Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore แนวปฏิบัติการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงด้านเคมีและกายภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการ (2)

แนวปฏิบัติการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงด้านเคมีและกายภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการ (2)

Published by arsa.260753, 2015-11-08 22:29:49

Description: แนวปฏิบัติการตรวจสุขภาพตามปัจจัยเสี่ยงด้านเคมีและกายภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการ (2)

Search

Read the Text Version

เลม่ ๑๒๙ ตอนพิเศษ ๑๐๕ ง หนา้ ๖ ๔ กรกฎาคม ๒๕๕๕ ราชกิจจานเุ บกษา ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม ฉบบั ที่ ๔๔๐๙ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ออกตามความในพระราชบญั ญตั ิมาตรฐานผลิตภณั ฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ เรอื่ ง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อตุ สาหกรรมแนวปฏิบัตกิ ารตรวจสุขภาพตามปจั จยั เส่ยี งดา้ นเคมแี ละกายภาพจากการประกอบอาชีพ ในสถานประกอบกิจการ อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพ.ศ. ๒๕๑๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแนวปฏิบตั ิการตรวจสุขภาพตามปัจจยั เส่ียงดา้ นเคมแี ละกายภาพจากการประกอบอาชีพในสถานประกอบกิจการมาตรฐานเลขที่ มอก. 2547 - 2555 ไว้ ดงั มรี ายละเอยี ดตอ่ ทา้ ยประกาศนี้ ทงั้ น้ี ให้มผี ลต้งั แต่วันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ท่ี ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๕๕ หมอ่ มราชวงศ์ พงษ์สวัสดิ์ สวสั ดวิ ัตน์ รัฐมนตรวี า่ การกระทรวงอุตสาหกรรม

มอก. 2547-2555 มาตรฐานผลิตภัณฑอ ุตสาหกรรม แนวปฏิบัตกิ ารตรวจสุขภาพตามปจ จยั เส่ยี ง ดา นเคมีและกายภาพจากการประกอบอาชีพ ในสถานประกอบกิจการ 1. ขอบขายมาตรฐานผลิตภัณฑอ ตุ สาหกรรมน้ีครอบคลุมเฉพาะการตรวจสุขภาพตามปจจัยเสย่ี งทางดา นกายภาพ (ยกเวน เรื่องรังส)ี และปจจยั เสีย่ งทางดา นเคมี โดยมีรายชื่อสารเคมตี ามประกาศกระทรวงแรงงาน เรอื่ ง กําหนดสารเคมีอันตรายท่ีใหน ายจา งจดั ใหม กี ารตรวจสุขภาพของลูกจาง พ.ศ.2552 มาตรฐานนี้ไมครอบคลุมการตรวจสุขภาพตามปจจัยเสย่ี งทางดา นชีวภาพ (เช้ือโรคตาง ๆ ที่อาจทําใหเจ็บปวยหรือเปนโรคได เชน ไวรัส แบคทีเรีย รา ยีสต) และการตรวจสุขภาพตามปจ จยั เส่ียงทางดา นการทาํ งานใหไดประสทิ ธิภาพสงู สุด (โรคระบบการเคลื่อนไหวและกลามเนื้อท่ีเกดิ จากการทาํ งาน) 2. บทนยิ าม ความหมายของคําท่ใี ชใ นมาตรฐานผลติ ภณั ฑอ ุตสาหกรรมนี้ มีดังตอไปนี้2.1 เวลาการเก็บตวั อยา ง (sampling time) หมายถึง กําหนดเวลาที่เหมาะสมในการเก็บตัวอยางทางชีวภาพของ ลกู จา ง เชน เลอื ด ปสสาวะ สารคัดหลง่ั ตา ง ๆ 2.1.1 เวลาใดกไ็ ด (discretionary) หมายถึง กําหนดเวลาในการเก็บตัวอยางสารเคมีในรางกายจะเก็บเวลาใด กไ็ ดเน่ืองจากสารเคมนี ั้นสะสมอยใู นรา งกายไดน าน 2.1.2 กอนเขา กะ (prior to shift) หมายถึง กําหนดเวลาในการเก็บตัวอยางสารเคมีในรางกายกอนทํางานกะ โดยหา งจากการสมั ผัสคร้ังสุดทายเปนเวลาไมนอยกวา 16 h (ช่ัวโมง) เชน ใหเก็บตัวอยางสารเคมีวันท่ี กลับเขาทาํ งานหลงั วนั หยดุ ประจําสปั ดาหข องลกู จา ง ยกตัวอยา งลูกจา งทํางานวันจนั ทรถ งึ วันศุกร เวลา 8.00 น. ถึง 17.00 น. โดยวันเสารและอาทิตยเปนวันหยุดประจําสัปดาห ใหเก็บตัวอยางสารเคมีกอน เร่ิมงาน 8.00 น. ในวันจันทร หรือเก็บตัวอยางสารเคมีกอนเร่ิมงานวันใดก็ไดกรณีลูกจางปฏิบัติงาน ไมเ กิน 8 h/d (ช่วั โมงตอ วนั ) -1-

มอก. 2547-2555 2.1.3 กอนเขากะสดุ ทา ยของสัปดาหการทํางาน (prior to last shift of workweek) หมายถงึ กาํ หนดเวลาในการ เกบ็ ตวั อยางสารเคมีในรางกายกอนเขากะสุดทายของสัปดาห ตัวอยางเชนเดียวกับขอ 2.1.1 กรณีน้ีให เกบ็ ตวั อยา งสารเคมกี อนเริม่ งาน 8.00 น. ของวันศกุ ร 2.1.4 ขณะท่เี ขากะ (during shift) หมายถึง กาํ หนดเวลาในการเกบ็ ตัวอยางสารเคมีในรางกายในขณะที่เขากะ โดยตอ งทาํ งานสมั ผัสสารเคมีนั้นแลวอยางนอย 2 h ตัวอยางเชนเดียวกับขอ 2.1.1 กรณีน้ีสามารถเก็บ ตวั อยา งสารเคมไี ดต ั้งแตเวลา 10.00 น. ถึง 17.00 น. ของวนั ทํางานใดก็ได 2.1.5 วันสุดทายของสปั ดาหก ารทาํ งาน (end of workweek) หมายถึง กาํ หนดเวลาในการเก็บตัวอยางสารเคมี ในเวลาใดกไ็ ดห ลังจากสมั ผัสสารเคมีนั้นมาแลว อยางนอ ย 4 d (วัน) ถึง 5 d ติดกัน 2.1.6 หลังเลกิ กะ (end of shift) หมายถึง กาํ หนดเวลาในการเก็บตัวอยา งสารเคมีในรางกายเร็วท่ีสุดหลังหยุด สัมผสั (โดยท่วั ไปไมเ กิน 30 min (นาที) ภายหลังเลิกกะ) ตัวอยางเชนเดียวกับขอ 2.1.1 กรณีนี้ใหเก็บ ตัวอยา งสารเคมีในชวง 17.00 น. ถึง 17.30 น. ของวันทํางานใดกไ็ ด2.2 แอลคาไลนฟ อสฟาเทส (alkaline phosphatase, ALP) ซงึ่ ตอไปน้ีในมาตรฐานนจ้ี ะเรยี กวา เอแอลพี หมายถึง กลุมของเอนไซมท่ีพบไดใ นกระแสเลอื ด ซ่ึงมาจากเนื้อเย่ือหลายชนิด กระดูก ตับ ไต ลําไส มาม รก และ จากเซลลบุทอทางเดินนํ้าดี เอแอลพี มีบทบาทเก่ียวของกับการขนสงสารตาง ๆ ผานผนังเซลล เชน กระบวนการขนสง นาํ้ ตาลและฟอสเฟต กระบวนการขนสงไขมนั การสรา งกระดูก ระดับ เอแอลพี ท่ีสูงข้ึน มักสมั พันธก ับอาการตัวเหลือง ตาเหลอื ง คาปกตอิ ยูใ นชว ง 30 หนวยตอ ลิตร ถึง 110 หนวยตอ ลิตร2.3 โครเมียม (chromium) หมายถึง โลหะสีขาวเงิน มีความมันวาว และแข็งมาก ตานทานการผุ กรอน และ คงความเปนมันเงาไดนานในอากาศ ในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมน้ีหมายถึง โครเมียม 6+ (Hexavalent chromium) เทา นัน้ เน่ืองจากเปนสารกอ มะเรง็2.4 การคัดกรอง (screening) หมายถึง กระบวนการในการคนหาโรคหรือความผิดปกติท่ีเกิดขึ้นโดยวิธีการ ทดสอบ การตรวจสขุ ภาพ หรอื กระบวนการอน่ื ๆ ในการคนหา2.5 การตรวจเพื่อเฝาระวังการสัมผัส (health exposure monitoring หรือ biological exposure monitoring) หมายถงึ การตรวจเพื่อประเมินการสมั ผสั สารเคมีอันตรายของลกู จางจากสภาพแวดลอมในการทํางาน โดย ใชสิง่ สง ตรวจทางชวี ภาพของลูกจาง เชน เลือด ปสสาวะ สารคัดหล่ังตาง ๆ มาวิเคราะหหาปริมาณสารเคมี น้ัน ๆ ในรางกายในรูปของสารเคมีนั้นหรอื สารแปรรูปของสารเคมนี ้นั เชน การตรวจหาสารไดคลอโรมีเทน ในปสสาวะของกลุมลกู จางที่ทาํ งานกบั สารไดคลอโรมีเทน เพื่อท่ีจะประเมินการสัมผัสสาร อยางไรก็ตาม การตรวจพบสารในสงิ่ สงตรวจไมไดบง ช้ถี ึงการเปนโรคหรอื เปน พิษจากการปฏิบัติงานท้งั หมด เพราะอาจมี ปจ จัยรบกวนจากสาเหตุอ่นื ๆ เชน การสูบบุหรี่ทําใหพบสารไทโออีเทอร (thioether) ในปสสาวะได หรือ การรบั ประทานอาหารทะเลอาจทาํ ใหป ริมาณสารหนใู นรา งกายสงู ขน้ึ ได -2-

มอก. 2547-25552.6 การตรวจการทํางานของตบั หมายถึง การตรวจการทํางานทส่ี ามารถบอกถึงความผดิ ปกติของตบั ต้ังแตระยะ เร่มิ ตนกอนท่ตี ับถกู ทําลาย (liver damage) โดยรายการตรวจการทํางานของตับที่นิยมแนะนําใหตรวจ คือ เอสจโี อที (SGOT) เอสจพี ีที (SGPT) และเอแอลพี (ALP)2.7 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (health effect monitoring) หมายถึง การตรวจอาการที่แสดงผลตออวัยวะ เปาหมาย (end organ effect) ต้ังแตการเปลี่ยนแปลงท่ีวัดไดทางชีวเคมี สรีรวิทยา พฤติกรรม หรือการ เปล่ียนแปลงอน่ื ๆ ซึง่ การเปล่ียนแปลงน้ีเปน เครื่องหมายบอกวาเริ่มมหี รอื มีการเปลี่ยนแปลงไปในทางท่ีจะ เปนโรคนน้ั แลว2.8 การตรวจสุขภาพ (physical examination) หมายถึง การตรวจรางกายตามวิธีทางการแพทย เพื่อใหทราบถึง ความเหมาะสมและผลกระทบตอสขุ ภาพของลูกจา งอันอาจเกิดจากการทํางาน2.9 การตรวจสุขภาพเพื่อประเมินสภาวะสุขภาพหลังการประสบอันตรายหรือเจ็บปวย (post–injured or post– illness physical examination) หมายถึง การตรวจสุขภาพเพื่อประเมินสมรรถภาพโดยรวมของลูกจางกอน ที่จะจดั หางานทีเ่ หมาะสมใหทํา ซงึ่ จะชว ยใหไดขอมลู พ้นื ฐานทางสุขภาพใหมและยังเปนประโยชนในการ พิจารณาเพ่ือพื้นฟูสมรรถภาพลูกจางอีกดวย นอกจากน้ีกฎหมายระบุวากรณีท่ีลูกจางหยุดงานเกิน 3 วัน ทํางานตดิ ตอ กนั เนื่องจากการประสบอันตรายหรือเจ็บปวยไมวากรณีใด ๆ สถานประกอบกิจการอาจให แพทยผูทําการรกั ษาหรอื แพทยประจาํ สถานประกอบกจิ การตรวจสุขภาพของลกู จา งกอ นใหก ลับเขาทํางาน ก็ได การตรวจสขุ ภาพกรณนี ้ตี ามกฎหมายกลาวถึงแตไ มไ ดบ ังคับ2.10 การตรวจสุขภาพกอนบรรจุเขาตําแหนงงานหรือกอนการเปล่ียนงานของลูกจาง (pre–placement physical examination) หมายถงึ การตรวจสขุ ภาพที่มีวตั ถปุ ระสงคเพ่อื ประเมนิ วาลูกจา งมีสุขภาพเหมาะสมกับงานที่ จะทําหรอื ไม ขอมูลผลการตรวจสขุ ภาพท่ีไดน้ีใชสําหรับเปนขอมูลพ้ืนฐาน (baseline) ในการเปรียบเทียบ สภาวะสุขภาพของลูกจางเพื่อเฝาระวังโรคจากการทํางาน การตรวจนี้เปนการตรวจเพ่ือบรรจุลูกจางให เหมาะสมกบั งาน ไมใ ชการตรวจเพื่อกดี กนั ไมใ หคนไดทํางาน (discrimination)2.11 การตรวจสุขภาพกอนบรรจุเปนพนักงาน (pre–employment physical examination) หมายถึง การตรวจ สขุ ภาพทมี่ วี ตั ถปุ ระสงคเ พ่อื ประเมินสภาวะสุขภาพท่วั ไปท่ีไมไดพิจารณาความเส่ียงเก่ียวกับงาน ภายหลัง การตรวจแพทยม กั ออกใบรบั รองแพทยใ หเพ่ือใชป ระโยชนตาง ๆ เชน ประกอบการสมัครงาน ทําใบขับขี่ ยานพาหนะ การตรวจสุขภาพในกรณีน้ีกฎหมายไมไ ดบ งั คับ2.12 การตรวจสุขภาพกอนออกจากงาน (pre–retirement physical examination) หมายถึง การตรวจสุขภาพเพ่ือ ทราบสภาวะสุขภาพลูกจางท่ีกําลังจะออกจากงาน ขอมูลการตรวจสุขภาพท่ีไดจะเปนประโยชนสําหรับ สถานประกอบกิจการในการใชป ระกอบหลกั ฐาน เพื่อพจิ ารณาตน เหตทุ ่ที าํ ใหลกู จา งเกดิ โรคจากการทาํ งาน ในภายหลงั การตรวจสขุ ภาพในกรณีนี้ตามกฎหมายกลาวถงึ แตไมไ ดบ งั คับ -3-

มอก. 2547-25552.13 การตรวจสุขภาพตามปจ จยั เสย่ี งจากการประกอบอาชีพ (physical examination for occupational health risk factors) หมายถึง การตรวจสุขภาพตามลักษณะอันตรายที่ลูกจางไดรับหรือเก่ียวของขณะปฏิบัติงานใน สถานประกอบกิจการ2.14 การตรวจสุขภาพระหวางงานเปนระยะ (periodic physical examination) หมายถึง การตรวจติดตามหรือ เฝา ระวังปญ หาสุขภาพลูกจาง ซึ่งอาจมีแนวโนมทรุดโทรมลงหลังจากไดรับปจจัยเสี่ยงตาง ๆ จึงเปนการ คน หาวาสุขภาพของลูกจางไดรับผลกระทบจากการทํางานหรือไม นอกจากนี้ยังชวยในการคนหาโรคใน ระยะเรมิ่ ตน ได ซง่ึ จะชวยใหม กี ารดําเนินมาตรการคุมครองสุขภาพของลูกจางกอนท่ีโรคจะลุกลามตอไป นอกจากน้ีผลการตรวจสุขภาพของลูกจางน้ียังใชประเมินมาตรการปองกันโรคท่ีดําเนินการอยู รวมท้ัง มาตรการรกั ษาพยาบาลท่ีสถานประกอบกิจการใชอยูวามปี ระสิทธภิ าพดีหรือไม2.15 การถา ยภาพรงั สที รวงอกจากดานหลังไปดานหนา (posteroanterior chest x-ray) หมายถึง การถายภาพรังสี ทรวงอกท่ใี ชฟลม ขนาด 36 cm (เซนติเมตร) × 43 cm (14 น้วิ × 17 น้วิ ) หรอื ขนาด 43 cm × 43 cm (17 น้ิว × 17 นวิ้ ) โดยถา ยจากดานหลงั ของรา งกาย ซ่งึ การใชฟล มขนาดใหญจะทําใหแพทยสามารถวิเคราะหโรคใน ระยะแรกไดชัดเจนแมนยํา2.16 การทดสอบสมรรถภาพการไดยิน (audiometry) หมายถงึ การทดสอบการเปลีย่ นแปลงสรรี ะการทํางานของ ระบบการไดยิน2.17 การทดสอบสมรรถภาพการมองเห็น (vision test) หมายถงึ การทดสอบการเปลยี่ นแปลงสรีระการมองเหน็2.18 การวดั ปริมาตรอากาศหายใจ (spirometry) หมายถงึ การตรวจสมรรถภาพปอดดว ยเครือ่ งวัดปริมาตรอากาศ (spirometer) การเปลีย่ นแปลงสรรี ะการทาํ งานของปอด2.19 ซีรั่มกลูตามิกไพรูวิกทรานสอะมิเนส (Serum Glutamic Pyruvic Transaminase, SGPT) ซึ่งตอไปน้ีใน มาตรฐานนจ้ี ะเรยี กวา เอสจพี ีที หรืออะลานีนอะมิโนทรานสเฟอเรส (Alanine aminotransferase) หมายถึง เอนไซมที่พบมากในตับ ไต กลามเนื้อ และหัวใจ แตพบในตับมากท่ีสุด เอสจีพีทีน้ีจะเปนตัวบงชี้ในการ ตรวจหาตับอักเสบและยาบางตัวที่มีพิษตอตับ รวมทั้งโรคดีซาน คาปกติอยูในชวง 5 หนวยตอลิตร ถึง 35 หนว ยตอลิตร2.20 ซีร่ัมกลูตามิกออกซาโลอะซิติกทรานสอะมิเนส (Serum Glutamic Oxaloacetic Transaminase, SGOT) ซึ่งตอไปน้ีในมาตรฐานนี้จะเรียกวา เอสจีโอที หรือแอสพาเตตอะมิโนทรานสเฟอเรส (aspartate aminotransferase) หมายถึง เอนไซมซงึ่ อยใู นเน้ือเย่อื ของหัวใจ ตับ กลามเนื้อ ไต สมอง ตับออน มาม และ ปอด เอนไซมน ้ีถกู ขบั ถายเขา สูระบบการหมุนเวียนภายในรางกาย ซึ่งเอสจีโอทีมีคาเพิ่มข้ึนทันทีที่เน้ือเยื่อ สวนนไี้ ดรับอันตรายภายใน 12 h และจะอยูประมาณ 5 d จงึ คอ ย ๆ ต่าํ ลงเนื่องจากถูกเผาผลาญไปซึ่งมักจะ พบในคนที่เปนโรคเก่ียวกับตับ เชน ตับแข็ง ตับออนอักเสบ ตับอักเสบเฉียบพลัน ซึ่งคาปกติอยูในชวง 8 หนว ยตอ ลติ ร ถงึ 40 หนว ยตอ ลติ ร -4-

มอก. 2547-25552.21 ปจจัยเส่ียง (risk factor) หมายถึง สาเหตุท่ีลูกจางสัมผัสแลวอาจทําใหเกิดอาการเจ็บปวยหรือเปนโรคได เชน สารเคมกี ดั กรอ น กมั มันตภาพรังสี ฝุน เสยี งดัง ความรอน ไวรัส แบคทเี รยี2.22 ปจ จัยเส่ียงทางดานเคมี (chemical risk factor) หมายถึง สารเคมีท่ีอาจทําใหลูกจางเกิดอาการเจ็บปวยหรือ เปนโรคได เชน เบนซีน ตะก่ัว แอมโมเนีย สารหนู ตามมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมน้ียึดรายช่ือ สารเคมตี ามประกาศกระทรวงแรงงานเรื่องกําหนดสารเคมีอันตรายท่ีใหนายจางจัดใหมีการตรวจสุขภาพ ของลกู จาง2.23 ปจจยั เสี่ยงทางดานกายภาพ (physical risk factor) หมายถึง สาเหตุทางดานกายภาพท่ีอาจทําใหลูกจางเกิด อาการเจ็บปว ยหรือเปนโรคได ไดแ ก แสงจา เสียงดัง ฝุน ความรอนจัด ความเย็นจัด รังสีชนิดตาง ๆ ความ สนั่ สะเทือน ความกดดนั ของบรรยากาศท่เี กดิ ข้ึนขณะทํางาน2.24 ลูกจาง (employee) หมายถึง ผูซ่ึงทํางานใหแกนายจางโดยรับคาจางไมวาจะเปนผูรับคาจางดวยตนเอง หรือไมก็ตาม และหมายความรวมถึงลูกจา งประจาํ และลกู จา งชวั่ คราว แตไมร วมถึงลูกจา งซง่ึ ทํางานเกย่ี วกับ งานบา น2.25 สถานประกอบกิจการ (workplace) หมายถึง หนวยงานแตละแหงของนายจางที่ดําเนินการตามลําพังเปน หนว ย ๆ และมีลกู จา งทํางานอยู2.26 สารแปรรูปหรือเมทาโบไลต (metabolite) หมายถึง สารเคมที ี่เปนผลผลิตจากปฏิกริ ยิ าชวี เคมีของรางกาย2.27 สารกําจัดแมลงกลุมคารบาเมต (carbamate) หมายถึง สารกําจัดแมลงท่ีมีไนโตรเจนและซัลเฟอรเปน องคประกอบ ทําหนาท่ียับยั้งเอนไซมคลอรีนเอสเทอเรสและกระตุนใหระบบประสาททํางานมากเกินไป เชน โพรพอกเซอร (propoxur) พบในสเปรยกําจัดยุง แมลงสาบ ปลวก มด มอด และเบนดิโอคารบ (bendiocarb) พบในผงกาํ จดั แมลงสาบ2.28 สารกําจัดแมลงกลุมออรกาโนฟอสเฟต (organophosphates) หมายถึง สารกําจัดแมลงที่มีฟอสฟอรัสเปน องคประกอบ ทําหนาที่ยับยั้งเอนไซมคลอรีนเอสเทอเรส (cholinesterase) ซึ่งสงผลตอระบบประสาท แต สารประเภทนีไ้ มถ ูกสะสมในไขมนั และจะสลายตวั ไดในสภาพทีเ่ ปนดา ง ทําใหไ มสะสมในเน้ือเย่ือของคน สารกาํ จัดแมลงในกลุมนี้ เชน คลอไพริฟอส (chlopyrifos) ไดคลอวอส (dichlovos) หรือดีดีวีพี (DDVP) ซึ่ง พบในสเปรยกําจดั ยงุ แมลงสาบ ปลวก มด มอด2.29 อุณหภูมิและความดันของรางกายซึ่งอิ่มตัวดวยไอนํ้า (body temperature pressure saturated with water vapor, BTPS) หมายถึง อณุ หภูมิรา งกาย 37 °c (องศาเซลเซียส) หรือ 310 K (เคลวิน) ที่ความดันบรรยากาศ หรือความดันหองและอ่ิมตัวดวยแรงดันไอ (saturated) 47 mmHg (มิลลิเมตรปรอท) หรือ 6.2 kPa (กิโล ปาสคาล) -5-

มอก. 2547-2555 3. การตรวจสขุ ภาพตามปจจัยเสย่ี ง3.1 หลักการทัว่ ไป การกาํ หนดรายการตรวจสขุ ภาพตามปจจยั เสยี่ งทจี่ ําเปน สาํ หรบั สถานประกอบกิจการแตละแหงจําเปนตอง ทราบปจจัยเสี่ยงท่ีลูกจางแตละคนสัมผัส แลวจึงนํามากําหนดแผนการตรวจสุขภาพที่เหมาะสม สําหรับ ปจจัยเสี่ยงในสถานประกอบกิจการทีร่ ะบุในมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมน้ีแบงออกเปน 2 แหลง คือ ปจจยั เสีย่ งทางดานเคมแี ละกายภาพ ขอ มลู การตรวจสุขภาพตามปจจยั เส่ียงในสถานประกอบกิจการท่ีได เปนเพียงขอมูลเบื้องตนสําหรับใชใน การคัดกรองปญ หาสุขภาพของลกู จา งทีป่ ฏบิ ตั งิ านกับปจจยั เสย่ี งเทานัน้ โดยมวี ตั ถุประสงคเพ่ือคนหาปจจัย เส่ียงของการเกิดโรค วางแผนการปอ งกนั หรอื กําจดั ปจจยั เส่ยี งนัน้ กอ นเกิดโรคหรอื เกิดโรครุนแรงข้ึน ซึ่งมี เปาหมายสุดทายคือ ใหลูกจางมีสุขภาพและชีวิตความเปนอยูท่ีดีเปนสําคัญ ดังน้ัน มาตรฐานผลิตภัณฑ อตุ สาหกรรมน้ีจึงกําหนดแนวทางสําคัญของการตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยงของลูกจางออกเปน 5 สวน ไดแก 3.1.1 การตรวจสุขภาพกอนบรรจุเปน พนักงาน 3.1.2 การตรวจสขุ ภาพกอนบรรจุเขาตําแหนง งานหรือกอนการเปลยี่ นงานของลกู จา ง 3.1.3 การตรวจสขุ ภาพระหวางงานเปน ระยะ 3.1.4 การตรวจสุขภาพเพอื่ ประเมนิ สภาวะสขุ ภาพหลังการประสบอันตรายหรอื เจบ็ ปวย 3.1.5 การตรวจสขุ ภาพกอนออกจากงาน3.2 การตรวจสขุ ภาพกอ นบรรจุเปน พนักงาน สถานประกอบกิจการควรพิจารณาความพรอมดานสุขภาพเบ้ืองตนของผูสมัครงาน เก่ียวกับโรคติดตอ อนั ตรายตามที่กฎหมายกําหนด 5 โรค คือ อหิวาตกโรค (cholera) กาฬโรค (plague) ไขทรพิษ (smallpox หรือ variola) ไขเหลือง (yellow fever) และโรคทางเดินหายใจเฉียบพลันรุนแรง (หรือโรคซารส–Severe Acute Respiratory Syndrome) รวมถึงโรคติดตออ่ืน ๆ ไดแก คอตีบ (diphtheria) ไอกรน (pertussis) โรคบาดทะยัก (tetanus) ไขสุกใส (chickenpox หรือ varicella) เพื่อเปนการคัดกรองและปองกันการเกิด โรคระบาดภายในสถานประกอบกิจการ3.3 การตรวจสุขภาพกอ นบรรจเุ ขา ตําแหนงงานหรือกอนการเปล่ยี นงานของลกู จา ง เมื่อมีลูกจางใหมเขาปฏิบัติงาน สถานประกอบกิจการตองจัดใหมีการตรวจสุขภาพคร้ังแรกใหแลวเสร็จ ภายใน 30 d นบั แตวันทร่ี ับลกู จา งเขา ทาํ งาน หรือกรณีท่ีมกี ารเปลีย่ นงานของลกู จา งโดยที่งานใหมมอี นั ตราย แตกตา งไปจากเดิม สถานประกอบกจิ การตองจดั ใหมีการตรวจสุขภาพของลูกจางใหเสร็จสิ้นภายใน 30 d -6-

มอก. 2547-2555 นบั แตวันทเี่ ปลี่ยนงาน เพือ่ ประเมินวาลกู จางมีสุขภาพเหมาะสมทสี่ าํ หรับทาํ งานในตําแหนงที่บรรจุหรือไม และเพ่ือนาํ ไปเปนขอ มูลสขุ ภาพพืน้ ฐานของลูกจาง เพื่อเฝา ระวังโรคจากการทาํ งานหลงั จากที่ลูกจางทํางาน นั้นแลว สําหรบั รายการตรวจสุขภาพครัง้ แรกอยา งนอ ยควรมีองคป ระกอบของการตรวจสขุ ภาพ ดงั ตอไปนี้3.3.1 การรวบรวมประวตั ิเก่ยี วกบั เรอื่ งดงั ตอ ไปนี้ 3.3.1.1 ประวัติสวนตัว (1) ชอื่ -นามสกลุ (2) วัน เดอื น ป เกิด (3) เพศ (4) เลขท่ีบตั รประจําตัวประชาชน (5) ที่อยู (5.1) ทอ่ี ยตู ามบตั รประจาํ ตวั ประชาชน (5.2) ที่อยทู ีส่ ามารถติดตอ ได (5.3) ทอ่ี ยูญาตหิ รือบคุ คลใกลชิดกรณฉี ุกเฉิน (6) โภชนาการ (7) การออกกาํ ลงั กาย (8) น้าํ หนกั และสวนสงู (9) การสบู บุหรี่ (10) การดืม่ สรุ า เบียร หรอื เครื่องดม่ื ทีม่ แี อลกอฮอล (11) ประวตั ิการเสพยาเสพตดิ หรอื สารเสพติด (12) งานอดเิ รก 3.3.1.2 ประวตั ิการเจ็บปวย (1) โรคตาง ๆ ท่เี คยเจบ็ ปวย (ระบปุ พ ทุ ธศกั ราช) (2) อาการบาดเจ็บตาง ๆ ทเี่ คยไดรับ (ระบุปพ ุทธศกั ราช) (3) โรคประจาํ ตวั หรอื โรคเร้ือรงั ตาง ๆ (ระบชุ อื่ โรค) (4) ประวัติโรคผวิ หนงั (5) ประวัตโิ รคทางเดินหายใจ -7-

มอก. 2547-2555 (6) ประวัติการผาตดั (ระบสุ าเหตขุ องการผา ตดั ) (7) ประวตั ิการแพยา (8) ยาประจาํ ตวั (ระบชุ ่ือยา) (9) ภูมิคุมกนั โรคระบาดหรือเพอ่ื ปอ งกันโรคติดตอทเี่ คยไดรบั (ระบุช่อื ภูมคิ มุ กัน) (10) ขอ มลู ทางสขุ ภาพอื่น ๆ 3.3.1.3 ประวตั ิครอบครัว ประวัติการเจ็บปวยของสมาชิกในครอบครัว (เชน มะเร็ง โลหิตจาง วัณโรค เบาหวาน หอบหืด ภูมแิ พ) 3.3.1.4 ประวตั กิ ารทํางาน ประวตั กิ ารทาํ งานต้ังแตอดีตถึงปจ จุบัน (1) ชื่อสถานประกอบกจิ การและท่ีอยู (2) ประเภทกิจการ (3) วนั ทีเ่ ขา ทาํ งาน (4) ชอื่ แผนก (5) ตําแหนงงาน (6) ลักษณะงานท่ที าํ (7) ระยะเวลาทท่ี าํ (วนั /เดอื น/ป ถึง วนั /เดอื น/ป) (8) ปจจัยที่เสี่ยงตอสุขภาพที่มีในงาน เชน ปจจัยเส่ียงทางดานเคมี ปจจัยเสี่ยงทางดานกายภาพ หรอื ปจ จยั เสย่ี งทางดานชวี ภาพ (9) อปุ กรณป อ งกนั อันตรายสวนบุคคลที่ใช (ถา มี ระบชุ นิด) (10) ประวัติการเกิดอุบตั ิภัยสารเคมีในสถานประกอบกจิ การ 3.3.2 การตรวจสขุ ภาพทว่ั ไปโดยแพทย ใหสถานประกอบกิจการจัดใหมีการตรวจสุขภาพท่ัวไปโดยแพทย เพ่อื ทราบความสมบรู ณห รอื ความผดิ ปกติของรางกายข้ันตนของลูกจางที่หนวยงานเขารับทํางานใหม อยา งนอ ยดังรายการตอไปนี้ 3.3.2.1 น้าํ หนักและสวนสูง 3.3.2.2 ความดันโลหิต -8-

มอก. 2547-2555 3.3.2.3 ชีพจร 3.3.2.4 การตรวจสุขภาพท่ัวไป หมายเหตุ 1. สาํ หรบั การตรวจสุขภาพท่วั ไปรายการอื่น ๆ เชน การตรวจโคเลสเทอรอล การตรวจ ไตรกลเี ซอรไ รด การตรวจคลืน่ ไฟฟา หัวใจ สถานประกอบกจิ การอาจพิจารณาจดั ให มีการตรวจเพ่มิ เพื่อเปนสวสั ดกิ ารแกล กู จางได 2. กรณีเปน การเปลีย่ นงานของลูกจา ง สามารถใชขอ มลู ผลการตรวจสุขภาพเดิมได 3.3.3 การตรวจสุขภาพตามปจจัยเส่ียง ใหสถานประกอบกิจการจัดใหมีการตรวจสุขภาพตามปจจัยเส่ียง ทางดานเคมีและกายภาพเพื่อดูความพรอ มและความเหมาะสมตอ สขุ ภาพของลูกจา งทร่ี ับเขา ทาํ งานใหม หรือลูกจางมีการเปลี่ยนงานโดยที่งานใหมน้ันมีอันตรายแตกตางไปจากเดิม ใหแลวเสร็จภายใน 30 d นับแตว นั ทรี่ บั ลูกจางเขา ทํางาน หรือนับแตว นั ที่เปลย่ี นงาน โดยพิจารณารายการตรวจสขุ ภาพตาม ปจจยั เส่ียงในขอ 4. และขอ 5. หมายเหตุ หัวขอการตรวจสุขภาพ ควรสอดคลองกับผลการประเมินการสัมผัสสารอันตรายใน สงิ่ แวดลอมการทํางาน และระดับความเสี่ยงตอสุขภาพของลูกจางแตละบุคคลหรือแตละ อาชีพ และลักษณะการเกดิ โรค3.4 การตรวจสขุ ภาพระหวางงานเปนระยะ สถานประกอบกิจการตองจัดใหมีการตรวจสุขภาพตามปจจัยเสี่ยงทางดานเคมีและกายภาพใหกับลูกจาง อยา งนอยปล ะ 1 ครั้ง (หรอื ตามปจจยั เส่ียง) หรอื กรณพี บวาผลการตรวจสุขภาพลูกจางมีสารเคมีในรางกาย สูงเกินกวาระดับปกติ อาจมีการตรวจมากกวาหนึ่งคร้ัง ทั้งนี้ เปนการตรวจเพื่อเฝาระวังการสัมผัสหรือ ปญหาสุขภาพของลูกจางหรือคนหาโรคในระยะเริ่มตนและใชเปนขอมูลในการประเมินมาตรการทางดาน อาชีวอนามัยหรือสุขศาสตรอุตสาหกรรมที่สถานประกอบกิจการดําเนินการอยู รวมท้ังประเมิน ประสิทธิภาพการรักษาพยาบาลทีใ่ ช โดยพิจารณารายการตรวจสุขภาพตามปจ จยั เส่ียงในขอ 4. และขอ 5. หมายเหตุ หัวขอการตรวจสุขภาพท่ีดี ควรสอดคลองกับผลการประเมินการสัมผัสสารอันตรายใน สง่ิ แวดลอมการทาํ งาน และระดับความเสยี่ งตอสขุ ภาพของลกู จางแตละบุคคลหรือแตละอาชีพ และลกั ษณะการเกดิ โรค3.5 การตรวจสุขภาพเพือ่ ประเมินสภาวะสขุ ภาพหลงั การประสบอนั ตรายหรอื เจบ็ ปวย เปน การตรวจเพ่อื ประเมินความแข็งแรงของรางกายและความสามารถในการกลับเขาทํางานของลูกจางที่ ประสบอันตรายหรอื เจ็บปวยและหยดุ งานต้งั แต 3 d ขึ้นไป โดยแพทยจะพิจารณาขอมูลความเส่ียงของงาน ความพรอ มดานรางกายของลกู จาง และอาจสังเกตสภาพการปฏิบัติงานรวมกัน เพื่อสรุปวาลูกจางสามารถ ปฏิบตั ิงานเดิมไดห รอื ควรปรับเปลี่ยนงาน หากปฏิบัติงานเดิมไดควรตองมีการปรับเปล่ียนสภาพแวดลอม -9-

มอก. 2547-2555 ในการทาํ งานหรือไม อยา งไร หรอื ควรมีการปรับความเคยชินของลูกจางตอสภาพแวดลอมในการทํางาน แบบคอ ยเปนคอ ยไปหรือไม อยา งไร3.6 การตรวจสุขภาพกอนออกจากงาน โดยปกติสถานประกอบกิจการควรจดั ใหม ีการตรวจสุขภาพกอ นออกจากงาน เพอ่ื ทราบสภาวะสุขภาพของ ลูกจางท่ีกําลงั จะออกจากงาน เพ่ือเก็บเปนหลักฐานทางดานสุขภาพจากการสัมผัสปจจัยเส่ียงทางดานเคมี และกายภาพของลูกจา ง และยงั เปนประโยชนในการใชประกอบหลักฐานการพิจารณาสาเหตุการเกิดโรค จากการทาํ งานของลกู จางในภายหลงั โดยพิจารณารายการตรวจสุขภาพตามปจ จยั เสีย่ งในขอ 4. และขอ 5. หมายเหตุ หัวขอการตรวจสุขภาพที่ดี ควรสอดคลองกับผลการประเมินการสัมผัสสารอันตรายใน ส่งิ แวดลอมการทาํ งาน และระดับความเส่ียงตอสุขภาพของลูกจา งแตล ะบุคคลหรือแตละอาชีพ และลักษณะการเกิดโรค และสามารถใชขอมูลผลการตรวจสุขภาพเดิมได ถาผลการตรวจ ครง้ั ลา สุดไมเ กิน 6 เดือน 4. การตรวจสุขภาพตามปจจัยเสีย่ งทางดานเคมีสถานประกอบกิจการตองจัดใหมีการตรวจสุขภาพตามปจจัยเส่ียงทางดานเคมีใหแกลูกจางท่ีมีความเส่ียงในการทาํ งานกับสารเคมีอนั ตรายเพอ่ื ใหท ราบสภาวะความเปล่ียนแปลงของรางกาย มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมนี้จาํ แนกแนวทางการตรวจออกเปน 3 ลกั ษณะ คือ- การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ เปนการตรวจสอบสถานะสุขภาพของลูกจาง เพื่อดูอาการแสดงเร่ิมแรกของ ความผิดปกตขิ องสขุ ภาพของลูกจาง- การตรวจเพอื่ เฝาระวังการสัมผัส เปนการตรวจปริมาณสารเคมีที่รางกายไดรับพิจารณาใชสําหรับสารเคมีท่ี สามารถซึมผานผวิ หนังได และการเก็บตวั อยางอากาศเพ่ือประเมนิ การสัมผัสไมพอเพียงที่จะประเมินปริมาณ สารทร่ี างกายไดร บั จากการทาํ งาน ซึง่ ทาํ ไดโ ดยการเก็บสารคัดหลงั่ หรอื เน้อื เย่ือจากรางกายของลูกจางตามเวลา การเก็บตวั อยางทีก่ าํ หนด- การตรวจผลกระทบทางรา งกายอนื่ ๆ เปนการตรวจสถานะสุขภาพอื่น ๆ เพื่อใชประกอบในการวินิจฉัยการ กอโรคโดยแพทยอาชีวเวชศาสตร4.1 สารเคมอี ันตรายในกลมุ สารทาํ ละลายอนิ ทรยี  ไดแก 4.1.1 กลยั คอล (glycol) 4.1.1.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสว นบน (upper respiratory tract irritation) -10-

มอก. 2547-2555 (2) การระคายเคอื งตา (eye irritation) (3) พยาธิสภาพจากการดูดซมึ สารเคมผี า นทางผิวหนงั (skin notation) (4) ปวดศรี ษะ (headache) 4.1.1.2 การตรวจเพ่ือเฝาระวงั การสัมผสั (ปจจบุ ันยังไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.1.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่ืน ๆ (1) ผลกระทบเฉยี บพลัน (acute effects) (1.1) ชา (anesthesia) (มักไมคอยเกดิ ข้ึนเน่ืองจากสารมีแรงดันไอต่ํา) เวียนศีรษะ (dizziness) ปวดศีรษะ คลื่นเหียน (nausea) อาเจียน (vomiting) งวงนอน (sleepiness) ออนเพลีย (fatigue) มึนเมา (drunkenness) พูดติดอาง (slurred speech) เสียการทรงตัว (disequilibrium) รูสึกสับสน (disorientation) ภาวะซึมเศรา (depression) และหมดสติ (loss of conscious) (2) ผลกระทบเรื้อรัง (chronic effects) (2.1) ผิวหนังอกั เสบ (dermatitis) เชน ผวิ หนังมลี กั ษณะแหง (dry) แตก (cracked) และรอ นแดง (erythematous)4.1.2 กลตู ารัลดไี ฮด (glutaraldehyde) 4.1.2.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสวนบน (2) การระคายเคืองผิวหนงั (skin irritation) (3) การระคายเคืองตา (4) ระบบประสาทสว นกลางเสื่อมสมรรถภาพ (central nervous system impairment) (5) อาการแพตา ง ๆ (sensitization) 4.1.2.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวงั การสมั ผสั (ปจจุบนั ยงั ไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.2.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอืน่ ๆ (ปจ จุบันไมมขี อ มลู เพม่ิ เตมิ )4.1.3 คลอโรฟอรม (chloroform) -11-

มอก. 2547-2555 4.1.3.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การเสอื่ มสมรรถภาพของตับ (2) ระบบประสาทสว นกลางเสือ่ มสมรรถภาพ หมายเหตุ 1. หามหญิงมีครรภทํางานกับสารนี้ เนื่องจากสารมีผลตอความสมบูรณของ ตัวออน/ ทารกในครรภ (embryo/fetal damage) 2. กรณกี ารเส่อื มสมรรถภาพของตบั ใหส ถานประกอบกจิ การจดั ใหม กี ารตรวจการ ทํางานของตบั 4.1.3.2 การตรวจเพ่ือเฝา ระวังการสมั ผัส (ปจ จุบันยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.3.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (1) การตรวจที่จําเปน (essentials of diagnosis) (1.1) ชา เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน งวงนอน ออนเพลีย มึนงง พูดติดอาง เสียการทรงตัว รูสกึ สับสน ภาวะซมึ เศรา และหมดสติ (1.2) สารพิษทข่ี บั ออกมาจากตบั (liver toxin) 4.1.4 คีโตนและเมทลิ เอททลิ คโี ตน (ketone and methyl ethyl ketone) 4.1.4.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสว นบน (2) ระบบประสาทสว นกลางเส่ือมสมรรถภาพ (3) ระบบประสาทสวนปลายเสอ่ื มสมรรถภาพ (peripheral nervous system impairment) (4) พยาธสิ ภาพจากการดดู ซึมสารเคมีผานทางผิวหนงั 4.1.4.2 การตรวจประเมินการสมั ผสั เมทิล เอททิล คีโตน วิเคราะหเมทิล เอททิล คีโตนในปสสาวะหลังเลิกกะ (คามาตรฐานไมเกิน 2 mg/l (มลิ ลิกรัมตอลิตร)) 4.1.4.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลัน (1.1) การระคายเคืองทางเดินหายใจ (respiratory tract irritation) เชน ไอ จมูก และ คอหอยแดง (sore nose and throat) -12-

มอก. 2547-2555 (1.2) ชา เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน งวงนอน ออนเพลีย มึนงง พูดติดอาง เสยี การทรงตัว รสู กึ สบั สน ภาวะซึมเศรา และหมดสติ (2) ผลกระทบเรือ้ รัง (2.1) ผิวหนงั อักเสบ เชน ผวิ หนงั มีลกั ษณะแหง แตก และรอ นแดง4.1.5 แนพธา (naphtha) 4.1.5.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) การระคายเคืองทางเดินหายใจสว นบน (2) การระคายเคืองตา (3) ระบบประสาทสวนกลางเส่ือมสมรรถภาพ (เก่ียวกบั อาการชกั ) 4.1.5.2 การตรวจเพ่ือเฝา ระวงั การสมั ผสั (ปจจุบันยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.5.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (ปจ จบุ นั ไมมขี อ มูลเพิ่มเติม)4.1.6 เบนซดิ ีนและเกลอื เบนซิดีน (benzidine and benzidine salt) 4.1.6.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) มะเรง็ กระเพาะปส สาวะ (bladder cancer) (2) พยาธิสภาพจากการดูดซึมสารเคมีผา นทางผวิ หนัง 4.1.6.2 การตรวจเพอ่ื เฝา ระวงั การสัมผสั (ปจจุบันยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.6.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอนื่ ๆ (ปจ จบุ ันไมมขี อ มลู เพ่มิ เตมิ )4.1.7 เบนซีนและอนพุ ันธเ บนซนี (benzene and benzene derivatives) 4.1.7.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) มะเรง็ เม็ดเลอื ดขาว (leukemia) (2) พยาธิสภาพจากการดดู ซึมสารเคมีผา นทางผิวหนัง 4.1.7.2 การตรวจเพ่ือเฝา ระวังการสมั ผัส -13-

มอก. 2547-2555 (1) เบนซีน (1.1) วิเคราะหสารแปรรูปกรดเอส-เฟนิลเมอแคปทูริค (s-phenylmercapturic acid) ใน ปสสาวะหลังเลิกกะ (คามาตรฐานไมเกิน 25 g/g creatinine (ไมโครกรัมตอกรัม ครทิ นิ ิน)) หรอื (1.2) วิเคราะหสารแปรรูปกรดที, ที-มิวโคนิค (t, t-muconic acid) ในปสสาวะหลังเลิกกะ (คา มาตรฐานไมเ กิน 500 g/g creatinine) (2) ไซลนี (xylene) วิเคราะหสารแปรรปู กรดเมทิลฮิปปูริค (methylhippuric acid) ในปสสาวะหลัง เลิกกะ (คามาตรฐานไมเ กนิ 1.5 g/g creatinine (กรมั ตอกรัมคริทนิ นิ )) (3) โทลูอนี (toluene) (3.1) วเิ คราะหส ารแปรรูปโอ-ครีซอล (o-cresol)* ในปสสาวะหลังเลิกกะ (คามาตรฐานไม เกนิ 0.3 mg/g creatinine (มิลลกิ รัมตอกรมั คริทินิน)) หรอื (3.2) วิเคราะหโทลูอนี ในปสสาวะหลังเลิกกะ (คามาตรฐานไมเกิน 0.03 mg/l (มิลลิกรัมตอ ลติ ร)) หรือ (3.3) วิเคราะหโทลูอีนในเลือด (blood) กอนเขากะสุดทายของสัปดาหการทํางาน (คามาตรฐานไมเกนิ 0.02 mg/l) หมายเหตุ * หมายถงึ วเิ คราะหดวยวิธกี ารทําใหส ลายตัวโดยใชน ํา้ (with hydrolysis) (4) สไตรีน (styrene) (4.1) วิเคราะหสารแปรรูปกรดแมนเดลิค (mandelic acid) รวมกับกรดเฟนิลไกลออกซีลิก (phenylglyoxylic acid) ในปสสาวะหลังเลิกกะ (คามาตรฐานไมเกิน 400 mg/g creatinine) หรือ (4.2) วิเคราะหสไตรีนในเลือดท่ีมาจากเสนเลือดดํา (venous blood) หลังเลิกกะ (คา มาตรฐานไมเ กนิ 0.2 mg/l) 4.1.7.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอื่น ๆ (ปจ จบุ ันไมม ีขอ มลู เพ่มิ เตมิ ) 4.1.8 เบนโซควนิ โนน (benzoquinone) 4.1.8.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) การระคายเคืองตา -14-

มอก. 2547-2555 (2) พยาธสิ ภาพจากการดดู ซมึ สารเคมีผา นทางผวิ หนัง สีผมเปล่ยี น 4.1.8.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวังการสัมผัส (ปจ จุบันยงั ไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.1.8.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (ปจ จบุ นั ไมมีขอ มลู เพิม่ เตมิ )4.1.9 บสี (คลอโรเมทลิ ) อเี ทอร (bis (chloromethyl) Ether) 4.1.9.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) มะเร็งปอด (lung cancer) 4.1.9.2 การตรวจเพอ่ื เฝา ระวงั การสมั ผสั (ปจ จบุ ันยงั ไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.9.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอื่น ๆ (ปจจุบนั ไมมขี อมูลเพิม่ เตมิ )4.1.10 บีตา – เนพทิลามีน (beta - naphthylamine) 4.1.10.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) มะเรง็ กระเพาะปส สาวะ 4.1.10.2 การตรวจเพ่อื เฝา ระวังการสัมผัส (ปจจุบนั ยังไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.1.10.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่นื ๆ (ปจ จุบันไมม ีขอมูลเพิ่มเติม)4.1.11 โพรเพน (propane) 4.1.11.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การทาํ งานของหัวใจ (cardiac sensitization) (2) ระบบประสาทสวนกลางเสอื่ มสมรรถภาพ 4.1.11.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวงั การสมั ผสั (ปจจุบันยงั ไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.1.11.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอน่ื ๆ (ปจ จุบันไมมีขอมลู เพ่ิมเติม) -15-

มอก. 2547-2555 4.1.12 ฟอรม าลดไี ฮด (formaldehyde) 4.1.12.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสว นบน (2) การระคายเคืองตา (3) ความไวตอ อาการแพตาง ๆ 4.1.12.2 การตรวจเพือ่ เฝา ระวงั การสัมผัส (ปจจบุ ันยังไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.1.12.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอื่น ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลนั (1.1) ไอ แนนหนา อก (chest tightness) หายใจไมสะดวก (shortness of breath) (1.2) การระคายเคืองตา ซึ่งเปนสาเหตุใหนํ้าตาไหล (lacrimation) ตาแดง (redness) และ ปวดตา (pain) (1.3) การระคายเคอื งผิวหนัง ผ่ืนแพสัมผสั (contact dermatitis) (2) ผลกระทบเร้ือรงั (2.1) โรคหลอดลมอักเสบ (bronchitis) โรคหอบหดื (exacerbation of asthma) 4.1.13 ฟนอล (phenol) 4.1.13.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสว นบน (2) ปอดถกู ทาํ ลาย (lung damage) (3) ระบบประสาทสว นกลางเสื่อมสมรรถภาพ (4) พยาธิสภาพจากการดูดซึมสารเคมผี า นทางผิวหนงั 4.1.13.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวงั การสัมผสั (1) วเิ คราะหฟนอลในปสสาวะหลังเลิกกะ (คา มาตรฐานไมเ กนิ 250 mg/g creatinine) 4.1.13.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลัน -16-

มอก. 2547-2555 (1.1) การระคายเคืองทางเดินหายใจ เชน ไอ จมกู และคอหอยแดง (1.2) การทําลายเน้อื เยอ่ื (tissue destruction) เชน อาการตายของเซลลต ับรวมกับอาการปวด ในชองทอง (hepatic necrosis with abdominal pain) โรคดีซาน (jaundice) ผลการ ตรวจการทํางานของตับไมปกติ (abnormal liver function tests) อาการตายของ เซลลตับรวมกับอาการไตวายเฉียบพลัน (kidney necrosis with acute renal failure) ผิวหนงั ตายรว มกับแผลพพุ องและไหม (skin necrosis with blisters and burns) (1.3) ชา เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ คล่ืนไส อาเจียน งวงนอน ออนเพลีย มึนงง พูดติดอาง เสียการทรงตัว รสู กึ สับสน ภาวะซึมเศรา และหมดสติ (2) ผลกระทบเรอ้ื รงั (2.1) ผิวหนังอักเสบ เชน ผวิ หนงั มลี กั ษณะแหง แตก และรอ นแดง4.1.14 เมทานอล (methanol) 4.1.14.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) ปวดศีรษะ (2) ดวงตาถูกทําลาย (eye damage) (3) พยาธสิ ภาพจากการดูดซมึ สารเคมีผานทางผิวหนัง 4.1.14.2 การตรวจเพือ่ เฝา ระวงั การสมั ผัส (1) วเิ คราะหเ มทานอลในปสสาวะหลังเลกิ กะ (คามาตรฐานไมเกิน 15 mg/l) 4.1.14.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (ปจจบุ นั ไมมีขอมูลเพ่มิ เติม)4.1.15 เมทิลนี คลอไรด (methylene chloride) 4.1.15.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การตีบตัวของหลอดเลือด (carboxyhemoglobinemia) (2) ระบบประสาทสวนกลางเส่ือมสมรรถภาพ 4.1.15.2 การตรวจเพือ่ เฝา ระวังการสมั ผสั (1) สําหรับเมทิลีนคลอไรด (methylene chloride) ใหวิเคราะหเมทิลีนคลอไรดในปสสาวะ หลังเลกิ กะ (คามาตรฐานไมเ กนิ 0.3 mg/l) -17-

มอก. 2547-2555 4.1.15.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอนื่ ๆ (1) การตรวจทจี่ ําเปน (1.1) อาการชาและตับเปน พิษ 4.1.16 เมทิลไอโซไซยาเนท (methyl isocyanate) 4.1.16.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสวนบน (2) พยาธิสภาพจากการดูดซึมสารเคมผี า นทางผวิ หนงั 4.1.16.2 การตรวจเพือ่ เฝา ระวังการสมั ผสั (ปจ จุบันยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.16.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอนื่ ๆ (ปจ จบุ ันไมม ีขอ มูลเพม่ิ เตมิ ) 4.1.17 ไตรคลอโรเอทลิ นี (trichloroethylene) 4.1.17.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) ระบบประสาทสว นกลางเสอ่ื มสมรรถภาพ (2) การเส่ือมถอยของกระบวนการการรับรู (cognitive decrements) (3) ความเปน พิษของไต (renal toxicity) 4.1.17.2 การตรวจเพือ่ เฝาระวังการสมั ผัส (ปจจุบันยังไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.1.17.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอน่ื ๆ (ปจจบุ นั ไมมีขอมลู เพิ่มเตมิ ) 4.1.18 อะครัยโลไนไตรล (acrylonitrile) 4.1.18.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) ระบบประสาทสว นกลางเสอื่ มสมรรถภาพ (2) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสวนลาง (lower respiratory tract irritation) (3) พยาธิสภาพจากการดูดซึมสารเคมีผา นทางผวิ หนงั -18-

มอก. 2547-2555 4.1.18.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวงั การสัมผัส (ปจ จบุ ันยงั ไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.18.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่ืน ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลัน (1.1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจและตามดวยอาการคล่นื ไส เวยี นศรี ษะ และฉุนเฉียวงาย (irritability) (1.2) การชกั (convulsions) หมดสตยิ าวนาน (coma) และเสยี ชีวิต (2) ผลกระทบเรื้อรัง (2.1) คลื่นไส เวียนศรี ษะ หวาดกลวั (apprehension) ออนเพลีย4.1.19 อะซโี ตน (acetone) 4.1.19.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การระคายเคืองทางเดินหายใจสว นบน (2) การระคายเคอื งตา (3) ระบบประสาทสว นกลางเส่ือมสมรรถภาพ (4) ผลกระทบตอความสมบูรณของเมด็ เลือด (hematologic effects) เชน เมด็ เลือดขาวต่ํา เกลด็ เลอื ดตา่ํ 4.1.19.2 การตรวจเพอื่ เฝา ระวงั การสมั ผสั (1) วิเคราะหอ ะซีโตนในปส สาวะหลังเลิกกะ (คา มาตรฐานไมเกนิ 50 mg/l) 4.1.19.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่ืน ๆ (ปจจบุ ันไมมีขอ มลู เพ่มิ เตมิ )4.1.20 อะซโี ตไนไตรล (acetonitrile) 4.1.20.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสว นลา ง (2) พยาธสิ ภาพจากการดูดซมึ สารเคมีผา นทางผิวหนงั 4.1.20.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวังการสัมผัส (ปจ จุบนั ยงั ไมมีมาตรฐานการตรวจ) -19-

มอก. 2547-2555 4.1.20.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่ืน ๆ (ปจจุบันไมมขี อ มูลเพ่ิมเตมิ ) 4.1.21 อเี ทอร (ether) 4.1.21.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การระคายเคืองตา (2) การระคายเคืองผิวหนงั (3) การระคายเคืองทางเดินหายใจสวนบน (4) สมรรถภาพปอด (pulmonary function) (5) พยาธิสภาพจากการดูดซมึ สารเคมีผานทางผวิ หนัง 4.1.21.2 การตรวจเพือ่ เฝาระวังการสัมผัส (ปจ จุบันยงั ไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.21.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอน่ื ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลัน (1.1) ชา เวียนศีรษะ ปวดศีรษะ คลื่นไส อาเจียน งวงนอน ออนเพลีย มึนงง พูดติดอาง เสยี การทรงตัว รสู กึ สบั สน ภาวะซึมเศรา และหมดสติ (1.2) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจ เชน ไอ จมูกและคอหอยแดง (2) ผลกระทบเรื้อรัง (2.1) ผวิ หนังอกั เสบ เชน ผิวหนงั มีลกั ษณะแหง แตก และรอ นแดง 4.1.22 เอทลิ อะซเิ ตท (ethyl acetate) 4.1.22.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสว นบน (2) การระคายเคืองตา 4.1.22.2 การตรวจเพ่อื เฝา ระวังการสมั ผัส (ปจจุบันยังไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.22.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอืน่ ๆ (ปจจบุ ันไมม ีขอ มลู เพม่ิ เตมิ ) -20-

มอก. 2547-25554.1.23 เอทิลนี ไดคลอไรด (ethylene dichloride) 4.1.23.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) การเสื่อมสมรรถภาพของตับ (2) คลืน่ ไส 4.1.23.2 การตรวจเพ่ือเฝา ระวังการสมั ผัส (ปจ จบุ ันยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.23.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอืน่ ๆ (ปจจบุ ันไมม ีขอ มลู เพม่ิ เตมิ )4.1.24 ไอโซโพรพลิ แอลกอฮอล (isopropyl alcohol) หรือ 2-โพรพานอล (2-propanol) 4.1.24.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคืองตา (2) การระคายเคืองผวิ หนงั (3) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสว นลาง (4) สมรรถภาพปอด (5) ระบบประสาทสว นกลางเส่อื มสมรรถภาพ (6) การเส่อื มสมรรถภาพการทํางานของไต (kidney damage) 4.1.24.2 การตรวจเพ่ือเฝา ระวังการสัมผสั (1) วิเคราะหอ ะซโี ตนในปส สาวะหลงั เลกิ กะของวันสุดทายของสปั ดาหการทํางาน (คามาตรฐาน ไมเกนิ 40 mg/l) 4.1.24.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่นื ๆ (ปจจุบนั ไมม ขี อมูลเพ่ิมเติม)4.1.25 เฮกเซนและอนุพันธของเฮกเซน (hexane and hexane derivatives) เชน ไซโคลเฮกซาโนน (cyclohexanone) 4.1.25.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) ระบบประสาทสวนกลางเสอ่ื มสมรรถภาพ (2) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสวนบน -21-

มอก. 2547-2555 (3) การระคายเคืองตา (4) พยาธสิ ภาพจากการดูดซมึ สารเคมีผานทางผิวหนัง 4.1.25.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวังการสัมผัส (1) เฮกเซน (n-hexane) วิเคราะหสารแปรรูป 2,5-เฮกซานีไดออล* (2,5-hexanedion) ในปสสาวะ หลงั เลกิ กะของวนั สดุ ทา ยของสัปดาหการทํางาน (คา มาตรฐานไมเกิน 0.4 mg/l) หมายเหตุ * หมายถึง วเิ คราะหดวยวิธีการทาํ ใหสลายตัวโดยไมใชนํา้ (without hydrolysis) 4.1.25.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอืน่ ๆ (ปจจบุ นั ไมมขี อ มูลเพ่มิ เติม) 4.1.26 ไฮโดรควินโนน (hydroquinone) 4.1.26.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การระคายเคืองตา (2) ดวงตาถูกทําลาย (3) ความไวตอ อาการแพต า ง ๆ 4.1.26.2 การตรวจเพื่อเฝาระวังการสัมผัส (ปจ จบุ นั ยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.1.26.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอื่น ๆ (ปจ จุบันไมม ีขอ มูลเพิ่มเตมิ )4.2 สารเคมีอนั ตรายในกลุม กาซ ไดแก 4.2.1 คลอรนี หรือสารประกอบคลอรีน (chlorine or chlorine compound) 4.2.1.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสวนบน (2) การระคายเคอื งตา 4.2.1.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวังการสัมผสั (ปจจบุ ันยงั ไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.2.1.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (ปจจบุ นั ไมม ขี อ มูลเพิ่มเติม) -22-

มอก. 2547-25554.2.2 คารบ อนมอนอกไซด (carbon monoxide) 4.2.2.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การตบี ตัวของหลอดเลอื ด 4.2.2.2 การตรวจเพือ่ เฝาระวงั การสัมผสั (1) วเิ คราะหคารบอกซีฮโี มโกลบนิ (carboxyhemoglobin) ในเลอื ดหลังเลิกกะ (ในคนทไ่ี มส บู บุหร่ี คามาตรฐานไมเกนิ 3.5 % ของฮีโมโกลบนิ ) (2) วเิ คราะหคารบอนมอนอกไซดในสวนปลายของลมหายใจออก (end-exhaled air) หลังเลิกกะ (คา มาตรฐานไมเ กิน 22.91 mg/m3 (มิลลิกรมั ตอ ลกู บาศกเ มตร) หรอื (20 สว นในลานสว น)) 4.2.2.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลัน (1.1) ปวดศีรษะ (1.2) คลนื่ ไส (1.3) สับสน (confusion) (1.4) ภาวะหวั ใจขาดเลอื ด (cardiac ischemia) (1.5) หมดสติยาวนาน (1.6) เซลลส มองขาดออกซเิ จน (anoxic brain injury) (2) ผลกระทบเรือ้ รัง (2.1) การบาดเจบ็ อ่ืนท่ีเกดิ จากการขาดออกซิเจน (residual anoxic injury)4.2.3 ซลั เฟอรไดออกไซด (sulfur dioxide) 4.2.3.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) สมรรถภาพปอด (2) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสว นลาง 4.2.3.2 การตรวจเพอื่ เฝาระวังการสมั ผัส (ปจ จุบนั ยังไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.2.3.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (ปจ จุบนั ไมม ขี อ มลู เพ่มิ เติม) -23-

มอก. 2547-2555 4.2.4 ฟอสยนี (phosgene) 4.2.4.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสวนบน (2) ภาวะปอดบวมน้าํ (pulmonary edema) (3) ภาวะถุงลมโปงพอง (pulmonary emphysema) 4.2.4.2 การตรวจเพ่ือเฝา ระวงั การสมั ผสั (1) การถายภาพรังสที รวงอก 4.2.4.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่ืน ๆ (ปจจุบนั ไมม ขี อมลู เพิ่มเตมิ ) 4.2.5 ฟลูออรนี หรอื สารประกอบฟลอู อรนี (fluorine or fluorine compounds) 4.2.5.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคืองทางเดินหายใจสวนบน (2) การระคายเคอื งตา (3) การระคายเคืองผวิ หนงั 4.2.5.2 การตรวจเพือ่ เฝาระวงั การสมั ผสั (1) วิเคราะหฟ ลอู อไรด (fluoride) ในปส สาวะกอนเขา กะ (คามาตรฐานไมเ กิน 3 mg/g creatinine) (2) วเิ คราะหฟ ลอู อไรดใ นปส สาวะหลังเลิกกะ (คา มาตรฐานไมเ กิน 10 mg/g creatinine) 4.2.5.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่นื ๆ (ปจ จบุ นั ไมม ีขอมลู เพิ่มเตมิ ) 4.2.6 ไวนิลคอลไรด (vinyl chloride) 4.2.6.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) มะเร็งปอด (2) การเสื่อมสมรรถภาพของตับ (3) การถายภาพรงั สีทรวงอก -24-

มอก. 2547-2555 4.2.6.2 การตรวจเพอ่ื เฝา ระวงั การสัมผสั (ปจ จบุ นั ยังไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.2.6.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอื่น ๆ (ปจ จุบันไมม ีขอมูลเพิม่ เติม)4.2.7 ออกไซดของไนโตรเจน (oxides of nitrogen) 4.2.7.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองทางเดินหายใจสวนบน (2) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสวนลา ง 4.2.7.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวังการสมั ผัส (ปจ จบุ นั ยังไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.2.7.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอืน่ ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลัน (1.1) ปวดศีรษะ (1.2) คลืน่ ไส (1.3) หมดสติยาวนาน (1.4) เซลลส มองขาดออกซิเจน (1.5) ภาวะหวั ใจหยดุ เตน (cardiac arrest) (2) ผลกระทบเร้ือรงั (2.1) การบาดเจ็บอน่ื ที่เกิดจากการขาดออกซเิ จน4.2.8 เอทลิ ีนออกไซด (ethylene oxide) 4.2.8.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การเกดิ มะเรง็ ตา ง ๆ (cancer) (2) ระบบประสาทสว นกลางเสือ่ มสมรรถภาพ 4.2.8.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวงั การสัมผัส (ปจ จุบันยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) -25-

มอก. 2547-2555 4.2.8.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (ปจจบุ นั ไมม ขี อมลู เพ่มิ เติม) 4.2.9 แอมโมเนีย (ammonia) 4.2.9.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) ดวงตาถูกทําลาย (2) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสว นบน 4.2.9.2 การตรวจเพอื่ เฝาระวังการสัมผัส (ปจจุบนั ยังไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.2.9.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (ปจ จบุ ันไมมขี อ มลู เพ่มิ เตมิ ) 4.2.10 ไฮโดรเจนซัลไฟด (hydrogen sulfide) 4.2.10.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การระคายเคืองตา (2) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสวนบน (3) ระบบประสาทสว นกลางเสอ่ื มสมรรถภาพ (4) การทาํ งานของหัวใจ (5) พยาธสิ ภาพจากการดูดซมึ สารเคมผี านทางผิวหนงั 4.2.10.2 การตรวจเพอื่ เฝา ระวังการสัมผัส (ปจ จุบนั ยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.2.10.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่นื ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลัน (1.1) การระคายเคืองเยื่อบุผิวและทางเดินหายใจ (mucous membrane and respiratory irritation) (1.2) หมดสติ (1.3) เซลลส มองขาดออกซเิ จน (2) ผลกระทบเรือ้ รัง -26-

มอก. 2547-2555 (2.1) การบาดเจ็บอนื่ ท่ีเกิดจากการขาดออกซิเจน 4.2.11 ไฮโดรเจนไซยาไนดหรือสารประกอบไฮโดรเจนไซยาไนด (hydrogen cyanide or hydrogen cyanide compound) 4.2.11.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองทางเดินหายใจสว นบน (2) อาการเวยี นศรี ษะ (3) อาการคลืน่ เหยี น (nausea) (4) ผลกระทบตอตอมธยั รอยด (thyroid effect) (5) พยาธิสภาพจากการดูดซึมสารเคมีผานทางผิวหนงั 4.2.11.2 การตรวจเพ่อื เฝา ระวงั การสมั ผสั (ปจจุบันยงั ไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.2.11.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอนื่ ๆ (ปจจุบนั ไมม ีขอมลู เพ่มิ เติม)4.3 สารเคมีอันตรายในกลมุ ฝุน ฟูม หรือผงโลหะ ไดแก 4.3.1 แคดเมยี มหรอื สารประกอบแคดเมียม (cadmium or cadmium compound) 4.3.1.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) การเสอื่ มสมรรถภาพการทาํ งานของไต (kidney damage) 4.3.1.2 การตรวจเพ่อื เฝา ระวังการสมั ผสั (1) วเิ คราะหแ คดเมยี มในปสสาวะเวลาใดกไ็ ด (คามาตรฐานไมเกนิ 5 g/g creatinine) (2) วิเคราะหแคดเมยี มในเลือดเวลาใดกไ็ ด (คามาตรฐานไมเ กิน 5 g/l (ไมโครกรมั ตอลิตร)) 4.3.1.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอนื่ ๆ (1) ผลกระทบเฉยี บพลนั (1.1) ไตวาย (renal failure) (1.2) ปอดอักเสบเนือ่ งจากสารเคมี (chemical pneumonitis) (2) ผลกระทบเรือ้ รงั -27-

มอก. 2547-2555 (2.1) ภาวะปส สาวะมโี ปรตนี (proteinuria) (2.2) โรคกระดูกนวม (osteomalacia) (2.3) โรคถุงลมปอดโปงพอง (emphysema) (2.4) โลหติ จางหรอื เลือดนอ ย (anemia) (2.5) ประสาทสัมผัสรับกลิ่นเสีย (anosmia) (2.6) มะเรง็ ปอด 4.3.2 โคบอลตห รือสารประกอบโคบอลต (cobalt or cobalt compounds) 4.3.2.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) โรคหอบหดื (2) สมรรถภาพปอด (3) ผลกระทบตอ กลา มเนื้อหวั ใจ (myocardial effects) 4.3.2.2 การตรวจเพ่อื เฝาระวงั การสมั ผสั (1) วิเคราะหโคบอลตใ นปส สาวะหลังเลิกกะของวันสุดทายของสัปดาหการทํางาน (คามาตรฐาน ไมเกนิ 15 g/l) (2) วิเคราะหโคบอลตในเลือดหลังเลิกกะของวันสุดทายของสัปดาหการทํางาน (คามาตรฐาน ไมเ กิน 1 g/l) 4.3.2.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (ปจ จุบนั ไมม ขี อ มูลเพ่ิมเติม) 4.3.3 โครเมยี มหรือสารประกอบโครเมียม (chromium or chromium compound) 4.3.3.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสวนบน (2) มะเร็งปอด (3) การเกิดมะเร็งตาง ๆ 4.3.3.2 การตรวจเพื่อเฝาระวงั การสมั ผัส (1) วเิ คราะหโครเมียมทั้งหมด (total chromium) ในปส สาวะหลังเลกิ กะของวนั สุดทา ยของสัปดาห การทาํ งาน (คามาตรฐานไมเกิน 25 g/l) -28-

มอก. 2547-2555 (2) วเิ คราะหโ ครเมยี มท้ังหมดในปส สาวะขณะทเี่ ขากะ (คามาตรฐานไมเ กิน 10 g/l) 4.3.3.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอนื่ ๆ (1) ผลกระทบเฉยี บพลนั (1.1) โรคโพรงอากาศอักเสบ (sinusitis หรอื nasal septum perforation) (1.2) ผิวหนังอักเสบจากการแพและการระคายเคือง (allergic and irritant dermatitis) แผลเปอ ยทีผ่ ิวหนงั (skin ulcers) (1.3) การระคายเคอื งทางเดินหายใจ (respiratory irritation) โรคหลอดลมอักเสบ โรคหอบหดื (2) ผลกระทบเรือ้ รัง (2.1) มะเร็งปอด4.3.4 เงิน (silver) 4.3.4.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การเกดิ โรคอารไ จเรยี 4.3.4.2 การตรวจเพือ่ เฝาระวังการสัมผสั (ปจจบุ ันยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.3.4.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอนื่ ๆ (ปจจบุ ันไมม ขี อมลู เพิม่ เตมิ )4.3.5 ซลี เี นียมหรือสารประกอบซีลเี นียม (selenium or selenium compound) 4.3.5.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) การระคายเคืองทางเดินหายใจสวนบน (2) การระคายเคืองตา 4.3.5.2 การตรวจเพือ่ เฝาระวงั การสัมผสั (ปจจบุ ันยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.3.5.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (1) ผลกระทบเฉียบพลนั (1.1) การระคายเคืองทางเดินหายใจ เยื่อบุผิว และผิวหนัง (respiratory, mucous membrane, and skin irritation) -29-

มอก. 2547-2555 (1.2) ผวิ หนงั ไหม (skin burns) (2) ผลกระทบเรอื้ รงั (2.1) ออ นเพลีย ความเหนื่อยออ น (asstitude) (2.2) ความผดิ ปกติของระบบยอ ยอาหาร (gastrointestinal complaints) (2.3) ลมหายใจมีกลนิ่ กระเทียมและรสหวาน (garlic odor of breath and sweat) (2.4) ผิวหนงั อกั เสบ เล็บเปนหนองหรือเล็บขบ (paronychia) ผมรว ง (alopecia) 4.3.6 ดีบกุ หรอื สารประกอบดบี ุก (tin or tin compound) 4.3.6.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจสว นบน (2) โรคฝนุ จับปอด (pneumoconiosis) (3) อาการเวยี นศรี ษะ (4) อาการคล่ืนเหียน (5) การระคายเคอื งตา (6) พยาธิสภาพจากการดูดซมึ สารเคมีผานทางผิวหนัง 4.3.6.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวังการสมั ผสั (ปจ จุบนั ยังไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.3.6.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (1) ดบี กุ อนินทรีย (inorganic tin) (1.1) การระคายเคอื งทางเดนิ หายใจและเยอ่ื บุผวิ (respiratory and mucous membrane irritation) (1.2) เนื้องอกโรคฝุนจับปอด (ปอดแข็งจากผลแรด บี ุก) (benign pneumoconiosis หรือ stannosis) (2) ดบี กุ อนิ ทรยี  (organic tin) (2.1) การระคายเคอื งผิวหนงั ปานกลางถึงรุนแรง (mild to severe skin irritation) (2.2) ปวดศรี ษะ การมองเห็นไมชดั เจน (visual disturbances) -30-

มอก. 2547-2555 (2.3) การชกั (seizures) หมดสตยิ าวนาน4.3.7 ตะกว่ั หรอื สารประกอบตะก่ัว (lead or lead compounds) 4.3.7.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) ระบบประสาทสวนกลางเส่ือมสมรรถภาพ (2) ระบบประสาทสว นปลายเสอ่ื มสมรรถภาพ (3) ผลกระทบตอความสมบรู ณของเมด็ เลือด 4.3.7.2 การตรวจเพอื่ เฝา ระวงั การสมั ผัส (1) วเิ คราะหต ะกัว่ ในเลือดเวลาใดก็ได (คามาตรฐานไมเ กนิ 0.3 g/ml) หมายเหตุ สตรีมีครรภ ควรควบคุมไมใหตะก่ัวในเลือด (มีคาเกิน 0.1g/ml) เน่ืองจากจะมี ผลกระทบตอ เดก็ ในครรภ 4.3.7.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอืน่ ๆ (1) ตะก่ัวอนนิ ทรีย (1.1) ผลกระทบเฉียบพลนั (1.1.1) ปวดทอ ง (โคลิค) (abdominal pain (colic)) (1.1.2) โรคทที่ าํ ใหเนือ้ สมองเสื่อม (encephalopathy) (1.1.3) เซลลเ มด็ เลือดแดงแตก (hemolysis) (1.1.4) ไตวายเฉยี บพลัน (acute renal failure) (2) ตะกวั่ อนิ ทรีย (2.1) ผลกระทบเรือ้ รงั (2.1.1) ออ นเพลยี และออ นเปลยี้ (asthenia) (2.1.2) ปวดขอ และปวดกลา มเน้อื (arthralgias and myalgias) (2.1.3) ความดนั โลหติ สงู (hypertension) (2.1.4) โลหิตจาง (2.1.5) โรคปลายประสาทอกั เสบ (กระแสประสาทสง่ั การ) (peripheral neuropathy (motor)) -31-

มอก. 2547-2555 (2.1.6) การรบกวนประสาทพฤตกิ รรมและโรคทที่ าํ ใหสมองเส่อื มเร้ือรงั (neurobehavioral disturbances and chronic encephalopathy) (2.1.7) ความผดิ ปกติของภาวะเจรญิ พนั ธุ (impaired fertility) (2.1.8) โรคขอ ตออักเสบและโรคไตที่เกิดจากเกา ต (gout and gouty nephropathy) (2.1.9) ไตวายเรอ้ื รงั (chronic renal failure) (3) สารประกอบอัลคลิ เลด (alkyl lead compound) (3.1) ออนเพลยี และความเหนื่อยออน (3.2) ปวดศรี ษะ (3.3) คลนื่ ไสและอาเจียน (3.4) ความผิดปกติของระบบทางจิตและประสาท (neuropsychiatric complaints) เชน สูญเสียความทรงจาํ (memory loss) ไมมีสมาธิ (difficulty in concentrating) (3.5) คล่ัง (delirium) การชัก หมดสติยาวนาน 4.3.8 ทองแดงหรอื สารประกอบทองแดง (copper or copper compound) 4.3.8.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองตาง ๆ (irritation) (2) กระเพาะอาหารและลาํ ไส (gastrointestinal) (3) โรคไขจากฟูมโลหะ (metal fume fever) 4.3.8.2 การตรวจเพ่อื เฝา ระวังการสมั ผัส (ปจจุบนั ยังไมมีมาตรฐานการตรวจ) 4.3.8.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (ปจจบุ ันไมม ีขอมูลเพม่ิ เตมิ ) 4.3.9 ทัลเลยี มหรอื สารประกอบทัลเลียม (thallium or thallium compound) 4.3.9.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) ผมรว ง (2) พยาธิสภาพจากการดดู ซมึ สารเคมผี านทางผวิ หนงั -32-

มอก. 2547-2555 4.3.9.2 การตรวจเพ่อื เฝาระวงั การสัมผัส (ปจจุบนั ยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.3.9.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (1) ผลกระทบเฉยี บพลนั (1.1) ผมรว ง (1.2) การปวดในระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal distress) (1.3) อาการออนแรงและชาที่เร่ิมจากสวนปลายสูสวนตนแขนตนขาและการหายใจ (ascending paralysis) หมดสตยิ าวนาน (2) ผลกระทบเรื้อรัง (2.1) ผมรวง (2.2) ออ นแรง (weakness) และออนเพลีย (2.3) โรคปลายประสาทอักเสบ4.3.10 นิกเกิลหรือสารประกอบนกิ เกิล (nickel or nickel compound) 4.3.10.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) ผิวหนังอักเสบ (2) การเกดิ โรคฝุนจบั ปอด (3) มะเร็งปอด (4) ปอดถูกทําลาย (5) มะเร็งจมกู (nasal cancer) 4.3.10.2 การตรวจเพอื่ เฝาระวังการสัมผัส (ปจ จุบันยังไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.3.10.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (1) สารประกอบนกิ เกิล (nickel compound (except nickel carbonyl)) (1.1) ผ่นื แพส ัมผสั (allergic contact dermatitis หรอื eczema) (1.2) โรคโพรงอากาศอกั เสบ (sinusitis) -33-

มอก. 2547-2555 (1.3) โรคหอบหืด (1.4) มะเร็งจมูกและมะเร็งปอด (2) นิกเกิลคารบอนิล (nickel carbonyl) (2.1) ปวดศรี ษะ ออนเพลยี มอี าการเกี่ยวกับระบบทางเดินอาหาร (gastrointestinal symptoms) (2.2) หายใจลาํ บาก (dyspnea) (2.3) ปอดอกั เสบ (interstitial pneumonitis) (2.4) เพอคลั่ง (delirium) และหมดสติยาวนาน 4.3.11 เบรลิ เลียมหรือสารประกอบเบริลเลียม (beryllium or beryllium compound) 4.3.11.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การแพต อ สารเบริลเลียม (beryllium sensitization) (2) การเกิดโรคเบริลโี อซสี (3) พยาธิสภาพจากการดูดซมึ สารเคมีผานทางผิวหนัง (4) อาการแพต าง ๆ 4.3.11.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวังการสมั ผัส (ปจ จบุ นั ยงั ไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.3.11.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่นื ๆ (1) สารประกอบเบริลเลยี ม (1.1) โรคหลอดลมอักเสบ (tracheobronchitis) ปอดอกั เสบ (1.2) โรคปอดอกั เสบเรื้อรงั แบบทีเ่ กิดเปนกอ นเนอื้ (granulomatous pulmonary disease) (1.3) ผิวหนงั อับเสบ (แผลเปอ ยและเปน กอนเนอ้ื ) (dermatitis (ulceration and granulomas)) (1.4) มะเรง็ ปอด (1.5) การระคายเคอื งตา จมูก และคอ 4.3.12 ปรอทหรอื สารประกอบปรอท (mercury or mercury compound) 4.3.12.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ -34-

มอก. 2547-2555 (1) ระบบประสาทสว นกลางเสอ่ื มสมรรถภาพ (2) ระบบประสาทสวนปลายเสอ่ื มสมรรถภาพ (3) พยาธสิ ภาพจากการดดู ซึมสารเคมผี านทางผวิ หนงั 4.3.12.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวังการสมั ผัส (1) วิเคราะหปรอทอนินทรียทั้งหมด (total inorganic mercury) ในปสสาวะกอนเขากะ (คา มาตรฐานไมเ กิน 35 g/g creatinine) (2) วิเคราะหป รอทอนินทรียท ้ังหมดในเลือดหลงั เลกิ กะของวนั สุดทายของสัปดาหการทํางาน (คา มาตรฐานไมเ กิน 15 g/l) 4.3.12.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอืน่ ๆ (1) ปรอทอนินทรยี  (inorganic mercury) : (1.1) ระบบหายใจลมเหลว (acute respiratory distress) (1.2) การสนั่ กระตกุ (tremor) (1.3) เหงือกอักเสบ สน่ั และอารมณไมสมดุล (ขีอ้ าย (shyness) อารมณแ ปรปรวน (emotional lability) (1.4) การพบโปรตนี ในปสสาวะ ไตวาย (renal failure) (2) ปรอทอินทรีย (organic mercury) : (2.1) ความผิดปกตดิ า นจิตใจ (mental disturbances) (2.2) ภาวะที่ไมสามารถควบคุมการเคลื่อนไหวไดปกติ (ataxia) ภาวะกลามเนื้อหดเกร็ง (spasticity) (2.3) ความรสู ึกฟนเฝอ (paresthesia) (2.4) การมองเห็นและการไดย ินไมช ดั เจน (visual and auditory disturbances)4.3.13 พลวงหรือสารประกอบพลวง (antimony or antimony compound) 4.3.13.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคอื งผวิ หนงั (2) การระคายเคืองทางเดินหายใจสว นบน -35-

มอก. 2547-2555 4.3.13.2 การตรวจเพ่ือเฝาระวังการสัมผัส (ปจจุบนั ยงั ไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.3.13.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (ปจจบุ นั ไมมีขอ มูลเพิ่มเตมิ ) 4.3.14 แมงกานีสหรือสารประกอบแมงกานสี (manganese or manganese compound) 4.3.14.1 การตรวจผลกระทบตอสุขภาพ (1) ระบบประสาทสว นกลางเส่อื มสมรรถภาพ 4.3.14.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวังการสมั ผสั (ปจจบุ ันยงั ไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.3.14.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (1) การตรวจทจ่ี ําเปน (1.1) โรคอัมพาตชนิดส่ัน (parkinsonism) (1.2) การเปลี่ยนแปลงพฤตกิ รรม (behavioral changes) โรคจิต (psychosis) (1.3) กลุมอาการและโรคเก่ยี วกับทางเดินหายใจ (respiratory symptoms and disease) 4.3.15 วาเนเดียมหรือสารประกอบวาเนเดยี ม (vanadium or vanadium compound) 4.3.15.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสวนบน (2) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสว นลา ง 4.3.15.2 การตรวจเพือ่ เฝาระวังการสมั ผัส (ปจจุบันยงั ไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.3.15.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่ืน ๆ (1) การตรวจที่จําเปน (1.1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจ (1.2) โรคหอบหืด (1.3) ล้นิ เปลีย่ นเปน สเี ขียว (green discoloration of the tongue) 4.3.16 สงั กะสีหรือสารประกอบสังกะสี (zinc or zinc compound) -36-

มอก. 2547-2555 4.3.16.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสว นลาง (2) การระคายเคืองทางเดินหายใจสว นบน (3) มะเร็งจมูก (4) โรคไขจากฟูมโลหะ 4.3.16.2 การตรวจเพ่อื เฝา ระวงั การสมั ผัส (ปจ จบุ ันยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.3.16.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (1) สงั กะสอี อกไซด (1.1) ปวดศรี ษะ รสู กึ รับรสโลหะในปาก (metallic taste) (1.2) มไี ข (fever) หนาวสั่น (chills) ปวดกลา มเน้อื (myalgia) (1.3) ไอ เจ็บหนา อก (chest pain) (2) สังกะสีคลอไรด (2.1) แผลไหมท ผี่ ิวหนงั และตาอยางรนุ แรง (severe skin and eye burns) (2.2) การระคายเคอื งทางเดินหายใจ (2.3) ปอดบวม4.3.17 สารหนูหรอื สารประกอบสารหนู (arsenic or arsenic compound) 4.3.17.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) มะเรง็ ปอด 4.3.17.2 การตรวจเพือ่ เฝา ระวงั การสมั ผัส (1) วิเคราะหสารหนูอนินทรีย (inorganic arsenic) รวมกับเมทิลเลตเมทาโบไลต (methylated metabolites) ในปสสาวะวนั สดุ ทา ยของสัปดาห (คา มาตรฐานไมเ กนิ 35 g As/l) 4.3.17.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่นื ๆ (1) ผลกระทบเฉยี บพลนั (1.1) คลน่ื ไส อาเจียน และอจุ จาระรวง (diarrhea) -37-

มอก. 2547-2555 (1.2) ภาวะเม็ดเลือดแดงแตกอยางมากในหลอดเลือด (intravascular hemolysis) โรคดีซาน และปสสาวะออกนอ ย (1.3) ระบบหวั ใจและไหลเวียนเลอื ดลมเหลว (cardiovascular collapse) (1.4) โรคปลายประสาทอกั เสบ (จากสวนปลายสสู วนตน) (delay, ascending peripheral neuropathy) (2) ผลกระทบเร้อื รัง (2.1) ตาปลา (hyperkeratosis) และสผี วิ เขมขนึ้ (hyperpigmentation หรือ melanosis) (2.2) โรคปลายประสาทอกั เสบ (2.3) โลหติ จางหรอื เลือดจาง (2.4) โรคของหลอดเลือดหัวใจและหลอดเลือดสว นปลาย (cardiac and peripheral vascular disease) (2.5) มะเรง็ ผวิ หนงั และปอด (skin and lung cancer) และมะเรง็ ของหลอดเลอื ดในตบั (hepatic angiosarcoma) 4.3.18 เหล็ก (iron) 4.3.18.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสว นบน (2) การระคายเคืองผวิ หนงั 4.3.18.2 การตรวจเพอื่ เฝา ระวังการสัมผัส (ปจจุบนั ยงั ไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.3.18.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (ปจจบุ ันไมมีขอมลู เพมิ่ เติม) 4.3.19 อะลมู เิ นียมหรือสารประกอบอะลูมเิ นยี ม (aluminium or aluminium compound) 4.3.19.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การเกิดโรคฝนุ จับปอด (2) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสว นลา ง (3) การเกิดพษิ ทีร่ ะบบประสาท (neurotoxicity) -38-

มอก. 2547-2555 4.3.19.2 การตรวจเพื่อเฝาระวงั การสมั ผสั (ปจ จุบนั ยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.3.19.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่นื ๆ (1) การตรวจท่ีจาํ เปน (1.1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจ (1.2) โรคหลอดลมอักเสบเร้ือรัง (chronic bronchitis) และโรคพังผืดเกาะในปอด (pulmonary fibrosis) (1.3) ผิวหนงั อับเสบ (1.4) ความบกพรอ งเกย่ี วกับระบบประสาท (neurologic dysfunction) 4.3.20 ออสเมยี มหรอื สารประกอบออสเมียม (osmium or osmium compound) 4.3.20.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การระคายเคืองตา (2) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสวนบน (3) การระคายผวิ หนัง 4.3.20.2 การตรวจเพื่อเฝาระวังการสัมผสั (ปจจบุ นั ยังไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.3.20.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอน่ื ๆ (ปจจุบนั ไมม ขี อ มลู เพ่มิ เติม)4.4 สารเคมีอันตรายในกลุมกรด ไดแ ก 4.4.1 กรดซัลฟวริก (sulfuric acid) 4.4.1.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) สมรรถภาพปอด 4.4.1.2 การตรวจเพ่ือเฝาระวังการสมั ผัส (1) สมรรถภาพปอด 4.4.1.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (ปจจบุ นั ไมมขี อ มลู เพิม่ เตมิ ) -39-

มอก. 2547-2555 4.4.2 กรดแร (mineral acid) 4.4.2.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสว นบน (2) การระคายเคืองตา (3) การระคายเคอื งผิวหนงั (4) สมรรถภาพปอด 4.4.2.2 การตรวจเพื่อเฝาระวงั การสมั ผสั (1) สมรรถภาพปอด 4.4.2.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอน่ื ๆ (ปจจุบันไมม ขี อมลู เพิม่ เตมิ ) 4.4.3 กรดไนตรคิ (nitric acid) 4.4.3.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองทางเดนิ หายใจสว นบน (2) การระคายเคืองตา (3) โรคฟนกรอ น (dental erosion) 4.4.3.2 การตรวจเพือ่ เฝา ระวังการสมั ผัส (ปจ จบุ ันยงั ไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.4.3.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอนื่ ๆ (ปจจบุ นั ไมม ขี อ มลู เพิ่มเตมิ )4.5 สารเคมีอันตรายในกลุม สารกําจดั ศตั รูพชื ไดแ ก 4.5.1 สารกําจดั แมลงกลมุ ออรกาโนฟอสเฟต 4.5.1.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) อาการคล่นื เหยี น (2) อาการเวียนศรี ษะ (3) การระคายเคืองตา -40-

มอก. 2547-2555 (4) การระคายเคอื งผวิ หนงั (5) การเกิดมะเรง็ ตา ง ๆ (6) การทํางานของหวั ใจ (7) ระบบประสาทสวนกลางเสือ่ มสมรรถภาพ (8) การเส่ือมสมรรถภาพของตบั (9) การเสือ่ มสมรรถภาพการทํางานของไต 4.5.1.2 การตรวจเพอื่ เฝา ระวังการสัมผัส (1) วิเคราะหไนโทรฟนอลท้ังหมด (total p-nitrophenol) ในปสสาวะหลังเลิกกะ (คามาตรฐาน ไมเกิน 0.5 mg/g creatinine) (2) วิเคราะหระดับสารพิษตกคาง (cholinesterase activity) ในเม็ดเลือดแดง (red blood cell) โดย ใหผูตรวจกาํ หนดชวงเวลาการเกบ็ ตวั อยางทีเ่ หมาะสม (คามาตรฐานไมเกิน 70% ของพื้นฐาน บคุ คล (individual baseline)) 4.5.1.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (ปจ จบุ ันไมมขี อ มลู เพิ่มเติม) 4.5.2 สารกําจดั แมลงกลุมคารบ าเมท 4.5.2.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การระคายเคืองตา (2) อาการเวยี นศีรษะ (3) พยาธิสภาพจากการดูดซมึ สารเคมผี า นทางผวิ หนัง 4.5.2.2 การตรวจเพ่ือเฝาระวังการสัมผัส (ปจจุบนั ยังไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.5.2.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (ปจ จุบนั ไมมีขอ มลู เพมิ่ เตมิ )4.6 สารเคมีอนั ตรายในกลมุ อืน่ ๆ ไดแ ก 4.6.1 คารบอนไดซัลไฟด (carbon disulfide) 4.6.1.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ -41-

มอก. 2547-2555 (1) ระบบประสาทสว นปลายเสอ่ื มสมรรถภาพ (2) พยาธสิ ภาพจากการดูดซึมสารเคมีผา นทางผวิ หนงั 4.6.1.2 การตรวจเพอื่ เฝาระวงั การสัมผสั (1) วเิ คราะหสารแปรรูปกรด 2-กรดไธออกโซไธโซลดิ ีน-4-คารบ อกซลี คิ ; ทีทีซเี อ (2-thioxothiazolidine-4-Carboxylic acid; TTCA) ในปส สาวะหลังเลิกกะ (คามาตรฐานไมเ กิน 0.5 mg/g creatinine) 4.6.1.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอื่น ๆ (ปจจบุ นั ไมมขี อมลู เพิ่มเตมิ ) 4.6.2 ซิลกิ า (silica) 4.6.2.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การเกิดโรคพังผดื ในปอด (2) มะเรง็ ปอด 4.6.2.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวังการสมั ผสั (1) สมรรถภาพปอด (2) การถายภาพรังสที รวงอก 4.6.2.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอน่ื ๆ (ปจจุบันไมม ขี อมลู เพมิ่ เติม) 4.6.3 ถา นหิน (coal) และไอควันถา นหนิ 4.6.3.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การเกดิ โรคพงั ผดื ในปอด (2) ปอดถกู ทําลาย 4.6.3.2 การตรวจเพื่อเฝาระวังการสัมผสั (1) สมรรถภาพปอด (2) การถา ยภาพรงั สีทรวงอก 4.6.3.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอื่น ๆ (ปจจบุ ันไมมขี อมลู เพ่มิ เตมิ ) -42-

มอก. 2547-25554.6.4 นํ้ามนั แร (mineral oil) 4.6.4.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) สมรรถภาพปอด 4.6.4.2 การตรวจเพื่อเฝาระวังการสมั ผสั (1) สมรรถภาพปอด 4.6.4.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอน่ื ๆ (ปจ จุบนั ไมมขี อมลู เพมิ่ เติม)4.6.5 นํ้ามนั ดนิ (coal-tar pitch) 4.6.5.1 การตรวจผลกระทบตอ สุขภาพ (1) การเกดิ มะเรง็ ตา ง ๆ 4.6.5.2 การตรวจเพอ่ื เฝา ระวงั การสัมผสั (ปจ จบุ ันยงั ไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.6.5.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอน่ื ๆ (ปจ จุบนั ไมมีขอมูลเพิ่มเติม)4.6.6 นํ้ามันถา นหนิ (shale oil) 4.6.6.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การเกิดมะเร็งตาง ๆ 4.6.6.2 การตรวจเพอ่ื เฝา ระวงั การสัมผัส (ปจ จุบนั ยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.6.6.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่ืน ๆ (ปจ จบุ ันไมมขี อ มลู เพ่มิ เตมิ )4.6.7 ฝุนฝา ย (cotton dust) ปาน (flaz dust) และปอ (hemp dust) 4.6.7.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) อาการหอบหดื 4.6.7.2 การตรวจเพือ่ เฝา ระวงั การสมั ผสั (1) สมรรถภาพปอด -43-

มอก. 2547-2555 (2) การถา ยภาพรงั สีทรวงอก 4.6.7.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอ่นื ๆ (ปจจุบันไมมีขอมูลเพ่ิมเติม) 4.6.8 ฝนุ ไมและไอควนั เผาไม (wood dust) 4.6.8.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) อาการหอบหดื (2) สมรรถภาพปอด (3) ความไวตอ อาการแพตาง ๆ 4.6.8.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวงั การสมั ผัส (ปจจุบันยังไมม ีมาตรฐานการตรวจ) 4.6.8.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอ่ืน ๆ (ปจ จุบนั ไมม ีขอมลู เพม่ิ เติม) 4.6.9 ฟอสฟอรสั หรือสารประกอบฟอสฟอรัส (phosphorus or phosphorus compound) 4.6.9.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสว นลาง (2) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสวนบน (3) การระคายเคอื งของกระเพาะอาหารและลาํ ไส (gastrointestinal irritation) (4) การระคายเคอื งตา (5) การระคายเคืองผิวหนงั (6) การเส่อื มสมรรถภาพของตับ 4.6.9.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวงั การสัมผสั (ปจจบุ นั ยงั ไมมมี าตรฐานการตรวจ) 4.6.9.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอนื่ ๆ (ปจจบุ ันไมม ขี อ มลู เพ่มิ เตมิ ) 4.6.10 ใยแกว (glass fiber) 4.6.10.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ -44-

มอก. 2547-2555 (1) การระคายเคอื งทางเดินหายใจสว นบน 4.6.10.2 การตรวจเพอ่ื เฝา ระวังการสมั ผสั (1) สมรรถภาพปอด (2) การถายภาพรังสีทรวงอก 4.6.10.3 การตรวจผลกระทบทางรางกายอืน่ ๆ (ปจ จบุ ันไมม ขี อมูลเพม่ิ เติม)4.6.11 สารกลุมไดออกซิน (dioxin) 4.6.11.1 การตรวจผลกระทบตอสขุ ภาพ (1) การระคายเคืองตา (2) การระคายเคอื งผวิ หนงั (3) การเกดิ มะเรง็ ตาง ๆ 4.6.11.2 การตรวจเพอ่ื เฝาระวงั การสัมผสั ปจจบุ นั ยงั ไมม มี าตรฐานการตรวจ) 4.6.11.3 การตรวจผลกระทบทางรา งกายอื่น ๆ (ปจจุบันไมม ขี อมูลเพม่ิ เตมิ )4.6.12 ใยหนิ (asbestos) 4.6.12.1 การตรวจผลกระทบตอ สขุ ภาพ (1) การเกดิ โรคฝนุ จับปอด (2) มะเรง็ ปอด (3) การเกดิ โรคมะเรง็ เยอื่ หุมปอด 4.6.12.2 การตรวจเพื่อเฝา ระวงั การสมั ผัส (1) สมรรถภาพปอด (2) การถายภาพรงั สีทรวงอก4.6.13 ฝุน อืน่ ๆ กรณีลูกจางปฏิบัติงานเก่ียวของกับฝุนอื่นๆ ที่มีผลตอระบบทางเดินหายใจ ใหสถานประกอบกิจการ จัดใหมกี ารวดั ปริมาตรอากาศหายใจใหกับลูกจา ง ดูภาคผนวก ก. -45-

มอก. 2547-2555 5. การตรวจสขุ ภาพตามปจจยั เส่ียงทางดานกายภาพ5.1 การทดสอบสมรรถภาพการไดย นิ กรณีที่สภาวะการทํางานในสถานประกอบกิจการมีระดับเสียงท่ีลูกจางไดรับเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการ ทาํ งาน 8 h ตั้งแต 85 dB(A) (เดซิเบล (เอ)) ขนึ้ ไป ใหสถานประกอบกิจการจัดใหมีการทดสอบสมรรถภาพ การไดย ินใหก บั ลกู จาง ดูภาคผนวก ข.5.2 การทดสอบสมรรถภาพการมองเหน็ กรณลี ูกจางปฏิบตั ิงานทเี่ กี่ยวขอ งกับแสงจา หรืองานทใ่ี ชสายตามากกวา ปกติ ใหส ถานประกอบกจิ การจัดให มกี ารทดสอบสมรรถภาพการมองเหน็ ใหก ับลกู จาง ดภู าคผนวก ค. -46-

มอก. 2547-2555 ภาคผนวก ก. การวัดปริมาตรอากาศหายใจ (ขอ 4.6.13 )ก.1 การวดั ปริมาตรอากาศหายใจ (spirometry) เปน การวัดปริมาตรอากาศท่ีหายใจเขาและออกจากปอด การวัด ปริมาตรอากาศหายใจน้ีสามารถบงถึงการเสื่อมของการทํางานของปอดกอนที่อาการแสดงทางคลินิก (clinical symptom) จะเริม่ ปรากฏ เนอื่ งจากปอดเปน อวัยวะทม่ี ีความสามารถสํารองสูง (functional reserved) อาการเหนอ่ื ยจงึ มักปรากฏหลังจากพยาธิสภาพ (pathology) ในปอดเกิดขนึ้ มากแลวก.2 วัตถุประสงคของการวัดปริมาตรอากาศหายใจ เพื่อวินิจฉัย ประเมิน และติดตามผลการรักษาโรคระบบ ทางเดินหายใจ เชน โรคหืด โรคปอดอุดกนั้ เรือ้ รัง โรคปอดจากการทํางานก.3 องคป ระกอบสาํ คญั ของการจดั การวัดปริมาตรอากาศหายใจ ก.3.1 เคร่ืองวดั มาตรอากาศหายใจ (spirometer) ก.3.1.1 สมบัตขิ องเครื่องวัดมาตรอากาศหายใจ (1) ควรเปน ไปตามมาตรฐานของสถาบันหรอื องคกรซ่ึงเปน ที่ยอมรบั เชน American Thoracic Tociety (ATS) (ดูตารางที่ ก.1) หรือ European Tespiratory Society (ERS) (2) สามารถใชคาคาดคะเนความจุปอด (predicted normal values) ท่ีตองการได โดยเฉพาะ คาคาดคะเนทไ่ี ดจากการสํารวจในคนไทย -47-

มอก. 2547-2555 ตารางที่ ก.1 เกณฑม าตรฐานของเครื่องวดั มาตรอากาศหายใจ (ขอ ก.3.1.1 (1)) การทดสอบ ชว ง/ความแมนยาํ (ท่ี BTPS) ชว งอัตรา เวลา (s) ความตานทานและ สัญลักษณก าร การไหล (l/s) 30 แรงดนั กลับ(resistance ทดสอบ (test signal)ความจปุ อดปกติ 0.5 ลติ ร ถงึ 8 ลติ ร +3% ของคา ที่อา นได และ back pressure)(vital capacity, VC) หรอื 0.5 ลิตร ถึง 8 ลติ ร +0.05 ลติ ร 0 ถงึ 14 ข้ึนอยูกบั จํานวนใดสงู กวา - กระบอกฉีดยา 0 ถงึ 14 ปรมิ าตร 3 ลติ ร 0 ถึง 14 - เพ่อื สอบเทียบ 0 ถงึ 14 (3-L Cal syringe)ความจปุ อดสงู สุด (forced 0.5 ลิตร ถงึ 8 ลิตร +3% ของคา ทีอ่ านได +14 15 นอ ยกวา 1.5 ซม.น้ํา/ 24 รปู คล่ืนมาตรฐานvital capacity, FVC) หรือ 0.5 ลิตร ถงึ 8 ลติ ร +0.05 ลติ ร 0 ถงึ 14 ลติ ร/วินาที ของปรมิ าตร-เวลา ขึน้ อยกู บั จํานวนใดสงู กวา +14 +3% (24 volume-time standard waveforms) กระบอกฉีดยา ปรมิ าตร 3 ลติ ร เพ่ือสอบเทยี บปรมิ าตรอากาศสงู สดุ 0.5 ลิตร ถึง 8 ลติ ร +3% ของคา ท่อี านได 1 นอยกวา 1.5 ซม.น้ํา/ 24 รูปคล่นื มาตรฐานณ เวลาใด ๆ (forced หรือ 0.5 ลิตร ถึง 8 ลติ ร +0.05 ลติ รexpiratory volume, FEVt) ขน้ึ อยูกับจาํ นวนใดสูงกวา ลติ ร/วนิ าที ของปริมาตร-เวลาเวลาเร่ิมตน (Time zero) เวลาจากจดุ ทเี่ รม่ิ วดั FEVt - แบคเอ็กซทราโพเลช่ัน - (back extrapolation)อตั ราไหลของอากาศสงู สุด ความแมน ยํา +10% ของคา ทอ่ี านไดห รือ - เหมอื น FEV1 26 รปู คลนื่ มาตรฐานจากการหายใจออก (peak +0.4 l/s ขน้ึ อยกู บั จาํ นวนใดสูงกวา ของอตั ราไหล-เวลาexpiratory flow, PEF) ความเที่ยงตรง +5% ของคา ที่อานไดห รือ (26 flow-time standard waveforms) +0.2 l/s ข้นึ อยกู ับจํานวนใดสงู กวาคาเฉลี่ยของอัตราการเปา 7. l/s +5% ของคา ทอี่ า นได หรอื 15 เหมอื น FEV1 24 รปู คล่นื มาตรฐานในชว งความจุรอยละ 7. l/s +0.2 l/s ขน้ึ อยูก ับจํานวนใดสูงกวา ของปรมิ าตร-เวลา25 – 75 ของความจปุ อดสงู สุด (FEF25-75%)ปรมิ าตร (volume, V) +14. l/s +5% ของคา ท่ีอานได หรอื 15 เหมือน FEV1 การยืนยันจาก +14. l/s + 0.2 l/s ข้ึนอยูก ับจํานวนใด บรษิ ทั ผูผลิต สูงกวาปริมาตรอากาศสูงสดุ ที่ 250 l/min ทปี่ รมิ าตรหายใจปกติ (Tidal 12 ถึง 15 ความดนั นอ ยกวา +10 ปม ทม่ี รี ปู คลน่ื ไซนหายใจภายในเวลา 1 นาที Volume : TV) 2 l ภายใน +10% ของคา ซม.น้ําที่ปริมาตรหายใจ (sine wave pump)(maximum voluntary ที่อา นได หรอื 250 l/min +15% l/min ปกติ 2 l ท่ี 2 Hzventilation (MVV) ขึน้ อยกู ับจํานวนใดสงู กวา -48-

มอก. 2547-2555ก.3.1.2 หลักการการสอบเทียบเครอ่ื งวัดมาตรอากาศหายใจ มีดงั นี้ (1) สอบเทยี บเคร่ืองกอนการใชงานทุกวนั อยางนอ ยวันละ 1 ครั้ง (2) หากมีการใชง านตดิ ตอ กนั เปนเวลานาน ตอ งสอบเทียบเครอ่ื งทกุ 4 h (3) ถามีการเปล่ยี นแปลงของอณุ หภูมิ ความกดอากาศ และความชืน้ สมั พัทธข องอากาศ ตอ งคอย เปลี่ยนคาตาง ๆ เหลานี้ในเคร่ืองดวย ซ่ึงหลังจากการเปลี่ยนคาแลวจะตองทําการสอบเทียบ เครอื่ งใหมท กุ คร้งั (4) ควรมกี ารตรวจสอบเคร่ืองดวยการวดั คาตาง ๆ ของเครอื่ งจากคนปกติท่ีทราบคา ตา ง ๆ อยูแลว เปรียบเทียบกับเครื่องวัดมาตรอากาศหายใจอื่น ๆ ภายในหองปฏิบัติการเดียวกัน อยางนอย สปั ดาหละ 1 ครงั้ เพอ่ื เปนการตรวจสอบความแมน ยาํก.3.1.3 การทดสอบทีไ่ ดจากการการวัดปรมิ าตรอากาศหายใจอยางนอ ยตอ งประกอบดว ย 5 คา ดงั นี้ (1) ความจุปอดสูงสุด (forced vital capacity, FVC) เปนปริมาตรสูงสุดของอากาศที่หายใจออก อยา งเรว็ และแรงเต็มที่จนสุด จากตําแหนงท่ีหายใจเขา เตม็ ท่ี มีหนว ยเปน ลิตรที่ BTPS (2) ปริมาตรอากาศสูงสุดในวินาทีแรก (forced expiratory volume in one second, FEV1) เปน ปรมิ าตรของอากาศท่ีถูกขับออกในวินาทีแรกของการหายใจออกอยางเร็วและแรงเต็มที่ จาก ตาํ แหนงหายใจเขา เต็มท่ี FEV1 นมี้ ีหนว ยเปน ลติ รท่ี BTPS นอกจากน้ี พบวา FEV1 เปนขอมูลท่ี ใชบ อยทส่ี ุดในการวดั ปรมิ าตรอากาศหายใจ (3) ปริมาตรอากาศในวนิ าทแี รกตอ ความจุปอดสูงสุด (FEV1/FVC) คํานวณไดจากการนําคา FEV1 หารดว ยคา FVC และคณู ดว ย 100 มีหนว ยเปน % หรือเรียกวา % ปรมิ าตรอากาศสูงสุดในวินาที แรก (percent FEV1, %FEV1) ใชเ ปน ขอ มลู ท่ดี ีท่ีสุดเพอ่ื แสดงถึงการอดุ ก้ันของหลอดลม (4) คาเฉล่ียของอตั ราการเปา ในชว งความจุ 25% ถึง 75% ของความจุปอดสูงสุด (forced expiratory flow at 25% – 75% of FVC, FEF25 – 75 %) เปนคาเฉลี่ยของอัตราการไหลของอากาศในชวง กลางของ FVC มีหนวยเปน l/min ท่ี BTPS การทดสอบนี้มีความไวตอการเปล่ียนแปลงใน หลอดลมขนาดเล็กท่ีมีเสนผานศูนยกลางต่ํากวา 2 mm ขอเสีย คือ ทําซ้ํา (reproduce) เหมือน FEV1 ไมไ ด มคี วามจาํ เพาะตาํ่ และยากตอการแปลผลกรณีที่มกี ารลดลงของ FEV1หรอื FVC (5) อตั ราไหลของอากาศสงู สดุ จากการหายใจออก (peak expiratory flow, PEF) เปน อัตราการไหล ของอากาศหายใจออกท่ีสงู ที่สุด จะเกดิ ข้ึนในชวงตนของการหายใจออกอยา งเรว็ และแรงเต็มท่ี จากตําแหนงหายใจเขาเตม็ ท่ี มหี นวยเปน l/min หรือ l/s ที่ BTPS อยางไรก็ตาม คา PEF น้ีอาจ วัดไดดวยเคร่ืองมือที่เรียกวา เครื่องวัดอัตราการไหลสูงสุดของลมหายใจออก (Wright peak flow meter) หรอื peak flow meter เชน มินิไรท (mini – Wright) -49-