Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวทางการตรวจสุขภาพคนทำงานในที่อับอากาศ

แนวทางการตรวจสุขภาพคนทำงานในที่อับอากาศ

Published by arsa.260753, 2015-11-06 02:20:37

Description: แนวทางการตรวจสุขภาพคนทำงานในที่อับอากาศ

Search

Read the Text Version

แนวทางการตรวจสุขภาพคนทํางานในที่อบั อากาศ พ.ศ. 2557 สมาคมโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดลอ มแหง ประเทศไทย

ทาํ ไมตองตรวจสขุ ภาพกอนทํางานทีอ่ ับอากาศ ™ การตรวจประเมินสุขภาพคนทํางานในท่ีอับอากาศในประเทศไทย จําเปนตองทํา เนือ่ งจากมีกฎหมายคือ กฎกระทรวงกําหนดมาตรฐานใน การบริหารและการจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และ สภาพแวดลอมในการทาํ งานในท่อี ับอากาศ พ.ศ. 2547 กําหนดไว ™ ในคนท่ีจะไปอบรมความปลอดภัยในการทํางานในที่อับอากาศ ก็ตอง ตรวจประเมินสุขภาพกอนเชนกัน เน่ืองจาก ประกาศกรมสวัสดิการและ คุมครองแรงงาน เร่ืองหลักเกณฑ วิธีการและหลักสูตรการฝกอบรม ความปลอดภัยในการทํางานในท่ีอับอากาศ (ฉบับท่ี 2) พ.ศ. 2551 กําหนดไว ™ รายละเอียดในการตรวจ วาแพทยตองตรวจอะไรบาง แตละแหงยัง ตางกนั จึงเปนท่ีมาของการประชมุ หาแนวทางรวม

นิยามของทอ่ี บั อากาศ™ นยิ ามตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2547™ “ท่ีอับอากาศ” หมายความวา ที่ซ่ึงมีทางเขาออกจํากัดและมีการระบาย อากาศไมเพียงพอที่จะทําใหอากาศภายในอยูในสภาพถูกสุขลักษณะ และปลอดภัย เชน อุโมงค ถ้ํา บอ หลุม หองใตดิน หองนิรภัย ถังน้ํามัน ถงั หมกั ถัง ไซโล ทอ เตา ภาชนะ หรือสิ่งอนื่ ท่มี ีลกั ษณะคลา ยกนั

บรรยากาศอันตราย™ นิยามตามกฎกระทรวงฯ พ.ศ. 2547™ “บรรยากาศอันตราย” หมายความวา สภาพอากาศทอ่ี าจทําใหล กู จา งไดรับอันตราย จากสภาวะอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ (1) มีออกซิเจนตํ่ากวารอยละ 19.5 หรือ มากกวารอยละ 23.5 โดยปริมาตร (2) มีกาซ ไอ ละอองที่ติดไฟหรือระเบิดได เกิน รอยละ 10 ของคาความเขมขนขั้นตํ่าของสารเคมีแตละชนิดในอากาศท่ีอาจติดไฟ หรือระเบิดได (Lower Flammable Limit หรือ Lower Explosive Limit) (3) มีฝุนที่ติด ไฟหรือระเบิดได ซ่ึงมีคาความเขมขนเทากับหรือมากกวาคาความเขมขนข้ันตํ่าของ สารเคมีแตละชนิดในอากาศที่อาจติดไฟหรือระเบิดได (Lower Flammable Limit หรือ Lower Explosive Limit) (4) มีคาความเขมขนของสารเคมีแตละชนิดเกิน มาตรฐานทีก่ าํ หนดตามกฎกระทรวงวาดวยการกําหนดมาตรฐานในการบริหารและ การจัดการดานความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดลอมในการทํางาน เก่ียวกับสารเคมีอันตราย (5) สภาวะอื่นใดที่อาจเปนอันตรายตอรางกายหรือชีวิต ตามทร่ี ฐั มนตรีประกาศกาํ หนด

ตวั อยา งอนั ตรายในท่อี บั อากาศ ภาพโดย: แสงโฉม ศิรพิ านชิ ภาพโดย: แสงโฉม ศิรพิ านิช yimdai.com เหตุเกดิ ที่ จ.สตูลภาพโดย: แสงโฉม ศิริพานิช เมอื่ 6 ม.ี ค. 50 ชาวประมงตักปลาใตท อ งเรือ เสียชีวติ 5 ราย ภาพจาก: matichon.co.th เหตุเกดิ ท่ี จ.ราชบรุ ี เม่อื 27 พ.ค. 55 คนงานลงไปเชือ่ มทอแกส ชีวภาพ เสยี ชวี ติ 5 รายเหตุเกิดท่ี จ.ขอนแกน เมอ่ื 26 ต.ค. 47หลุมบอตกั ขาวในโรงสแี หง หนง่ึ ผูเสียชวี ติ 7 ราย

เหตุการณค นงานไดร ับแกสคารบอนมอนอกไซด™ เหตุการณเ มือ่ 7 ตลุ าคม 2554™ คนงานกอสรางลงไปทํางานในทอขนสงผลิตภัณฑ ภายในโรงงาน แหงหนง่ึ แลวสงสยั วาไดร บั แกสคารบอนมอนอกไซด™ หมดสติ 3 ราย ภาพโดย: ศิริพร ชางไม

เหตุการณค นงานไดร ับแกสอารกอน™ เหตกุ ารณเกดิ เมื่อ 23 กมุ ภาพนั ธ 2555™ ในโรงงานทาํ ทอ เหล็กแหงหนึ่ง™ คนงานรายหนง่ึ เกดิ อุบตั เิ หตไุ ดร บั แกส อารก อนจนหมดสติ ภาพโดย: ววิ ัฒน เอกบูรณะวัฒน

ขอ กฎหมายทท่ี าํ ใหตอ งตรวจสุขภาพ™ กฎกระทรวงฯ อบั อากาศ พ.ศ. 2547™ “ขอ 5 หามนายจางอนุญาตใหลูกจางหรือบุคคลใดเขาไปในที่อับอากาศ หากนายจางรูหรือควรรูวาลูกจางหรือบุคคลนั้นเปนโรคเก่ียวกับ ทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอ่ืนซ่ึงแพทยเห็นวาการเขาไปในท่ีอับ อากาศอาจเปนอนั ตรายตอบคุ คลดังกลาว”™ ประกาศกรมสวัสดิการและคุมครองแรงงาน เรื่อง หลักเกณฑ วิธีการ และหลักสูตรการฝกอบรมความปลอดภัยในการทํางานในท่ีอับอากาศ พ.ศ. 2549 และ ฉบบั ที่ 2 พ.ศ. 2551 ™ “ขอ 7/1 ผเู ขารบั การฝกอบรมภาคปฏิบตั ติ องมีคณุ สมบัตดิ ังน้ี ™ (1.) มีอายไุ มตํา่ กวา 18 ปบ รบิ รู ณ ™ (2.) มีสุขภาพสมบูรณ รางกายแข็งแรง ไมเปนโรคเก่ียวกับทางเดินหายใจ โรคหัวใจ หรือโรคอ่ืนซ่ึงแพทย เหน็ วา การเขา ไปในทอ่ี บั อากาศอาจเปน อนั ตรายตอผูเขา รบั การฝก อบรม”

หนา ปกหนงั สือแนวทางฯ ดาวนโ หลดไดจ าก www.summacheeva.org

สรุปแนวทางการตรวจสุขภาพ (1) รายการตรวจทแ่ี นะนําใหแ พทยทาํ การตรวจทกุ ราย ™ ดชั นีมวลกาย ™ ตองไมเ กิน 35 กโิ ลกรมั /ตารางเมตร ™ ความดนั โลหิต ™ ตองไมเกิน 140/90 มิลลิเมตรปรอท ™ อัตราเรว็ ชีพจร ™ อยูในชวง 60 – 100 ครั้งตอนาที ™ หรอื 40 – 59 คร้ังตอนาที รว มกบั คล่ืนไฟฟาหัวใจปกติ (Sinus bradycardia) ™ หรือ 101 – 120 ครง้ั ตอนาที รว มกับคลน่ื ไฟฟา หัวใจปกติ (Sinus tachycardia)

สรุปแนวทางการตรวจสุขภาพ (2) ™ คลนื่ ไฟฟาหัวใจ ™ การพิจารณาผลตรวจใหข นึ้ อยูกับดลุ ยพินจิ ของแพทย ™ รายละเอยี ดฉบับเตม็ อยูในหนงั สือแนวทางฯ ™ ตรวจสมรรถภาพปอดดวยวธิ สี ไปโรเมตรีย ™ ใหท าํ การแปลผลตามเกณฑของสมาคมอุรเวชชฯ ฉบับ พ.ศ. 2545 ™ ใหท าํ งานไดถา ผล Normal (ปกติ) หรือ Mild Restriction (จาํ กัดการขยายวั เล็กนอย) หรอื Mild Obstruction (อดุ กั้นเลก็ นอย) ™ ภาพรังสีทรวงอก ™ การพิจารณาผลตรวจใหข ้ึนอยูกับดุลยพินจิ ของแพทย ™ รายละเอียดฉบับเต็มอยูในหนงั สือแนวทางฯ

สรุปแนวทางการตรวจสุขภาพ (3) ™ ตรวจความสมบรู ณของเม็ดเลือด ™ ฮโี มโกลบิน (Hemoglobin) ตั้งแต 10 g/dl ข้ึนไป ™ และ ระดับความเขมขนเลอื ด (Hematocrit) ตั้งแตร อยละ 30 ข้ึนไป ™ และ ระดบั เกรด็ เลอื ด (Platelet) ต้งั แต 100,000 cell/mm3 ข้นึ ไป ™ สมรรถภาพการมองเห็น ™ สมรรถภาพการมองเหน็ ระยะไกล เมื่อมองดา นตาทัง้ 2 ขาง ท่ีดีท่สี ุดหลงั จาก แกไ ขแลว ตองไดอยางนอย 20/40 ฟตุ หรือดกี วา ™ ตรวจสมรรถภาพการไดย ิน ™ ถา ฟง เสียงพูดคุยกบั แพทยแลว เขาใจ หรือทํา Whispered voice test ปกติ ให ทํางานได

สรปุ แนวทางการตรวจสุขภาพ (4) ™ การตรวจรางกายโดยแพทย ™ การพิจารณาผลตรวจใหข ้ึนอยกู ับดลุ ยพินจิ ของแพทย ™ ตรวจปส สาวะหาการตงั้ ครรภ ™ ไมจ าํ เปนตองตรวจในคนทาํ งานหญงิ ทุกราย ™ แตใ หถ ามประวัตปิ ระจาํ เดือนขาดทุกราย ถาสงสยั ต้งั ครรภ จึงคอยทาํ การตรวจ

การสรุปผลโดยแพทยม ี 3 แบบ ™ การสรุปผลการตรวจโดยแพทย ™ ทาํ งานได (Fit to work) ™ ทาํ งานไดแ ตมขี อจํากัดหรอื ขอ ควรระวงั ดงั น้ี... (Fit to work with restriction…) ™ ทํางานไมไ ด (Unfit to work) ™ ความถใ่ี นการตรวจ ™ ใหท ําการตรวจทุก 1 ป ™ ตวั อยา งแบบฟอรม ™ ดูไดจ ากหนงั สอื แนวทางฉบับเตม็

คําแนะนําทแ่ี พทยควรให ™ การระมดั ระวงั การทาํ งานจนเหน่ือยลา จนอาจเกดิ อันตรายตอ ตนเองและผอู ื่น ™ การงดสูบบุหร่กี อนเขาไปทาํ งานในท่ีอับอากาศ ™ การลดนาํ้ หนักและการควบคุมนํา้ หนกั ตัวใหเหมาะสม ™ การใหค ําแนะนาํ อื่นๆ ที่แพทยเหน็ วา เหมาะสม


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook