Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสริมสวย

คู่มือการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานกลุ่มผู้ประกอบอาชีพเสริมสวย

Published by arsa.260753, 2015-11-03 08:16:34

Description: สามาถหาอ่านได้ที่ห้องสมุดค่ะ

Search

Read the Text Version

คมู อื การประเมินความเสี่ยงจากการทํางานกลมุ ผปู ระกอบอาชพี เสรมิ สวยศิรนิ ทรทิพย ชาญดวยวิทยภทั ราวดี จารวัฒนธรรมหนงั สอื จัดพมิ พโดยมลู นธิ สิ มั มาอาชีวะลาํ ดบั ที่ 2556-006เลขมาตรฐานสากลประจําหนังสอื (ISBN) 978-616-91183-5-0ขอ มูลบรรณานุกรมศิรนิ ทรทพิ ย ชาญดวยวิทย, ภทั ราวดี จารวฒั นธรรม.คมู ือการประเมินความเสยี่ งจากการทาํ งานกลุมผปู ระกอบอาชพี เสรมิ สวย.ชลบุร:ี สมั มาอาชีวะ, 2556. จาํ นวน 56 หนา , หมวดหมหู นังสอื 616.98จัดพมิ พข ้นึ เพ่อื แจกฟรใี หแกผ สู นใจหากผูใ ดตองการหนงั สอื เลมนีใ้ นรูปแบบอิเล็กทรอนกิ สสามารถดาวนโ หลดไดท ี่ www.summacheeva.orgลิขสทิ ธ์ิของกลมุ งานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยองจดั พมิ พและเผยแพรโดยมูลนธิ สิ มั มาอาชวี ะโดยไดรับอนุญาตแลว



คํานาํ มลู นธิ สิ มั มาอาชวี ะ อาชีพเสริมสวยและจัดแตงทรงผมน้ัน เปนอาชีพที่อยูคูสังคมมนุษยเรามาชา นาน การดําเนินกิจการดานนี้ มีตั้งแตรูปแบบรานเสริมสวยและจัดแตงทรงผมขนาดเล็กที่มีเจาของคนเดียว ไปจนถึงรานเสริมสวยขนาดใหญท่ีมีพนักงานหลายคนในหางสรรพสนิ คา หรอื ระดับโรงเรียนสอนเสรมิ สวยและจดั แตง ทรงผม มนษุ ยเราแทบทุกคนทั้งหญิงและชาย ลวนแตตองใชบ รกิ ารรานเสริมสวยและจัดแตงทรงผมเหลา น้ี อยางไรก็ตามในกระบวนการเสริมสวย ท้ังการตัดแตงทรงผม การยอมผม การสระผมและการทําเล็บ ก็มีโอกาสที่ผูปฏิบัติงาน ไมวาจะเปนเจาของราน พนักงานในราน คนในครอบครวั ทีอ่ ยูอาศยั รว มดวยภายในรา น รวมถึงผูใชบริการ จะตองพบกบั สงิ่ คุกคามตอสุขภาพในกระบวนการเหลาน้ีได ยิ่งในรานเสริมสวยสมัยใหมท่ีมีการใชสารเคมีมากมายหลายชนิดแลว มีโอกาสท่ีจะไดร ับสัมผัสอันตรายอนั เกิดจากสงิ่ คุกคามตอ สขุ ภาพไดม าก ในโอกาสที่กลุมงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง ไดจัดทําหนังสือเรื่อง “คูมือการประเมินความเส่ียงจากการทํางานกลุมผูประกอบอาชีพเสริมสวย” เลมน้ีข้ึนมา ซึ่งเปนหนังสือวิชาการท่ีใชภาษางายๆ เรียบเรียงโดยทีมนักวิชาการดานอาชีวอนามัยที่มีประสบการณของกลุมงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง มูลนิธิสัมมาอาชีวะเล็งเห็นถึงประโยชนของหนังสือเลมนี้ ท่ีจะมีตอผูประกอบอาชีพเสริมสวยและจัดแตงทรงผมทั่วประเทศ ใหไดทํางานกันอยางปลอดโรคและปลอดภัย จึงไดทําการขออนุญาตลิขสิทธ์ิจากทางกลุมงานอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลระยอง เพื่อทําการจัดพิมพเผยแพรและแจกจายออกไปในวงกวางโดยไมคิดคาใชจ าย จงึ เปนท่มี าของการจัดพิมพในคร้ังนี้ มูลนิธิสัมมาอาชีวะ ขอขอบพระคุณคณะผูจัดทําหนังสือ และกลุมงานอาชีวเวชกรรมโรงพยาบาลระยองเปนอยางสูง ที่ไดใหอนุญาตมูลนิธิสัมมาอาชีวะ ในการจัดพิมพเผยแพรหนังสือวิชาการอันมีคุณคา ในการจัดพิมพหากวามีขอผิดพลาดประการใด ทางมูลนิธิสัมมาอาชวี ะตอ งขออภัยเปนอยา งสงู ไว ณ ที่น้ดี ว ย มลู นธิ ิสัมมาอาชีวะ 30 สงิ หาคม 2556



คาํ นาํ คณะผูจัดทาํ กระบวนการเสริมสวยประกอบดวยข้ันตอนหลักไดแก การสระ ซอย ดัด ยอม เปลย่ี นสีผม ซงึ่ แตละกระบวนการ ผูประกอบอาชพี เสรมิ สวยมีโอกาสสัมผสั กบัปจจัยอันตรายทั้งจากสภาพแวดลอมการทํางาน (Working environment) และสภาพการทํางาน (Working condition) รวมถึงส่ิงคุกคามตอสุขภาพ โดยเฉพาะสารเคมีที่ใชในการดัดยอม เปล่ียนสีผม หากผูประกอบอาชีพไมปองกันตนเองหรือปองกันตนเองไมเหมาะสม ก็มีโอกาสสัมผัสปจจัยอันตรายได เชน สารเคมีชนิดตางๆ หรือการทํางานในที่มีแสงสวางไมเพียงพอหรือแสงสวางไมเหมาะสม ซึ่งทําใหเกิดอาการเมื่อยลาตา ปวดตา ตาพรามัว และอาจเกิดอุบัติเหตุจากของมีคม การประเมินความเส่ียงจากการทํางานในการเสริมสวยจึงมีความสําคัญ เพราะผลการประเมินจะทําใหทราบถึงความเสี่ยงที่เกิดจากสภาพแวดลอมการทํางานหรือสภาพการทํางาน และสามารถนําไปใชประโยชนในการปรับปรุงสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานใหป ลอดภยั ข้นึ ได ดวยเหตุน้ี กลุมงานอาชีวเวชกรรม โรงพยาบาลระยอง จึงไดจัดทําเครื่องมือประเมินความเส่ียงและแกไขความเสี่ยงในการทํางานของกลุมผูประกอบอาชีพเสริมสวย เพ่ือเปนแนวทางในการพฒั นาศักยภาพ แกนนําสขุ ภาพ อาสาสมคั รสาธารณสุขประจําหมูบาน (อสม.)รวมถึงตัวผูประกอบอาชีพเสริมสวยเอง ใหสามารถประเมินความเสี่ยงทางสุขภาพจากการทํางาน และประเมินพฤติกรรมปองกันสุขภาพไดดวยตนเองอยางงายๆ เคร่ืองมือน้ีจะเปนเครื่องชวยเหลือ ในการดูแลสุขภาพ เฝาระวังความเสี่ยงจากการทํางาน และสรางพฤติกรรมปอ งกันสขุ ภาพของผปู ระกอบอาชพี เสรมิ สวยไดเ ปน อยางดี คณะผจู ัดทํา 1 สงิ หาคม 2556



สารบญั หนาหัวขอเร่อื ง 1 2บทนํา 3วธิ ีการใชเ ครอื่ งมอื ประเมินความเสยี่ งจากการทํางาน 3เครอ่ื งมอื ประเมนิ ความเส่ยี งจากการทาํ งาน 5 7 1. แสงสวาง 8 2. ความรอ น 10 3. เสยี งดงั 11 4. สารเคมี 14 5. ฝุน ละออง 16 6. การยศาสตร 23 7. อบุ ัติเหตุ 25 8. ชวี ภาพ 27 9. สภาพการทํางาน 34 10. ระบบระบายอากาศ 36 11. สขุ าภบิ าลและระบบสนบั สนุนอน่ื ๆ 38 12. พฤตกิ รรมสขุ ภาพ 40แผนในการดําเนินการปรบั ปรุง 49แบบประเมนิ พฤติกรรมปองกนั สุขภาพ 50สารเคมีในกระบวนการเสริมสวยบรรณานกุ รมรายชื่อผจู ดั ทํา



บทนาํ สถานบริการเสริมสวยไดเกิดข้ึนอยางมากมายในปจจุบันเพื่อรองรับความ ตองการของประชาชน เน่ืองจากประชาชนเกือบทุกเพศ ทุกวัย ตองมาใชบริการในการแตงผมหรอื เสรมิ สวย โดยการเขามาใชบริการในสถานบริการเสริมสวยไมใชแตเพื่อความสวยงามเพียงอยางเดียวเทาน้ัน ยังเปนการเขามาผอนคลายอารมณ คลายความเครียด อกี ดวย สถานบริการเสริมสวยเปนสถานบริการท่ีผูรับบริการและผูใหบริการตองใกลชิดกัน ที่ตองเผชิญกับปจจัยอันตรายทั้งจากสภาพแวดลอมในการทํางานและสภาพการทํางานที่ไมปลอดภัย ทําใหเปนกลุมท่ีเส่ียงตอการไดรับผลกระทบทางสุขภาพไดงาย ในดานผูใหบริการพบวาลักษณะงานทําใหเกิดผลกระทบทางสุขภาพไดจากลักษณะงานท่ีตองสัมผัสกับปจจัยอันตรายหลายประการ ท่ีสําคัญ ไดแก ปจจัยอันตรายดานกายภาพ มีการสัมผัสความรอนจากเคร่ืองมือท่ีมีความรอน เชน ไดรเปาผม ที่อบไอน้ํา ปจจัยอันตรายดานชีวภาพ ไดแกเชื้อโรคที่มากับฝุนผม เชื้อราจากหนังศีรษะ ปจจัยอันตรายดานเคมี ไดแก สารเคมีตางๆ ท่ีใชในกระบวนการสระ เปลี่ยนสีผม ดัดผม ยอมผม สเปรยแตงผม ปจจัยอันตรายดานการย-ศาสตร ไดแ ก ทาทางการทาํ งานทผี่ ดิ ธรรมชาติ การยนื ทํางานติดตอ กันเปน เวลานาน การสรางองคความรูดานอาชีวอนามัยและความปลอดภัย การประเมินความเสี่ยงในกระบวนการทํางาน การแกไขปรับปรุงสภาพการทํางาน และการมีพฤติกรรมการปองกันสุขภาพของผูประกอบอาชีพเสริมสวย จะชวยใหผูประกอบอาชีพไดตระหนักถึงปจจัยอันตรายจากสภาพแวดลอมการทํางาน ชวยลดความเสี่ยงและการเจ็บปวยจากการทํางานดวยตนเองได ผูใหบริการไดทํางานในสภาพแวดลอมการทํางานท่ีปลอดภัย ผูรับบริการก็ปลอดภัยจากการใหบรกิ าร 1

วิธกี ารใชเ คร่ืองมอื ประเมนิ ความเสย่ี งจากการทาํ งาน กลุมผูประกอบอาชีพเสริมสวย1. อา นรายละเอยี ดในเครื่องมือประเมินความเส่ียงจากการทํางานกลุมผูประกอบอาชีพเสริม สวยใหเ ขา ใจ2. สํารวจใหท่ัวสถานท่ีทํางานและกระบวนการทํางานตางๆ กอนเริ่มทําการประเมินความ เสี่ยงจากสภาพแวดลอมในการทาํ งาน3. ในแตละขอ ใหพิจารณาวา \"ทานมีขอเสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแกไขหรือไม\" แลวเลือก ตัวเลือก \"ไมม ี\" หรือ \"ม\"ี • หากมาตรการนั้นไมจําเปนตองปรับปรุงแกไข หรือไดดําเนินการปรับปรุงแกไขไป แลว ใหเ ลอื กตัวเลือก \"ไมม \"ี • หากมาตรการนั้นจําเปนหรือควรท่ีจะตองมีการปรับปรุงแกไข หรือเห็นวาเปน ประโยชนท่ีจะมีการปรับปรุงแกไข ใหเลือกตัวเลือก \"มี\" โดยใหระบุขอเสนอแนะ วิธกี ารปรับปรุงดว ย4. นาํ ขอทเ่ี ลือก \"ม\"ี มาจดั ทาํ เปน \"แผนในการดําเนนิ การปรับปรุง\"5. กอนทจ่ี ะดําเนนิ การปรับปรงุ ตามแผนฯ ควรถายภาพสภาพและส่ิงแวดลอมในการทํางาน ดังกลา วทงั้ กอนและหลังการปรบั ปรุงเก็บไว6. ควรดําเนินการตรวจสอบโดยใชแบบสํารวจดังกลาวเปนระยะๆ เชน ปละ 1 คร้ัง เพื่อผล ในการขจัดอนั ตรายที่อาจเกิดขน้ึ ในสถานที่ทาํ งานใหหมดสนิ้ ไป 2

เครื่องมือประเมนิ ความเส่ยี งจากการทาํ งานกลุม ผูประกอบอาชพี เสรมิ สวย ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทาํ งานกลุมผูป ระกอบอาชีพเสริมสวย มลี กั ษณะดังนี้ปจจยั คุกคามสขุ ภาพ1. แสงสวางมีแสงสวางเพียงพอ ความเขมของแสงไมนอยกวา 200 ลักซ และไมมีแสงท่ีเปนอันตรายตอสายตา เชน แสงสะทอนสองเขาตา แสงไฟกระพริบ หรือมีแสงสวางเพียงพอในการอานหนงั สือระยะหา ง 1 ฟุต ไดอยางชัดเจน สบายตาผลกระทบตอสขุ ภาพการทํางานในที่แสงสวางไมเพียงพอทําใหเกิดอาการเม่ือยลาตา ตาพรามัว ปวดศีรษะ การมองเห็นไมช ัดเจน เกดิ อุบตั ิเหตุในการทาํ งานแนวทางการปองกันหรือปรบั ปรงุ แกไข• ทําความสะอาดหลอดไฟเปนประจาํ และเปลีย่ นหลอดไฟเมอื่ ชาํ รดุ• ไมค วรติดหลอดไฟต่ําหรอื สงู จนเกนิ ไป• ควรใชห ลอดไฟทใ่ี หแ สงสขี าวนวลมขี อ เสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรุงแกไขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ กี ารปรับปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 3

ภาพประกอบ 1 การตดิ ต้งั หลอดไฟชวยใหเกิดแสงสวางเพียงพอตอ การทํางาน ภาพประกอบ 2 หลอดไฟชวยใหมองเห็นชดั เจน ทํางานไดอ ยา งปลอดภัย 4

เคร่ืองมอื ประเมนิ ความเส่ยี งจากการทํางานกลมุ ผูป ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จัยคกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชพี เสรมิ สวย มีลกั ษณะดังน้ีปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพ2. ความรอ นมกี ารสมั ผัสแหลง ความรอ นจากเครอ่ื งใชไ ฟฟา เชน ท่รี ีดผม ไดรเ ปาผม เปนตนผลกระทบตอ สขุ ภาพการสัมผัสความรอนจากเครื่องใชไฟฟาที่มีความรอน โดยเฉพาะที่รีดผม อาจทําใหผิวหนังไหม รอ น เปน ผนื่ แดงแนวทางการปอ งกันหรือปรบั ปรงุ แกไข• ระมดั ระวังเม่อื ตอ งทาํ งานกบั เคร่ืองมือที่มคี วามรอ น• จัดเกบ็ เครื่องมือทีม่ คี วามรอนไวใ นท่ีเฉพาะที่ปลอดภัยมีขอเสนอแนะเพอื่ การปรบั ปรุงแกไขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ กี ารปรับปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 5

ภาพประกอบ 3 ไดรเปาผมสามารถทาํ ใหเกดิ ความรอ นและเสยี งดงั ในการทาํ งานได ภาพประกอบ 4 ที่รดี ผมและทีม่ ว นผมไฟฟา เปน อปุ กรณท ท่ี าํ ใหเ กิดความรอน 6

เคร่อื งมอื ประเมินความเส่ยี งจากการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชีพเสรมิ สวย มีลักษณะดังนี้ปจจยั คุกคามสขุ ภาพ3. เสยี งดงัทาํ งานกบั เคร่ืองมือ อุปกรณ ทีม่ เี สยี งดังจนทาํ ใหเกิดความราํ คาญหรือรบกวนการไดยิน เชนไดรเปาผม เปน ตน หรอื ขณะใชอ ุปกรณท ีม่ เี สียงดงั เม่ือยืนคยุ กันหา งระยะ 5 ฟตุ ไมไ ดย ินผลกระทบตอ สุขภาพการสัมผัสเสียงดังอาจทําใหรบกวนการส่ือสาร การส่ือสารผิดพลาด กอความรําคาญหงุดหงิด หากสัมผสั เปน เวลานานอาจทําใหเ กดิ การสูญเสียการไดย นิ เจบ็ หู หอู ้อื หหู นวกแนวทางการปองกนั หรือปรับปรุงแกไข• เลือกซือ้ และใชเครือ่ งมอื ทไ่ี มกอใหเกดิ เสียงดงั มาก• หมั่นดูแล บาํ รงุ รกั ษาเคร่อื งมอื เชน หยอดนํา้ มัน เพอื่ ไมใหเ กิดเสียงดงั• หยุดพกั การทํางานเปนชวงเวลาสัน้ ๆ ถา มีเสียงดงั มาก• ใชอ ปุ กรณป อ งกันอนั ตรายสวนบคุ คล ไดแ ก ท่อี ดุ หูลดเสียง ถามกี ิจกรรมท่ีเสียงดังมากมีขอเสนอแนะเพือ่ การปรับปรุงแกไขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ กี ารปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 7

เคร่อื งมอื ประเมินความเส่ยี งจากการทาํ งานกลมุ ผปู ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจจัยคกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทาํ งานกลมุ ผปู ระกอบอาชพี เสรมิ สวย มลี ักษณะดังน้ีปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพ4. สารเคมีมกี ารสัมผสั สารเคมี เชน นาํ้ ยาดดั ผม นา้ํ ยาโกรกผม น้ํายายดื ผม เปนตนผลกระทบตอ สขุ ภาพสารเคมีที่ใชในกระบวนการเสริมสวย เชน แชมพู ยาดัดผม เปลี่ยนสีผม สารเคมีแตงเล็บสว นใหญทาํ ใหเ กิดอาการระคายเคืองทางเดินหายใจ ระคายเคืองผิวหนัง ระคายเคืองตา บางชนิดกดการทาํ งานของระบบประสาทสว นกลาง อาจทําใหมีอาการมึนงง คล่นื ไส อาเจยี นแนวทางการปองกันหรือปรับปรงุ แกไข• ใสอ ปุ กรณป องกนั อนั ตรายสวนบุคคล ไดแก ถุงมือและหนา กากปองกันสารเคมี• จัดชองระบายอากาศ (หนาตาง ประตู ชองลม ที่เปดใหอากาศผานเขา-ออกได) ไมนอย กวา 1 ใน 10 ของพื้นที่หองผนัง หรือติดตั้งอุปกรณชวยในการระบายอากาศ เชน เคร่ืองดูดอากาศ พดั ลม (ควรใชพดั ลมโคจร)y ขณะใชส ารเคมีไมค วรอยใู ตลมเพราะจะไดร บั สารเคมมี ากขน้ึy เลอื กใชผลิตภณั ฑที่ไดรบั การรบั รองมาตรฐานมขี อเสนอแนะเพอ่ื การปรับปรุงแกไขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ ีการปรบั ปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 8

ภาพประกอบ 5 สารเคมหี ลากหลายชนิดถกู นาํ มาใชในงานเสริมสวยภาพประกอบ 6 การใสอุปกรณปอ งกันสว นบคุ คลเปน วธิ หี นึง่ ในการลดการสมั ผสั สารเคมี 9

เครอ่ื งมอื ประเมินความเส่ยี งจากการทํางานกลมุ ผูป ระกอบอาชีพเสรมิ สวย ปจจัยคุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทํางานกลุมผูป ระกอบอาชีพเสริมสวย มลี กั ษณะดังนี้ปจ จัยคุกคามสขุ ภาพ5. ฝุน ละอองมีการสมั ผัสฝุนละออง เชน ฝุนละอองจากเสนผม นาํ้ ยาสเปรยปรบั แตง ทรงผมผลกระทบตอสุขภาพเกิดการระคายเคอื งตา ผิวหนงั และระบบทางเดนิ หายใจแนวทางการปองกันหรอื ปรบั ปรงุ แกไ ข• จัดชองระบายอากาศ (หนาตางประตู ชองลม ที่เปดใหอากาศผานเขา-ออก) ไมนอยกวา 1 ใน 10 ของพ้ืนท่ีผนังหอง หรือติดต้ังอุปกรณชวยในการระบายอากาศ เชน เครื่องดูด อากาศ พัดลม (ควรใชพดั ลมโคจร)• ขณะใชส เปรยแ ตง ทรงผมควรสวมแวน และหนากากปองกันสารเคมี ยืนอยเู หนอื ลมมีขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไ ขหรือไม| ไมมี | มีวธิ กี ารปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 10

เครอ่ื งมือประเมนิ ความเสี่ยงจากการทํางานกลุมผปู ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจจยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทาํ งานกลุม ผปู ระกอบอาชพี เสริมสวย มลี กั ษณะดังน้ี6. การยศาสตรปจจยั คุกคามสขุ ภาพ6.1 มีกระบวนการทํางานในทาทางซํ้าๆ กัน เชน ใชมือในการหยิบจับอุปกรณ ใชเครื่องมือติดตอ กนั เปนเวลานาน เชน กรรไกรตดั ผม ที่รดี ผมผลกระทบตอสุขภาพการทาํ งานทซ่ี ้ําๆ ทาํ ใหเกดิ การบาดเจบ็ ปวดเมอ่ื ยโครงรางและกลา มเน้ือ ปวดมอื และขอ มือแนวทางการปองกันหรอื ปรบั ปรุงแกไ ข• บริหารยดื เหยียดกลา มเนอ้ื เพอ่ื เพิม่ ความยดื หยุนของกลา มเนือ้ และเสนเอ็น• บริหารขอมอื กอ นทาํ งาน ระหวางทาํ งาน และหลังทํางาน• เปลย่ี นลักษณะงานเปน ระยะ ไมค วรทํางานในทาทางเดมิ ซํา้ ๆ ตลอดเวลาการทาํ งานมีขอ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไขหรือไม| ไมม ี | มีวิธีการปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 11

เครื่องมือประเมินความเสย่ี งจากการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชพี เสริมสวย ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชพี เสรมิ สวย มลี ักษณะดังน้ี6. การยศาสตร (ตอ )ปจจยั คกุ คามสขุ ภาพ6.2 ลักษณะการทํางานที่ตอง ยืน เดิน เอ้ือม ยกแขนเหนือระดับหัวไหล ติดตอกันเปนระยะเวลานานๆ (นานมากกวา 1 ชั่วโมง)ผลกระทบตอ สขุ ภาพทําใหเกิดการบาดเจ็บและการเจ็บปวยจากการทํางาน ปวดเม่ือยกระดูกโครงราง กลามเน้ือและเสน เอ็น ปวดหลังแนวทางการปอ งกนั หรอื ปรับปรุงแกไข• เปลี่ยนอริ ิยาบถการทํางาน เชน จากการยนื ตลอดเวลาเปน นั่งสลับในบางโอกาส• ยืดเหยียดกลา มเนอื้ ระหวา งทํางานเปน ระยะ• หลกี เลย่ี งทาทางการทาํ งานท่ผี ิดธรรมชาติ เชน การกม เอย้ี วตวั ทํางานตดิ ตอ กันเปน เวลานาน• ปรับปรุงสถานงี านใหอ ยูในระดับท่ีเหมาะสม เชน อา งสระผมไมค วรสงู เกนิ ระดับเอว เพราะอาจทาํ ใหผปู ระกอบอาชพี ตอ งกมหลังหรือยกไหลขณะสระผม• จดั ใหม ีชน้ั วางของทส่ี ะดวก สาํ หรบั เครอ่ื งมอื อุปกรณ ทห่ี ยิบใชบอ ยครงั้• ควรสวมใสร องเทา สน เต้ยี และยดื หยุนเล็กนอยมีขอเสนอแนะเพอ่ื การปรบั ปรงุ แกไขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ กี ารปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 12

ภาพประกอบ 7 ทายกแขนขึ้นสงู เหนอื ไหล เปนทาทางแบบหนง่ึ ท่ีกอใหเ กดิ ความเมื่อยลา ภาพประกอบ 8 การคอ มตวั ทําใหปวดหลัง การใชก รรไกรนานๆ ทาํ ใหป วดเม่อื ยมือ 13

เครอื่ งมอื ประเมนิ ความเส่ยี งจากการทาํ งานกลุมผปู ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลุมผปู ระกอบอาชีพเสรมิ สวย มีลักษณะดังน้ี7. อุบัตเิ หตุปจจัยคุกคามสุขภาพพฤติกรรมการใชอุปกรณ เคร่ืองใชไฟฟา ของมีคม มีความเส่ียงตอการเกิดการบาดเจ็บหรืออบุ ตั ิเหตุ (เชน เครอ่ื งอบผม ไดรเปา ผม มีดโกน กรรไกร)ผลกระทบตอสขุ ภาพอุบตั เิ หตุจากถกู มีดโกนบาด กรรไกรตดั ผมบาดมอื บาดเจบ็ หรอื เสยี ชวี ติ จากไฟฟาดดูแนวทางการปองกันหรอื ปรับปรงุ แกไ ข• ใบมดี โกนใชแลว ตองหอ กระดาษใหม ิดชิด ทิ้งในภาชนะแข็งแรงมีฝาปดมิดชิด พรอมติดขอความ เตอื นระบุวา “อันตรายมีดโกนใชแ ลว”• ตรวจสอบความพรอมในการใชงานของอุปกรณไฟฟาตางๆ เลือกใชอุปกรณไฟฟา เชน ไดรเปา ผม ปตตาเล่ียน ที่มีมาตรฐาน ทําการตรวจสอบทุกครั้งกอนนํามาใชงาน สายไฟตองไมชํารุด ไม ฉีกขาด• เกบ็ เครอ่ื งใชป ระเภทไฟฟาใหเปนระเบียบ สายไฟไมนําไปพันกับส่ิงของอ่ืนหรือลากระเกะระกะ มี การตรวจสายไฟ ปลัก๊ ไฟ เปนประจําไมใหชาํ รดุ• ตดิ ต้ังอปุ กรณป องกนั ไฟฟา ดูด• จัดพน้ื รา นใหเรยี บ ไมลืน่ หากทําน้าํ หรือนํ้ายาเคมหี กลงพน้ื จะตองเช็ดทาํ ความสะอาดพ้ืนใหแ หง ทันที เพือ่ ปองกนั การ ลื่น สะดุด หกลมมีขอ เสนอแนะเพอ่ื การปรับปรุงแกไ ขหรือไม| ไมม ี | มีวิธกี ารปรบั ปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 14

ภาพประกอบ 9 สายไฟระเกะระกะตามพืน้ อาจทําใหสะดดุ หกลม หรือโดนไฟดดู ได ภาพประกอบ 10 การใชก รรไกรและของมคี มตา งๆ ตอ งทําดว ยความระมดั ระวัง 15

เครื่องมือประเมินความเสี่ยงจากการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชพี เสริมสวย ปจ จยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลุมผูประกอบอาชีพเสริมสวย มีลกั ษณะดังนี้8. ดา นชีวภาพปจ จัยคกุ คามสุขภาพ8.1 มีการทําความสะอาดและฆาเช้ือโรคเครื่องมือและอุปกรณ เชน ท่ีตัดเล็บ กรรไกร กอนนํามาใชกับผูรับบริการรายตอไป หรือนําไปกําจัดทิ้ง ทําใหมีโอกาสสัมผัสสิ่งคัดหลั่งจากรางกายของผูรบั บรกิ ารผลกระทบตอสุขภาพปวยเปนโรคติดตอท่ีไดรับเชื้อจากการสัมผัสเลือดหรือสารคัดหล่ัง เชน โรคไวรัสตับอักเสบบีและซี โรคเอดส เปน ตนแนวทางการปอ งกันหรือปรับปรุงแกไ ข• ลางทําความสะอาด และฆาเช้ือดวยสารเคมีฆาเชื้อโรค ไดแก เอทิลแอลกอฮอล 70% โดยแชนาน 30 นาที หลังการใชง านผรู ับบรกิ ารแตละคน• เปล่ยี นใบมีดทกุ ครง้ั หลังการใชง านใหกบั ผรู บั บริการแตละคน ไมใ ชซํ้า• ในการกําจัดของมีคม เชน ใบมีด ควรใสถุงมือหนา ใสชุดปองกัน และกําจัดหรือนําไปท้ิง ในภาชนะที่ปดมิดชดิมีขอเสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ ขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ กี ารปรับปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 16

เครอ่ื งมือประเมินความเส่ียงจากการทํางานกลุมผูประกอบอาชพี เสรมิ สวย ปจจยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลุมผปู ระกอบอาชีพเสริมสวย มีลักษณะดังน้ี8. ดานชวี ภาพ (ตอ)ปจจยั คุกคามสขุ ภาพ8.2 ใชน ้าํ ในการลางทําความสะอาด เชน สระผม ดดั ผม โกรกผม ยืดผม บอยคร้งัผลกระทบตอสขุ ภาพลักษณะงานท่ีเปยก มีการสัมผัสน้ําตอเนื่องเปนเวลานาน เชน ชางสระผม อาจทําใหผิวหนังแหง เปน ผน่ื แพท ่ีผวิ หนงั มีเช้อื ราทเ่ี ล็บแนวทางการปองกันหรือปรบั ปรงุ แกไข• ใสถ งุ มอื ยางหรอื ถงุ มอื พลาสติกเมือ่ ตองสมั ผัสนาํ้• หม่นั เช็ดมือใหแ หง อยูเสมอ ทาครีมบํารงุ ผิวหลังเชด็ มือใหแ หง• ถา ทาํ ไดใหสลับคนทาํ งาน ไมใหพ นกั งานคนใดสระผมตอ เนอื่ งเปน เวลานานคนเดียวมีขอเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไขหรือไม| ไมมี | มีวิธกี ารปรับปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 17

ภาพประกอบ 11 งานสระผมทําใหมือเปย กนาํ้ อาจทําใหเ กิดผน่ื ผวิ หนงั อักเสบทมี่ ือไดภาพประกอบ 12 หลงั ใหบรกิ ารสระผมตอ งเช็ดมอื ใหแหงทุกครัง้ อยาปลอ ยใหม ือเปยก 18

เครื่องมอื ประเมนิ ความเสย่ี งจากการทาํ งานกลมุ ผูประกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลมุ ผูป ระกอบอาชพี เสรมิ สวย มลี ักษณะดังน้ี8. ดา นชีวภาพ (ตอ)ปจจยั คกุ คามสุขภาพ8.3 ความเสี่ยงตอโรคติดตอระบบทางเดินหายใจ เน่ืองจากตองใหบริการอยูใกลชิดกับผูมารบั บริการ ไดรับฝนุ ละอองจากเศษผม นํา้ ยายอ มผม นาํ้ ยาเคมีชนดิ ตา งๆ จากการหายใจผลกระทบตอ สขุ ภาพติดโรคติดตอระบบทางเดินหายใจจากผูมารับบริการ เชน วัณโรค ไขหวัดใหญ เกิดการระคายเคอื งทางเดินหายใจจากเศษผมและนาํ้ ยาเคมตี างๆ ทําใหเปนภมู ิแพ หอบหืดแนวทางการปอ งกันหรือปรับปรงุ แกไ ข• ผูประกอบอาชีพใชเสื้อคลุม ผาปดปาก ปดจมูก ขณะใหบริการแกลูกคาและไมใชปะปน กับผูอื่น• อปุ กรณปองกันสวนบุคคล ควรมีอยางนอยดังนี้ (1) ผาคลุมตัวลูกคา 2 ชุดตอเกาอี้ตัดผม 1 ท่,ี เสอื้ คลุมชางสีขาวหรือสีออน 2 ชุดตอชาง 1 คน, ผาปดปาก ปดจมูกสีขาว 2 ชุดตอชาง 1 คน, ผายางคลุมไหลขณะสระผม อยางนอย 2 ชุดตอ 1 จุดสระผม, ผาพลาสติกคลุม ไหลสาํ หรับตัดผม ยอ มผม ดดั ผมมขี อ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรุงแกไขหรือไม| ไมม ี | มีวิธีการปรับปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 19

เคร่ืองมอื ประเมินความเสยี่ งจากการทํางานกลุมผูประกอบอาชพี เสริมสวย ปจ จัยคุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทาํ งานกลมุ ผปู ระกอบอาชพี เสรมิ สวย มีลักษณะดังนี้8. ดานชีวภาพ (ตอ )ปจ จยั คกุ คามสุขภาพ8.4 มีการสลับเปล่ียนและทําความสะอาดเครื่องใชประเภทผา กอนนํามาใชกับผูรับบริการรายอืน่ (ผาพันคอ ผาเช็ดผม ผาขนหนู ผา คลมุ ตัวลูกคา)ผลกระทบตอ สขุ ภาพการใชเคร่ืองใชประเภทผารวมกันโดยไมไดทําความสะอาด อาจเกิดการติดโรคติดตอทางผิวหนัง เชน โรคกลาก เกล้ือน หดู หิด เหา เริม งสู วัด จากผูมารับบรกิ ารทีเ่ ปน โรคแนวทางการปอ งกันหรอื ปรบั ปรุงแกไข• เครอ่ื งใชป ระเภทผา ตอ งซกั และตากแดดใหแ หงทกุ วนั เกบ็ ในทส่ี ะอาด เปน สดั สว น เปน ระเบยี บ• ผา พันคอ ผาเช็ดผม และผาขนหนู ใชค รงั้ เดียวตอ ผบู ริการ 1 คนในวนั นนั้มีขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรงุ แกไขหรือไม| ไมมี | มีวธิ กี ารปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 20

เครือ่ งมอื ประเมนิ ความเสยี่ งจากการทํางานกลมุ ผูป ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทํางานกลุม ผปู ระกอบอาชีพเสริมสวย มีลกั ษณะดังน้ี8. ดานชีวภาพ (ตอ )ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพ8.5 อุปกรณเคร่ืองใชประเภทพลาสติก เชน หวี แปรง ก๊ิบ โรลมวนผม มีการทําความสะอาดหลังการใชงานทุกวนั และผึง่ ใหแ หง เกบ็ ไวใ นทสี่ ะอาด เปน ระเบยี บผลกระทบตอ สขุ ภาพการใชเครื่องใชประเภทพลาสติกรวมกันโดยไมไดทําความสะอาด อาจเกิดการติดโรคติดตอทางผวิ หนัง เชน โรคกลาก เกลือ้ น หูด หิด เหา เรมิ งสู วัด จากผมู ารับบริการทเ่ี ปน โรคแนวทางการปองกนั หรอื ปรบั ปรุงแกไ ขลางทําความสะอาดดวยผงซักฟอกและเช็ดดวยเอทิลแอลกอฮอล 70 % นําไปผึ่งใหแหงหลังการใชง านทุกวนัมขี อ เสนอแนะเพ่ือการปรบั ปรงุ แกไขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ ีการปรบั ปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 21

ภาพประกอบ 13 ผาขนหนูทใี่ ชก ับผมู ารบั บริการ ตองเปลยี่ นใหมท ุกคร้ัง และซกั ตากทกุ วันภาพประกอบ 14 อุปกรณจาํ พวก หวี แปรง กบ๊ิ ควรทาํ ความสะอาดเปน ระยะเพื่อลดเช้อื โรค 22

เคร่ืองมือประเมินความเส่ียงจากการทาํ งานกลมุ ผูป ระกอบอาชพี เสรมิ สวย ปจ จยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทาํ งานกลุมผูป ระกอบอาชพี เสริมสวย มลี กั ษณะดังน้ี9. สภาพการทํางานปจจัยคกุ คามสุขภาพ9.1 ทาํ งานตอเนื่องยาวนานมากกวา 8 ชว่ั โมงตอ วนัผลกระทบตอสขุ ภาพการทํางานตอเนื่องยาวนานอาจกอใหเกิดความเบ่ือหนายและเครียด ถางานยุงอาจรับประทานอาหารไมเปนเวลา ขาดการออกกําลังกาย อาจทําใหเกิดโรคความดันโลหิตสูงโรคกระเพาะอาหาร โรคอวนไดแนวทางการปองกันหรอื ปรับปรุงแกไ ขพักผอนใหเพียงพอ รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู มีกิจกรรมผอนคลายความเครียด เชนฟง เพลง พดู คยุ กับเพื่อนรวมงาน หาเวลาออกกาํ ลังกายอยา งสมํ่าเสมอมขี อ เสนอแนะเพ่ือการปรับปรุงแกไขหรือไม| ไมมี | มีวิธีการปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 23

เครือ่ งมอื ประเมนิ ความเสย่ี งจากการทาํ งานกลุมผูประกอบอาชีพเสรมิ สวย ปจจยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทาํ งานกลมุ ผปู ระกอบอาชพี เสริมสวย มีลกั ษณะดังน้ี9. สภาพการทํางาน (ตอ)ปจ จัยคกุ คามสขุ ภาพ9.2 พื้นที่การทํางานเรียบ เดินไปมาไดสะดวก มีการกําหนดพื้นใชงานสวนตางๆ ไวชัดเจนเชน พ้ืนที่เพื่อการใหบริการจัดแตงทรงผม พื้นที่สระผม พื้นที่จัดเก็บวัสดุอุปกรณ จัดเก็บผาจัดเกบ็ สารเคมี จดั เกบ็ วสั ดุเหลือใช พนื้ ทนี่ ั่งรอรับบรกิ าร จุดต้ังน้ําดื่ม เปนตนผลกระทบตอ สขุ ภาพหากจัดวางของไวไมเปนระเบียบ พื้นมีความตางระดับ หรือมีของวางขวางระเกะระกะ อาจเกิดอุบตั เิ หตกุ ารบาดเจบ็ จากการ ล่นื สะดดุ หกลม หาของยาก สงิ่ ของตกใสไดแนวทางการปองกนั หรือปรับปรุงแกไข• จัดการซอมแซมพื้นใหเรียบ ไมล่ืน ทําสัญลักษณแถบสีเหลืองหรือขอความเตือนพ้ืนตาง ระดับใหเหน็ ชัดเจน เพือ่ ปอ งกนั การเดนิ สะดุดลม• กาํ หนดพนื้ ท่ใี ชง านสว นตางๆ ของรา น และพื้นทเ่ี กบ็ ของใหชัดเจน จัดวางของบนชั้นวาง ใหเปนระเบยี บ ทําปา ยตดิ เพือ่ ไมใ หสบั สนในการเกบ็ ของมีขอเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ ขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ ีการปรบั ปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 24

เครื่องมอื ประเมินความเสี่ยงจากการทาํ งานกลุมผูประกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จัยคุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทาํ งานกลุมผปู ระกอบอาชีพเสรมิ สวย มีลักษณะดังน้ี10. ระบบระบายอากาศปจจัยคกุ คามสขุ ภาพอากาศภายในพนื้ ทท่ี าํ งานอับทบึ มีฝุน เศษผม และละอองนํ้ายาทําผมชนิดตางๆผลกระทบตอ สุขภาพการไดรับฝุนและละอองสารเคมีจากกระบวนการเสริมสวย อาจทําใหเกิดโรคทางเดินหายใจเชน ภมู ิแพ หอบหืดแนวทางการปอ งกันหรือปรบั ปรุงแกไข• มชี องระบายอากาศ หนาตาง ประตู หรือชองลม ที่เปดใหอากาศผานเขา-ออกได ไมนอย กวา 1 ใน 10 ของพืน้ ท่ีผนงั หอ ง หรอื ตดิ ตงั้ อปุ กรณชวยในการระบายอากาศ• กรณีติดต้ังอุปกรณชวยในการระบายอากาศ เชน เคร่ืองปรับอากาศ เคร่ืองดูดอากาศ หรือพัดลมโคจร ควรดูแลใหอยูในสภาพท่ีใชงานไดดี มีการลางเช็ดทําความสะอาดอยาง สม่ําเสมอ เครื่องปรับอากาศทําการลางแผนกรองทุกๆ สองสัปดาห และเปดเครื่องลาง ทกุ ๆ หกเดือนถึงหน่ึงป พดั ลมมกี ารลางเช็ดใบพดั ลมใหส ะอาดทุกเดือนมขี อ เสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไ ขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ ีการปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 25

ภาพประกอบ 15 จัดพนื้ ทก่ี ารทํางานใหเ ปนระเบยี บ สะอาด ทําใหร านดูนาเขาใชบริการภาพประกอบ 16 ผนงั ของรา นมหี นา ตา งเปด โลง เปนการชว ยระบายอากาศไดอยา งดี 26

เครอ่ื งมอื ประเมินความเสี่ยงจากการทาํ งานกลมุ ผปู ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทํางานกลมุ ผปู ระกอบอาชีพเสรมิ สวย มีลกั ษณะดังน้ี11. สขุ าภิบาลและระบบสนบั สนุนอนื่ ๆปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพ11.1 จดั สว มใหถูกหลักสขุ าภิบาล• มีสัญลักษณแยกเพศ ชาย – หญิง ชัดเจน มีจํานวนสวมเพียงพอ คือ สวมหญิงหรือชาย 1 ท่ีตอเกาอี้ตัดผม 10 ตัว และท่ีปสสาวะชาย 1 ที่ตอเกาอ้ีตัดผม 10 ตัว ควรมีสวมแบบชักโครก (นั่งราบ) อยางนอยหนง่ึ ท่ี จัดไวส าํ หรบั ผูใชที่สูงอายุหรอื มปี ญหาขอ เขา• มสี ขุ ภัณฑ อปุ กรณ เคร่อื งใช สะอาด มีสภาพปลอดภยั• มกี ารระบายอากาศดี ไมม กี ล่นิ• มนี ้าํ ใช สบูลางมอื และถงั รองรบั ขยะมลู ฝอยที่สะอาด• มีแสงสวางเพียงพอมองเหน็ ไดท ัว่ บริเวณภายในหองสว มผลกระทบตอสุขภาพการจัดสวมที่ไมถูกสุขลักษณะ อาจทําใหเกิดมีกลิ่นเหม็น เปนเหตุรําคาญ และอาจกอใหเกิดการแพรก ระจายโรคติดตอ ไดแนวทางการปอ งกนั หรือปรับปรงุ แกไ ข• ลางทําความสะอาด สว ม สุขภัณฑ อุปกรณเ ครื่องใช และกาํ จดั ขยะมลู ฝอย สมํ่าเสมอ• จดั เตรียมนา้ํ ใชใ นสว มทีส่ ะอาดและเพียงพอ• มีกระดาษชาํ ระ หรอื สายฉีดชาํ ระ ท่สี ะอาดและอยใู นสภาพดี• มอี างลา งมือ กอกนํา้ กระจก สาํ หรบั ใชง าน พ้นื ท่ีหองสวมแหง สะอาด• มีถงั รองรบั ขยะมลู ฝอยท่ีสะอาด มฝี าปด อยใู นสภาพดี ไมร ัว่ ซึม• มชี องระบายอากาศ หรือมีพัดลมระบายอากาศ• จดั ใหมแี สงสวางเพียงพอ สามารถมองเหน็ ไดท ัว่ บรเิ วณ ถามืดใหตดิ หลอดไฟเพ่มิ• สว มตงั้ อยูในทไี่ มลับตาคน มที ีล่ อคจากดานในหอ งสวม 27

เครอ่ื งมอื ประเมนิ ความเสีย่ งจากการทาํ งานกลุมผูประกอบอาชพี เสริมสวย ปจจยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชพี เสริมสวย มลี ักษณะดังน้ี11. สขุ าภิบาลและระบบสนบั สนุนอื่นๆ (ตอ )มขี อ เสนอแนะเพ่อื การปรบั ปรงุ แกไ ขหรือไม| ไมมี | มีวธิ ีการปรับปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 28

เครอ่ื งมอื ประเมนิ ความเสี่ยงจากการทาํ งานกลุมผปู ระกอบอาชพี เสริมสวย ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลมุ ผูประกอบอาชีพเสริมสวย มีลักษณะดังน้ี11. สุขาภิบาลและระบบสนับสนุนอ่นื ๆ (ตอ )ปจจยั คุกคามสขุ ภาพ11.2 การคดั แยกขยะของมีคมที่เปนอนั ตรายออกจากขยะมูลฝอยท่ัวไปผลกระทบตอ สขุ ภาพเกิดอุบัตเิ หตโุ ดนเศษมดี ใบมดี โกนใชแ ลว กรรไกรตัดผม บาดมอืแนวทางการปอ งกันหรือปรับปรุงแกไขท้ิงขยะมูลฝอยอันตรายแยกจากขยะมูลฝอยทั่วไปต้ังแตตน มีท่ีเก็บใบมีดใชแลวท่ีแข็งแรง มีฝาปดมิดชิด และปดปายเตือน “อันตรายมีดโกนใชแลว” เม่ือมีดหรือกรรไกรหรือของมีคมอื่นหมดอายุการใชง านหรอื เสยี หาย ทําการทง้ิ แยกเปนขยะของมีคมเชน กัน นาํ ภาชนะบรรจุขยะมีคมเหลา น้ีไปท้ิงในบรเิ วณทเ่ี ทศบาลหรอื หนว ยงานทรี่ บั ผดิ ชอบจัดในสวนขยะอนั ตรายมีขอเสนอแนะเพื่อการปรบั ปรงุ แกไขหรือไม| ไมมี | มีวิธกี ารปรบั ปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 29

เคร่อื งมอื ประเมนิ ความเสย่ี งจากการทาํ งานกลุม ผูป ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทาํ งานกลมุ ผูประกอบอาชพี เสรมิ สวย มีลกั ษณะดังนี้11. สุขาภบิ าลและระบบสนบั สนุนอน่ื ๆ (ตอ )ปจจยั คกุ คามสุขภาพ11.3 มีเคร่อื งมอื ปฐมพยาบาลที่จําเปน เชน ยาสามัญประจําบา น สําลี ผากอ ส ผา พันแผล ยาแดง ยาโพวิโดนไอโอดีนใสแผล พลาสเตอรย า ใสไวในตูยาประจาํ รา นผลกระทบตอ สขุ ภาพเม่ือเกดิ อบุ ตั เิ หตุโดนของมคี มบาดมอื กระแทกฟกช้าํ หรือการเจบ็ ปวย มียาและอุปกรณปฐมพยาบาลไวใชไ ดทนั ทวงทีแนวทางการปองกันหรือปรับปรุงแกไ ขจัดตูยาประจํารานไวในพื้นท่ีที่สังเกตเห็นไดงาย จัดยาและอุปกรณปฐมพยาบาลที่มีความจําเปนไว และหม่นั ตรวจสอบใหมีจํานวนเพยี งพอ ดูวันหมดอายุมขี อเสนอแนะเพอื่ การปรับปรุงแกไขหรือไม| ไมมี | มีวธิ กี ารปรับปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 30

เครอ่ื งมอื ประเมนิ ความเสยี่ งจากการทาํ งานกลมุ ผูป ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจจยั คกุ คามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทาํ งานกลมุ ผูประกอบอาชีพเสริมสวย มลี กั ษณะดังน้ี11. สขุ าภิบาลและระบบสนับสนนุ อ่ืนๆ (ตอ)ปจ จัยคกุ คามสขุ ภาพ11.4 จัดเตรยี มภาชนะใสนาํ้ ดม่ื -นา้ํ ใช ที่สะอาดและเพียงพอผลกระทบตอสุขภาพน้ําด่ืมท่สี ะอาดชว ยแกก ระหาย ปอ งกันโรคกระเพาะปสสาวะอกั เสบ ทําใหไมเ ปนโรคทอ งรว งน้าํ ใชท ส่ี ะอาดชว ยใหทาํ ความสะอาดพ้ืนทีท่ าํ งานไดง าย ปอ งกนั โรคทอ งรว งแนวทางการปอ งกนั หรือปรับปรุงแกไขลางทําความสะอาดภาชนะใสนํา้ ด่ืม-น้าํ ใช อยา งสมํ่าเสมอ กรณที ม่ี คี นทาํ งานหลายคน อาจจัดตูน้ําเย็น หรอื บรรจุนาํ้ ด่มื ใสข วดไวในตูเ ยน็ เพอ่ื ใหค นทํางานไดดืม่ เมือ่ ตองการมีขอ เสนอแนะเพือ่ การปรบั ปรงุ แกไขหรือไม| ไมม ี | มีวิธกี ารปรบั ปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 31

ภาพประกอบ 17 จัดเตรียมภาชนะใสน ้ําใช ดแู ลใหสะอาดอยเู สมอภาพประกอบ 18 ทําการลา งมือทง้ั กอนและหลงั ใหบริการลูกคา กนิ ขา ว และเขา หองนํา้ 32

เคร่อื งมอื ประเมินความเสีย่ งจากการทํางานกลุมผปู ระกอบอาชีพเสริมสวย ปจจยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอมและสภาพการทํางานกลมุ ผปู ระกอบอาชพี เสริมสวย มีลกั ษณะดังน้ี11. สขุ าภบิ าลและระบบสนับสนนุ อืน่ ๆ (ตอ )ปจ จยั คกุ คามสขุ ภาพ11.5 ตดิ ตง้ั ระบบการจายน้าํ ทอ ระบายนา้ํ หรอื บอกักน้ําท่ใี ชแ ลว ดวยวัสดอุ ุปกรณท แี่ ข็งแรงผลกระทบตอสุขภาพทอระบายนํ้าหรือระบบกําจัดนํ้าเสียท่ีร่ัวซึม เปนแหลงที่มาของเช้ือโรค ทําใหเกิดกลิ่นเหม็นและเปน เหตุราํ คาญแนวทางการปอ งกันหรือปรับปรงุ แกไขตดิ ต้งั ทอระบายน้าํ ดวยวสั ดุคงทน เชน พลาสตกิ แข็งมขี อเสนอแนะเพ่ือการปรับปรงุ แกไขหรือไม| ไมมี | มีวิธกี ารปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 33

เครอื่ งมือประเมินความเสี่ยงจากการทาํ งานกลุมผปู ระกอบอาชีพเสรมิ สวย ปจ จยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทํางานกลุมผปู ระกอบอาชพี เสริมสวย มีลกั ษณะดังน้ี12. พฤตกิ รรมสขุ ภาพปจ จัยคุกคามสขุ ภาพ12.1 ผูปฏบิ ตั ิงานมีการลางมอื กอ นและหลงั ใหบริการกับผมู ารบั บริการรายตอ ไปผลกระทบตอสุขภาพลดการปนเปอ นของเชอื้ โรค โรคผวิ หนัง การสะสมของสารเคมที ่ผี วิ หนงัแนวทางการปองกันหรือปรบั ปรงุ แกไ ขจัดทํานโยบายและปายเตือน สนับสนุนใหลางมือกอนและหลังใหบริการแกผูมารับบริการทุกราย และดาํ เนินการปฏิบตั ิตามอยางเครง ครดัมีขอเสนอแนะเพ่อื การปรับปรุงแกไขหรือไม| ไมม ี | มีวธิ ีการปรบั ปรงุ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 34

เครื่องมอื ประเมินความเสีย่ งจากการทาํ งานกลมุ ผูป ระกอบอาชพี เสรมิ สวย ปจจยั คุกคามสขุ ภาพจากสภาพแวดลอ มและสภาพการทํางานกลมุ ผปู ระกอบอาชพี เสริมสวย มีลกั ษณะดังนี้12. พฤตกิ รรมสขุ ภาพ (ตอ )ปจ จัยคกุ คามสุขภาพ12.2 มีการด่ืมเคร่ืองด่ืมท่ีมีสวนผสมของคาเฟอีน (กาแฟ ชา เครื่องด่ืมชูกําลัง) ในปริมาณสูงหรอื ใชยานอนหลบั เปน ประจาํผลกระทบตอสขุ ภาพคาเฟอีนทําใหหัวใจเตนเร็ว ความดันโลหิตสูง อาจเปนอันตรายตอทารกในครรภ นอนไมหลบั มือส่ัน ตึงเครยี ด หงุดหงิด ปวดศีรษะ ยานอนหลับทาํ ใหด ้ือยาและติดยาแนวทางการปอ งกันหรือปรับปรงุ แกไข• ควรนอนหลับพกั ผอนใหเ พียงพอ• มกี จิ กรรมทช่ี ว ยผอ นคลายความเครยี ด เชน ฟง เพลง อานหนังสือ ปลูกตน ไมมีขอเสนอแนะเพือ่ การปรับปรงุ แกไขหรือไม| ไมม ี | มีวิธีการปรับปรุง ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 35

แผนในการดําเนนิ การปรับปรุงปญ หาที่ 1ปญ หาท่พี บ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แนวทางการปรบั ปรุงแกไ ข....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญหาที่ 2ปญ หาทีพ่ บ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แนวทางการปรบั ปรุงแกไ ข....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญ หาท่ี 3ปญหาที่พบ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แนวทางการปรับปรงุ แกไ ข.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 36

แผนในการดาํ เนินการปรบั ปรุง (ตอ )ปญหาที่ 4ปญ หาท่พี บ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แนวทางการปรับปรงุ แกไ ข....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญ หาท่ี 5ปญหาท่พี บ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แนวทางการปรับปรุงแกไ ข....................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................ปญหาท่ี 6ปญ หาทพี่ บ...............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................แนวทางการปรับปรงุ แกไ ข.................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................... 37

แบบประเมินพฤตกิ รรมปองกันสุขภาพ แบบประเมินพฤติกรรมปองกันสุขภาพนี้ นําแนวทางมาจากแบบสัมภาษณภาวะสุขภาพและพฤติกรรมการปองกันสุขภาพของผูประกอบอาชีพผลิตยางพารา ของยุพาภรณจนั ทรพมิ ล มหาวิทยาลยั เชียงใหม พ.ศ. 2550โปรดทําเครือ่ งหมาย 9 ในชอ งทต่ี รงกบั ความเปน จริงมากท่สี ุด พฤติกรรม ใช ไมใ ชดา นการปองกันสุขภาพท่วั ไป1. ทานหลีกเล่ียงการบริโภคอาหารที่มีไขมันสูง เชน ของทอด ของมันๆ2. ทานหลีกเลี่ยงการรับประทานอาหารท่ีมีรสหวานจัด เค็มจัด เปรี้ยวจัด3. ทานรับประทานอาหารประเภทท่ีมีกากใยเปนสวนใหญ เชน ผักผลไม4. ทานรบั ประทานอาหารครบ 3 มื้อ5. ทา นดม่ื นมหรอื นํา้ เตา หูอ ยา งนอ ย 1 แกว ตอ วัน6. ทา นอา นฉลากรับรองคณุ ภาพอาหารสาํ เร็จรูป7. ทานออกกําลังกาย อยางนอย 3 ครั้งตอสัปดาห ครั้งละอยางนอย 30นาที8. ทา นนอนหลับอยางเพยี งพอประมาณ 6 – 8 ช่วั โมงตอ วัน9. ทานใชเวลาวางในการทํากิจกรรมที่ชอบ เชน อานหนังสือ ปลูกตน ไม10. ทานเขารว มทาํ กิจกรรมท่มี ีประโยชนตอชุมชน11. ทานหลกี เล่ยี งเคร่ืองด่ืมที่มแี อลกอฮอล12. ทานหลีกเลี่ยงเครื่องดื่มชา กาแฟ เคร่ืองด่ืมบํารุงกําลัง หรือด่ืมไมมากกวา 1 – 2 กระปองตอ วนั13. ทานหลกี เลย่ี งการใชสารเสพตดิ หรอื เครือ่ งด่มื ชกู ําลังตา งๆ14. ทานหลีกเล่ียงการสบู บหุ ร่ี หรือใกลชดิ ผูสบู บหุ ร่ี15. ทานหลกี เล่ยี งการใชยานอนหลับ หรอื ยากลอ มประสาท 38

พฤตกิ รรม ใช ไมใ ชดานการปองกันสขุ ภาพจากการทาํ งาน1. ทานไดร ับวัคซีนปอ งกันบาดทะยักครบตามเกณฑ2. ทานใชอุปกรณปองกันอันตรายสวนบุคคล เชน ถุงมือยาง ผาปดปาก ปดจมูก หนา กากกนั สารเคมี3. ทานทาํ ความสะอาดอุปกรณท ุกครั้งหลงั การใชง าน4. ทานเปลี่ยนอปุ กรณใชงานเม่ือชํารุด5. ทา นตรวจสอบสภาพเครื่องมอื กอนการใชงาน6. ทานปดเครือ่ งใชไ ฟฟา ทนั ที เม่ือมเี สียงดังผิดปกติ7. ทานหลกี เลีย่ งการใชย าท่ที ําใหง วงนอนกอนทํางาน8. ทา นหลีกเลี่ยงการปฏบิ ตั ิงานอยา งเรง รบี เพอ่ื ใหเสร็จทนั เวลา9. ทา นจดั วางเคร่อื งมอื อปุ กรณ เครอ่ื งใชใ หสะดวกตอ การใชง าน เปนระเบยี บ10. ทานจัดเตรียมเคร่ืองใชประเภทผา นํ้าสะอาดอยางเพียงพอ ตอการใชง าน11. ทานหลกี เล่ียงการยืนทํางานตดิ ตอกนั เปน เวลานาน12. ทานหลีกเลี่ยงการทํางานดวยทาทางที่ผิดธรรมชาติ เชน การเอี้ยวตัว การยกของหนกั เกินกําลงั13. ทานทําความสะอาดบริเวณทีท่ าํ งานอยางสมาํ่ เสมอ14. ทานพบแพทยเพอ่ื ตรวจสขุ ภาพประจําปทุกป15. ทานสังเกตและตรวจสขุ ภาพดวยตนเอง(เฉพาะผูห ญงิ )16. ทานเขา รับการตรวจมะเร็งปากมดลูกปล ะ 1 ครง้ั17. ทานเขา รบั การตรวจเตา นมปล ะ 1 คร้ังคําแนะนาํ ในกรณีท่ีผูประกอบอาชีพตอบวา ไมใช ในขอใดๆ ก็ตาม ทานควรปรับเปล่ียนพฤติกรรมสุขภาพในเร่อื งดงั กลาวหรอื ปรกึ ษาเจา หนา ทีท่ างสขุ ภาพเกีย่ วกบั เรอื่ งดงั กลา ว 39

สารเคมใี นกระบวนการเสรมิ สวย 40