Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หลักการพื้นฐานทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (1)

หลักการพื้นฐานทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (1)

Published by arsa.260753, 2015-11-06 03:03:34

Description: หลักการพื้นฐานทางด้านอาชีวเวชศาสตร์และเวชศาสตร์สิ่งแวดล้อม (1)

Search

Read the Text Version

หลกั การพืน้ ฐาน ดานอาชีวเวชศาสตรและเวชศาสตรส ่ิงแวดลอม นพ.ววิ ัฒน เอกบูรณะวฒั น แพทยอ าชวี เวชศาสตร รพ.สมติ เิ วชศรรี าชา อีเมล [email protected] เวบ็ บล็อก www.wiwat.org เว็บไซต www.summacheeva.org ฐานขอ มูลสารพษิ www.thaitox.com

อาชีวเวชศาสตรคอื อะไร™อาชีวเวชศาสตร (occupational medicine) เปนศาสตรท างการแพทยเ ฉพาะ ทางสาขาหนง่ึ วา ดว ยเร่ืองของการดแู ลสขุ ภาพคน ทาํ งาน เนน หนักทกี่ าร ปองกันโรค แตก ค็ รอบคลุมการรกั ษาโรค และการฟนฟสู ุขภาพดว ย ศาสตรนี้ ดําเนินการโดยแพทย™เมื่อกอนศาสตรนมี้ ชี ่ือเรยี กวาเวชศาสตรอ ตุ สาหกรรม (industrial medicine) แตภ ายหลงั เปล่ียนมาเปน อาชีวเวชศาสตร™อาชีวอนามัย (occupational health) คอื ศาสตรท างดา นสุขภาพ ท่ีวาดว ยเรอื่ ง การดแู ลสุขภาพคนทาํ งาน ดําเนินการโดยบคุ ลากรทางดา นสุขภาพดานตา งๆ ทุกสาขาอาชีพ

อาชีวเวชศาสตรก บั อาชีวอนามัย™คนทเี่ รยี นจบปรญิ ญาตรีทางดา นอาชวี อนามยั และความปลอดภยั มา เราเรียก เขาวา นกั อาชวี อนามยั (occupational health professional) แตถ าเขาไป ทาํ งานในโรงงาน เพ่อื ทาํ หนา ทด่ี แู ลดา นความปลอดภยั และสขุ ภาพใหคนงาน กม็ กั จะถกู เปล่ยี นชอื่ เรียกใหมเ ปน เจา หนาทีค่ วามปลอดภัยวชิ าชพี (safety officer)™สรุป เรือ่ งการดแู ลสขุ ภาพคนทาํ งานเหมือนกัน ถาแพทยด าํ เนินการเราเรยี ก อาชวี เวชศาสตร (จะมกี ารตรวจ วินจิ ฉยั รักษาโรคดวย) ถา ดาํ เนนิ การโดย บุคลากรทางดา นสขุ ภาพสาขาใดกไ็ ดเ ราเรยี กอาชีวอนามยั (จะเนนการจดั ระบบและจดั กจิ กรรมปองกันโรคเปน หลกั ไมมีการตรวจ วนิ จิ ฉยั รักษาโรค)™ความสมั พันธนคี้ ลายกบั “จติ เวชศาสตร” กบั “จติ วทิ ยา” หรือ “นติ เิ วชศาสตร” กบั “นิตวิ ทิ ยาศาสตร”

เวชศาสตรส งิ่ แวดลอ มคืออะไร™จากนยิ ามของ “อาชวี เวชศาสตร” และ “อาชีวอนามยั ” เอามาเทยี บ เคยี งใชกับ นยิ ามของวิชา “เวชศาสตรส ิง่ แวดลอม” และ “อนามัยสงิ่ แวดลอ ม” ได™เวชศาสตรสงิ่ แวดลอ ม (environmental medicine) คือศาสตรท างการแพทย วาดว ยเรอ่ื งการดแู ลสขุ ภาพของคน ในประเดน็ ที่เกย่ี วกบั ผลกระทบจากสงิ่ แวดลอม™อนามยั สง่ิ แวดลอม (environmental health) คือศาสตรทางดานวิทยาศาสตร สขุ ภาพ ทว่ี า ดวยเรอ่ื งการดแู ลสุขภาพของคน ในประเดน็ ทเ่ี กย่ี วกบั ผลกระทบ จากสงิ่ แวดลอ ม™จากนยิ ามท่ผี า นมา ทีนล้ี องทายนยิ ามของคาํ วา “วศิ วกรรมความปลอดภัย” กับ “วศิ วกรรมสิ่งแวดลอ ม” ดนู ะครบั

แพทยอ าชวี เวชศาสตร™แพทยอ าชวี เวชศาสตร (occupational physician) เปน แพทยเ ฉพาะทาง สาขาหน่งึ ทม่ี คี วามเชยี่ วชาญในดา นอาชวี เวชศาสตร และไดรบั การรบั รอง จากแพทยสภา จดั อยูในกลุม เวชศาสตรป อ งกนั แขนงหนึ่ง™ทงั้ ประเทศในปจจบุ ัน (พ.ศ. 2554) มีอยูป ระมาณ 117 คน™ชลบุรมี อี ยู 7 คน ƒ รพ.ชลบรุ ี = พญ.มาลินี ƒ รพ.สมติ เิ วช ศรรี าชา = พญ.นวพรรณ, นพ.วิวฒั น ƒ รพ.สมเดจ็ บรมราชเทวี ณ ศรีราชา = นพ.จารพุ งษ ƒ รพ.อาวอดุ ม = นพ.สิงหไ ชย ƒ รพ.อาภากรเกยี รตวิ งศ = นพ.อตพิ งษ, นพ.พิพัฒน

สง่ิ คกุ คาม (hazard)™สง่ิ คกุ คาม (hazard) หมายถึง “สง่ิ ” หรือ “สภาวการณ” ใดๆ ก็ตาม ที่มีความสามารถกอปญ หาสุขภาพตอ คนได สงิ่ คุกคามทพ่ี บไดจ ากการ ทํางาน (occupational hazard) แบง ออกเปน 6 กลมุ ดงั น้ี ƒ สิง่ คกุ คามทางกายภาพ (physical hazard) ƒ สง่ิ คกุ คามทางเคมี (chemical hazard) ƒ ส่ิงคุกคามทางชวี ภาพ (biological hazard) ƒ สง่ิ คกุ คามทางชวี กลศาสตร (biomechanical hazard) ƒ สิ่งคกุ คามทางจติ ใจ (psychological hazard) ƒ ส่งิ คุกคามดา นความปลอดภัย (accident hazard)

ส่ิงคกุ คามทางกายภาพ™สิง่ คกุ คามทางกายภาพ (physical hazard) เปน พลังงานทางฟส ิกสที่หากมีสภาวะท่ไี มเหมาะสมแลว สามารถทาํ ใหเ กิดโรคได™ตัวอยา งสง่ิ คุกคามทางกายภาพƒ เสยี งดงัƒ แสงสวา งจาเกนิ ไปƒ แสงมดื หรเี่ กินไปƒ ความรอนƒ กัมมันตภาพรังสี www.mrc-cbu.cam.ac.ukƒ ความกดอากาศทีส่ ูงหรือตํ่าเกนิ ไป

สิ่งคกุ คามทางเคมี™สิง่ คกุ คามทางเคมี คือสารเคมี ไมว า จะอยใู นรูปของธาตหุ รอื สารประกอบ ในรูปของแขง็ ของเหลว แกส็ ฝนุ ละออง หรือฟูม ซงึ่ หากคนทํางานไดร บั เขา ไปแลว สามารถทําใหเ กิดโรคได™ตัวอยางสง่ิ คุกคามทางเคมี ƒ ธาตุโลหะตางๆ เชน ตะกวั่ ปรอท แคดเมยี ม ƒ ธาตอุ โลหะ เชน สารหนู ฟอสฟอรสั ƒ ตวั ทาํ ละลาย เชน เบนซีน โทลูอีน สไตรนี ƒ แกส็ พิษ เชน แอมโมเนยี คลอรนี ฟอสจีน ƒ ยาฆาแมลง เชน ออรก าโนฟอสเฟต ƒ ยากาํ จดั ศัตรูพชื เชน ไกลโฟเสต

ส่ิงคกุ คามทางชีวภาพ™สิง่ คกุ คามทางชวี ภาพ (biological hazard) คอื เชอ้ื โรคชนิดตา งๆ ทพี่ บในการทาํ งาน และสามารถทาํ ใหเกดิ โรคไดในรปู แบบของการตดิ เชอ้ื™ตวั อยางของสง่ิ คกุ คามทางชวี ภาพƒ เชอ้ื ไวรัสโรคพษิ สนุ ขั บาƒ เชอื้ ไวรัสไขหวัดใหญƒ เชอื้ ไวรัสโรคซารƒ เชอื้ ไวรสั ไขห วัดนกƒ เชอ้ื แบคทเี รยี แอนแทรก็ ซƒ เชอ้ื ปรสิตมาลาเรยี www.wikipedia.org

สง่ิ คกุ คามทางชีวกลศาสตร™สิ่งคกุ คามทางชวี กลศาสตร (biomechanical hazard) คอื ส่งิ คกุ คามทีเ่ กดิ จากทาทางการทาํ งานทก่ี อ ใหเกดิ โรคได เชนƒ การทาํ งานในทาเดมิ ซ้ําๆ นานๆ(repetitive work)ƒ การทํางานทตี่ อ งใชแรงเกินกาํ ลงั(forceful work)ƒ การทาํ งานทต่ี อ งบดิ เอยี้ วตัวกวาปกติ(malposition) www.accesshealthandsafety.ie™ส่งิ คุกคามทางชีวกลศาสตรน ้ี แกไขไดด ว ยหลกั วชิ าที่ชื่อวา “การยศาสตร” (ergonomic) ซึ่งเปนวชิ าท่วี า ดว ยเรอื่ งการจดั สภาพและทา ทางการทํางาน ใหสะดวกสบาย จงึ อาจพบมผี เู รยี กวา “สงิ่ คกุ คามทางการยศาสตร” ก็ได

ส่งิ คกุ คามทางจติ ใจ™สิ่งคกุ คามทางดานจติ ใจ (psychological hazard) คอื สภาวการณท ่ีทําใหเกดิ ผลกระทบทางดานจติ ใจกับคนทํางาน ทําใหเ กดิ ความเครยี ดและเกดิเจบ็ ปวยเปนโรค™ตัวอยางของสง่ิ คกุ คามทางจติ ใจƒ การถกู หวั หนางานตอ วาƒ การทะเลาะกบั เพอ่ื นรวมงานƒ ปญหาศีลธรรมในทีท่ ํางานƒ การทํางานงานกะ ผิดเวลา www.dailynews.co.thƒ ชว่ั โมงการทาํ งานยาวนาน ไดพ ักผอ นนอย

สง่ิ คกุ คามทางความปลอดภัย™ส่งิ คกุ คามทางความปลอดภยั (accident hazard) คือสภาวการณท ี่มี โอกาสทําใหเ กิดอุบตั เิ หตุ (accident) ไดม าก หรือกลา วในเชิงตรงกนั ขา ม กค็ ือสภาวการณท ีข่ าดซง่ึ ความปลอดภยั (safety)™สงิ่ คกุ คามกลุมนี้ มีความแตกตา งจากส่งิ คุกคามกลุมอนื่ ๆ คือจะทาํ ใหเ กดิ การบาดเจบ็ (injury) ไมใชก ารเจบ็ ปวย (illness)™ตวั อยางสงิ่ คุกคามทางความปลอดภยั ƒ เดนิ บนพ้ืนลืน่ ƒ ปน บนั ไดท่ชี าํ รุด ƒ ขบั รถดว ยความเรว็ สูง ƒ ทาํ งานกับเครอื่ งจกั รขณะงว งนอน www.zipik.com

การสมั ผสั (exposure)™การสมั ผสั (exposure) ในทางอาชวี เวชศาสตร ไมไ ดห มายถงึ การสมั ผัสทาง ผิวหนังตามความหมายปกตเิ พยี งอยา งเดยี วเทาน้ัน แตหมายถงึ การ “เขาถงึ ” หรือ “กระทบ” ตอ “สิ่ง” หรือ “สภาวการณ” ทเ่ี ปน ส่ิงคุกคามใดๆ ก็ตาม ผาน ทางอายตนะทกุ ทาง ทั้ง ตา หู จมกู ล้นิ กาย จติ™กลา วถงึ กรณีทวั่ ๆ ไป ส่งิ คกุ คาม (hazard) โดยเฉพาะสิ่งคุกคามทางเคมี (chemical hazard) และชีวภาพ (biological hazard) จะมชี องทางการสัมผัส (routes of exposure) หลักทีพ่ บไดบ อ ยอยู 3 ชอ งทาง ไดแ ก ƒ ทางการหายใจ (inhalation) พบไดบอยทสี่ ดุ ในการสัมผัสจากการทํางาน ƒ ทางการกนิ (ingestion) ƒ ทางการดูดซึมเขาผวิ หนัง (skin absorption)

ธรรมชาตกิ ารเกิดโรคจากการทํางาน(ภาพอา งอิงจาก: สาํ นักโรคจากการประกอบอาชพี และสิง่ แวดลอม กรมควบคุมโรค)

ชอ งทางการสมั ผสั อน่ื ท่ีอาจพบได™การมองผานทางตา ส่ิงคกุ คามคือ แสง™การไดย ินผา นทางหู สง่ิ คุกคามคอื เสยี ง™การไดก ล่นิ ผานทางฆานประสาท (จมูก) สิ่งคุกคามคือ สารเคมที ่มี ีกลน่ิ™การฉดี เขา ทางผิวหนงั ดวยเครอื่ งฉดี แรงดันสงู (high-pressure cutaneous injection) ส่งิ คกุ คามคอื สารเคมีท่ฉี ดี ดว ยเครอื่ งฉดี แรงดนั สงู™การรบั ความรูสึก รอ น เย็น กดทับ สน่ั สะเทือน ผา นทางปมประสาทใต ผิวหนัง สง่ิ คกุ คามคือ ความรอน ความเย็น การกดทบั ความสั่นสะเทอื น™การทะลุผา นรางกายโดยตรง สิ่งคกุ คามคอื รงั สี คลืน่ แมเ หลก็ ไฟฟา™การรับรผู านทางจติ ใจ ส่ิงคุกคามคอื การดดุ า งานหนัก งานผิดเวลา

ความเสย่ี ง (risk) tigergroupsojitra.blogspot.com™ความเสี่ยง (risk) คือ “โอกาส” ท่ีส่ิงคุก คามจะสงผลกระทบตอสุขภาพของคน ถาโอกาสมากเรียกวา “เสี่ยงมาก” (high risk) ถาโอกาสนอยเรียกวา “เสี่ยงนอย” (low risk)™อุปมาสิ่งคุกคาม (hazard) คือเสือตัว หน่ึง ถาเสือหิว ถูกปลอยออกมานอก กรง โอกาสท่ีเราจะถูกทํารายก็มีมาก เรียกวา “เสีย่ งมาก”™ถาเสืออยูในกรง ลามโซไวอีกชั้น แลว เรายืนดูอยูนอกกรง โอกาสที่เราจะถูก เสอื ทํารา ยก็มีนอย เรียกวา “เสย่ี งนอย”

ปจ จัยทมี่ ผี ลตอ ความเสี่ยง™สิง่ คุกคามตาง ความเสย่ี งตาง™เชน เอานาํ้ เกลือราดมอื เทยี บกบั เอานา้ํ กรดราดมือ™ชองทางการสัมผสั ตาง ความเสยี่ งตา ง™เชน กนิ ปรอทเขา ปาก เทยี บกบั สูดไอปรอทเขาปอด™ปรมิ าณการสมั ผสั ตาง ความเส่ียงตาง™เชน ทํางานในทเี่ สยี งดงั วนั ละ 2 ช่ัวโมง เทยี บกับวนั ละ 10 ช่วั โมง™ตวั รบั ตา ง ความเสยี่ งตา ง™เชน เดก็ สมั ผัสไอสารตะกว่ั เทยี บกบั ผูใ หญส ัมผสั ไอสารตะกว่ั

ข้นั ตอนการประเมินความเสย่ี งดา นสขุ ภาพ ™การบงช้ีสง่ิ คุกคาม (Hazard identification) ™การประเมนิ การสัมผสั (Exposure assessment) ™การประเมินขนาดสัมผัสกับผลกระทบทเี่ กดิ ขน้ึ (Dose-response relationship) ™การอธิบายลักษณะของความเสย่ี ง (Risk characterization)

การปอ งกันโรคจากการทํางาน ปจ จยั สามทางระบาดวทิ ยา Epidemiologic triangleในทางอาชีวเวชศาสตรAgent ก็หมายถึง Hazardกลมุ ตา งๆ นัน่ เอง

แนวทางการปองกนั โรคจากการทํางาน™การปองกนั โรคจากการทาํ งานตามปจจยั สามทางระบาดวทิ ยา ƒ ปองกันทคี่ น (host) ƒ ปอ งกันที่เชอ้ื กอ โรค (agent) หรือสง่ิ คกุ คาม (hazard) ƒ ปองกนั ท่สี ง่ิ แวดลอ ม (environment)™การปอ งกันโรคจากการทาํ งานตามลาํ ดบั การดาํ เนนิ โรค ƒ ระดบั ปฐมภูมิ (โรคยงั ไมเ กดิ ) ƒ ระดบั ทตุ ยิ ภมู ิ (เกดิ โรคแลว ปองกนั ไมใหเปน มาก) ƒ ระดบั ตตยิ ภมู ิ (โรคเปน มากแลว ปองกนั ไมใหทุพพลภาพ)

การปองกันตามปจจยั สามหลักการคอื ทําอยา งไรกไ็ ดใ หปจจยั ทง้ั สามไมม าบรรจบเหมาะกนั™ปอ งกนั ท่ีคน (host) ƒ ทาํ ใหค นที่มาทาํ งานมคี วามตานทานโรคมากขึน้ (tolerance) ƒ กันไมใหคนที่เสีย่ งตอ การเกิดโรค (susceptible) เขามาทาํ งาน™ปองกนั ที่สิ่งคุกคาม (hazard) ƒ กาํ จดั สิ่งคกุ คามไปเลย (elimination) ƒ ใชสง่ิ อื่นแทน (substitution) ƒ ลดปริมาณการใช (reduce)™ปองกนั ท่ีสิง่ แวดลอ ม (environment) ƒ ควบคมุ ทแ่ี หลง กําเนิด (source) ทางผาน (pathway) และท่ีตัวคน (person)

การปองกันตามลําดบั การดําเนนิ โรค™การปองกนั ระดบั ปฐมภมู ิ (primary prevention) ƒ ปองกันไมใหเกิดโรค (disease prevention) ปรบั ส่ิงแวดลอ ม ใหยากนั ฉีดวคั ซีน ƒ สงเสรมิ สขุ ภาพ (health promotion) ออกกําลังกาย ปรับพฤติกรรม งดบุหรี่™การปองกนั ระดบั ทตุ ยิ ภูมิ (secondary prevention) ƒ รีบตรวจหาความผดิ ปกติใหพบ (early detection) ƒ รีบวินจิ ฉยั และรกั ษาอยา งรวดเรว็ (early treatment)™การปองกันระดบั ตตยิ ภมู ิ (tertiary prevention) ƒ ฟน ฟูสภาพ (rehabilitation) ƒ ดูแลเพ่ือกลับเขา ทาํ งาน (return to work management) www.bu.edu