภณั ฑตางๆ นอ ยลง ผูผ ลิตสว นใหญจ ะเปลี่ยนมาใชตวั ทาํ ละลายตวั อน่ื ท่ปี ลอดภยั กวา เชน toluene หรอื xylene แทน อยา งไรก็ตามในผลติ ภัณฑบางประเภทกย็ งั อาจมีการใชเปน สวนผสมอยู (จะทราบไดตองดูที่ฉลาก สวนผสมเปนสําคัญ) โดยทว่ั ไปผลิตภัณฑทใี่ ชใ นครัวเรอื นหากผลิตจากผผู ลติ ทม่ี ีคณุ ภาพจะไมมกี ารใช สารเบนซนี [2] ในหลายประเทศมีการออกกฎหมายหามใชเบนซนี ผสมในผลติ ภณั ฑท ีใ่ ชใ นครัวเรอื น [3]• เปน สารตวั กลาง (intermediate) ในการผลติ สารเคมอี น่ื หลายชนดิ เชน styrene, phenol, cyclohexane, สารเคมที ใ่ี ชใ นการผลติ สารซกั ฟอก, ยาฆา แมลง, ยา, นํา้ หอม, วตั ถุระเบดิ และนํา้ ยาลบสี [1, 3]• ในโรงงานอุตสาหกรรมที่ไมมีการดําเนินการดานสุขภาพและความปลอดภัยของพนักงาน หรอื โรงงานขนาดเลก็ ทีไ่ มม ีคุณภาพ เรายงั อาจพบมีการใชผ ลิตภณั ฑท ม่ี เี บนซีนผสมอยไู ด เชน โรงงาน รองเทา ท่ใี ชกาวท่มี เี บนซีน กจิ การซกั รีดท่ใี ชน้าํ ยาซักแหง ท่ีมเี บนซนี โรงงานเหลา นี้หากมกี ารพฒั นา คณุ ภาพดานความปลอดภัยของพนักงานแลว ในปจ จุบนั มกั จะเปลยี่ นมาใชตวั ทาํ ละลายอื่นทปี่ ลอดภัย กวาแทน เชน toluene, xylene, methyl ethyl ketone (MEK) เปน ตน• เนอื่ งจากเปน สวนผสมอยใู นนํา้ มนั แกส็ โซลีน ทําใหค นทที่ ํางานเกี่ยวของกบั นํ้ามนั และรถ เชน พนกั งาน โรงกลัน่ เด็กปม ชางซอ มรถ ตาํ รวจจราจร เส่ียงไดร บั สัมผสั ในการทํางานไปดว ย• เบนซนี (benzene) มกั ถกู เรยี กสับสนกับนํ้ามนั เบนซนิ (benzine) สองอยา งนม้ี คี วามแตกตา งกนั เบนซนี เปนตัวทําละลายชนดิ หนง่ึ และเปน สวนผสมในนํา้ มนั สว นเบนซินเปนชื่อของสูตรน้ํามนั (เชน เดียวกบั ชอ่ื ดเี ซล แกส็ โซฮอล โซลา เหลา นเี้ ปนตน )กลไกการกอ โรค ออกฤทธก์ิ ดระบบประสาทเชน เดียวกบั ตวั ทาํ ละลายกลมุ อโรมาตกิ ตวั อน่ื ๆ ทาํ ใหห ัวใจเตนผิดจงั หวะ กลไกการกอ มะเรง็ เชอ่ื วา เกดิ จากสารเมตาโบไลตท เ่ี ปน พษิ ของเบนซนี คอื benzene epoxide [3]การเตรียมตัวเมือ่ เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ เบนซนี เปน สารไวไฟ ระเหยไดด มี าก (NFPA Code: H2 F3 R0) เมือ่ ลกุไหมอาจเกิดการระเบดิ ไดงา ย ไอของสารนห้ี นกั กวา อากาศ การเขาไปกภู ยั ชดุ ทใ่ี ชต อ งทนไฟ และเนอ่ื งจากเปนสารกอมะเรง็ ระดับของชดุ ควรเปนชุดปอ งกันชนิดที่มถี ังบรรจอุ ากาศในตวั (Self-contained breathingapparatus, SCBA) เทา นน้ัอาการทางคลนิ กิ• อาการเฉียบพลัน ทางเขา สรู า งกายของเบนซนี นน้ั สามารถเขา สรู า งกายไดท ง้ั ทางการหายใจ ทางการ กนิ และซึมผานผวิ หนัง หากไดร บั เขาไปปรมิ าณมากจะมฤี ทธ์ิกดสมองอยา งทนั ทที ันใด ทาํ ใหป วดหัว คลืน่ ไส วงิ เวยี น จนถงึ ชกั และโคมา ได ฤทธริ์ ะคายเคอื งเย่อื บุจะทาํ ใหเคอื งตา จมกู คอ ไอ แนน หนา อก และอาจมปี อดบวมนํา้ ฤทธิก์ ระตุนกลา มเน้อื หวั ใจทําใหหวั ใจเตน ผดิ จงั หวะ (ทาํ ใหกลามเนอ้ื หวั ใจไวตอ ฤทธขิ์ อง catecholamine เพ่ิมขนึ้ ) หัวใจจงึ เตน เรว็ ผิดปกติ การสมั ผสั ทางผิวหนังทาํ ใหผ วิ หนังไหม เปน ผน่ื แดงอกั เสบได• อาการระยะยาว การสมั ผัสในระยะยาวมีผลกดไขกระดกู ทาํ ใหเ กิดความผดิ ปกตทิ างระบบเลอื ดไดคอื pancytopenia, aplastic anemia และทสี่ ําคัญคือกอมะเร็งเมด็ เลอื ดขาวชนดิ acute myelogenous leukemia (AML) นอกจากนย้ี งั มรี ายงานพบความสัมพนั ธก บั การเกดิ มะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวชนดิ chronic myelogenous leukemia (CML), multiple myeloma (MM), Hodgkin’s disease และภาวะ paroxysmal 30

nocturnal hemoglobinuria อีกดว ย สวนการศึกษาถึงความสมั พันธข องการสัมผสั เบนซีนกับมะเรง็ เมด็ เลอื ดขาวชนดิ acute lymphoblastic leukemia (ALL), ภาวะ myelofibrosis และมะเร็งนาํ้ เหลอื ง (lymphoma) ยงั ไมม ีพบความสมั พันธท ี่ชัดเจน [2]การตรวจทางหองปฏิบัติการ• การตรวจเพอ่ื ยนื ยนั การสัมผสั ทาํ ไดหลายอยา ง คอื 1) ระดับ phenol ในปส สาวะ 2) ระดบั t,t-muconic acid (TTMA) ในปส สาวะ 3) ระดบั s-phenylmercapturic acid (S-PMA) ในปส สาวะ และ 4) ระดบั เบน ซนี ในเลอื ด (blood benzene)• การตรวจระดบั phenol ในปส สาวะเปนเมตาโบไลตท สี่ ามารถตรวจเพอ่ื บงชก้ี ารสัมผัสเบนซีนในระดบั สูง ไดด ี (เมอ่ื ระดบั เบนซนี ในอากาศสงู กวา 5 ppm) แตมปี จจัยรบกวนจาก 1) ผทู ส่ี บู บหุ ร่ี 2) ผทู ท่ี าํ งาน สมั ผสั สาร phenol และ 3) การกนิ อาหารบางอยา งทไ่ี ดเ มตาโบไลตเ ปน phenol เชน เนอ้ื รมควนั ปลา รมควัน ในปจ จบุ นั นีอ้ งคก ร ACGIH ไดย กเลกิ การใช phenol ในปส สาวะเปน ตวั บงช้ีการสมั ผัสสาร เบนซนี แลว เน่อื งจากเหตุผลความจาํ เพาะตา่ํ และคามาตรฐานระดบั เบนซนี ในอากาศของประเทศท่ี พฒั นาแลวสวนใหญก็ลดลง (จนระดบั เบนซนี ในอากาศมักจะต่ํากวา 5 ppm) ผลจากการสมั ผสั เบนซนี ใน ระดับทตี่ ่ําลงทําใหคา background phenol ในปส สาวะคนทวั่ ไปสูงกวาคา phenol ทีเ่ กิดจากการสมั ผสั ใน งาน ทาํ ใหน าํ มาแปลผลไมไ ด อยา งไรกต็ ามหากพบสถานทท่ี าํ งานใดทม่ี รี ะดบั เบนซนี ในอากาศสงู มาก (มากกวา 5 ppm) ก็ยงั พอสามารถใหก ารตรวจนี้เปนตัวบง ช้กี ารสัมผัสเบนซีนได [4]• การตรวจ TTMA ในปสสาวะ ซ่งึ เปนการตรวจทจี่ ําเพาะมากขนึ้ จงึ เขา มาแทนท่กี ารตรวจ phenol ใน ปจ จบุ นั การตรวจ TTMA น้เี หมาะสําหรับบง ชี้การสมั ผสั เบนซนี แมว า ระดบั เบนซนี ในอากาศจะตาํ่ กต็ าม แตอ าจมผี ลบวกลวงไดจ าก 1) ผูท ่ีสูบบหุ รี่ 2) ผทู ี่กนิ อาหารทมี่ ี sorbic acid เปน สารกนั บดู (มักพบใน อาหารท่ตี อ งการกันไมใ หราขนึ้ เชน ชสี น้ําเช่อื ม เยลล่ี เคก ผลไมอบแหง ) อกี ทัง้ มคี า ครึง่ ชีวติ ในปสสาวะ ส้ันเพียง 5 ชั่วโมง จงึ ตองระมัดระวงั ในการแปลผล TTMA อยา งมากเชน กนั [4]• การตรวจ S-PMA ในปส สาวะเปน การตรวจทจ่ี าํ เพาะขน้ึ เนอ่ื งจากสารนไ้ี มเ กดิ ขน้ึ จากการกนิ อาหาร จงึ ไมถูกปจ จยั รบกวนจากการกนิ อาหารประเภทตา งๆ แตยังอาจมผี ลบวกลวงไดในคนทีส่ ูบบหุ ร่ีเชน กนั คา ครงึ่ ชีวติ ของสารน้ใี นปสสาวะเทา กับ 9 ช่ัวโมง ทาํ ใหเ หมาะทจี่ ะเกบ็ ตรวจหลังเลิกกะ [4] อยา งไรกต็ าม ปจ จบุ นั (พ.ศ. 2554) ยังไมม ีหองปฏบิ ตั ิการทสี่ ามารถตรวจสารนไ้ี ดใ นประเทศไทย• การตรวจ blood benzene เปนการตรวจยืนยนั การสมั ผัสท่ดี ี เน่ืองจากมีความจาํ เพาะกับการสมั ผสั สาร เบนซนี สงู สุด ถา ใหไดผ ลดีตองตรวจหลังการสัมผสั ไมน านมาก เนอื่ งจากเบนซนี คา ครง่ึ ชวี ิตในเลอื ดเพียง ประมาณ 8 ชว่ั โมง อยางไรกต็ ามยังอาจมผี ลบวกลวงจากการสบู บุหรี่ไดเชนกนั [4]• กรณีสงสัยเปนโรคพิษเบนซีนเฉียบพลัน การวินิจฉัยใหขึน้ กับประวัติและการตรวจรางกายเปน สําคัญ การตรวจเพือ่ ยืนยนั การสมั ผัสทมี่ ปี ระโยชนถา ทาํ ไดค อื ระดบั เบนซนี ในเลือด (blood benzene) ซง่ึ ตอ งเจาะตรวจหลังจากสัมผสั ทันที แตม ีขอ จาํ กัดคือพบผลบวกลวงในผทู ี่สบู บุหรจี่ ดั ได การตรวจท่ชี ว ยใน การรกั ษาอน่ื ๆ คอื การตรวจคลน่ื ไฟฟา หวั ใจ (EKG) ภาพรงั สที รวงอก (Chest X-ray) ความสมบรู ณข อง เมด็ เลอื ด (CBC) ระดบั เกลอื แรใ นเลอื ด (electrolyte) การทาํ งานของตบั (liver function test) และการ ทํางานของไต (BUN, creatinine) [2]• การตรวจทช่ี ว ยในการวนิ จิ ฉยั และรกั ษาในกรณพี ษิ เบนซนี เรอ้ื รงั คอื การตรวจความสมบรู ณข องเมด็ เลอื ด (Complete blood count, CBC) ซง่ึ อาจพบคา ระดบั เมด็ เลอื ดทง้ั เมด็ เลอื ดขาว เมด็ เลอื ดแดง และเกรด็ เลอื ดสูงขึน้ กอนในระยะแรก กอนจะเกดิ ภาวะ aplastic anemia ตามมา [2] 31

การดแู ลรกั ษา• ปฐมพยาบาล กรณีสารเคมรี ว่ั ไหล นําผปู ว ยออกจากจดุ เกดิ เหตุใหเ รว็ ท่สี ุด ใหอยูใ นทอี่ ากาศถายเท ถอดเส้อื ผาออก ลางตัวดวยนํ้าเปลา ใหม ากทีส่ ุด ถา เขา ตาใหล า งตาดว ย สงั เกตสัญญาณชพี ใสท อชวย หายใจถาไมห ายใจ ใหออกซิเจนเสริม• การรกั ษาระยะเฉยี บพลนั ทาํ การลา งตวั (decontamination) ทั้งทจี่ ุดเกิดเหตแุ ละที่โรงพยาบาล ชวย การหายใจ ใหอ อกซเิ จน ถา มภี าวะหวั ใจเตนผดิ จังหวะ โคมา หรอื ปอดบวมนํา้ ใหร กั ษาตามอาการท่ี เกดิ ขน้ึ หลีกเล่ยี งการใหย ากลมุ adrenergic agents เชน epinephrine เพราะจะทาํ ใหอ าการหวั ใจเตน เร็วผดิ จังหวะแยล ง ควรสงั เกตอาการโดยเฉพาะเรอ่ื งหวั ใจเตนผดิ จงั หวะและปอดบวมน้ําอยา งนอ ย 12 – 24 ชั่วโมงหลงั การสมั ผสั เบนซีน ไมมยี าตา นพษิ (antidote) สาํ หรบั เบนซนี• การดูแลระยะยาว เน่อื งจากสารน้ีเปนสารกอ มะเรง็ จงึ ตอ งดแู ลผูทสี่ มั ผสั สารนใ้ี นระยะยาวดว ย โดยการ รีบจดั ทําทะเบยี นผูส มั ผสั ใหค วามรูถงึ อันตรายระยะยาวของสารน้ีแกผ สู มั ผัสทกุ คน รวมถงึ หนวยกูภ ัย และบุคลากรทางการแพทยท ีม่ แี นวโนม ปนเปอนการสัมผสั ดว ยการเฝา ระวัง กรณอี ุบตั ิภยั สารเคมีตอ งรีบทาํ ทะเบยี นผสู ัมผสั สารน้ใี หครบถว น เน่ืองจากเปน สารกอมะเร็งเม็ดเลือดขาว ควรทําการตรวจติดตามผสู มั ผสั สารเหลา นี้ไปอยา งนอย 10 – 20 ป ทาํ การตรวจ completeblood count (CBC) อยางนอ ยปละครั้ง เพอื่ ดูระดับและรูปรา งเมด็ เลือดขาวและเกร็ดเลอื ด ซกั ประวัติความผดิ ปกตทิ างระบบเลอื ด เชน เลอื ดออกงาย จา้ํ เลอื ดตามตวั ถา ผดิ ปกตติ อ งรบี สง ไปตรวจวนิ จิ ฉยั ยนื ยันเอกสารอา งองิ1. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. The chemical incident management handbook. London: The Stationery Office 2000.2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.3. Stellman JM. ILO encyclopaedia of occupational health and safety. 4th ed. Geneva: International Labour Office 1998.4. Lauwerys RR, Hoet P. Industrial chemical exposure: Guidelines for biological monitoring 3rd ed. Florida: CRC Press 2001.Bromomethaneนพ.สุทธิพัฒน วงศว ิทยว ิโชติช่อื สาร Bromomethaneชือ่ เรยี กอน่ื Methyl bromide, Monobromomethane, Methyl fumeสตู รเคมี CH3BrCAS Number 74-83-9UN Number 1062ขนาดโมเลกุล 94.95ลักษณะทางกายภาพ แกส็ ไมม ีสี ไมม กี ลนิ่ เกิดไดเองตามธรรมชาติในมหาสมทุ รจากสาหรา ยหรอื kelp สว นใหญเ กดิ จากการสงั เคราะหโ ดยมนษุ ย 32

การผลติ bromomethane ไดม าจากการทาํ ปฏิกิรยิ าของ methanol กบั กรด hydrobromic ตามดวยการกล่ันแยกสวนการนาํ ไปใช ใชเปนสารรมควัน สารฆาแมลง เชื้อรา และสัตวกัดแทะ ใชเปนสารทีเ่ ติมกลุม methyl(methylating agent) ในปฏกิ ิรยิ าเคมี ใชเ ปนตัวสกดั นํา้ มนั จากถว่ั เมลด็ พืช และขนแกะ ใชเ ปน สารดบั เพลิงในยโุ รปแตไ มน ิยมในสหรฐั อเมริกาการเขาสูรางกาย ดดู ซมึ ทางการหายใจ และนอยมากทางการดืม่ นา้ํ ที่ปนเปอ นผลระยะฉบั พลัน ถา สูดดม จะมอี าการปวดศรี ษะ ออ นเพลีย คลนื่ ไส เปน ไดหลายช่ัวโมง ถา สดู เขาไปปริมาณมากจะทําใหห ายใจลําบาก ปอดบวมนาํ้ (pulmonary edema) อาจมอี าการเดนิ เซ เหน็ ภาพซอ นกลา มเน้ือส่นั (muscle tremor) หรือชกั ทาํ ใหเสยี ชีวิตได ถาสมั ผสั ทางผวิ หนงั ทําใหเ ปนผืน่ แดง คนั เปนตมุนาํ้ ไดผลระยะยาวหรือการไดรบั ซาํ้ ๆ เปน พิษตอไตคามาตรฐาน• IARC carcinogenicity classification = group 3 (IARC 1987)• OSHA PEL – TWA = 5 ppm (20 mg/m3) (OSHA 1989)• ACGIH TLV – TWA = 1 ppm, Notation = skin, Carcinogenicity = A4 (ACGIH 1994)• NIOSH REL = Ca (lowest feasible concentration), IDLH = Ca (250 ppm) (NIOSH 2005)• คาในสิ่งแวดลอมประเทศไทย ตามประกาศกรมควบคุมมลพิษ เรือ่ ง กําหนดคาเฝาระวังสําหรับ สารอินทรียระเหยงายในบรรยากาศโดยทวั่ ไปใน 24 ชั่วโมง กาํ หนดให โบรโมมเี ธน (bromomethane) ตอ งไมเ กนิ 190 ไมโครกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร (พ.ศ. 2552)ตัวบง ชที้ างชีวภาพ (Biomarker)• ตรวจ bromomethane ในเลอื ดและในเนอ้ื เยอ่ื (ลมหายใจออก) ดวยวิธี gas chromatography (GC) sensitivity จะสูงขน้ึ ถา ใชวธิ ี electron capture detector หรอื halide specific detector สว นวธิ ี mass spectrometric detector จะเพ่ิม specificity แตสลายตวั ไดเร็ว (คาครึ่งชีวติ 15 – 30 นาทใี นสตั วท ดลอง)• ในทางปฏบิ ัตจิ งึ วดั ระดับ serum bromide แทน และตองวัดภายใน 1 – 2 วนั หลงั สมั ผัส โดยระดบั serum bromide พบไดในคนทว่ั ไป แตจะมีระดบั สงู ขนึ้ ในผทู ี่สมั ผสั ตามปรมิ าณการสัมผสั ผทู ไี่ มส ัมผสั จะ มีคาระหวา ง 5 – 15 ppm ถกู รบกวนจากอาหารที่กินท่มี ี bromide เปน สว นประกอบ เชน metylnitrosamineการรกั ษา รกั ษาตามอาการไมม ี antidote การให sulfhydryl agents เชน dimercaprol เขา กลา มจะชว ยเรงการขบั ออกจากรา งกาย การให N-acetylcysteine จะเปน สารตง้ั ตน ในการสรา ง glutathione ในตับ ซึ่งชว ยลดความเปน พษิ ของ bromomethaneขอ มลู ดา นสิง่ แวดลอ ม ตกคา งในอากาศใชเ วลายอ ยสลายประมาณ 11 เดอื นเอกสารอา งอิง1. Agency for Toxicological Substance and Disease Registry. Toxicological profile for bromomethane. 1992 [cited 2010 11 January]; Available from: http://www.atsdr.cdc.gov/toxprofiles/tp27.html.2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.3. Ladou J. Current occupational & environmental medicine 4th ed. New York: McGraw-Hill 2007. 33

Cadmiumนพ.คณุ ากร สินธพพงศช่อื แคดเมยี ม (Cadmium)ชอ่ื อ่ืน Colloidal cadmiumนาํ้ หนกั อะตอม 112.411CAS number 7440-43-9UN number 2570ลักษณะทางกายภาพ เปน แรโ ลหะสเี งนิ ขาว ออ นตวั เปน มนั เงา หรอื เปน ผงเมด็ ละเอยี ดสเี ทาคาํ อธบิ าย แคดเมยี มในธรรมชาตพิ บในรปู แบบของสารประกอบซลั ไฟดซ่ึงจะพบรว มกบั สงั กะสแี ละทองแดงโดยทว่ั ไปไดรับเขา สูร างกายในการทาํ เหมืองแร และหลอมสงั กะสี ทองแดง และตะกว่ั แคดเมยี มถกู ใชใ นการชุบโลหะดวยคุณสมบัติตานทานการกัดกรอนของมัน เกลอื โลหะของมนั ถกู ใชใ นการทําเมด็ สแี ละการคงรปู พลาสตกิ แคดเมยี มอลั ลอยดถ กู ใชใ นการประสาน การเชอ่ื ม และในแบตเตอรช่ี นดิ นกิ เกลิ -แคดเมียม ตวัประสานแคดเมยี มในทอน้ําและเมด็ สแี คดเมียมในเครือ่ งปน ดินเผา สามารถเปน แหลง ของการปนเปอ นของนาํ้และอาหารทม่ี ีความเปนกรดคามาตรฐานในสถานที่ทํางาน ACGIH TLV – TWA 0.01 mg/m3 ||||| NIOSH REL – Ca ||||| OSHA PEL– TWA 0.005 mg/m3 ||||| IDLH – 9 mg/m3 ||||| กฎหมายแรงงานไทย Cadmium fume TWA - 0.1 mg/m3,Ceiling 0.3 mg/m3, Cadmium dust TWA – 0.2 mg/m3, Ceiling 0.6 mg/m3คามาตรฐานในรางกาย ACGIH (2007) BEI – Cadmium in urine = 5 ug/g creatinine ตรวจเวลาไหนก็ได (not critical for sampling time), Cadmium in blood = 5 ug/L ตรวจเวลาไหนกไ็ ด (not critical forsampling time)คุณสมบัติกอ มะเรง็ IARC Group 1 ||||| ACGIH A2 Carcinogenicityแหลง ทีพ่ บในธรรมชาติ พบในน้ําและดินทม่ี ีแรแ คดเมยี มอยูอุตสาหกรรมทใ่ี ช• การเชอ่ื มและประสานโลหะ• การชบุ โลหะ• การคงรปู พลาสตกิ• การทาํ เมด็ สี• การทาํ แบตเตอร่ีกลไกการกอ โรค การหายใจเขาไปกอ ใหเกิดพิษอยางนอ ย 60 เทา ของการกนิ ไอระเหยและฝนุ อาจจะกอ ใหเ กดิ ภาวะปอดอกั เสบ (Delayed chemical pneumonitis) และเปน ผลใหปอดบวมน้ําและเลอื ดออกในปอด การกนิ เขาไปทําใหร ะคายเคอื งทางเดินอาหาร เม่ือมีการดดู ซมึ แคดเมยี มจะรวมตวั กับ metallothioneinและกรองผานไตทซี่ ง่ึ จะเกดิ การทาํ ลายทอ ไตการเตรยี มตวั เมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ นําผปู ว ยออกจากจุดเกิดเหตุ หยุดการสมั ผสั สาร โดยนาํ ผูปวยมาไวใ นจุดที่ไมมีการปนเปอน ผทู ีเ่ ขา ไปชว ยเหลอื ผูปวยควรไดร บั การฝก เปน อยางดีและไมทําใหตนเองอยใู นความเสยี่ ง ใสเ ครอื่ งปองกันอยา งเหมาะสม หากเปนไปไดใ หใ ชอุปกรณชว ยหายใจดว ย SCBA – self containedbreathing apparatus 34

อาการทางคลนิ กิ• การสมั ผสั โดยตรง ทาํ ใหเ กดิ การระคายเคืองผวิ หนงั และตา ยงั ไมม ขี อ มูลเรอ่ื งการดูดซึมแคดเมยี มทาง ผวิ หนงั ในมนษุ ย• อาการจากการหายใจอยา งเฉยี บพลัน ทําใหไ อ หายใจมีเสียงวดี๊ (wheezing) ปวดศรี ษะ มไี ข และหาก รนุ แรง ทาํ ใหป อดอกั เสบแบบ chemical pneumonitis และปอดบวมน้ําแบบ non-cardiogenic ภายใน 12 – 24 ชัว่ โมงหลงั จากสมั ผสั โดยการหายใจ• อาการจากการหายใจระยะยาวในปริมาณสูงสมั พันธก บั การกอโรคมะเร็งปอด• อาการทเ่ี กดิ จากการกนิ แบบเฉยี บพลนั เกลอื แคดเมยี มทาํ ใหเ กดิ อาการเวยี นศรี ษะ อาเจยี น ปวดทอ ง และถายเหลว บางครั้งมีเลือดปนในไมกีน่ าทีหลังจากทานเขาไป การตายหลงั จากทานเขา ไป เกดิ จากภาวะชอ็ กเนอ่ื งจากขาดนาํ้ หรอื เกดิ จากไตวายเฉยี บพลนั• อาการจากการกินระยะยาว เปนผลใหเกิดการสะสมของแคดเมียมในกระดูก ทําใหเกิดโรคอิไตอิไต (Itai-itai) ซ่ึงทําใหก ระดูกเปราะหกั จนเจบ็ ปวดอยางมาก และทาํ ใหเกิดโรคไตเสอ่ื มการตรวจทางหองปฏิบัติการ• ขึ้นกบั ประวตั ิการสมั ผัสและอาการของผูป ว ยในขณะนน้ั ทง้ั อาการทางการหายใจ และอาการทางทางเดนิ อาหาร• การตรวจจาํ เพาะ ระดบั แคดเมยี มในเลอื ด (whole blood cadmium) ยนื ยนั การสัมผัสสารคา ปกติไมเกนิ 1 ug/L แคดเมียมปริมาณนอ ยมากจะถกู ขับมาในปส สาวะจนกวา แคดเมียมทถี่ ูกจับ (โดย metallothionein) ในไตจะเกินและเกดิ การทาํ ลายไตเกดิ ขน้ึ แคดเมยี มในปสสาวะคา ปกตไิ มเ กนิ 1 ug/g Creatinine การ ตรวจวดั ไมโครอลั บูมนิ ในปส สาวะ (beta-microglobulin, retinol-binding protein, albumin, metallothionein) ใชใ นการติดตามผลจากความเปน พิษของแคดเมยี มทไี่ ต• การตรวจอน่ื ๆ เชน การตรวจความสมบรู ณข องเมด็ เลอื ด (CBC), เกลอื แรใ นเลอื ด (serum electrolyte), glucose, BUN, creatinine, คา ออกซเิ จนในเลอื ดแดง (arterial blood gas) หรอื oximetry และการตรวจ ภาพรงั สปี อด (CXR) สง่ั ตรวจตามอาการการดแู ลรกั ษา• ปฐมพยาบาล นําผปู ว ยออกจากจุดเกดิ เหตุ ดแู ลเรอื่ งการทํางานของระบบทสี่ าํ คญั เชน ระบบหายใจ ระบบการไหลเวยี นโลหติ ถา ผูปว ยหมดสติควรทาํ ใหท างเดินหายใจเปด โลง และใหอ อกซิเจน 100 %• การสมั ผสั โดยการหายใจ ถา ผปู วยหยุดหายใจใหเริม่ ทําการชว ยหายใจทนั ที ถาเปน ไปไดใหใ ชหนา กาก (pocket mask) ที่มวี าวลทางเดยี ว (one way valve) ในการชว ยหายใจ เพราะทางเดนิ หายใจและใบหนา ของผชู ว ยเหลืออาจเกดิ การปนเปอ นได• การสมั ผสั ทางผวิ หนัง ถอดเส้ือผาทป่ี นเปอ นออก ถา เปนไปไดใ หทําขณะทมี่ นี ้าํ ลา งอยดู วยแลวนําเสื้อผา เก็บไวในถงุ ใสปด สนิทสองชน้ั และเขยี นปายกํากับไว เกบ็ ไวในท่ีปลอดภยั ทห่ี า งจากผูปว ยและเจา หนาท่ี ลา งผิวหนังดว ยนา้ํ ปรมิ าณมากโดยใหนํ้าไหลผาน• การสมั ผสั ทางตา ลา งตาดว ยนํา้ เกลอื (normal saline solution) อยา งนอ ยเปน เวลา 15 นาที• การสมั ผสั ทางการกนิ ใหผ ูปวยรบั ประทานนาํ้ (ปรมิ าณไมเ กนิ 50 - 100 มลิ ลลิ ติ ร)การเฝา ระวงั• สอื่ สารความเส่ียงใหป ระชาชนเขา ใจ• การตรวจดูระดบั โปรตีนในปสสาวะ (beta-microglobulin) เปน การตรวจทไ่ี วทส่ี ดุ ของการเฝา ระวงั พษิ จาก แคดเมยี ม 35

Carbon disulfideนพ.วิวฒั น เอกบูรณะวัฒนชือ่ คารบ อนไดซลั ไฟด (Carbon disulfide) ||||| ชื่ออื่น Carbon bisulfide, Carbon sulfideสูตรโมเลกุล CS2 ||||| น้ําหนักโมเลกลุ 76.14 ||||| CAS Number 75-15-0 ||||| UN Number 1131ลักษณะทางกายภาพ ของเหลว ใส ไมม สี ี ถา บรสิ ทุ ธ์ิจะมกี ลิน่ หอม แตถามีไมบ รสิ ทุ ธจิ์ ะมีกลิน่ เหม็นคําอธบิ าย คารบ อนไดซลั ไฟด เปน สารเคมีทม่ี ีลักษณะเปน ของเหลว ใส ไมม สี ี ลักษณะท่ีใชก ันทั่วไปมกั มีกลิน่ เหม็น พษิ ของสารชนดิ น้ีมลี ักษณะจําเพาะ คอื จะมผี ลตอ ระบบประสาทสว นกลาง ทาํ ใหเ กดิ อาการทางจติเชน อารมณแปรปรวน สบั สน เพอ คล่งั มอี าการคลายคนเปน โรคจติ หรือเปน บา พบการใชคารบ อนไดซัลไฟดไดม าก ในอตุ สาหกรรมทาํ เสน ใยเรยอนและอตุ สาหกรรมยางคามาตรฐานในสถานที่ทํางาน ACGIH TLV (2005): TWA = 1 ppm, Carcinogenicity = A4 ||||| NIOSHREL: TWA = 1 ppm, STEL = 10 ppm, IDLH = 500 ppm ||||| OSHA PEL: TWA = 20 ppm, Ceiling = 30ppm ||||| ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื งความปลอดภยั ในการทาํ งานเกย่ี วกบั ภาวะแวดลอ ม (สารเคมี)พ.ศ. 2520: TWA = 20 ppm, STEL = 100 ppmคามาตรฐานในรางกาย ACGIH BEI (2011): 2-Thioxothiazolidine-4-carboxylic acid (TTCA) in urine atend of shift = 0.5 mg/g creatinineแหลง ทีพ่ บ คารบ อนไดซลั ไฟดเ ปนสารต้งั ตนสําคัญในการผลิตเสนใยเรยอน (rayon) ใชใ นอตุ สาหกรรมยางเคมภี ณั ฑ ใชเปน ตัวทําละลายในหอ งปฏบิ ตั ิการบางแหง ยารกั ษาอาการตดิ เหลา กลมุ ไดซลั ฟแ รม (disulfiram)เม่อื ดูดซึมเขา สรู างกาย จะมีบางสว นเปลี่ยนแปลงเปน คารบ อนไดซลั ไฟดได ยาฆาแมลงชนดิ หนึง่ ชือ่ มแี ทมโซเดยี ม (metam-sodium) เม่อื ยอยสลายจะไดผลผลติ เปน สารคารบอนไดซัลไฟดกลไกการกอ โรค เชอ่ื วา คารบ อนไดซลั ไฟด นา จะมคี วามสามารถในการยบั ยง้ั การทาํ งานของเอนไซมห ลายชนิดในรา งกาย ทาํ ใหระบบเมตาโบไลตข องรา งกายถูกยบั ย้ัง โดยเฉพาะเอนไซมก ลมุ ที่สมั พนั ธก บั สารโดพามนี (dopamine-dependent system) สง ผลทาํ ใหก ารทาํ งานของระบบประสาทสว นกลางผิดปกติอาการทางคลนิ กิ• อาการเฉียบพลนั การสมั ผัสในระยะเฉยี บพลัน จะทําใหเ กดิ อาการระคายเคืองตอดวงตา และผวิ หนัง การสมั ผัสระดบั สูงเกินมาตรฐาน ในระยะเวลาหลายวนั ถงึ สปั ดาห จะทําใหเ กดิ อาการทม่ี ลี กั ษณะจาํ เพาะ คอื ทําใหเ กิดอาการทางจิต ซง่ึ มไี ดหลายรูปแบบ ตง้ั แตอ ารมณเ ปล่ยี นแปลง (mood change) สบั สน (delirium) ไปจนถงึ อาการคลายคนเปนโรคจติ หรอื เปน บา (psychosis) หากระดับท่สี ัมผสั สูงมากๆ จะ ออกฤทธก์ิ ดสมอง (CNS depression) และทําใหหมดสตไิ ด• อาการระยะยาว การสมั ผสั ระดบั ตาํ่ ในระยะยาว สามารถทาํ ใหเ กดิ อาการทางระบบประสาทไดเ ชน กนั คอื จะทาํ ใหเ กิดอาการสัน่ คลายคนเปนโรคพารก นิ สนั (parkinsonism) หรอื อาจเกดิ อาการผดิ ปกตทิ าง สมองแบบอืน่ ๆ ทําใหเ สน ประสาทตาอักเสบ (optic neuritis) เสนประสาทสว นปลายเสยี หาย (peripheral neuropathy) หลอดเลอื ดแดงแขง็ ตวั (artherosclerosis) ผลตอ บตุ รยังไมม ขี อ มูลที่ชัดเจน แตการทดลอง ในสตั วพ บวาอาจกอผลตอ ตัวออ นในครรภได ผลกอมะเรง็ ยงั ไมม ขี อมูลทชี่ ดั เจนการตรวจทางหองปฏิบัติการ ตัวบงชี้ทางชีวภาพของคารบ อนไดซลั ไฟดค อื ตรวจสาร TTCA ในปส สาวะ แตหากการตรวจเพอ่ื ยนื ยนั การสมั ผสั ทาํ ไดไ มส ะดวก การวนิ จิ ฉยั อาจใชก ารซกั ประวตั ิ และตรวจรา งกาย ก็เพยี งพอจะวนิ ิจฉยั ได ประวัติอาชีพทนี่ า จะเก่ียวของ เชน ทาํ งานในโรงงานทําเสนใยเรยอน รว มกับมอี าการทางจติ รุนแรง โดยไมเคยมปี ระวตั ิเปนโรคจติ มากอน ชว ยสนบั สนนุ การวนิ จิ ฉยั พษิ จากคารบ อนไดซลั ไฟด 36

หากมผี ลตรวจวดั ระดับสารเคมีในโรงงานมาสนับสนุน จะมนี ํ้าหนักมากยงิ่ ขึ้น ควรตรวจภาพรงั สขี องสมองเชน ภาพรังสคี ลน่ื แมเหลก็ ไฟฟา (MRI brain) หรอื ภาพรงั สคี อมพวิ เตอร (CT scan) รวมดว ยทกุ คร้ัง ทีท่ าํการวนิ จิ ฉยั เพ่อื ตดั ปญ หา (rule out) โรคทางสมองอ่นื ๆ ทอี่ าจมอี าการใกลเคียงกันออกไป ถา มอี าการทางเสน ประสาทอาจสง ตรวจการนาํ ไฟฟา ของเสน ประสาท (nerve conduction velocity)การดแู ลรกั ษา• ปฐมพยาบาล นาํ ผปู ว ยออกจากจดุ เกิดเหตใุ หเรว็ ทสี่ ดุ ทาํ การลางตวั ดวยนา้ํ เปลา ถาสมั ผัสทดี่ วงตา ให ทาํ การลา งตาดว ย หากแนน หนา อกควรใหอ อกซเิ จนเสรมิ แลว รบี สง พบแพทย• การรกั ษา ในระยะเฉยี บพลัน ใหตรวจสอบการหายใจ ถาไมหายใจใหใสทอชวยหายใจเพอื่ ชวยชีวติ ตรวจสอบความรูสกึ ตวั ถา สัมผสั สารปริมาณมากอาจจะกดสมองจนผูปว ยไมรูส ึกตวั ได ชว ยหายใจ วัด สัญญาณชพี ใหอ อกซเิ จนเสรมิ ใหสารน้ําตามความเหมาะสม ควรตรวจคลน่ื ไฟฟาหัวใจ (EKG) ถา หอบ ควรตรวจภาพรงั สที รวงอก (CXR) วดั ระดบั ออกซเิ จน (pulse oximetry) รกั ษาประคบั ประคองอาการ ไม มียาตา นพษิ (antidote) สาํ หรบั คารบอนไดซลั ไฟด ถาสมั ผสั โดยทางการกินและผูปว ยยงั รูสึกตัวดี อาจ พจิ ารณาใหผ งถา นกมั มันต (activated charcoal) เพอ่ื ลดการดูดซมึ ถา กนิ มานานไมเ กนิ 1 ช่วั โมง อาจ พจิ ารณาทาํ การลา งทอ ง (gastric lavage) เพอ่ื ลดปรมิ าณการดดู ซมึ เขา สรู า งกายการปอ งกนั และเฝา ระวงั การปอ งกนั ที่ดที ี่สดุ คอื ลดการสมั ผสั ตามหลกั อาชีวอนามยั ใชร ะบบปด ควบคมุ ที่แหลง กาํ เนดิ ใหค วามรแู กพ นกั งานทต่ี อ งทาํ งานกบั สารเคมชี นดิ น้ี โรงงานยาง และโรงงานทาํ เสน ใยเรยอนควรตรวจสอบระบบเครอื่ งจักรใหอ ยใู นสภาพดี การขนสงสารชนิดนต้ี องทําดวยความระมัดระวงั การเฝา ระวงัควรตรวจวดั ระดบั สารเคมชี นดิ นใ้ี นโรงงานอยา งสมํา่ เสมอ ตรวจสุขภาพโดยเนน ดอู าการทางระบบประสาทอาการผดิ ปกติทค่ี ลา ยอาการทางจิต เปนสาํ คญัCarbon monoxideนพ.ณรงฤทธิ์ กติ ติกวินช่อื คารบ อนมอนอกไซด (Carbon monoxide)ชอื่ อื่น Carbon oxide, Carbonic oxide, Coal gas, Town gas, Flue gasสูตรโมเลกุล COนํา้ หนกั โมเลกุล 28.01CAS Number 630 – 08 – 0UN Number 1016ลักษณะทางกายภาพ แกส็ ไมม ีสี ไมม กี ล่ิน ไมม ีรสคําอธบิ าย คารบ อนมอนอกไซด (Carbon monoxide) เปนแกส็ ชนิดหน่ึง ลกั ษณะไมม ีสี ไมม กี ลิน่ เกิดจากการเผาไหมข องวตั ถุทมี่ สี ว นประกอบของคารบอนอยางไมสมบรู ณคามาตรฐานในสถานที่ทํางาน ACGIH TLV – TWA 25 ppm ||||| NIOSH REL – TWA 35 ppm, C 200ppm ||||| OSHA PEL – TWA 50 ppm ||||| IDLH 1200 ppmคามาตรฐานในสิ่งแวดลอม EPA NAAQS – 9 ppm (8 hours), 35 ppm (1 hour)คามาตรฐานในรา งกาย ACGIH BEI – Carboxyhemoglobin ในเลอื ดหลงั เลกิ งาน 3.5 % of hemoglobin,Carbon monoxide ในลมหายใจออกหลังเลิกงาน 20 ppmคณุ สมบตั ิกอ มะเรง็ IARC Group N/A ||||| ACGIH Carcinogenicity N/A 37

แหลง ทพี่ บในธรรมชาติ• มกั พบในควนั ไฟทเ่ี กดิ จากการเผาไหมส ารอนิ ทรยี อ ยา งไมส มบรู ณ [1]• สามารถพบไดใ นควันบหุ รี่ [2]อุตสาหกรรมทใี่ ช• ใชเ ปน สารรดี วิ ซ (Reducing agent) ท่ีใชใ นกระบวนการถลงุ แรโลหะ เชน นกิ เกลิ (Mond process) [1]• การสงั เคราะหท างอนิ ทรยี ของผลิตภณั ฑปโ ตรเลียม (Fischer-Tropsch process) [1]• ใชใ นขบวนการผลติ Metal carbonyl (Oxo reaction) [1]กลไกการกอ โรค คารบ อนมอนอกไซดจะจบั กบั สารทอ่ี ยใู นเมด็ เลือดแดงทม่ี ชี อ่ื วา Hemoglobin (Hb) ทําใหเกดิ สารประกอบ Carboxyhemoglobin (คารบ อนมอนอกไซดสามารถจบั กบั Hemoglobin ไดด กี วา Oxygen200 – 300 เทา ) ซง่ึ จะมีผลทาํ ใหก ารนําพา Oxygen ไปสูเ น้ือเย่อื ตา งๆ ในรางกายทาํ ไดล ดลง [1]การเตรยี มตวั เมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ กรณีเกิดการรั่วของแก็สคารบอนมอนอกไซด ควรอยูใ นบริเวณทมี่ ีทิศทางเหนือลมตอ สถานทท่ี ีเ่ กดิ การร่ัว ควรสวมใสเสือ้ ผา ปอ งกนั อยางมดิ ชดิ และมถี งั บรรจุอากาศในตัว (Self-contained breathing apparatus; SCBA) รวมทงั้ มีเครือ่ งปอ งกนั ดวงตาอาการทางคลนิ กิ• อาการเฉยี บพลนั หากไดร บั คารบ อนมอนอกไซดจ ากการหายใจในระดบั เลก็ นอ ยถงึ ปานกลาง จะทําให เกดิ อาการปวดศรี ษะ ออนเพลีย คลน่ื ไส อาเจยี น เวียนศรี ษะ กระสับกระสา ย สบั สน การมองเห็น ผิดปกติ ความดนั โลหติ ต่ํา หัวใจเตนเร็ว และมีการหายใจทเ่ี ร็วขน้ึ กรณไี ดรบั เปนปริมาณมากๆ จะทาํ ให เกดิ ภาวะหมดสติ ชกั ภาวะช็อก กดการหายใจรวมทงั้ ระบบหวั ใจและหลอดเลอื ด ภาวะสมองบวม และ อาจเสียชีวติ ได ถาหากไมเสยี ชวี ิตหลังจากท่ไี ดรับคารบ อนมอนอกไซดป ริมาณมากๆ แลว กม็ ักจะเกดิ ภาวะแทรกซอ นของระบบประสาทตามมา เชน ภาวะหลงลมื (dementia) จิตเภท การเคลอ่ื นไหวท่ี ผดิ ปกติ ภาวะอารมณผดิ ปกติ บคุ ลกิ ภาพท่ีเปลีย่ นไป• อาการระยะยาว การไดร บั คารบ อนมอนอกไซดใ นปรมิ าณตาํ่ ๆ เปน ระยะเวลานานจะทาํ ใหม อี าการ อาเจยี น ถา ยเหลว ปวดทอ ง ปวดศรี ษะ ออ นเพลยี เวยี นศรี ษะ ใจสน่ั ได ซง่ึ เปน อาการทีไ่ มเฉพาะเจาะจง แยกไดย ากจากภาวะอาหารเปน พษิ หรอื การตดิ เชอ้ื ไวรสั [1]การตรวจทางหองปฏิบัติการ• กรณีสงสัยเปนโรคพิษจากคารบอนมอนอกไซดเฉียบพลัน การวนิ จิ ฉยั ใหข น้ึ กบั ประวตั แิ ละการตรวจ รา งกายเปนสําคญั การตรวจรา งกายอาจจะพบลกั ษณะสผี วิ ทแ่ี ดงแบบเชอร่ี (cherry-red skin coloration) การตรวจเพอ่ื ยนื ยนั การสมั ผัสทาํ ไดโดยตรวจระดบั carboxyhemoglobin ในเลอื ด การตรวจทช่ี ว ยในการรกั ษาอน่ื ๆ เชน การตรวจระดบั oxygen ในหลอดเลอื ดแดง (arterial blood gas) การตรวจคลน่ื ไฟฟา หวั ใจ (EKG) ภาพรงั สที รวงอก (chest X-ray) ระดบั เกลอื แรใ นเลอื ด (electrolyte) การทาํ งานของไต (BUN, creatinine) และการตรวจระดบั เอนไซมห วั ใจ (cardiac enzyme)การดแู ลรกั ษา• ปฐมพยาบาล กรณีเกิดแก็สรัว่ ไหล นาํ ผูปวยออกจากจุดเกิดเหตุใหเร็วท่ีสุด ใหอยูในทีอ่ ากาศถายเท ถอดเสอ้ื ผา ออก (กรณเี กดิ ภาวะ frostbite อาจจะใชน าํ้ อนุ ลา งบรเิ วณนน้ั ๆ กอ นถอดและควรถอดดว ย ความระมัดระวงั ) ลางตวั ดว ยนา้ํ เปลาใหมากทสี่ ุด ถาเขา ตาใหล า งตาดวย วดั สัญญาณชีพ ดูระดบั ความ รสู กึ ตัว ใสทอ ชว ยหายใจถาไมห ายใจ ใหอ อกซิเจนเสริม• การรกั ษาระยะเฉยี บพลนั ทําการลางตัว (decontamination) ทั้งที่จุดเกิดเหตุและที่โรงพยาบาล ประเมินสภาวะการหายใจ ถาไมห ายใจตองใสทอชวยหายใจและใหออกซิเจน 100 % เพ่ือที่จะชว ยใหก าร 38

กาํ จดั carboxyhemoglobin ทาํ ไดด ขี น้ึ ระวังภาวะทางเดนิ หายใจอุดกั้นและภาวะน้ําทว มปอดเนื่องจาก การสดู ดมแก็สพิษชนิดอื่นๆ ทมี่ ีอยรู วมดวย เชน ไซยาไนด (cyanide) หรอื แก็สที่กอ ความระคายเคือง (irritant gas) ถา เกดิ ภาวะชกั ใหย าควบคมุ อาการชกั เชน diazepam แตควรระวงั ผลขา งเคียงจากยาทจ่ี ะ ทําใหเ กดิ ภาวะความดนั โลหติ ตา่ํ ดวย ถาหากพบวามีความดันโลหิตตา่ํ ควรใหสารน้ําในหลอดเลือด อยางเพียงพอ ควรมีการตรวจติดตามคล่ืนไฟฟาหัวใจ (EKG) อยา งตอ เนอ่ื ง• Hyperbaric oxygen มขี อบง ชี้ ใชร กั ษาในรายทม่ี เี กดิ อาการพษิ จากคารบ อนมอนอกไซดอ ยา งรนุ แรง เชน (1) เกดิ ภาวะสูญเสียความรูส กึ ตวั (loss of conscious) (2) มีระดบั carboxyhemoglobin > 25 % (3) อายมุ ากกวา 50 ป (4) เกดิ ภาวะ metabolic acidosis (5) เกดิ ภาวะ cerebellar dysfunction เนอ่ื งจากในภาวะทมี่ อี อกซเิ จนมากๆ จะชว ยลด half-life ของ carboxyhemoglobin ได จงึ ชว ยใหการ กําจัดทาํ ไดดีขึ้น (half-life ของ carboxyhemoglobin ในบรรยากาศปกติ = 5 ชัว่ โมง แตถา อยทู ี่ บรรยากาศออกซิเจน 100 % ความดนั 3 ATM จะเหลอื เพยี ง 20 – 25 นาที)เอกสารอา งองิ1. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. The chemical incident management handbook. London: The Stationery Office 2000.2. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.Chlorineนพ.ววิ ฒั น เอกบูรณะวฒั นช่อื คลอรนี (Chlorine) ||||| ชือ่ อนื่ Chlorine gas, Dichlorineสูตรโมเลกุล Cl2 ||||| นํ้าหนกั โมเลกลุ 70.9 ||||| CAS Number 7782-50-5 ||||| UN Number 1017ลักษณะทางกายภาพ แก็สสีเหลือง มีกลิ่นเหมน็ หนักกวาอากาศคาํ อธบิ าย คลอรนี ในสถานะบรสิ ทุ ธิเ์ ปนแกส็ สเี หลอื ง (yellow) หรอื เหลอื งอมเขยี ว (yellowish-green) มกี ลนิ่เหมน็ ฉนุ และกอความระคายเคอื ง มนี ้ําหนักมากกวาอากาศ คลอรีนถกู ใชใ นอตุ สาหกรรมทางเคมหี ลายอยา งใชเ ปน สารตง้ั ตน ในการผลติ สารฟอกขาว (bleaching agent) ในรปู สารประกอบ hypochlorite ใชใ สลงในสระวายนาํ้ และนํา้ ประปาเพอื่ ฆา เชื้อโรค สารประกอบ hypochlorite นีเ้ ปน สารละลายท่ไี ดจากการเติมแกส็ คลอรนีลงในน้ํา ในสารฟอกขาวทใี่ ชต ามบานหลายๆ สตู รกจ็ ะมี hypochlorite อยปู ระมาณ 3 – 5 % แตห ากเปน สารฟอกขาวทใ่ี ชใ นอตุ สาหกรรมมกั เขม ขนกวา อาจเขม ขน ถงึ 20 % หากเตมิ กรดลงในสารละลาย hypochloriteจะไดแกส็ คลอรีนกลับคืนมา หากเติมแอมโมเนียลงในสารละลาย hypochlorite จะไดแ กส็ ทม่ี ชี อื่ วา คลอรามนี(chloramine) คลอรามนี เปนแกส็ ทมี่ สี มบัตคิ วามเปนพษิ เหมอื นกนั กับแกส็ คลอรีนคามาตรฐานในสถานที่ทํางาน ACGIH TLV (2011): TWA = 0.5 ppm, STEL = 1 ppm ||||| NIOSH REL:Ceiling = 0.5 ppm (1.45 mg/m3), IDLH = 10 ppm ||||| OSHA PEL: Ceiling = 1 ppm (3 mg/m3) |||||ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรอ่ื งความปลอดภยั ในการทาํ งานเกย่ี วกบั ภาวะแวดลอ ม (สารเคม)ี พ.ศ. 2520:TWA = 1 ppm (3 mg/m3)คามาตรฐานในรางกาย ยงั ไมม อี งคก รใดกาํ หนดไว การตรวจระดบั เกลอื แรใ นเลอื ด (serum electrolyte)เพอ่ื ดรู ะดบั คลอไรดไ อออน (Cl-) ซง่ึ ปกติมกั เจาะตรวจรว มกับเกลือแรอ น่ื ไดแ ก โซเดยี ม (Na+) โปแตสเซยี ม(K+) และ ไบคารบ อเนต (CO3-) นัน้ ไมส ามารถบอกถึงระดบั การสมั ผสั แกส็ คลอรีนในอากาศของผูปว ยได จงึ 39

ไมส ามารถใชเ ปน ตวั บง ช้ีทางชวี ภาพ (biomarker) ของการสมั ผสั แกส็ หรอื สารประกอบคลอรนี ได การตรวจระดบั คลอไรดไอออนในเลอื ดนน้ั ใชด รู ะดบั ความเปน กรด-ดา ง ของเลอื ดจากการเจบ็ ปว ยดว ยโรคตา งๆ โดยระดบั คลอไรดไ อออนจะสงู ขน้ึ เมอ่ื เลอื ดมภี าวะเปน กรดเพม่ิ ขน้ึ (คา ปกติอยูท ่ี 96 – 106 MEq/L) ไมส ามารถนาํ มาใชป ระเมนิ ระดบั การสมั ผสั แกส็ คลอรนี ในอากาศไดแหลง ทีพ่ บ แกส็ คลอรนี ระดับตาํ่ ๆ พบไดจ ากการสลายตวั ของสารละลาย hypochlorite ทม่ี อี ยใู นสารฟอกขาวน้าํ ยาทาํ ความสะอาด นาํ้ ในสระวา ยนาํ้ และนา้ํ ประปาทเ่ี ตมิ คลอรนี การสูดดมในระดบั ความเขม ขน ของผลิตภณั ฑท ใี่ ชต ามบา นนี้ มักไมท ําใหเ กิดอนั ตรายแตอยางใด การสัมผสั ในระดบั สงู มักพบในกรณรี ่ัวไหล ของโรงงานอตุ สาหกรรมทม่ี กี ารใชแ กส็ คลอรนี ในกระบวนการผลติ การรว่ั ไหลระหวา งการขนสง กเ็ ปน อกี สาเหตุหนง่ึ ทพ่ี บได โรงงานทม่ี กี ารใชส ารฟอกขาวกลมุ hypochlorite จาํ นวนมาก เชน โรงงานทาํ นาํ้ ยาฟอกขาวโรงงานทาํ กระดาษ พนักงานกอ็ าจมโี อกาสสัมผสั แกส็ คลอรีนไดเ พมิ่ ขนึ้ เชนกัน กล่ินของแกส็ คลอรนี นั้นเปนกล่ินเฉพาะ (กล่นิ เดยี วกับคลอรนี ท่ีเตมิ ในสระวา ยนาํ้ ) โดยทว่ั ไปคนทส่ี ัมผสั แกส็ นมี้ กั จะรตู วั ไดกลไกการกอ โรค แกส็ คลอรนี ทําปฏกิ ิริยากับนาํ้ จะไดก รดไฮโดรคลอริก (hydrochloric acid) และกรดไฮโปคลอรสั (hypochlorous acid) ซงึ่ มีฤทธก์ิ ัดกรอ น เม่ือแก็สสมั ผสั กับเนือ้ เยื่อออ นที่มีน้ําหลอ เลย้ี ง เชน เยอื่ บุตาเยอ่ื บจุ มกู เย่ือบุทางเดนิ หายใจ จงึ เกิดการระคายเคืองและกัดกรอ นเนือ้ เยอื่ ขน้ึ คลอรนี ละลายน้ําไดค อ นขางเร็ว เมือ่ สัมผสั จึงมักเกดิ อาการขึน้ อยา งรวดเรว็ สว นคลอรามนี น้นั ละลายนํ้าไดชา กวา เม่อื สัมผัสแลว จะเกิดอาการขน้ึ ไดช า กวา เลก็ นอ ยการเตรยี มตวั เมอ่ื เกดิ เหตฉุ กุ เฉนิ แก็สคลอรีนจัดวาเปน แกส็ ที่มอี นั ตรายรายแรง นอกจากฤทธ์ิกัดกรอ นเน้ือเย่อื แลว ยังทําปฏิกริ ยิ ากบั สารเคมีอน่ื ๆ ไดง า ย แมต ัวแกส็ จะไมต ิดไฟ แตส ามารถทาํ ปฏกิ ริ ิยากบั สารอืน่ทาํ ใหเ กิดความรอ นและการระเบิด และชว ยสารอนื่ ในการตดิ ไฟ อีกท้ังยงั หนกั กวา อากาศจงึ ไมล อยขึ้นสูงโอกาสที่รว่ั ไหลแลว จะเกดิ ปญ หารุนแรงจึงมมี าก คลอรีนมีกลน่ิ เฉพาะตัว (กลน่ิ เหมอื นคลอรนี ในสระวา ยนํ้า)ทาํ ใหผ ูประสบภัยมักรตู วั ไดเร็ว เน่ืองจากความเปน พษิ และอันตรายรุนแรงทีอ่ าจเกิดขึน้ ได ผูเ ขาไปทําการกูภยั จงึ ควรใสช ดุ ปอ งกันในระดบั ทีเ่ หมาะสม ถารวั่ ไหลในปรมิ าณสูงแนะนาํ ใหใ สช ุดปอ งกันทมี่ ถี งั บรรจอุ ากาศในตัวจะปลอดภัยทส่ี ุดอาการทางคลนิ กิ• อาการเฉียบพลัน การสมั ผสั แกส็ จะทําใหเ กดิ อาการแสบเคอื งของเนอ้ื เย่อื เน่ืองจากแกส็ มีฤทธก์ิ ดั กรอ น ระคายเคอื ง เม่อื สัมผัสเย่อื บตุ า จะทาํ ใหเยือ่ บตุ าอักเสบ แสบตา น้าํ ตาไหล หากแกส็ มคี วามเขม ขนสงู อาจถึงกับทาํ ใหเปน แผลท่กี ระจกตาได การสัมผสั เยื่อบุจมกู จะทาํ ใหแ สบจมกู นํา้ มูกไหล การสมั ผัสเยื่อบุ ทางเดนิ หายใจ จะทาํ ใหแ สบคอ ถา แกส็ มีความเขม ขน สูง อาจทาํ ใหท างเดนิ หายใจสว นบนบวม และเกดิ การอดุ กั้น ทําใหหายใจไมอ อกได หากเกดิ ปญหาทางเดินหายใจสว นบนอุดกนั้ อาการเริม่ แรกจะมีเสยี ง แหบ ไอเสียงทมุ (croupy cough) และหายใจมเี สียงทมุ (stridor) ทางเดนิ หายใจสว นลา งอาจเกดิ การตบี ตัว ทาํ ใหหายใจเปน เสยี งว๊ีด (wheezing) โดยเฉพาะในผทู ี่เปนโรคทางเดินหายใจอยูกอนแลว เชน หอบ หืด ถงุ ลมโปง พอง มโี อกาสหายใจเกิดเสียงวี๊ดไดมาก หากแกส็ มีความเขม ขนสงู มากๆ จะทาํ ใหเกดิ ปอด บวมน้ํา (pulmonary edema) ปอดอกั เสบ (chemical pneumonitis) หายใจลม เหลว และถงึ ตายได การ สมั ผัสทผ่ี ิวหนงั ถา แกส็ มคี วามเขม ขน สงู มากจะแสบระคายผวิ หนงั ได• อาการระยะยาว หากการสมั ผสั ในระยะเฉียบพลนั นั้นรนุ แรง สัมผัสในปริมาณสูงมาก จนเน้ือเยื่อปอด ถกู ทําลายถาวรแลว กอ็ าจทําใหผ ูปว ยเกิดอาการหอบเหนอ่ื ยจากปอดเปนพังผดื ในระยะยาวได การ สมั ผสั ในปริมาณสูงในครั้งเดยี วอาจทาํ ใหเกิดเปน โรคหอบหดื ขน้ึ การสมั ผสั ทต่ี าอาจกดั กรอ นกระจกตา จนมปี ญ หาการมองเหน็ ในระยะยาว สว นพษิ ในการกอ มะเรง็ และการกอ ผลตอ บตุ รในหญงิ ตง้ั ครรภน นั้ ยัง ไมมขี อมูลชัดเจน 40

การตรวจทางหองปฏิบัติการ การตรวจทางหอ งปฏิบัตกิ ารเพ่ือชวยในการวินจิ ฉัยอาจไมจ ําเปนนัก การวินิจฉยั สามารถทาํ ไดจ ากการซกั ประวัตกิ ารสมั ผสั แกส็ กล่นิ ของแกส็ คลอรีนซง่ึ มีลักษณะเฉพาะตวั ท่ตี ดิ มากบัผปู ว ย และอาการระคายเคอื งตอ เย่อื บุท่ีเกิดขึ้น การตรวจระดบั คลอไรดไอออน (Cl-) ในเลอื ดไมไ ดช ว ยในการประเมนิ ระดบั การสมั ผสั แกส็ คลอรนี การตรวจเพอ่ื ชว ยในการรกั ษาและประเมนิ อาการ ไดแ ก การตรวจระดบัออกซเิ จนในเลอื ด (pulse oximetry) การตรวจระดบั แกส็ ในหลอดเลอื ดแดง (arterial blood gas) เพอ่ื ดภู าวะความเปน กรด-ดา ง ของเลอื ด และการตรวจภาพรงั สที รวงอก (chest X-ray) เพอื่ ดูภาวะปอดบวมนํา้การดแู ลรกั ษา• ปฐมพยาบาล นําผปู วยออกจากจดุ เกดิ เหตใุ หเ รว็ ทสี่ ดุ ใหอยูใ นท่ีอากาศถา ยเทดี ทาํ การลา งตวั ดว ย น้าํ เปลาเพือ่ ลดการปนเปอ น สังเกตดูปญ หาการหายใจ หากเร่ิมมปี ญ หาการหายใจลม เหลว จากทางเดนิ หายใจสวนบนอุดก้นั ทมี กชู ีพอาจพิจารณาใสท อชว ยหายใจเพอื่ รักษาชีวติ หากรูสตดิ เี พียงแตห ายใจเร็ว ควรใหอ อกซเิ จนเสรมิ หากมกี ารสมั ผสั ทด่ี วงตา มอี าการแสบตามาก ควรรบี ลา งตาดว ยนาํ้ เปลา ใหม าก ท่สี ดุ กอนสงพบแพทย• การรกั ษา ตรวจดกู ารหายใจ วา มปี ญ หาทางเดนิ หายใจอดุ กน้ั หรอื ไม ถา มคี วรพจิ ารณาใสท อ ชว ยหายใจ เพื่อรกั ษาชีวติ ผูปว ย ทางเดนิ หายใจสวนบนนัน้ เม่อื บวมมากแลวจะใสทอชว ยหายใจไดย าก ตรวจดู ระบบไหลเวยี น ความรูสติ และสญั ญาณชพี ของผูป ว ย เชน เดียวกบั ผูปวยฉุกเฉนิ ในกรณีอน่ื ใหอ อกซิเจน เสรมิ ถา หายใจมเี สยี งวี๊ดพจิ ารณาพน ยาขยายหลอดลม เชน salbutamol ตามอาการ ตรวจฟง ปอด และ ถายภาพรงั สีทรวงอกดูวา มภี าวะปอดบวมนํ้าหรือไม ถา มใี หท าํ การรกั ษา และควรรบั ไวร กั ษาตวั ใน โรงพยาบาล โดยทว่ั ไปแก็สคลอรีนออกฤทธเ์ิ ร็ว ภาวะปอดบวมนํ้ามักเกิดข้นึ ทนั ทหี รอื ภายใน 2 – 3 ชวั่ โมงหลังการสัมผัส สว นแกส็ คลอรามนี อาจใชเ วลามากกวา นน้ั อยา งไรกต็ ามในผปู ว ยทม่ี อี าการรนุ แรง ภาวะปอดบวมน้าํ อาจเกิดข้นึ ชากวา ปกตคิ ือ 12 – 24 ชั่วโมง หลังการสมั ผสั กไ็ ด ดังน้ัน ในผูป วยทม่ี ี ประเมนิ ดแู ลว มอี าการคอ นขา งรนุ แรงจงึ ควรรบั ไวส งั เกตอาการทโ่ี รงพยาบาลทกุ ราย หากเกดิ ภาวะปอด บวมน้าํ หรือปอดอกั เสบรุนแรง หายใจลม เหลว ควรสง ปรกึ ษาใหอยใู นความดูแลของอายุรแพทย หาก สมั ผัสแกส็ ท่ดี วงตาในความเขม ขน สูง จนเกิดแผลทีก่ ระจกตา ควรสง ปรกึ ษาใหอยใู นความดแู ลของจกั ษุ แพทยการปอ งกนั และเฝา ระวงั การปองกันท่ดี ที สี่ ดุ คือลดการสัมผสั ตามหลักอาชีวอนามยั ใชระบบปด ควบคมุ ท่ีแหลงกาํ เนิด ใหความรแู กพนกั งานที่ตองทาํ งานกับแก็สชนิดนี้ โรงงานควรตรวจสอบทอและถงั บรรจสุ ารเคมีใหอ ยใู นสภาพดอี ยา งสมาํ่ เสมอ การเฝา ระวงั ควรตรวจสขุ ภาพโดยเนน ดแู ลระบบทางเดนิ หายใจเอกสารอา งอิง1. Olson KR, Anderson IB, Benowitz NL, Blanc PD, Clark RF, Kearney TE, et al. Poisoning & drug overdose. the California Poison Control System. 5th ed. New York: McGraw-Hill 2004.2. Farrow C, Wheeler H, Bates N, Murray V. Chemical Incident Management Handbook. London: The Stationery Office 2000.Chloroformนพ.วิวัฒน เอกบรู ณะวฒั นชอ่ื คลอโรฟอรม (Chloroform)ชื่ออน่ื Trichloromethane, Methane trichloride, Formyl trichloride, Trichloroform 41


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook