Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม (1)

การประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม (1)

Published by arsa.260753, 2015-11-06 02:55:00

Description: การประเมินความเสี่ยงด้านสารเคมีต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม (1)

Search

Read the Text Version

เลม่ ๑๒๙ ตอนพเิ ศษ ๑๔๖ ง หนา้ ๑๒ ๒๑ กนั ยายน ๒๕๕๕ ราชกจิ จานุเบกษา ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม ฉบบั ที่ ๔๔๓๙ (พ.ศ. ๒๕๕๕) ออกตามความในพระราชบัญญตั ิมาตรฐานผลติ ภัณฑอ์ ุตสาหกรรม พ.ศ. ๒๕๑๑ เรอื่ ง กําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑอ์ ตุ สาหกรรมการประเมินความเสย่ี งดา้ นสารเคมตี อ่ สขุ ภาพผ้ปู ฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๑๕ แห่งพระราชบัญญัติมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมพ.ศ. ๒๕๑๑ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมออกประกาศกําหนดมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมการประเมินความเส่ียงด้านสารเคมีต่อสุขภาพผู้ปฏิบัติงานในโรงงานอุตสาหกรรม มาตรฐานเลขที่มอก. ๒๕๓๕ - ๒๕๕๕ ไว้ ดังมรี ายละเอียดต่อท้ายประกาศนี้ ท้ังน้ี ใหม้ ผี ลต้งั แตว่ ันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปน็ ตน้ ไป ประกาศ ณ วนั ที่ ๒๕ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๕๕ หมอ่ มราชวงศพ์ งษส์ วัสด์ิ สวัสดิวัตน์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม

มอก. 2535-2555 มาตรฐานผลติ ภณั ฑอุตสาหกรรม การประเมนิ ความเส่ียงดานสารเคมี ตอสขุ ภาพผูปฏบิ ัติงานในโรงงานอตุ สาหกรรม 1. ขอบขา ย1.1 มาตรฐานผลติ ภณั ฑอ ตุ สาหกรรมนี้กําหนดการประเมินความเสี่ยงตอสุขภาพที่อาจเกิดข้ึนกับผูปฏิบัติงาน เนือ่ งจากการสัมผัสหรือไดร บั อนั ตรายทางเคมีจากการทาํ งาน การประเมินความเสย่ี งตอ สุขภาพมี 2 ประเภท คอื การประเมินความเส่ียงเชงิ ปรมิ าณ และการประเมินความเส่ียงเชิงคุณภาพ แตละประเภทประกอบดวย 4 ขั้นตอน คือ (1) การระบุวา เปนสารเคมีอันตราย (hazard identification) (2) การศึกษาผลกระทบตอสุขภาพหรือความสัมพันธระหวางปริมาณสารเคมีอันตรายท่ีไดรับและการ ตอบสนองของรางกาย (hazard characterization or dose-response assessment) (3) การประเมนิ การสมั ผสั (exposure assessment) (4) การระบุลักษณะเฉพาะความเสีย่ ง (risk characterization) การประเมินความเส่ียงในที่นี้ครอบคลุมเฉพาะการประเมินความเส่ียงเชิงคุณภาพ ซึ่งแบงเปน 5 ระดับ ไดแก ระดบั ยอมรบั ได ระดบั ตาํ่ ระดับปานกลาง ระดบั สูง และระดับสูงมาก 2. บทนิยาม ความหมายของคําที่ใชในมาตรฐานผลิตภัณฑอตุ สาหกรรมนี้ มดี งั ตอ ไปนี้2.1 การประเมินความเส่ียงตอสุขภาพ (health risk assessment) หมายถึง การประมาณคาความเปนไปไดหรือ โอกาสทผี่ ูปฏิบตั ิงานซง่ึ สมั ผัสสารเคมอี นั ตรายจะแสดงผลกระทบดา นสุขภาพจากการไดรับหรือสัมผัสกับ สารเคมอี นั ตรายอยางใดอยางหนง่ึ หรอื หลายอยา งพรอ มกัน2.2 กลุมผูปฏิบัติงานท่ีสัมผัสสารเคมีอันตรายคลายกัน (similar exposure group, SEG) หมายถึง กลุมผู ปฏิบตั ิงานซ่งึ สมั ผัสสารเคมีอนั ตรายเหมอื นกัน เนอื่ งจากงานท่ีทาํ และความถ่ีในการทํางานท่ีเก่ียวกับปจจัย เสี่ยงนั้นเหมือนกัน (ปจจัยเสี่ยงน้ัน ไดแก วัตถุดิบหรือสารเคมี กระบวนการผลิต และวิธีการทํางาน) ผปู ฏิบัติงานคนหนึง่ อาจอยใู นกลุม ของ SEG หลายกลมุ ก็ได -1-

มอก. 2535-25552.3 คาขดี จํากัดสารเคมที ่ีสัมผัสไดในสถานท่ีทํางาน (occupational exposure limit, OEL) หมายถึง ระดับความ เขม ขนของสารเคมอี ันตรายในสถานที่ทํางาน ซึ่งผูปฏิบัติงานสวนใหญสัมผัสไดวันละ 8 h สัปดาหละ 5 d โดยไมม ผี ลกระทบตอสขุ ภาพ หมายเหตุ คา OEL ซึ่งองคกรหรือหนวยงานตางๆ ประกาศใชหรือเสนอแนะอาจเรียกแตกตางกันและมีคา ตางกัน เชน อาจกาํ หนดเปนคา ขีดจํากดั สารเคมีท่สี ัมผัสไดในสถานทท่ี าํ งาน (threshold limit value, TLV) หรือ คาขีดจํากดั สารเคมที ่ียอมใหสมั ผสั ไดในสถานที่ทํางาน (permissible exposure limit, PEL)2.4 คาขีดจํากัดความเขมขนเฉลี่ยของสารเคมีในอากาศตลอดเวลาการทํางาน (occupational exposure limit- time-weighted average, OEL-TWA) หมายถึง คาความเขมขนเฉล่ียของสารเคมีในอากาศตลอดเวลาการ ทํางาน ซ่ึงโดยทั่วไป คือวันละ 8 h สัปดาหละ 5 d ที่ผูปฏิบัติงานสวนใหญสามารถสัมผัสไดโดยไม กอ ใหเ กดิ ผลกระทบตอ สุขภาพ2.5 คาขีดจํากัดสําหรับการสัมผัสในระยะสั้น ๆ (short-term exposure limit, STELหรือ OEL-STEL) หมายถึง คาความเขมขน เฉลย่ี ของสารเคมีทีพ่ นกั งานสัมผัสไดไมเกนิ วนั ละ 4 คร้งั ในระยะเวลาไมเ กินครัง้ ละ 15 min และแตล ะคร้ังตองหา งกันอยางนอย 1 h โดยคา เฉลี่ยความเขมขนทสี่ มั ผัสทัง้ หมดตองไมเกนิ คา OEL-TWA2.6 คาขีดจํากัดสูงสุด (ceiling, C หรือ OEL-C) หมายถึง คาความเขมขนสูงสุดของสารเคมีในอากาศท่ี ผูปฏิบัตงิ านสัมผัสไดในขณะปฏบิ ัตงิ าน โดยคาเฉลี่ยความเขมขนทสี่ ัมผสั ทั้งหมดตอ งไมเ กนิ คา OEL-TWA2.7 งานเกีย่ วกบั ปจจัยเส่ยี ง (risk task) หมายถงึ งานทีล่ กู จางทําเกยี่ วกับสารเคมีอันตราย2.8 ปจ จยั อนั ตรายทางเคมี (chemical hazard) หมายถึง สารเคมที ่เี มอ่ื เขาสูรางกายโดยทางปาก จมูก หรือผิวหนัง แลวสามารถแสดงพิษหรอื เปน อันตรายตอสุขภาพได2.9 สารเคมอี ันตราย (hazardous chemical) หมายถึง สารทางเคมีท่ีอาจทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพอยางใด อยา งหนึง่ หรือหลายอยางเมอ่ื สัมผสั หรอื ไดร บั เขาสูรางกาย (ดภู าคผนวก ก.) 3. หลกั การแนวทางการดาํ เนินการประเมนิ ความเสี่ยงตอ สุขภาพ 4 ข้ันตอนมดี งั ตอไปน้ี3.1 การระบุวา เปน สารเคมีอนั ตราย คือ การระบุวาไดรับสารเคมีอันตรายในส่ิงแวดลอมการทํางานท่ีอาจมีผล กระทบตอสุขภาพผูปฏิบัติงาน โดยวิเคราะหงาน กิจกรรม กระบวนการผลิตท่ีผูปฏิบัติงานจะไดรับการ สมั ผัสสารเคมอี นั ตรายโดยรวบรวมขอมลู เกย่ี วกบั สารเคมที ี่ใชทั้งหมด พ้ืนท่ีท่ใี ชสารเคมี กจิ กรรมทีเ่ กี่ยวขอ ง กระบวนการผลติ ขั้นตอนการผลิต มีดงั นี้ (1) บันทกึ รายการกจิ กรรมของผูปฏิบตั งิ านกลมุ ท่ีตองการประเมนิ ความเส่ยี งตอ สขุ ภาพ (2) ระบุพ้นื ท่ีทาํ งานสาํ หรับกิจกรรมนัน้ -2-

มอก. 2535-2555 (3) ระบุสารเคมอี นั ตรายตอสขุ ภาพในพืน้ ทีด่ งั กลาว (4) ระบคุ วามถ่แี ละลักษณะการสัมผสั ไดแ ก (4.1) ความถใี่ นการสมั ผัส เชน เดือนละ 1 ครงั้ สัปดาหละ 1 ครั้ง ทุกวัน ทุกชวั่ โมง (4.2) ระยะเวลาทสี่ มั ผัสในแตละครง้ั เชน 1 h 4 h ตลอดเวลาการทาํ งาน (4.3) ลักษณะการสัมผัสสารเคมอี ันตราย เชน ทางการหายใจ ทางผิวหนงั และทางปาก (5) จัดทาํ รายการสารเคมอี นั ตรายที่ตอ งประเมินการสมั ผสั เพ่ือวางแผนการตรวจวัดการสมั ผสั ตอ ไป (6) การสัมภาษณผูปฏิบัติงาน รายละเอียดของงานตามหนาท่ีรับผิดชอบของแตละตําแหนงงาน (job description) การวิเคราะหกิจกรรมของแตละตําแหนงงาน (job task analysis) ขอมูลจากการ เดินตรวจสอบดานสุขศาสตรอุตสาหกรรมในครั้งท่ีผาน ๆ มา ฯลฯ เพื่อใหไดขอมูลประกอบการ วเิ คราะหง านหรือกิจกรรมของผปู ฏบิ ัติงานอยางครบถวน ผลลัพธใ นขนั้ ตอนนี้ คือ รายช่อื พน้ื ที่ทมี่ ีกิจกรรมหรืองานเกีย่ วกบั ปจจัยเสีย่ งสารเคมอี นั ตรายทีเ่ ก่ยี วขอ งและ กลุมผูปฏิบัติงานในพื้นที่ดังกลาว จากนั้นสํารวจพื้นท่ีหรือบริเวณที่มีการใชสารเคมีอันตรายเหลาน้ัน เพือ่ กําหนดหนว ยผลติ ที่จะประเมินความเสยี่ งตอสุขภาพผูปฏิบัติงาน โดยทั่วไปงานหรือกิจกรรมท่ีเขาขาย ตองประเมินไดแ ก (1) งานท่ีมีแนวโนมของการสัมผสั สูงเกนิ กวาคา OEL-TWA (2) งานท่ีมีความรุนแรงถึงข้ันกอใหเกิดอุบัติเหตุหรือมีการรองเรียน หรือรองทุกขจากผูปฏิบัติงานใน บริเวณดงั กลาว (3) งานหรือกจิ กรรมใหมซง่ึ ไมเคยมีการประเมนิ ความเสย่ี งตอสุขภาพมากอน (4) งานท่ีเปนขอกําหนดตามกฎหมาย3.2 การศึกษาผลกระทบตอสุขภาพหรือความสัมพันธระหวางปริมาณสารเคมีอันตรายท่ีไดรับและการ ตอบสนองของรา งกาย โดยการทบทวนวรรณกรรม (literature review) และสืบคนขอมูลทางระบาดวิทยา และ/หรือพิษวิทยาของสารซึ่งเปนสารเคมีอันตราย เชน บทความทางวิชาการ รายงานการเจ็บปวยของ ผูปฏิบัติงานที่สัมผัสสารเคมีอันตรายท่ีศึกษาผลกระทบตอสุขภาพของสารเคมีอันตรายปริมาณสารเคมี อันตรายทไ่ี ดรบั การตอบสนองของรา งกาย และคา OEL (ดูภาคผนวก ข.)3.3 การประเมินการสัมผสั สาํ หรบั สารเคมีอนั ตรายท่อี าจสงผลกระทบตอสุขภาพใหประเมินการสัมผัส โดยมี ขน้ั ตอน ดังนี้ -3-

มอก. 2535-2555 3.3.1 จําแนก SEG ในสถานประกอบการหน่งึ อาจมีผปู ฏบิ ัตงิ านจํานวนมากและมีหลายขั้นตอนในแตละกระบวนการผลิต และอาจมีสารเคมีอันตรายหลายชนิดเกี่ยวของ ทําใหการสัมผัสสารเคมีอันตรายของผูปฏิบัติงาน แตกตางกัน ผูปฏิบัติงานท่ีอยูใน SEG เดียวกันยอมมีการสัมผัสเหมือนกัน กลาวคือ สัมผัสสารเคมี อันตรายชนิดเดยี วกันทีร่ ะดบั การสัมผสั เดยี วกัน โดยทวั่ ไปการจาํ แนก SEG ทําได 2 วธิ ี ดงั น้ี 3.3.1.1 วิธีท่ีหนงึ่ คือ การวิเคราะหข อ มูลท่รี วบรวมไดจากขอ 3.1 อาจจําแนก SEG ไดหลายแนวทาง และ ในสถานประกอบการหน่งึ อาจตองใชมากกวา หนง่ึ แนวทาง ไดแก (1) พิจารณาจากกระบวนการผลิตและสารเคมีอันตรายในสิ่งแวดลอมการทํางานใน สถานประกอบการท่ีแบง กระบวนการผลิตออกเปนแผนกชัดเจน และผูปฏิบัติงานในแผนก มกี ารสมั ผัสที่เหมอื นกนั ดว ยความถ่ใี นการสัมผัสเหมือนกนั ผูปฏบิ ตั งิ านในแผนกน้ันอาจเปน SEG เดยี วกนั (2) พิจารณาหนาที่หรืองานที่ไดรับมอบหมาย ผูปฏิบัติงานที่อยูในตาํ แหนงงาน หรือทาํ หนาท่ี ตา งกนั แมจะอยใู นแผนกและสงิ่ แวดลอ มการทาํ งานเดยี วกนั อาจมีการสมั ผสั ตางกันได ดังนั้น หากผูปฏิบัติงานท่ีอยูในกระบวนการผลิตเหมือนกันและมีสารเคมีอันตรายในสิ่งแวดลอม การงานเหมือนกันแลว ใหพิจารณาหนาท่ีหรืองานท่ีไดรับมอบหมายหรือตําแหนงของ บคุ คลดว ย (3) พิจารณางานทท่ี าํ ผูปฏบิ ัตงิ านซง่ึ ทํางานในสายการผลิตเดยี วกันแตงานท่ีทําตางกันอาจอยูใน SEG ตางกัน (4) พิจารณาการเปนทีมงานเดียวกัน คนท่ีทํางานในทีมเดียวกันอาจมีการสัมผัสเหมือนกันหรือ ตางกันได จึงควรพจิ ารณางานทีท่ ําในการจําแนก SEG ดว ยเชนกัน (5) พิจารณาจากงานท่ีทําไมซ้ํากัน ในบางสถานประกอบการการสัมผัสสารเคมีอันตราย อาจ เปล่ียนแปลงอยูเสมอ เชน สถานประกอบการที่รับจางผลิตสินคาชนิดหรือประเภทใด ประเภทหน่งึ ซ่ึงตอ งผลติ ตามสตู รหรอื วิธที ี่ลูกคา กําหนด งานท่ีผูปฏิบัติงานไดรับมอบหมาย เปนคร้งั คราวและแตละครั้งแตกตางกนั ในลักษณะเชนนี้ตองพิจารณาวัตถุประสงคของการ จดั SEG เปน สําคัญ เชน เพ่ือดูการปฏิบัติตามกฎหมาย ควรพิจารณาจากกรณีท่ีเลวรายท่ีสุด แตถ า มีวตั ถุประสงคเ พอ่ื การเฝา ระวงั อาจตองพิจารณาในแตละชว งการผลติ สนิ คาแตละชนดิ -4-

มอก. 2535-2555 3.3.1.2 วิธีท่ีสอง คือ การจาํ แนก SEG โดยการเกบ็ ตัวอยางอากาศเพื่อประเมินการสัมผัสสารเคมีอันตราย เปนวิธที ีเ่ ปนรูปธรรมกวา แตส ้นิ เปลืองมากกวา เน่ืองจากตองเก็บตัวอยางอากาศจํานวนคอนขาง มาก และตองวิเคราะหขอมูลการสัมผัสทางสถิติเพ่ือยืนยันวาผูปฏิบัติงานเหลาน้ันอยูใน SEG เดียวกัน หาก 95% ของคนในกลุมมีการสัมผัสสารเคมีอันตรายเฉลี่ยตลอดระยะเวลาการทํางาน แตกตางกันไมเ กินสองเทาของคาเฉลี่ย ถือวาคนในกลุมอยูใน SEG เดียวกัน ท้ังน้ี ตองพิจารณา คา เฉลย่ี การสัมผัสสารเคมีอันตรายของกลมุ ดว ย ถา คาเฉล่ียการสัมผัสสารเคมีอันตรายของกลุมสูง เชน 0.5 เทา ถึง 1 เทาของ OEL แสดงวาผูปฏิบัติงานของกลุมบางคนอาจสัมผัสสารเคมีอันตราย เกนิ คา OEL ได จึงควรจาํ แนกกลมุ ใหมเ พอ่ื ลดชวงทแี่ ตกตางนี้ลงเพื่อความเหมาะสมในการจัดการ ผูท่ีสัมผัสสารเคมีอันตรายในชวง 0.5 เทา ถึง 1 เทาของ OEL หรือสูงกวาไมควรอยูใน SEG เดยี วกับกลมุ ท่ีสมั ผสั ตํา่ กวา เนอ่ื งจากทั้งสองกลุมนี้ควรมมี าตรการควบคุมการสมั ผัสทแ่ี ตกตา งกนั 3.3.2 การประเมินการสัมผัสสารเคมีอันตราย เพ่ือประเมินระดับการสัมผัสเฉล่ียตลอดระยะเวลาการทํางาน และ/หรอื การสัมผัสในระยะส้ัน ๆ ของผปู ฏิบตั งิ านแตล ะ SEG ซง่ึ ดไู ดจากมาตรฐานตอ ไปนี้ (1) มอก. 2536-2555 (2) มาตรฐานผลติ ภัณฑอตุ สาหกรรมการเกบ็ และวเิ คราะหอ นภุ าคแขวนลอยในอากาศในสิ่งแวดลอม การทาํ งาน ตามประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม (ในกรณีทยี่ งั มไิ ดม ีการประกาศกําหนดมาตรฐาน ดังกลา ว ใหเปน ไปตาม NIOSH manual of analytical method : method number 0500 และ method number 0600) (3) มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมการเก็บและวิเคราะหไอระเหยในส่ิงแวดลอมการทํางาน ตาม ประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม (ในกรณที ่ียังมิไดมีการประกาศกําหนดมาตรฐานดังกลาวใหเปน ไปตาม NIOSH manual of analytical method : method number 1501)3.4 การระบลุ ักษณะเฉพาะความเสยี่ ง มี 3 ขัน้ ตอน ดังนี้ 3.4.1 การจัดระดับความรนุ แรงของสารเคมีอนั ตรายทีม่ ีผลกระทบตอสุขภาพ ตามทกี่ ําหนดในตารางที่ 1 -5-

มอก. 2535-2555 ตารางที่ 1 ระดบั ความรุนแรงของสารเคมอี ันตรายทีม่ ผี ลกระทบตอ สุขภาพ (ขอ 3.4.1)ระดับ ความรนุ แรง ผลกระทบตอสุขภาพ1 ไมม ี การสมั ผัสทีร่ ะดับดงั กลา วไมมผี ลกระทบตอสขุ ภาพ(1)2 นอย มีผลกระทบตอ สุขภาพเล็กนอ ย ไมจ ําเปนตองรกั ษา ไมมกี ารปวย จนตองลางาน ไมมผี ลตอการปฏิบัติงานหรือเปน สาเหตขุ องการ ทุพพลภาพ หายไดโ ดยไมจ าํ เปนตอ งรกั ษาทางการแพทย3 ปานกลาง มผี ลกระทบตอสุขภาพรนุ แรงที่หายได แตต อ งไดร บั การรกั ษา มกั ขาดงานหรอื ลาปวย หรือมีผลกระทบสะสมจากการสัมผสั ใน ลกั ษณะซ้าํ ๆ หรอื เปนระยะเวลานาน โดยไมมอี ันตรายถงึ ชีวติ4 รุนแรง มผี ลกระทบตอสุขภาพอยา งถาวร บาดเจบ็ อยา งรุนแรง ไมส ามารถ รักษาใหหายได ตองปรับตัวเพือ่ ใหด าํ เนินชวี ิตอยูก ับความเจ็บปว ย หรือผลกระทบนน้ั5 รนุ แรงมาก เสียชวี ติ หรือพิการ หรอื ปว ยโดยชวยเหลือตนเองไมไดหมายเหตุ (1) ปจ จุบนั ยังไมม ีขอ มลู ระบวุ ามีผลกระทบตอสุขภาพ3.4.2 การจัดระดับการสัมผัส ท่ีแสดงในตารางท่ี 4 นั้น พิจารณาจากความถ่ีในการสัมผัสสารเคมีอันตราย ดังกลาว ซ่ึงเกณฑก ารจัดระดับความถ่กี ารไดรับสมั ผัสใหเ ปนไปตามตารางที่ 3 กบั คา เฉลี่ยความเขมขน สารเคมีอันตรายที่ผูปฏิบัติงานสัมผัสตามเกณฑการจัดระดับความเขมขนสารเคมีอันตรายเฉลี่ย ตลอดเวลาการทํางานดังแสดงในตารางที่ 2 ซ่ึงประมาณจากการเก็บตัวอยางอากาศตามมาตรฐาน ตอ ไปนี้ (1) มาตรฐานผลติ ภัณฑอ ุตสาหกรรมการเก็บและวิเคราะหอ นภุ าคแขวนลอยในอากาศในส่ิงแวดลอม การทํางาน ตามประกาศกระทรวงอตุ สาหกรรม (ในกรณีทยี่ งั มไิ ดมกี ารประกาศกําหนดมาตรฐาน ดงั กลาว ใหเ ปน ไปตาม NIOSH manual of analytical method : method number 0500 และ method number 0600) (2) มาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรมการเก็บและวิเคราะหไอระเหยในส่ิงแวดลอมการทํางานตาม ประกาศกระทรวงอุตสาหกรรม (ในกรณีท่ียังมิไดมีการประกาศกําหนดมาตรฐานดังกลาว ใหเ ปน ไป NIOSH manual of analytical method : method number 1501) (3) มอก. 2536-2555 -6-

มอก. 2535-2555ตารางที่ 2 ระดบั ความเขม ขน สารเคมีอนั ตรายเฉลย่ี ตลอดเวลาการทาํ งาน (ขอ 3.4.2)ระดับความเขมขน คาเฉลย่ี ความเขม ขน สารเคมอี นั ตรายทผ่ี ปู ฏิบตั ิงานสัมผสั (2)1 ตาํ่ กวา 10% ของ OEL-TWA2 ตาํ่ กวา 50% ของ OEL-TWA3 ตาํ่ กวา 75% ของ OEL-TWA4 เทา กบั 75% ถงึ 100% ของ OEL-TWA5 สูงกวา 100% ของ OEL-TWAหมายเหตุ (2) พจิ ารณาการสัมผสั สารเคมีอนั ตรายทางการหายใจโดยไมคาํ นึงถงึ การสวมอปุ กรณปกปอ งทางเดินหายใจ ตารางที่ 3 ระดบั ความถี่การไดรบั สมั ผสั (ขอ 3.4.2)ระดับ ความถ่ี ความถ่กี ารไดร บั สัมผัส1 นาน ๆ ครง้ั สัมผสั ปล ะ 1 ครงั้ (once per year)2 ไมบอย สัมผัสปล ะ 2 ครงั้ ถึงปละ 3 คร้งั (a few times a year)3 คอ นขา งบอย สัมผสั เดือนละ 2 ครงั้ ถึงเดอื นละ 3 คร้ัง (a few times per month)4 บอ ย สัมผสั 2 h ถงึ 4 h ตอ เน่อื งกันใน 1 กะ (continuous for between 2 and 4 hours per shift)5 ประจํา สัมผัสตอ เน่ืองตลอดท้งั กะ (continuous for 8 hours shift)หมายเหตุ กะ หมายถึง เวลาทํางานปกติ 8 h ในสถานท่ที าํ งานที่มีการสมั ผสั สารเคมีอนั ตราย -7-

มอก. 2535-2555 ตารางท่ี 4 ระดบั การสัมผสั การสัมผัส ระดบั (ขอ 3.4.2) ผลระดบั ระดับความเขมขนความถี่ 1 2 3 4 5 คะแนน1 1 2 3 4 5 1 ถึง 5 ไมไ ดร ับสมั ผัส (1)2 2 4 6 8 10 6 ถงึ 8 นอย (2)3 3 6 9 12 15 9 ถงึ 15 ปานกลาง (3)4 4 8 12 16 20 16 ถึง 20 สงู (4)5 5 10 15 20 25 21 ถงึ 25 สูงมาก (5)ตัวอยา งท่ี 1 การจัดระดับการสัมผัสของพนักงานซอมบํารุงท่ีตองซอมบํารุงเครื่องจักรทุก 6 เดือน แตล ะครง้ั สัมผัสสารโทลอู นี เฉลี่ยตลอดกะการทาํ งานเทากับ 100 µl/l โดยคา PEL = 20 µl/l พิจารณาระดับความเขมขนจากตารางที่ 2 ไดระดับ 3 (ต่ํากวา 75% ของ OEL-TWA) และ พิจารณาความถ่ีการไดร ับสมั ผสั จากตารางท่ี 3 ไดระดับ 2 (ไมบอย) และเมื่อนํามาเทียบคา ในตารางที่ 4 ไดคะแนน 6 หมายถึง ระดบั การสัมผสั “นอ ย” (2)3.4.3 การจัดระดับความเส่ียง เมื่อระบุระดับการสัมผัส ตามตารางท่ี 4 และทราบระดับความรุนแรง ตาม ตารางท่ี 1 แลวใหพิจารณาจัดระดบั ความเสย่ี งตามตารางท่ี 5ระดับความ ตารางท่ี 5 ระดับความเส่ียง ระดับความเสี่ยง รุนแรง (1) (ขอ 3.4.3) ระดับการสัมผสั (2) (3) (4) (5) คะแนน ผล ระดับ1 1 2 3 4 5 1 ถึง 3 ยอมรบั ได 02 2 4 6 8 10 4 ถงึ 9 ตํ่า 13 3 6 9 12 15 10 ถึง 16 ปานกลาง 24 4 8 12 16 20 17 ถงึ 20 สงู 35 5 10 15 20 25 21 ถงึ 25 สูงมาก 4 -8-

มอก. 2535-2555 ตัวอยางที่ 2 การจัดระดับความเส่ียง เม่ือศึกษาผลกระทบของโทลูอีน (ดูภาคผนวก ข.) พบวาทําใหมี อาการมนึ เมา สะลมึ สะลอื อยางรุนแรง เหน่อื ยลา ความคิดสับสน วิงเวียน ปวดศีรษะ คล่ืนไส ระคายเคืองตาและทางเดินหายใจ เมื่อหยุดการสัมผัสสารเคมีอันตรายอาการเหลาน้ีจะ หายไป เม่ือเทียบระดับความรุนแรงของสารเคมีอันตรายท่ีมีผลกระทบตอสุขภาพ ในตารางท่ี 1 อยูในระดับ 2 และจากตัวอยางการจัดระดับการสัมผัสขางตน (2) ไดระดับ คะแนนความเสยี่ ง 4 ซึ่งหมายถงึ ระดับความเสย่ี งตาํ่3.5 การจดั การความเสย่ี ง ผลการจัดระดับความเส่ียงนํามาสูการจัดการความเส่ียง ซ่ึงมีแนวทางในการพิจารณาดําเนินการตาม ตารางท่ี 6 และตัวอยา งมาตรการควบคุมความเสย่ี งในภาคผนวก ค. ตารางท่ี 6 มาตรการควบคมุ ความเสีย่ ง (ขอ 3.5)ระดับความเสยี่ ง คาคะแนน มาตรการควบคมุ ความเสย่ี งยอมรบั ได 1 ถงึ 3 มีการเฝา ระวังตาํ่ 4 ถึง 9 อาจมมี าตรการควบคมุ ความเสี่ยง และ/หรอื มกี ารเฝาระวงั ไมต อ งปานกลาง 10 ถึง 16 จัดการเพ่มิ เตมิ ใหประเมนิ ซํ้าเปนระยะๆสูง 17 ถึง 20 ตอ งมมี าตรการควบคุมเร็วท่สี ดุ เทา ที่จะทาํ ไดสงู มาก 21 ถึง 25 ตองดําเนินการควบคุมทันที เชน การใชอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคล พรอมทั้งจัดทําแผนเพ่ือดําเนินการควบคุมแบบถาวร หรือโดยมาตรการทางวิศวกรรม ใหห ยดุ ดาํ เนนิ การทนั ที -9-

มอก. 2535-2555 ภาคผนวก ก. ผลกระทบตอสขุ ภาพจากสารเคมอี ันตราย (ขอ 2.2) อนั ตรายตอสขุ ภาพของสารเคมีอันตรายในส่ิงแวดลอมการทํางานเกิดจากการไดรับสารเคมีอันตรายเขาสู รางกายโดยการหายใจเอาสารเคมีอันตรายซ่ึงแขวนลอยในอากาศเขาไป หรือโดยการสัมผัสและซึมผาน ผวิ หนังเขา สรู า งกาย ในขณะทีก่ ารเขา สูรา งกายทางปากน้ันในปจจุบันมีโอกาสนอยลง เน่ืองจากนายจางมี ความรูและความรับผิดชอบมากข้ึนและผูปฏิบัติงานมีสุขวิทยาสวนบุคคลดีขึ้น ฉะน้ันหากปราศจาก มาตรการควบคุมใด ๆ แลว ความเส่ียงตอสุขภาพข้ึนกับความเขมขนของสารเคมีอันตรายในอากาศ ในส่ิงแวดลอมการทํางาน และระยะเวลาในการสัมผัสสารเคมีอันตรายน้ันเปนสําคัญ โดยไมคํานึงวา สารเคมีอันตรายใด ๆ เปนอนุภาคกาซ หรือไอระเหยอาจทําใหเกิดผลกระทบตอสุขภาพแบบเรื้อรังหรือ แบบเฉียบพลนั หรือทงั้ สองแบบ ท้งั น้ี ผลกระทบที่อยางใดอยา งหนง่ึ หรอื มากกวา หนึง่ อยา ง ดงั ตอไปนี้ก.1 ระคายเคือง (irritation) การระคายเคืองเกิดจากการอักเสบของเน้ือเย่ือที่สัมผัสกับสารเคมีอันตรายโดย โครงสรา งของเนื้อเยือ่ ไมถ กู ทําลาย เนอื้ เยอื่ ท่ีมกั เกดิ การระคาย คือ ผวิ หนัง และเยอ่ื บเุ มือกตา ง ๆก.2 ขาดออกซิเจน (asphyxiation) การขาดออกซเิ จนเกดิ จากการทีเ่ ซลลไ มไ ดร บั ออกซิเจนซึง่ เปนกา ซท่จี าํ เปนใน การสรา งพลังงาน สารเคมอี นั ตรายท่ที ําใหเซลลห รอื รา งกายขาดออกซเิ จน แบงออกเปน 2 ชนดิ ตามลกั ษณะ ของการขดั ขวางการนําออกซเิ จนไปสูเซลล คือ (1) สารเคมีท่ีทาํ ใหข าดออกซิเจนแบบธรรมดา (simple asphyxiant) คือ สารเคมีอันตรายท่ีไมทําปฏิกิริยา เคมีในรางกายเพ่ือขัดขวางการนําออกซิเจนไปยังเซลล เชน ไฮโดรเจน มีเทนและคารบอนไดออกไซด หากมกี า ซเหลานี้ปริมาณมากในบรรยากาศทําใหออกซิเจนในอากาศลดลงไมเพียงพอตอการหายใจ เปนเหตุใหรา งกายขาดออกซเิ จน (2) สารเคมีท่ีทําใหขาดออกซิเจนแบบเกิดปฏิกิริยาทางเคมีในรางกาย (chemical asphyxiant) สารเคมี อันตรายกลุม นจ้ี ะทาํ ปฏกิ ิรยิ าเคมกี บั สารเคมใี นรา งกาย ทาํ ใหร า งกายไมสามารถนําออกซิเจนไปใชได แมวาในอากาศทีห่ ายใจเขาไปนั้นจะมอี อกซเิ จนอยูในปรมิ าณปกติ ตัวอยางสารเคมีอันตรายในกลุมนี้ ไดแก คารบอนมอนออกไซด ซ่งึ จับกบั ฮีโมโกลบนิ ไดด กี วา ออกซเิ จนถงึ 300 เทา ไฮโดรเจนไซยาไนด ซึ่งยับย้งั การแลกเปลย่ี นออกซเิ จนที่ระดบั เซลลโ ดยการจบั กับเอน็ ไซมควบคุมการเกิดออกซิเดชันของ เซลลและไฮโดรเจนซัลไฟดมีกระบวนการยับย้ังการรับออกซิเจนของเซลล เชนเดียวกับไฮโดรเจน ไซยาไนด -10-

มอก. 2535-2555ก.3 มนึ เมา (narcotics) และหมดสติ (anesthetics) สารเคมีอันตรายท่ีทําใหเกิดการมึนเมาและหมดสติ สารเคมี อันตรายท่ีมีฤทธ์ิดังกลาวทําปฏิกิริยากับรางกายโดยกดระบบประสาทสวนกลาง ทําใหมีอาการปวดศีรษะ วงิ เวียน คล่ืนไส หมดสติ และเสียชีวิตไดหากไดรบั สารเคมอี นั ตรายเขา สูร างกายในปริมาณมากในเวลาสั้น ๆ ตัวอยางของสารเคมีอันตรายเหลานี้ ไดแก อะเซทิลีน เอทิลีน คลอโรฟอรม อีเธอร สารเคมีกลุมอลิเฟติก คโี ทน และสารเคมีกลมุ อลเิ ฟตกิ แอลกอฮอลก.4 พังผืดที่ปอด (fibrosis) อนุภาคบางชนิดมคี ุณสมบัติที่ทําใหเกิดพังผืดท่ีเน้ือปอดได เชน ฝุนทรายหรือซิลิกา เสนใยแอสเบสทอส ฝุน ถานหิน อนุภาคเหลาน้ีไมละลายหรือใชเวลานานในการละลายหรือถูกขจัดออก จากปอด และทําใหป อดระคายเคือง รางกายจึงสรางเน้ือเย่ือมาหุมไว ทําใหเนื้อปอดหนาขึ้นและกลายเปน พังผืด ขาดความยืดหยุน ปอดขยายและหดตัวเพื่อรับและขับอากาศออกไดนอย การแลกเปล่ียนกาซ ออกซเิ จนจงึ ลดลงก.5 มะเร็ง (cancer) สารเคมีอันตรายในอุตสาหกรรมท่ีไดรับการยืนยันวาเปนสารกอมะเร็ง (carcinogen) เชน ไวนิลคลอไรดทําใหเกิดมะเร็งสมอง และแอสเบสทอสทําใหเกิดมะเร็งปอด มะเร็งเย่ือหุมปอดและเยื่อบุ ชอ งทอ ง เบนซีนทําใหเ กดิ มะเร็งเม็ดเลอื ดก.6 ผลกระทบตอ ระบบตาง ๆ (systemic effect) เชน ผลกระทบตอระบบประสาท ระบบสรางเม็ดเลือด สารเคมี อันตรายในอุตสาหกรรมทีเ่ ปน อนั ตรายตอ ระบบประสาท ไดแก คารบ อนไดซัลไฟด เมทิลแอลกอฮอล และ สารกําจดั แมลงกลมุ ออรก าโนฟอสเฟต ขณะท่ีตะกว่ั เบนซีน และฟน อล เปนอันตรายตอระบบสรางเม็ดเลอื ด สารเคมีอันตรายบางชนิดทําอันตรายระบบตาง ๆ ทั่วรางกายไดมากกวาหนึ่งระบบ เชน ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม และแมงกานีสก.7 ความผิดปกติในทารกหรือวิรูป (teratogenic effect) เกิดจากสารเคมีอันตรายท่ีทําใหการเจริญเติบโตของ เซลลเน้ือเย่อื และการพฒั นาอวยั วะของตวั ออนผดิ ปกติ ผลทีเ่ กิดขึน้ ทําใหการเจริญเติบโตของอวัยวะที่กําลัง พัฒนาหยุดชะงักระยะเวลาท่ีวิกฤติ คือ 8 สัปดาหแรกของการตั้งครรภถึง 10 สัปดาหแรกของการต้ังครรภ นน่ั คือ หากมารดาไดร บั สารเคมีอันตรายในกลุมนี้ในชว งวิกฤตทิ ารกในครรภม ีโอกาสผดิ ปกติทางรา งกายสงู ตัวอยา งของสารเคมอี ันตรายเหลานี้ เชน เอทลิ ีนไดโบรไมด สารในกลุมพีซีบี (poly chlorinated biphenyls; PCB’s) และทาลโิ ดไมดก.8 การผา เหลา (mutagenic effect) สารเคมีอันตรายทีท่ ําใหเ กดิ การเปลี่ยนแปลงในโครโมโซมในนิวเคลียสของ เซลลและโครโมโซมที่ผิดปกติน้ีถูกถายทอดไปยังรุนลูก รุนหลานและแสดงความผิดปกติใหเห็นดวย ระยะเวลาที่ยาวนานกวา ผลกระทบหรือความผิดปกติจะปรากฏทําใหการศึกษาติดตามยากลําบาก อยางไร ก็ตาม สารเคมอี ันตรายท่ีทําใหเกิดผลกระทบนซ้ี ึ่งเปนท่รี จู กั ดี คือ สารกัมมันตรังสี ลักษณะการเกิดอันตราย หรือผลกระทบตอสุขภาพอาจจําแนกเปนผลกระทบเฉียบพลัน (acute effect) หมายถึง อาการแสดงปรากฏ ภายใน 24 h หลังจากการสมั ผสั หรือรับสารเคมีอันตรายเขาสูรางกายมักเกิดจากการไดรับสารเคมีอันตราย -11-

มอก. 2535-2555 ปริมาณมากเขาสูรางกายในคร้ังเดียว (acute dose) เชน กรณีเกิดอุบัติเหตุสารเคมีอันตรายหกร่ัวไหล และ ผลกระทบเรื้อรัง (chronic effect) มักใชเวลานานเปนเดือนหรือหลาย ๆ ปจึงมีอาการแสดงปรากฏ ซ่ึง โดยทั่วไปเกดิ จากไดร บั สารเคมอี นั ตรายเขาสูร า งกายวนั ละเลก็ ละนอย (chronic dose) -12-

มอก. 2535-2555 ภาคผนวก ข. ตัวอยา งปรมิ าณสารเคมอี ันตรายที่ไดร บั การตอบสนองของรา งกาย และคา OEL (ขอ 3.2 และ ขอ 3.4.3) ผลกระทบตอ สขุ ภาพ คา OEL PEL TLV TLV-สารเคมีอนั ตราย เฉยี บพลนั เร้ือรัง STELเบนซนี มีอาการมึนเมา สะลมึ สะลือ เปนพิษตอไขกระดูกทําให 5.0 µl/l 5.0 µl/l 2.5 µl/l การสรางเม็ดเลือดผิดปกติ ท่ีความเขมขน 200 µl/l โรคโลหติ จางและเสยี ชวี ติโทลอู ีน มอี าการมนึ เมา สะลึมสะลอื คลา ยกับผลกระทบ 20 µl/l 20 µl/l - อยา งรุนแรง เหนือ่ ยลา เฉยี บพลัน แตรนุ แรง ความคดิ สับสน วิงเวยี น นอ ยกวาทค่ี วามเขม ขน ปวดศีรษะ คล่นื ไส ท่ีความ นอยกวา 200 µl/l ระคาย เขมขนมากกวา 400 µl/l เคอื งตาและทางเดินหายใจไซลนี มีอาการมึนเมาสะลึมสะลอื ปวดศีรษะ เหน่ือยลา 100 µl/l 100 µl/l 150 µl/l อยางรนุ แรง ท่คี วามเขม ขน คลน่ื ไส หงดุ หงดิ เบ่ืออาหาร มากกวา 200 µl/l ระคายเคืองตา จมกู และคอเมอรแ คปเทน เยอื่ บตุ าอักเสบอยา งรนุ แรง ปวดศรี ษะ วงิ เวียน ระคาย 10 µl/l 0.5 µl/l - กดระบบประสาทสวนกลาง เคืองตาและเยอ่ื บเุ มอื กตา ง ๆ (PEL-C) ปอดบวม ทาํ อนั ตรายตอ ระบบทางเดนิ หายใจเปน เหตุ เสยี ชีวิตเนอ่ื งจากระบบ ทางเดนิ หายใจเปน อัมพาตเคอรโ รซนี ปวดศรี ษะ เหนอ่ื ยลา เสียงดัง อาการเหมือนเฉยี บพลัน - คิดเปน - ในหู ระคายเคืองตาและ แตรุนแรงนอยกวา เยอื่ บตุ า ไฮโดร ทางเดนิ หายใจ หมดสติ และหลอดลมอกั เสบ คารบอน ระคายเคืองเย่อื บุเมือกตาง ๆ ทั้งหมด 200 mg/m3อะโรมาติก มีอาการมนึ เมาสะลมึ สะลือ ปวดศรี ษะ วิงเวียน ---ไฮโดรคารบ อน อยางรนุ แรงและระคายเคอื ง เหนื่อยลา คล่ืนไส ตา จมูก คอและทางเดนิ ระคายเคืองตา จมกู คอ หายใจ และทางเดินหายใจ -13-

มอก. 2535-2555ความเส่ียง ภาคผนวก ค. ความเสยี่ งสูงมากยอมรบั ได ตัวอยางมาตรการควบคุมความเสีย่ ง (ขอ 3.5) ความเสยี่ งตํ่า ความเส่ยี งปานกลาง ความเสี่ยงสูงไมตองมี การกาํ จดั แหลงกําเนดิมาตรการ อนั ตรายควบคมุ หาสิ่งทดแทนหรือทางเลือก อ่ืน ที่ไมกอใหเกิดอันตราย หรืออันตรายนอ ยกวา การควบคุมโดยใชอุปกรณปองกันอันตราย สวนบุคคลและมีแผนการควบคุมที่ถาวร เชน การควบคมุ ทางวศิ วกรรม การควบคุมโดยใชระเบียบวิธีการปฏิบัติงาน ใหความรู และจัดหา มาตรการควบคมุ ทางวศิ วกรรมเม่อื ทําได การควบคุมปองกันเพ่ือไมใหสัมผัสสารเคมีอันตรายโดยใชอุปกรณ ปอ งกนั อนั ตรายสว นบุคคล (วธิ ีนี้มิไดลดอันตรายเพียงแตปองกันมิให ผปู ฏิบัตงิ านสัมผสั สารเคมีอนั ตราย) เฝา ระวัง ทําการตรวจวัดปริมาณการสัมผัสโดยใชเครื่องมือทางดานสุขศาสตรอุตสาหกรรม ทุกระดบั ตองมีการตรวจวดั ดานส่งิ แวดลอ ม แตความถี่ข้ึนกับระดบั ความเสี่ยง จดั อบรมใหค วามรูพ ้นื ฐาน -------------------------- -14-