Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ-C-เรื-อรัง-2559

แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ-C-เรื-อรัง-2559

Published by arsa.260753, 2016-06-27 23:55:50

Description: แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ-C-เรื-อรัง-2559

Search

Read the Text Version

ÊÁÒ¤ÁâäµÑºá˧‹ »ÃÐà·Èä·Âแนวทางการดูแลรักษาผปู วยไวรัสตบั อักเสบ ซี เรื้อรงั ในประเทศไทยป พ.ศ. 2559Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016

ÊÁÒ¤ÁâäµÑºá˧‹ »ÃÐà·Èä·Âแนวทางการดูแลรักษาผปู วยไวรัสตบั อักเสบ ซี เรื้อรงั ในประเทศไทยป พ.ศ. 2559Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016

ใแนนปวรทะาเงทกศาไรทดยแู ลปรี พัก.ษศา.ผ2ู้ป5่ว5ย9ไวรสั ตับอักเสบ ซี เร้อื รงั TChharoilnaincdHPerpaacttiitcise CGu2i0d1e6line for Management ofพมิ พค์ รั้งที่ 1 เมษายน 2559 จ�ำนวน 3,000 เล่ม มิถนุ ายน 2558 จำ� นวน ISBN 978-616-279-833-7 978-616-279-685-2ผจู้ ัดพิมพ์เผยแพร่ สมาคมโรคตบั แห่งประเทศไทย เลขที่ 1575/1 ช้นั 4 อาคารชยั สงวน ถ. เพชรบรุ ีตดั ใหม่ มักกะสัน ราชเทวี กรงุ เทพมหานคร 10400 ห้างหนุ้ สว่ นจำ� กดั ภาพพิมพ์พิมพ์ท่ ี 45/12-14, 33 หมู่ 4 ถนนบางกรวย-จงถนอม ตำ� บลบางขนนุ อำ� เภอบางกรวย จังหวดั นนทบุรี 11130 โทรศพั ท์ 02-879-9154-6 โทรสาร 02-879-9153 [email protected] www.parbpim.com

ค�ำน�ำ แนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีเร้ือรัง ได้มีการทบทวนใหม่ ในปีพ.ศ. 2558 อย่างไรกต็ าม เน่ืองจากมีการเปล่ยี นแปลงการรกั ษาผปู้ ่วยไวรสั ตับอกั เสบซีอย่างมากและในปีท่ีผ่านมาได้มียาใหม่ๆ ขึ้นทะเบียนส�ำหรับการรักษาไวรัสตับอักเสบซีในประเทศไทยหลายชนิด จึงจ�ำเป็นต้องมีการปรับปรุงแนวทางการรักษาผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบซีขึ้นใหม่ ท้ังน้ีแนวทางการรักษาไวรัสตับอักเสบซีเร้ือรังฉบับน้ี นับเป็นแนวทางการรักษาท่ีมีการปรับปรุงใหม่เร็วที่สุด นับตั้งแต่มีการจัดท�ำแนวทางการรักษาขึ้นมาในประเทศไทย เนื่องจากแนวทางการรักษาฉบับก่อนได้ถูกเผยแพร่ในระยะเวลาไม่ถึงปีรวมทั้งยังเป็นแนวทางการรักษาที่มีการเปล่ียนแปลงมากท่ีสุด เนื่องจากการรักษาด้วยยาชนดิ ใหม่ๆ ไดเ้ ปลยี่ นจากยาฉดี อนิ เตอร์เฟอรอนมาเป็นยารับประทานทั้งหมด เพือ่ ให้แนวทางการรกั ษาไวรสั ตบั อกั เสบซเี รอ้ื รงั ในประเทศไทย มคี วามทนั สมยั และเปน็ แนวทางทแี่ พทยท์ ว่ั ไปสามารถนำ� ไปปฏบิ ตั ไิ ด้ จงึ ไดจ้ ดั ทำ� แนวทางการรกั ษาผปู้ ว่ ยไวรสั ตบั อกั เสบซีในประเทศไทย ฉบับปี พ.ศ. 2559 ข้ึนมา ทางสมาคมฯ ต้องขอขอบพระคุณ รองศาสตราจารย์นายแพทย์ธีระ พิรัชวิสุทธ์ิและรองศาสตราจารยน์ ายแพทยพ์ ลู ชยั จรสั เจรญิ วทิ ยา ทชี่ ว่ ยเปน็ หวั แรงในการปรบั ปรงุแนวทางการรักษาฉบับนี้ข้ึนมา โดยแนวทางการรักษามีความกระชับและง่ายต่อการปฏบิ ตั ิ ทางสมาคมฯ หวงั ว่า แนวทางการรกั ษาไวรสั ตบั อกั เสบซีเรอ้ื รงั ในประเทศไทยปีพ.ศ. 2559 น้ี จะเปน็ ประโยชน์กบั แพทย์ทั่วไป แพทยร์ ะบบทางเดนิ อาหาร และผ้สู นใจทกุ ท่าน ในการนำ� ไปเป็นแนวทางปฏบิ ัติ และรักษาผปู้ ่วยไวรัสตบั อักเสบซเี รือ้ รงั ต่อไป รองศาสตราจารย์นายแพทยท์ วศี ักดิ์ แทนวนั ดี นายกสมาคมโรคตบั แห่งประเทศไทย



คณะกรรมการสมาคมโรคตบั แห่งประเทศไทยวาระบริหารปี พ.ศ. 2558-2559นายกสมาคม นายแพทยท์ วศี ักดิ์ แทนวนั ดี สาขาวิชาโรคระบบทางเดนิ อาหาร คณะแพทยศาสตร์อุปนายก แพทยห์ ญิงวฒั นา สขุ ีไพศาลเจริญ ศิรริ าชพยาบาล มหาวิทยาลยั มหดิ ลเลขาธกิ าร นายแพทยช์ ินวตั ร์ สทุ ธวิ นา ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ปฏิคม นายแพทย์ทีปวทิ ย์ วิถีรงุ่ โรจน์ มหาวทิ ยาลยั ขอนแก่น กองอายรุ กรรม แผนกทางเดนิ อาหารเหรญั ญกิ แพทย์หญงิ ศิวะพร ไชยนุวัติ โรงพยาบาลภูมพิ ลฯ หนว่ ยโรคระบบทางเดนิ อาหาร ถุงนำ้� ดีและตบั ภาควิชาประธานฝา่ ย นายแพทย์ธีระ พีรชั วสิ ุทธ์ิ อายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลยั สงขลาวชิ าการและการ นครนิ ทร์ศึกษาตอ่ เนอ่ื ง สาขาวชิ าโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์ประธานฝา่ ยวิจยั นายแพทยพ์ ูลชยั จรสั เจรญิ วทิ ยา ศิริราชพยาบาล มหาวทิ ยาลัยมหิดล หน่วยโรคระบบทางเดนิ อาหาร ถงุ น�้ำดแี ละตับภาควชิ าประธานฝ่าย นายแพทยป์ ยิ ะวัฒน์ โกมลมิศร์ อายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยสงขลาวารสาร นครนิ ทร์ประธานฝ่าย นายแพทย์ศตวรรษ ทองสวัสด์ิ สาขาวิชาโรคระบบทางเดินอาหาร คณะแพทยศาสตร์จริยธรรม ศิริราชพยาบาล มหาวทิ ยาลยั มหดิ ลประธานฝ่ายเงิน พลตรนี ายแพทยอ์ นชุ ิต จูฑะพทุ ธิ หน่วยทางเดินอาหาร ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ออม คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยัประธานฝ่าย แพทย์หญงิ อาภสั ณี โสภณสฤษฎ์สุข หนว่ ยวชิ าระบบทางเดนิ อาหาร ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์ประชาสัมพันธ์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชยี งใหม่ หนว่ ยโรคทางเดินอาหารและตับ กองอายุรกรรมนายทะเบียน นายแพทยส์ มบตั ิ ตรปี ระเสรฐิ สุข โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า หน่วยทางเดนิ อาหาร ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์กรรมการ นายแพทยพ์ ิสิฐ ตั้งกิจวานชิ ย์ คณะแพทยศาสตร์ โรงพยาบาลรามาธบิ ดี มหาวทิ ยาลยักรรมการ นายแพทยเ์ ฉลิมรฐั บัญชรเทวกุล มหดิ ล หนว่ ยทางเดนิ อาหาร ภาควชิ าอายรุ ศาสตร์กรรมการ นายแพทย์สนุ ทร ชลประเสรฐิ สุข คณะแพทยศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวิทยาลยั ภาควิชาเคมี คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยัทีป่ รึกษา นายแพทย์เติมชัย ไชยนวุ ัติที่ปรกึ ษา แพทยห์ ญิงชตุ มิ า ประมูลสินทรพั ย์ แผนกทางเดนิ อาหาร กลมุ่ งานอายรุ กรรมทป่ี รกึ ษา แพทยห์ ญงิ วโรชา มหาชัย โรงพยาบาลราชวิถี หนว่ ยทางเดนิ อาหาร ภาควิชาอายรุ ศาสตร์ทปี่ รึกษา นายแพทย์ยงยุทธ ศริ วิ ัฒนอักษร คณะแพทยศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยธรรมศาสตร์ คลนี กิ แพทย์สยาม ศนู ย์ระบบทางเดนิ อาหาร โรงพยาบาลพญาไท 1 หนว่ ยทางเดนิ อาหาร ภาควิชาอายรุ ศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ภาควิชาศัลยศาสตร์ คณะแพทยศาสตรศ์ ริ ิราชพยาบาล มหาวิทยาลัยมหิดล

แนวทางการดแู ลรักษาผปู้ ว่ ยไวรสั ตบั อกั เสบ ซี เรื้อรัง ในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2559 Thailand Practice Guideline for Management of Chronic Hepatitis C 2016การประเมินผปู้ ่วยทต่ี รวจซรี ั่ม anti-HCV ใหผ้ ลบวก ๐ ตรวจปริมาณ HCV RNA ในเลือดเพ่ือยืนยันการติดเช้ือไวรัสตับอักเสบ ซี ดว้ ยวิธตี รวจท่มี คี วามไวสงู สามารถตรวจพบ HCV RNA ได้อยา่ งน้อย 15 IU/mL ๐ หากตรวจไม่พบ HCV RNA ให้ตรวจ HCV RNA ซ�้ำอีกคร้ังท่ี 3-6 เดือน ถัดมา • ถ้าไม่พบ HCV RNA แสดงว่าเป็นภาวะบวกปลอม (false positive) หรือหายจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซีแล้ว ให้ค�ำแนะน�ำและไม่ต้อง นัดตรวจตดิ ตาม • หากตรวจพบ HCV RNA แสดงว่าเปน็ การตดิ เช้อื ไวรัสตับอักเสบ ซี เร้อื รงั ให้ ประเมนิ ดงั น้ี - ตรวจเลือดประเมินสภาพและการท�ำงานของตับ (Liver Function Test; LFT), complete blood count และ coagulogram - ตรวจ HBsAg, anti-HBc, anti-HIV และ anti-HAV antibodies - ประเมนิ ความรุนแรงของพงั ผดื ในเนอ้ื ตบั ดว้ ยวิธีการท่จี ะกลา่ วตอ่ ไป - ประเมนิ โรคร่วมอ่ืนๆ เพือ่ พิจารณาแนวทางการดูแลรักษาผู้ปว่ ย - ตรวจสายพนั ธไ์ุ วรสั ตบั อกั เสบ ซี (HCV genotype) เพอ่ื วางแนวทางการรกั ษา ข้อแนะน�ำ ใหต้ รวจ HCV RNA แม้วา่ การทดสอบ anti-HCV เบื้องตน้ ให้ผลลบ ในกลมุ่ ผ้ปู ่วยทสี่ งสยั การตดิ เช้ือไวรสั ตบั อกั เสบ ซี ฉบั พลัน (acute hepatitis C) และผปู้ ว่ ยทมี่ ีภมู คิ ้มุ กนั บกพรอ่ ง ไดแ้ ก่ ผู้ปว่ ยไตวายเร้ือรงั ผู้ปว่ ยทต่ี ิดเชือ้ HIV หรือผูป้ ว่ ยทีใ่ ชย้ ากดภมู ิคุ้มกนั

Chronic Hepatitis C 2016 7การตรวจประเมินความรุนแรงของพังผืดในโรคไวรัสตับอักเสบซีเรือ้ รัง ๐ การตรวจประเมินทบ่ี ง่ ช้ี significant fibrosis - การตรวจชนิ้ เนอ้ื ตบั ประเมนิ ลกั ษณะทางพยาธวิ ทิ ยาพบพงั ผดื ในเนอื้ ตบั ตาม ระบบ METAVIR มากกว่าหรอื เท่ากบั 2 - ตรวจวดั ความยดื หยนุ่ ของเนอ้ื ตบั ดว้ ย transient elastography ไดค้ า่ มากกวา่ 7.0 kilopascal (kPa) - ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเนื้อตับด้วยคล่ืนเสียงความถ่ีสูง (acoustic radiation force impulse imaging) ได้คา่ มากกวา่ 1.2 เมตรต่อวนิ าที - การตรวจเลือดเพ่ือวัดระดับ a-2-macroglobulin, gamma-glutamyl transpeptidase, apolipoprotein A1, haptoglobin และ total bilirubin ร่วมกับน�ำข้อมลู อายุ และเพศของผปู้ ่วย ไปคำ� นวณในระบบการตรวจท่เี รียก วา่ Fibrotest® ไดค้ า่ มากกวา่ 0.48 - การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ platelets, a-2-macroglobulin, alanine aminotransferase, aspartate aminotransferase, gamma-glutamyl transpeptidase, urea, และ prothrombin index ไปค�ำนวณในระบบการ ตรวจทเี่ รียกว่า Fibrometer® ได้คา่ มากกว่า 0.64 ๐ การตรวจประเมินทบ่ี ง่ ช้ภี าวะตบั แขง็ - การตรวจภาพรงั สวี นิ ิจฉยั ของตับ มลี ักษณะบง่ ชีภ้ าวะตบั แข็ง - การตรวจชน้ิ เนอ้ื ตบั ประเมนิ ลกั ษณะทางพยาธวิ ทิ ยาพบพงั ผดื ในเนอื้ ตบั ตาม ระบบ METAVIR เท่ากับ 4 - ตรวจวดั ความยดื หยนุ่ ของเนอ้ื ตบั ดว้ ย transient elastography ไดค้ า่ มากกวา่ หรือเท่ากบั 13 kPa - ตรวจวัดความยืดหยุ่นของเน้ือตับด้วยคล่ืนเสียงความถี่สูง (acoustic radiation force impulse imaging) ไดค้ า่ มากกวา่ 1.8 เมตรตอ่ วินาที - การตรวจเลือดเพื่อวัดระดับ a-2-macroglobulin, gamma-glutamyl transpeptidase, apolipoprotein A1, haptoglobin และ total bilirubin

C8 hronic Hepatitis C 2016 ร่วมกบั นำ� ข้อมลู อายุ และเพศของผูป้ ว่ ย ไปคำ� นวณในระบบการตรวจทีเ่ รยี ก ว่า Fibrotest® ได้ค่ามากกว่า 0.74 - การตรวจเลือดเพ่ือวัดระดับ platelets, a-2-macroglobulin, alanine aminotransferase, aspartate aminotransferase, gamma-glutamyl transpeptidase, urea, และ prothrombin index ไปค�ำนวณในระบบการ ตรวจที่เรยี กวา่ Fibrometer® ไดค้ ่ามากกวา่ 0.78ขอ้ บ่งช้ใี นการรกั ษาไวรสั ตับอักเสบ ซี เรอ้ื รงั ๐ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี ทุกรายควรได้รับการรักษา แต่เนื่องจากมีข้อจ�ำกัดใน ด้านงบประมาณและบุคลากรท่ีมีความช�ำนาญในการรักษาเฉพาะโรค จึงต้อง มีการจดั ลำ� ดับความส�ำคัญของคนไข้ทค่ี วรไดร้ บั การรกั ษาเป็นลำ� ดบั แรกๆ ก่อน ๐ ไมม่ ีโรคร่วมอ่นื ๆ ท่ีรนุ แรงจนส่งผลใหผ้ ู้ปว่ ยมีอายขุ ยั ท่ีคาดหวงั ลดลง ๐ ไม่มขี อ้ หา้ มตอ่ การรักษาผปู้ ่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เรอ้ื รังท่คี วรได้รบั การรกั ษาเป็นลำ� ดับแรก ๐ ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็ง รวมถึงตับแข็งท่ีเป็นมากแล้ว (decompensated cirrhosis) ๐ ผปู้ ว่ ยทม่ี พี งั ผดื ในเนอ้ื ตบั ในระดบั มาก (bridging fibrosis) ตามระบบ METAVIR เทา่ กับ 3 หรอื วธิ ีการตรวจอ่ืนท่เี ทียบเท่า ๐ ผู้ปว่ ยที่ตดิ เชอ้ื HIV ร่วมด้วย ๐ ผู้ป่วยทตี่ ดิ เชื้อ HBV ร่วมด้วย ๐ ผู้ปว่ ยทีม่ ขี ้อบง่ ชี้ในการปลกู ถา่ ยตับ ๐ ผูป้ ่วยท่มี ีการกลบั เปน็ ซ้�ำของ HCV ภายหลงั จากได้รบั การปลกู ถา่ ยตับ ๐ ผ้ปู ว่ ยทม่ี ีลกั ษณะทางคลนิ กิ อื่นๆนอกตบั ทรี่ ุนแรง

Chronic Hepatitis C 2016 9ผปู้ ว่ ยไวรสั ตบั อกั เสบ ซี เรอื้ รงั ทคี่ วรไดร้ บั การพจิ ารณาการรกั ษาเปน็ลำ� ดับต่อมา ๐ ผปู้ ว่ ยทม่ี พี งั ผดื ในเนอ้ื ตบั ระดบั ทมี่ คี วามสำ� คญั (significant fibrosis) ตามระบบ METAVIR เทา่ กบั 2 หรือวธิ ีการตรวจอ่ืนท่ีเทียบเทา่ ๐ ผปู้ ว่ ยทม่ี คี วามเสีย่ งทจี่ ะถ่ายทอดเชื้อ HCV ไปใหผ้ ู้อน่ื ดงั นี้ - ผหู้ ญงิ วยั เจริญพันธทุ์ ว่ี างแผนจะมีบตุ ร - ผู้ป่วยไตวายเรื้อรังทต่ี ้องไดร้ ับการฟอกเลอื ดผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เร้ือรังท่ีสามารถติดตามต่อเน่ืองโดยยังไม่ตอ้ งทำ� การรกั ษา ๐ ผู้ป่วยที่ยังไม่มีพังผืดในเน้ือตับหรือมีพังผืดเพียงเล็กน้อยตามระบบ METAVIR เท่ากับ 0 ถงึ 1 และไม่มขี ้อบง่ ช้อี ่นื ท่จี �ำเปน็ ตอ้ งรีบได้รบั การรกั ษายารกั ษาไวรสั ตับอกั เสบ ซี เรอื้ รังท่มี ีในประเทศไทย - Pegylated interferon alfa 2a หรือ 2b - Ribavirin - Boceprevir - Sofosbuvir - Daclatasvir - ยาที่ก�ำลังขึ้นทะเบียน ได้แก่ simeprevir ยาสูตรผสมระหว่าง sofosbuvir และ ledipasvir ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir/ritonavir และ ombitasvir รว่ มกบั dasabuvir

การรักษาการตดิ เชื้อไวรัสตับอกั เสบ ซี เร้อื รังในผูป้ ว่ ยท่ไี ม่เคยไดร้ บั การรกั ษามาก่อน และผู้ป่วยทไ่ี ม่ตอบสนอง ต่อการรักษาด้วย pegylated interferon ร่วมกบั ribavirinการรักษาผปู้ ่วยท่ตี ดิ เชอ้ื ไวรสั ตับอกั เสบ ซี เร้ือรัง สายพันธ์ุ 1 ๐ ผู้ปว่ ยที่ยังไม่มีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มลิ ลกิ รมั วนั ละ 1 ครัง้ เป็นเวลานาน 12 สปั ดาห์ สูตรท่ี 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลกิ รัม วนั ละ 1 คร้ัง เปน็ เวลา นาน 12 สปั ดาห์ สตู รที่ 3: ยาสตู รผสมระหวา่ ง sofosbuvir ขนาด 400 มลิ ลกิ รมั และ ledipasvir ขนาด 90 มิลลิกรัม รับประทานวันละ 1 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สปั ดาห์ สามารถ รกั ษานานเพียง 8 สัปดาห์ในผู้ปว่ ยสายพันธ์ุ 1b ที่มี HCV RNA ก่อนการรกั ษา นอ้ ยกว่า 6,000,000 IU/mL สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกบั simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลกิ รมั วันละ 1 ครัง้ เปน็ เวลา นาน 12 สัปดาห์ หมายเหต:ุ simeprevir ไมใ่ ห้ไช้ในสายพนั ธ์ุ 1a ท่มี ี Q80k variant สูตรที่ 5: ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir ขนาด 150 มิลลิกรัม และ ritonavir ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม วนั ละ 1 ครัง้ รว่ มกบั dasabuvir ขนาด 250 มลิ ลกิ รมั รบั ประทานวนั ละ 2 ครง้ั เปน็ เวลานาน 12 สัปดาห์ หมายเหตุ: ให้ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง ร่วมด้วยในสายพันธุ์ 1a

Chronic Hepatitis C 2016 11 ๐ ผู้ปว่ ยทม่ี ภี าวะตบั แข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าช้ันใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรมั วนั ละ 1 ครั้ง เปน็ เวลานาน 12 สปั ดาห์ สูตรท่ี 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานข้ึนเป็น 24 สัปดาห์ สูตรท่ี 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ปว่ ยที่ไม่สามารถใชย้ า ribavirin ได้ ใหร้ กั ษานานข้ึนเป็น 24 สัปดาห์ สูตรท่ี 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สตู รท่ี 5: ยาสตู รผสมระหวา่ ง paritaprevir ขนาด 150 มลิ ลกิ รมั และ ritonavir ขนาด 100 มิลลกิ รมั และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลกิ รมั รับประทานวนั ละ 1 คร้งั ร่วมกบั dasabuvir ขนาด 250 มลิ ลกิ รัม รบั ประทานวันละ 2 ครงั้ และ ribavirin รบั ประทานวนั ละ 2 ครงั้ ใหก้ ารกั ษานาน 12 สปั ดาห์ สำ� หรบั สายพนั ธ์ุ 1b และนาน 24 สปั ดาห์ส�ำหรับสายพันธ์ุ 1aการรักษาผปู้ ว่ ยทต่ี ดิ เช้ือไวรสั ตบั อักเสบ ซี เร้อื รงั สายพนั ธท์ุ ่ี 2 ๐ ผปู้ ่วยที่มีหรือไมม่ ีภาวะตับแขง็ สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirinรับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับ ประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์

C12 hronic Hepatitis C 2016 สูตรท่ี 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง รว่ มกับ daclatasvir รบั ประทานขนาด 60 มิลลกิ รัม วนั ละ 1 ครง้ั เปน็ เวลา นาน 12 สปั ดาห์ สูตรท่ี 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละคร้ัง ร่วมกับ ribavirinรับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่มีตับแข็ง และนาน 16 ถึง 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยท่ี มีภาวะตับแข็งการรกั ษาผู้ป่วยทต่ี ดิ เชือ้ ไวรัสตับอักเสบ ซี เรอื้ รัง สายพันธ์ทุ ่ี 3 ๐ ผู้ป่วยท่ียังไมม่ ีภาวะตับแขง็ สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลกิ รมั วันละ 1 ครง้ั เป็นเวลานาน 12 สปั ดาห์ สูตรท่ี 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์ สตู รที่ 3: sofosbuvir รบั ประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วนั ละ 1 ครงั้ รว่ มกบั daclatasvir รบั ประทานขนาด 60 มลิ ลกิ รมั วนั ละครง้ั เปน็ เวลานาน 12 สปั ดาห์ ๐ ผู้ปว่ ยท่ีมภี าวะตับแขง็ สูตรท่ี 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 ครั้ง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลิกรัม วนั ละ 1 คร้งั เปน็ เวลานาน 12 สปั ดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รบั ประทานขนาด 1,000-1,200 มิลลกิ รัม โดยแบ่งรับประทานวันละ 2 ครงั้ เปน็ เวลานาน 16 ถึง 24 สปั ดาห์ หมายเหตุ: รักษาเป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ในกรณีท่ีเป็นเพียง bridging fibrosis

Chronic Hepatitis C 2016 13การรักษาผปู้ ่วยท่ตี ดิ เชอ้ื ไวรัสตับอกั เสบ ซี เรอ้ื รัง สายพันธ์ุท่ี 4 ๐ ผูป้ ว่ ยทย่ี ังไม่มภี าวะตบั แขง็ สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าช้ันใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 คร้ัง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มิลลกิ รมั วนั ละ 1 คร้งั เปน็ เวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกบั daclatasvir รบั ประทานขนาด 60 มิลลกิ รัม วันละ 1 คร้งั เปน็ เวลา นาน 12 สปั ดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกบั ledipasvir รบั ประทานขนาด 90 มลิ ลิกรัม วนั ละ 1 ครงั้ เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรท่ี 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง รว่ มกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มลิ ลกิ รมั วนั ละ 1 คร้ัง เป็นเวลา นาน 12 สปั ดาห์ ๐ ผู้ปว่ ยท่ีมภี าวะตับแขง็ สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 คร้ัง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มลิ ลิกรัม วนั ละ 1 ครัง้ เปน็ เวลานาน 12 สปั ดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานข้ึนเป็น 24 สัปดาห์ สูตรที่ 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์

C14 hronic Hepatitis C 2016 สูตรที่ 4: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เรื้อรัง สายพันธุ์ท่ี 5และ 6 ๐ ผปู้ ว่ ยทีย่ งั ไม่มีภาวะตับแขง็ สูตรท่ี 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 คร้ัง และ ribavirinรับประทานวันละ 2 คร้ัง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มลิ ลิกรมั วันละ 1 คร้งั เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง รว่ มกบั daclatasvir รบั ประทานขนาด 60 มิลลกิ รมั วนั ละ 1 ครัง้ เปน็ เวลา นาน 12 สปั ดาห์ สูตรท่ี 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง รว่ มกับ ledipasvir รบั ประทานขนาด 90 มิลลกิ รัม วนั ละ 1 ครงั้ เปน็ เวลานาน 12 สปั ดาห์ ๐ ผู้ปว่ ยทีม่ ีภาวะตับแข็ง สูตรที่ 1: pegylated interferon ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง สัปดาห์ละ 1 คร้ัง และ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง ร่วมกับ sofosbuvir รับประทาน ขนาด 400 มลิ ลกิ รัม วันละ 1 ครง้ั เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรท่ี 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รบั ประทานวนั ละ 2 ครง้ั เปน็ เวลานาน 12 สปั ดาห์ ในผปู้ ว่ ยทไ่ี มส่ ามารถ ใชย้ า ribavirin ได้ ใหก้ ารรกั ษานานข้ึนเปน็ 24 สัปดาห์

Chronic Hepatitis C 2016 15ตารางสรปุ แนวทางการรกั ษาผปู้ ว่ ยทต่ี ดิ เชอ้ื ไวรสั ตบั อกั เสบ ซี เรอ้ื รงั ผ้ปู ว่ ยท่ไี มม่ ภี าวะตับแข็งไม่มภี าวะ SOF/Peg/ SOF/RBV SOF/LDV AbbVie’s SOF/SMP SOF/DCVตับแข็ง RBVG1a 12 สัปดาห์ 8-12 12 สปั ดาห์ 12 สปั ดาห์ 12 สปั ดาห์ สัปดาห์ + RBVG1b 12 สปั ดาห์G2 12 สัปดาห์ 12 สปั ดาห์ 12 สปั ดาห์G3 12 สปั ดาห์ 24 สัปดาห์ 12 สปั ดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์G4 12 สัปดาห์ 12 สปั ดาห์G5/6 12 สัปดาห์ 12 สัปดาห์ 12 สปั ดาห์ค�ำยอ่ . G, genotype; DCV, daclatasvir; LDV, ledipasvir; Peg, pegylated interferon;SOF, sofosbuvir; SMP, simeprevir; RBV, ribavirin.AbbVie’s สูตรยาประกอบดว้ ย paritaprevir, ritonavir, ombitasvir และ dasabuvir

C16 hronic Hepatitis C 2016 ผ้ปู ว่ ยที่มภี าวะตับแขง็มภี าวะตบั SOF/ SOF/ SOF/LDV AbbVie’s SOF/SMP SOF/DCV แข็ง Peg/RBV RBVG1a 12 24 24 24 24 สปั ดาห์ สปั ดาห์ สปั ดาห์ สัปดาห์ + สัปดาห์ 12 RBV 12 12 สปั ดาห์G1b 12 + RBV สัปดาห์ + สปั ดาห์ + RBV สัปดาห์ + RBV RBVG2 12 16-20 12 สปั ดาห์ สปั ดาห์ สัปดาห์G3 12 24 16-24 สัปดาห์ สปั ดาห์ สัปดาห์ +G4 12 12 RBV สัปดาห์ สัปดาห์ + 24 24 สัปดาห์ สัปดาห์ 12 สปั ดาห์G5/6 12 RBV 12 + RBV สัปดาห์ 24 สปั ดาห์ + สปั ดาห์ RBV 12 24 สัปดาห์ สัปดาห์ + 12 สัปดาห์ RBV + RBVค�ำย่อ. G, genotype; DCV, daclatasvir; LDV, ledipasvir; Peg, pegylated interferon;SOF, sofosbuvir; SMP, simeprevir; RBV, ribavirin.AbbVie’s สูตรยาประกอบดว้ ย paritaprevir, ritonavir, ombitasvir และ dasabuvir

Chronic Hepatitis C 2016 17หมายเหต:ุ สตู รยาทม่ี ี pegylated interferon และ/หรอื ribavirin ให้บรหิ ารยาดังน้ี ๐ กรณีท่ีรักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉีดเข้าช้ันใต้ผิวหนังขนาด 180 ไมโครกรัมสัปดาห์ละ 1 คร้งั ร่วมกับ ribavirin รับประทานขนาดวันละ - 1,000 มลิ ลิกรมั สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยท่ีมนี �้ำหนักนอ้ ยกว่า 75 กโิ ลกรัม - 1,200 มลิ ลิกรมั สำ� หรับผู้ป่วยที่มนี ำ้� หนักตั้งแต่ 75 กโิ ลกรัมขน้ึ ไป ๐ กรณีท่ีรักษาด้วย pegylated interferon alfa-2b ฉีดเข้าชั้นใต้ผิวหนัง ขนาด 1 ถึง 1.5 ไมโครกรัมต่อน้�ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รบั ประทานขนาดวันละ - 800 มิลลกิ รัม ส�ำหรับผู้ป่วยทม่ี ีน�้ำหนกั นอ้ ยกวา่ 65 กโิ ลกรัม - 1,000 มิลลกิ รัม สำ� หรับผู้ป่วยท่ีมนี �ำ้ หนักตั้งแต่ 65 กิโลกรมั ถึง 85 กิโลกรมั - 1,200 มลิ ลกิ รมั สำ� หรบั ผปู้ ว่ ยทม่ี นี ำ้� หนกั มากกวา่ 85 กโิ ลกรมั ถงึ 105 กโิ ลกรมั - 1,400 มลิ ลกิ รัม สำ� หรับผปู้ ว่ ยท่มี ีน้ำ� หนักต้ังแต่ 105 กโิ ลกรัมขึ้นไป ๐ กรณีท่ีรักษาด้วย ribavirin โดยไม่มี pegylated interferon ร่วมด้วย ให้ขนาดยาเช่นเดียวกับผู้ป่วยท่ีใช้ ribavirin ร่วมกับ pegylated interferon alfa-2aขอ้ หา้ มของการรกั ษาโรคไวรสั ตบั อกั เสบ ซี เรอ้ื รงั ดว้ ยยา interferon และ ribavirin - ผปู้ ว่ ยตับแข็งท่ีเปน็ มากแลว้ (decompensated cirrhosis) - มีประวตั แิ พ้ยา interferon และ / หรือ ribavirin - ภาวะซึมเศรา้ รนุ แรงท่ยี งั ควบคมุ ไมไ่ ด้ - ตง้ั ครรภห์ รอื ไม่เตม็ ใจทจี่ ะยินยอมในการคมุ ก�ำเนดิ - ไดร้ บั การผา่ ตดั ปลูกถ่ายอวัยวะ ยกเวน้ การผ่าตดั เปล่ยี นตับ - มีโรคท่ีเปน็ ข้อห้ามตอ่ การใช้ยา interferon - มโี รครว่ มตา่ งๆทยี่ งั รกั ษาควบคมุ โรคไดไ้ มด่ ี เชน่ ความดนั โลหติ สงู เบาหวาน โรค หวั ใจและหลอดเลอื ด ถงุ ลมโป่งพอง และโรคธัยรอยดเ์ ป็นตน้

C18 hronic Hepatitis C 2016การรักษาผู้ป่วยที่ติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี เร้ือรังสายพันธุ์ท่ี 1 ที่ไม่ตอบสนองต่อboceprevir สูตรท่ี 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยท่ีมีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรอื ตับแข็ง สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยที่มีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรือตบั แข็ง สูตรท่ี 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ใหย้ านานข้นึ เปน็ 24 สัปดาหใ์ นผู้ปว่ ยท่ีมีพังผดื มาก (bridging fibrosis) หรือ ตับแข็ง สูตรท่ี 4: ยาสูตรผสมระหว่าง paritaprevir ขนาด 150 มิลลิกรัม และ ritonavir ขนาด 100 มิลลิกรัม และ ombitasvir ขนาด 25 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ dasabuvir ขนาด 250 มิลลิกรัม วันละ 2 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ให้ยานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ในผู้ป่วยท่ีมีพังผืดมาก (bridging fibrosis) หรือตบั แข็ง

Chronic Hepatitis C 2016 19การรักษาการตดิ เช้ือไวรัสตบั อกั เสบ ซี เรือ้ รงั ในผปู้ ว่ ยกลุม่ พเิ ศษการรักษาผปู้ ่วยติดเช้อื ไวรสั ตับอกั เสบ ซี ทม่ี ตี บั แข็งเปน็ มากแลว้(decompensated cirrhosis) - ยงั ไมม่ ีคำ� แนะนำ� การรกั ษาในผปู้ ว่ ยตับแข็งที่มี Child-Pugh score ระหวา่ ง 13 ถึง 15 - ผู้ปว่ ยตับแข็งทมี่ ี Child-Pugh score ≤ 12 มีแนวทางการรักษาดงั นี้ ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพนั ธุ์ที่ 1, 4 และ 6 สูตรท่ี 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ ส่วน ribavirin ใหเ้ ริ่มท่ขี นาดวันละ 600 มิลลิกรัม แลว้ ปรับเพ่มิ ข้ึนครัง้ ละ 200 มิลลิกรัมทุกสัปดาห์ จนได้ปริมาณท่ีมากที่สุดท่ีทนได้ หรือถึงขนาดท่ีควรได้รับ เชน่ เดยี วกบั ผทู้ ่ีไมม่ ตี ับแขง็ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานข้ึนเป็น 24 สัปดาห์ สว่ น ribavirin ให้เรม่ิ ทขี่ นาดวนั ละ 600 มิลลิกรัม แล้วปรับเพม่ิ ขน้ึ ครั้งละ 200 มิลลิกรัมทุกสัปดาห์ จนได้ปริมาณที่มากที่สุดที่ทนได้หรือถึงขนาดท่ีควรได้รับ เชน่ เดียวกับผู้ท่ีไมม่ ีตับแขง็ สูตรท่ี 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง รว่ มกบั simeprevir รับประทานขนาด 150 มลิ ลิกรัม วนั ละ 1 ครง้ั ร่วมกบั daclatasvir รบั ประทานขนาด 60 มลิ ลกิ รัม วนั ละ 1 คร้ัง เปน็ เวลานาน 12 สัปดาห์

C20 hronic Hepatitis C 2016 ๐ ไวรัสตับอักเสบ ซี สายพันธทุ์ ่ี 2 และ 3 สูตรท่ี 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์ สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยที่ไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานข้ึนเป็น 24 สัปดาห์การรักษาผปู้ ่วยติดเชอื้ รว่ มไวรสั ตับอกั เสบ ซี และ HIV - พิจารณาให้การรกั ษาไวรสั ตบั อักเสบ ซี เหมอื นผ้ปู ว่ ยไวรัสตบั อกั เสบ ซี ทีไ่ ม่มี การตดิ เช้ือ HIV รว่ มด้วย - หลีกเล่ียงการใช้ยาหรือปรับขนาดของยาท่ีมีปฏิกิริยาระหว่างยาที่ใช้รักษาไวรัส ตบั อกั เสบ ซี และ HIV ตามคำ� แนะนำ� ในเวบ็ ไซด์ www.hep-druginteractions. org/ เรือ่ ง HEP Drug Interactionsการรักษาผู้ปว่ ยตดิ เชอ้ื ร่วมไวรสั ตบั อกั เสบ ซี และ บี - พิจารณาให้การรกั ษาไวรสั ตบั อกั เสบ ซี เหมือนผ้ปู ่วยไวรัสตบั อกั เสบ ซี ท่ีไม่มี การตดิ เช้อื ไวรัสตับอกั เสบ บี รว่ มด้วย - เจาะเลือดติดตามปริมาณ HBV DNA ในเลือด และให้การรักษาเม่ือมีข้อบ่งชี้ ได้แก่ ปริมาณ HBV DNA มากกวา่ 2000 IU/mL หรือมีผลเลือดที่แสดงถงึ ภาวะ ตับอกั เสบการรักษาผปู้ ่วยตดิ เชือ้ ไวรัสตับอักเสบ ซี ทม่ี โี รคไตรว่ มด้วย - กรณีทก่ี ารท�ำงานของไตเสือ่ มลงเล็กน้อย (Glomerular Filtration Rate; GFR มากกว่าหรอื เท่ากบั 30 มิลลิลิตร/นาท)ี สามารถให้การรกั ษาเหมอื นผูป้ ่วยท่ีมี การทำ� งานของไตปกติ

Chronic Hepatitis C 2016 21- กรณีที่การท�ำงานของไตเสื่อมลงมาก (GFR น้อยกว่า 30 มิลลิลิตร/นาที) การรักษาด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี ได้แก่ simeprevir, daclatasvir, ยาสตู รผสมระหวา่ ง paritaprevir และ ritonavir และ paritaprevir และ ombitasvir รว่ มกับ dasabuvir สามารถใช้ไดโ้ ดยไมต่ ้องปรบั ขนาดยา แต่ แนะนำ� ไมใ่ ห้ใช้ sofosbuvir ในผปู้ ่วยทีม่ ี GFR น้อยกวา่ 30 มิลลลิ ิตร/นาที โดย มแี นวทางการรกั ษาดงั นี้๐ ไวรัสตบั อกั เสบ ซี สายพันธุ์ท่ี 2, 3, 5 และ 6 - แนะนำ� ใหร้ อยาสตู รใหมท่ ไี่ ดผ้ ลดี หากไมม่ ขี อ้ บง่ ชใี้ นการรกั ษาไวรสั ตบั อกั เสบ ซี ทเี่ รง่ ดว่ น - หากจ�ำเป็นต้องรีบให้การรักษาและผู้ป่วยไม่มีภาวะตับแข็ง หรือมีตับแข็ง ระยะต้น (compensated cirrhosis) พิจารณาการรักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉดี เขา้ ชัน้ ใต้ผวิ หนงั ขนาด 135 ไมโครกรมั สปั ดาหล์ ะ 1 คร้ัง หรือ pegylated interferon alfa-2b ฉีด เข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 1 ไมโครกรัมต่อน้�ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์ ส�ำหรบั ไวรสั สายพันธุ์ 2 หรอื 3 และรักษานาน 48 สปั ดาห์ สำ� หรบั ไวรสั สายพนั ธุ์ 5 หรอื 6- อาจพิจารณาให้ ribavirin แต่ต้องใช้ในขนาดที่ต�่ำและต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกดิ ภาวะโลหติ จางและผลข้างเคียงอื่นได้๐ ไวรสั ตบั อักเสบ ซี สายพนั ธ์ุท่ี 1 และ 4 ผูป้ ว่ ยทไี่ ม่มีภาวะตบั แข็ง - Daclatasvir รบั ประทานขนาด 60 มลิ ลกิ รมั วนั ละ 1 ครงั้ รว่ มกบั asunaprevir รับประทานขนาด 200 มลิ ลกิ รมั วนั ละ 2 คร้ัง เปน็ เวลานาน 12 สัปดาห์ หมายเหต:ุ ไดผ้ ลดีส�ำหรับ สายพนั ธ์ุ 1b เท่านน้ั และต้องไม่มีภาวะเกล็ดเลือด ต�ำ่ กว่า 80,000 เซลล์/มม. - หากจำ� เป็นต้องรบี ให้การรักษา พิจารณาการรักษาด้วย ยาสตู รผสมระหวา่ ง paritaprevir รับประทานขนาด 150 มิลลกิ รมั และ ritonavir รับประทาน ขนาด 100 มลิ ลกิ รัม และ ombitasvir รบั ประทานขนาด 25 มลิ ลิกรัม วนั ละ

C22 hronic Hepatitis C 2016 1 ครั้ง และ dasabuvir รบั ประทานขนาด 250 มิลลกิ รัม วนั ละ 2 คร้ัง รว่ ม กบั ribavirin รบั ประทานวนั ละ 2 ครง้ั แตต่ อ้ งใชข้ นาดยาทต่ี ำ่� และตอ้ งตดิ ตาม อย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจางและผลข้างเคียงอ่ืนได้ เป็นเวลา นาน 12 สัปดาห์ ผ้ปู ว่ ยทมี่ ภี าวะตับแขง็ - ผู้ป่วยที่มีภาวะตับแข็งระยะต้น (compensated cirrhosis) พิจารณา การรักษาด้วย pegylated interferon alfa-2a ฉีดเข้า ชั้นใต้ผิวหนัง ขนาด 135 ไมโครกรัม สัปดาห์ละ 1 คร้ัง หรือ pegylated interferon alfa-2b ฉีด เข้าชั้นใต้ผิวหนังขนาด 1 ไมโครกรัมต่อน้�ำหนัก 1 กิโลกรัม สัปดาห์ละ 1 ครง้ั เป็นเวลานาน 48 สปั ดาห์ อาจพิจารณาให้ ribavirin แต่ ต้องใช้ขนาดต่�ำและต้องติดตามอย่างใกล้ชิด เพราะอาจเกิดภาวะโลหิตจาง และผลข้างเคียงอื่นได้ - แนะน�ำให้รอยาสูตรใหม่ท่ีได้ผลดี ในกรณีที่มีภาวะตับแข็งท่ีเป็นมากแล้ว (decompensated cirrhosis)การรักษาผปู้ ว่ ยติดเช้อื ไวรสั ตับอักเสบ ซี ทไ่ี ดร้ ับการปลกู ถา่ ยตับ ผู้ป่วยไวรัสตับอักเสบ ซี เร้ือรัง ที่รอการปลูกถ่ายตับควรได้รับการรักษาไวรัส ตับอักเสบ ซี เพื่อป้องกันการติดเช้ือซ้�ำภายหลังการปลูกถ่ายตับ โดยมีแนวทาง การรักษาดังในผู้ปว่ ยท่มี ีภาวะตับแข็งดังท่ีกล่าวข้างตน้ ๐ กรณที ม่ี ตี อ้ งรบี รบั การปลกู ถา่ ยตบั ไดแ้ ก่ ตบั วาย หรอื ตรวจพบมะเรง็ ตบั รว่ มดว้ ย - ให้การรกั ษาด้วย sofosbuvir รบั ประทานขนาด 400 มิลลกิ รัม วนั ละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้งั จนถงึ วันท่ีไดร้ บั การปลกู ถ่ายตับ หรอื ครบระยะเวลาการรักษา และเฝา้ ระวังการติดเช้ือไวรัสตับอักเสบ ซี ซ�ำ้ ภายหลังการปลูกถ่ายตบั - ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถรับการรักษาได้หรือได้รับการรักษาไม่ครบระยะ เวลา ใหป้ ระเมนิ การตดิ เช้อื ไวรสั ตับอกั เสบ ซี ซ้ำ� ภายหลงั การปลกู ถา่ ยตับ ภายในช่วง 3-6 เดอื น หากมีการตดิ เช้อื ไวรสั ตบั อักเสบ ซี ซ้�ำ ใหก้ ารรกั ษา ด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี โดยต้องพิจารณาถึงยาที่อาจ

Chronic Hepatitis C 2016 23 จะมีปฏิกิริยาระหว่างยากดภูมิคุ้มกันท่ีผู้ป่วยได้รับหลังจากการปลูกถ่ายตับ เพ่ือปรับชนิดยา หรือขนาดยาให้เหมาะสม โดยให้การรักษาด้วยยาดังกล่าว เปน็ เวลา 12 สปั ดาห์การรกั ษาผปู้ ว่ ยติดเชื้อไวรัสตับอกั เสบ ซี ซ้ำ� หลังไดร้ ับการปลกู ถ่ายตับ ผปู้ ว่ ยทต่ี ิดเช้ือซ�ำ้ ทุกรายควรไดร้ บั การรกั ษาไวรัสตับอักเสบ ซี โดยมีแนวทางดังน้ี ๐ ไวรสั ตบั อักเสบ ซี สายพนั ธ์ุท่ี 1, 4 และ 6 สูตรท่ี 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง และ daclatasvir รบั ประทานขนาด 60 มลิ ลกิ รมั วนั ละ 1 ครงั้ รว่ มกบั ribavirin รับประทานวันละ 2 ครง้ั เป็นเวลา 12 สปั ดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานขึ้นเป็น 24 สัปดาห์ สูตรท่ี 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง และ ledipasvir รับประทานขนาด 90 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผู้ป่วยท่ีไม่สามารถใช้ยา ribavirin ได้ ให้รักษานานข้ึนเป็น 24 สัปดาห์ สูตรท่ี 3: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ simeprevir รับประทานขนาด 150 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12 สัปดาห์ ในผปู้ ่วยทไ่ี มส่ ามารถใชย้ า ribavirin ได้ ใหร้ กั ษานานขึน้ เป็น 24 สปั ดาห์ ๐ ไวรัสตับอกั เสบ ซี สายพันธุท์ ่ี 2 สูตร sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง รว่ มกบั ribavirin รับประทานวนั ละ 2 ครั้ง เปน็ เวลานาน 12 ถงึ 24 สัปดาห์ ๐ ไวรสั ตับอกั เสบ ซี สายพนั ธท์ุ ี่ 3 สูตรท่ี 1: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วมกับ daclatasvir รับประทานขนาด 60 มิลลิกรัม วันละ 1 คร้ัง ร่วม กับ ribavirin รับประทานวันละ 2 คร้ัง เป็นเวลานาน 12-24 สัปดาห์

C24 hronic Hepatitis C 2016 สูตรที่ 2: sofosbuvir รับประทานขนาด 400 มิลลิกรัม วันละ 1 ครั้ง ร่วมกับ ribavirin รับประทานวันละ 2 ครั้ง เป็นเวลานาน 24 สัปดาห์การรกั ษาผู้ป่วยตดิ เชอื้ ไวรัสตบั อกั เสบ ซี ฉบั พลนั (acute hepatitis C) ๐ ตรวจ HCV RNA ซ�้ำอีกคร้ังที่ 12-16 สปั ดาห์ถัดมา - ถ้าไม่พบ HCV RNA แสดงว่าหายจากการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบ ซี ได้เอง ใหค้ ำ� แนะนำ� และไม่ตอ้ งนัดตรวจติดตาม - หากตรวจพบ HCV RNA ให้การรักษาด้วย pegylated interferon เพียงอย่างเดียว หรือรักษาด้วยการรับประทานยาต้านไวรัสตับอักเสบ ซี เปน็ เวลานาน 12 สัปดาห์ โดยไม่ต้องให้ ribavirin รว่ มด้วยเอกสารอา้ งองิ1. AASLD/IDSA HCV Guidance Panel. Hepatitis C guidance: AASLD-IDSA recommendations for testing, managing, and treating adults infected with hepatitis C virus. Hepatology. 2015;62:932-9542. EASL Clinical Practice Guidelines. EASL recommendations on treatment of hepatitis C 2014. J Hepatol. 2014;61:373-395.3. Bacon BR, Gordon SC, Lawitz E, Marcellin P, Vierling JM, Zeuzem S, et al. Boceprevir for previously treated chronic HCV genotype 1 infection. N Engl J Med 2011;364:1207–1217.4. Poordad F, McCone Jr J, Bacon BR, Bruno S, Manns MP, Sulkowski MS, et al. Boceprevir for untreated chronic HCV genotype 1 infection. N Engl J Med 2011;364:1195–1206.5. Kamili S, Drobeniuc J, Araujo AC, Hayden TM. Laboratory diagnostics for hepatitis C virus infection. Clin Infect Dis 2012;55:S43–S48.6. Martinot-Peignoux M, Stern C, Maylin S, Ripault MP, Boyer N, Leclere L, et al. Twelve weeks post-treatment follow-up is as relevant as 24weeks

Chronic Hepatitis C 2016 25 to determine the sustained virologic response in patients with hepatitis C virus receiving pegylated interferon and ribavirin. Hepatology 2010;51: 1122–1126.7. Swain MG, Lai MY, Shiffman ML, Cooksley WG, Zeuzem S, Dieterich DT, et al. A sustained virologic response is durable in patients with chronic hepatitis C treated with peginterferon alfa-2a and ribavirin. Gastroenter- ology 2010;139:1593–1601.8. Castera L, Vergniol J, Foucher J, Le Bail B, Chanteloup E, Haaser M, et al. Prospective comparison of transient elastography, Fibrotest, APRI, and liver biopsy for the assessment of fibrosis in chronic hepatitis C. Gastroenterology 2005;128:343–350.9. Chevaliez S, Bouvier-Alias M, Brillet R, Pawlotsky JM. Hepatitis C virus (HCV) genotype 1 subtype identification in new HCV drug development and future clinical practice. PLoS One 2009;4:e8209.10. Ouwerkerk-Mahadevan S, Simion A, Mortier S, Peeters M, Beumont M. No clinically significant interaction between the investigational HCV protease inhibitor TMC435 and the immunosuppressives cyclosporine and tacrolimus. Hepatology 2012;56, [231A–231A].11. Lawitz E, Mangia A, Wyles D, Rodriguez-Torres M, Hassanein T, Gordon SC, et al. Sofosbuvir for previously untreated chronic hepatitis C infection. N Engl J Med 2013;368:1878–1887.12. Jacobson IM, Dore GJ, Foster GR, Fried MW, Radu M, Rafalsky VV, et al. Simeprevir with pegylated interferon alfa 2a plus ribavirin in treat- ment-naive patients with chronic hepatitis C virus genotype 1 infection (QUEST-1): a phase 3, randomised, double-blind, placebo-controlled trial. Lancet. 2014;384:403-41313. Manns M, Marcellin P, Poordad F, de Araujo ES, Buti M, Horsmans Y, et al. Simeprevir with pegylated interferon alfa 2a or 2b plus ribavirin

C26 hronic Hepatitis C 2016 in treatment-naive patients with chronic hepatitis C virus genotype 1 infection (QUEST-2): a randomised, double-blind, placebo-controlled phase 3 trial. Lancet. 2014;384:414-426.14. FornsX,LawitzE,ZeuzemS,GaneE,BronowickiJP,AndreoneP,etal.Simeprevir with peginterferon and ribavirin leads to high rates of SVR in patients with HCV genotype 1 who relapsed after previous therapy: a phase 3 trial. Gastroenterology. 2014;146:1669-79.15. Hezode C, Hirschfield GM, Ghesquiere W, Sievert W, Rodriguez-Torres M, Shafran SD, et al. Daclatasvir plus peginterferon alfa and ribavirin for treatment-naive chronic hepatitis C genotype 1 or 4 infection: a randomised study. Gut. 2015;64:948-956.16. Gane EJ, Stedman CA, Hyland RH, Ding X, Svarovskaia E, Symonds WT, et al. Nucleotide polymerase inhibitor sofosbuvir plus ribavirin for hepatitis C. N Engl J Med 2013;368:34–44.17. Osinusi A, Meissner EG, Lee YJ, Bon D, Heytens L, Nelson A, et al. Sofosbuvir and ribavirin for hepatitis C genotype 1 in patients with unfavorable treatment characteristics: a randomized clinical trial. JAMA 2013;310:804–811.18. Lalezari JP, Nelson DR, Hyland RH, Lin M, Rossi SJ, Symonds WT, et al. Once daily sofosbuvir plus ribavirin for 12 and 24 weeks in treat- ment-naive patients with HCV infection: the QUANTUM study. J Hepatol 2013;58, S346–S346.19. Sulkowski MS, Naggie S, Lalezari J, Fessel WJ, Mounzer K, Shuhart M, et al; PHOTON-1 Investigators. Sofosbuvir and ribavirin for hepatitis C in patients with HIV coinfection. JAMA. 2014;312:353-361.20. Lawitz E, Sulkowski MS, Ghalib R, Rodriguez-Torres M, Younossi ZM, Corregidor A, et al. Simeprevir plus sofosbuvir, with or without riba- virin, to treat chronic infection with hepatitis C virus genotype 1 in

Chronic Hepatitis C 2016 27 non-responders to pegylated interferon and ribavirin and treatment-naive patients: the COSMOS randomised study. Lancet. 2014;384:1756-1765.21. Sulkowski MS, Gardiner DF, Rodriguez-Torres M, Reddy KR, Hassanein T, Jacobson I, et al. Daclatasvir plus sofosbuvir for previously treated or untreated chronic HCV infection. N Engl J Med 2014;370:211–221.22. Fontana RJ, Hughes EA, Bifano M, Appelman H, Dimitrova D, Hindes R, et al. Sofosbuvir and daclatasvir combination therapy in a liver transplant recipient with severe recurrent cholestatic hepatitis C. Am J Transplant 2013;13:1601–1605.23. Jacobson IM, Gordon SC, Kowdley KV, Yoshida EM, Rodriguez-Torres M, Sulkowski MS, et al. Sofosbuvir for hepatitis C genotype 2 or 3 in patients without treatment options. N Engl J Med 2013;368:1867–1877.24. Zeuzem S, Dusheiko GM, Salupere R, Mangia A, Flisiak R, Hyland RH, et al; VALENCE Investigators. Sofosbuvir and ribavirin in HCV genotypes 2 and 3. N Engl J Med. 2014;370:1993-2001.25. Lawitz E, Poordad F, Brainard DM, Hyland RH, An D, Dvory-Sobol H, et al. Sofosbuvir with peginterferon-ribavirin for 12 weeks in previ- ously treated patients with hepatitis C genotype 2 or 3 and cirrhosis. Hepatology. 2015;61:769-775.26. Lawitz E, Lalezari JP, Hassanein T, Kowdley KV, Poordad FF, Sheikh AM, et al. Sofosbuvir in combination with peginterferon alfa-2a and ribavirin for noncirrhotic, treatment-naive patients with genotypes 1, 2, and 3 hepatitis C infection: a randomised, double-blind, phase 2 trial. Lancet Infect Dis 2013;13:401–408.27. Ruane PJ, Ain D, Stryker R, Meshrekey R, Soliman M, Wolfe PR, et al. Sofosbuvir plus ribavirin for the treatment of chronic genotype 4 hepatitis C virus infection in patients of Egyptian ancestry. J Hepatol. 2015;62:1040-1046.

C28 hronic Hepatitis C 201628. Chevaliez S, Bouvier-Alias M, Brillet R, Pawlotsky JM. Overestimation and underestimation of hepatitis C virus RNA levels in a widely used real-time polymerase chain reaction-based method. Hepatology 2007;46: 22–31.29. Sarrazin C, Shiffman ML, Hadziyannis SJ, Lin A, Colucci G, Ishida H, et al. Definition of rapid virologic response with a highly sensitive real-time PCR based HCV RNA assay in peginterferon alfa-2a plus ribavirin response guided therapy. J Hepatol 2010;52:832–838.30. Vermehren J, Kau A, Gartner BC, Gobel R, Zeuzem S, Sarrazin C. Differ- ences between two real-time PCR-based hepatitis C virus (HCV) assays (RealTime HCV and Cobas AmpliPrep/Cobas TaqMan) and one signal amplification assay (Versant HCV RNA 3.0) for RNA detection and quan- tification. J Clin Microbiol 2008;46:3880–3891.31. Fried MW. Side effects of therapy of hepatitis C and their management. Hepatology 2002;36:S237–S244.32. Fried MW, Shiffman ML, Reddy KR, Smith C, Marinos G, Goncales Jr FL, et al. Peginterferon alfa-2a plus ribavirin for chronic hepatitis C virus infection. N Engl J Med 2002;347:975–982.33. Hadziyannis SJ, Sette Jr H, Morgan TR, Balan V, Diago M, Marcellin P, et al. Peginterferon-alpha2a and ribavirin combination therapy in chronic hepatitis C: a randomized study of treatment duration and ribavirin dose. Ann Intern Med 2004;140:346–355.34. Manns MP, McHutchison JG, Gordon SC, Rustgi VK, Shiffman M, Reindollar R, et al. Peginterferon alfa-2b plus ribavirin compared with interferon alfa-2b plus ribavirin for initial treatment of chronic hepatitis C: a ran- domised trial. Lancet 2001;358:958–965.35. Sulkowski MS, Poordad F, Manns MP, Bronowicki JP, Rajender Reddy K, Harrison SA, et al. Anemia during treatment with peginterferon alfa-2b/ ribavirin and boceprevir: analysis from the serine protease inhibitor therapy 2 (SPRINT-2) trial. Hepatology 2013;57:974–984.

Chronic Hepatitis C 2016 2936. Grebely J, Pham ST, Matthews GV, Petoumenos K, Bull RA, Yeung B, et al. Hepatitis C virus reinfection and superinfection among treated and untreated participants with recent infection. Hepatology 2012;55: 1058–1069.37. Barnard RJ, Howe JA, Ogert RA, Zeuzem S, Poordad F, Gordon SC, et al. Analysis of boceprevir resistance associated amino acid variants (RAVs) in two phase 3 boceprevir clinical studies. Virology 2013;444:329–336.38. McPhee F, Hernandez D, Yu F, Ueland J, Monikowski A, Carifa A, et al. Resistance analysis of hepatitis C virus genotype 1 prior treatment null responders receiving daclatasvir and asunaprevir. Hepatology 2013;58: 902–911.39. Wang C, Sun JH, O’Boyle 2nd DR, Nower P, Valera L, Roberts S, et al. Persistence of resistant variants in hepatitis C virus-infected patients treated with the NS5A replication complex inhibitor daclatasvir. Anti- microb Agents Chemother 2013;57:2054–2065.40. Singal AG, Volk ML, Jensen D, Di Bisceglie AM, Schoenfeld PS. A sustained viral response is associated with reduced liver-related morbidity and mortality in patients with hepatitis C virus. Clin Gastroenterol Hepatol 2010;8:280–288.41. van der Meer AJ, Veldt BJ, Feld JJ, Wedemeyer H, Dufour JF, Lammert F, et al. Association between sustained virological response and all-cause mortality among patients with chronic hepatitis C and advanced hepatic fibrosis. JAMA 2012;308:2584–2593.42. Garcia-Retortillo M, Forns X, Feliu A, Moitinho E, Costa J, Navasa M, et al. Hepatitis C virus kinetics during and immediately after liver trans- plantation. Hepatology 2002;35:680–687.43. Curry MP, Forns X, Chung RT, Terrault NA, Brown R Jr, Fenkel JM, et al. Sofosbuvir and ribavirin prevent recurrence of HCV infection after liver transplantation: an open-label study. Gastroenterology. 2015;

C30 hronic Hepatitis C 2016 148:100-107. 44. Lens S, Gambato M, Londono MC, Forns X. Interferon-free regimens in the liver transplant setting. Semin Liver Dis 2014;34:58-71.45. Forman LM, Lewis JD, Berlin JA, Feldman HI, Lucey MR. The associa- tion between hepatitis C infection and survival after orthotopic liver transplantation. Gastroenterology 2002;122:889–896.46. Prieto M, Berenguer M, Rayon JM, Cordoba J, Arguello L, Carrasco D, et al. High incidence of allograft cirrhosis in hepatitis C virus genotype 1b infection following transplantation: relationship with rejection episodes. Hepatology 1999;29:250–256.47. Berenguer M, Palau A, Aguilera V, Rayon JM, Juan FS, Prieto M. Clini- cal benefits of antiviral therapy in patients with recurrent hepatitis C following liver transplantation. Am J Transplant 2008;8:679–687.48. Blasco A, Forns X, Carrion JA, Garcia-Pagan JC, Gilabert R, Rimola A, et al. Hepatic venous pressure gradient identifies patients at risk of severe hepatitis C recurrence after liver transplantation. Hepatology 2006;43: 492–499.49. Neumann UP, Berg T, Bahra M, Seehofer D, Langrehr JM, Neuhaus R, et al. Fibrosis progression after liver transplantation in patients with recurrent hepatitis C. J Hepatol 2004;41:830–836.50. Potthoff A, Berg T, Wedemeyer H. Late hepatitis B virus relapse in patients co-infected with hepatitis B virus and hepatitis C virus after antiviral treatment with pegylated interferon-alpha2b and ribavirin. Scand J Gastroenterol 2009;44:1487–1490.51. Scott DR, Wong JK, Spicer TS, Dent H, Mensah FK, McDonald S, et al. Adverse impact of hepatitis C virus infection on renal replacement therapy and renal transplant patients in Australia and New Zealand. Transplantation 2010;90:1165–1171.

Chronic Hepatitis C 2016 3152. Gane E, Pilmore H. Management of chronic viral hepatitis before and after renal transplantation. Transplantation 2002;74:427–437.53. Van Wagner LB, Baker T, Ahya SN, Norvell JP, Wang E, Levitsky J. Outcomes of patients with hepatitis C undergoing simultaneous liver-kidney transplantation. J Hepatol 2009;51:874–880.54. Grebely J, Raffa JD, Lai C, Kerr T, Fischer B, Krajden M, et al. Impact of hepatitis C virus infection on all-cause and liver-related mortality in a large community-based cohort of inner city residents. J Viral Hepat 2011;18:32–41.55. Hagan H, Pouget ER, Des Jarlais DC, Lelutiu-Weinberger C. Meta-regres- sion of hepatitis C virus infection in relation to time since onset of illicit drug injection: the influence of time and place. Am J Epidemiol 2008;168:1099–1109.56. Nelson PK, Mathers BM, Cowie B, Hagan H, Des Jarlais D, Horyniak D, et al. Global epidemiology of hepatitis B and hepatitis C in people who inject drugs: results of systematic reviews. Lancet 2011;378:571–583.57. Deterding K, Gruner N, Buggisch P, Wiegand J, Galle PR, Spengler U, et al. Delayed vs. immediate treatment for patients with acute hepatitis C: a randomised controlled non-inferiority trial. Lancet Infect Dis 2013;13:497–506.58. Kamal SM. Acute hepatitis C: a systematic review. Am J Gastroenterol 2008;103:1283–1297.59. Mondelli MU, Cerino A, Cividini A. Acute hepatitis C: diagnosis and management. J Hepatol 2005;42:S108–S114.60. Santantonio T, Wiegand J, Gerlach JT. Acute hepatitis C: current status and remaining challenges. J Hepatol 2008;49:625–633.61. Wiegand J, Jackel E, Cornberg M, Hinrichsen H, Dietrich M, Kroeger J, et al. Long-term follow-up after successful interferon therapy of acute hepatitis C. Hepatology 2004;40:98–107.

C32 hronic Hepatitis C 201662. Camma C, Almasio P, Craxi A. Interferon as treatment for acute hepatitis C. A meta-analysis. Dig Dis Sci 1996;41:1248–1255.63. Gerlach JT, Diepolder HM, Zachoval R, Gruener NH, Jung MC, Ulsenheimer A, et al. Acute hepatitis C: high rate of both spontaneous and treatment induced viral clearance. Gastroenterology 2003;125:80–88.64. Micallef JM, Kaldor JM, Dore GJ. Spontaneous viral clearance following acute hepatitis C infection: a systematic review of longitudinal studies. J Viral Hepat 2006;13:34–41.65. Poynard T, Regimbeau C, Myers RP, Thevenot T, Leroy V, Mathurin P, et al. Interferon for acute hepatitis C. Cochrane Database Syst Rev 2002;1:CD000369.66. Hofer H, Watkins-Riedel T, Janata O, Penner E, Holzmann H, Steindl- Munda P, et al. Spontaneous viral clearance in patients with acute hepatitis C can be predicted by repeated measurements of serum viral load. Hepatology 2003;37:60–64.