Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การลงรหัส ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

การลงรหัส ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

Published by arsa.260753, 2015-11-04 22:31:37

Description: การลงรหัส ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม

Search

Read the Text Version

การลงรหสั ICD-10โรคจากการประกอบอาชพี และสิ่งแวดลอ ม วิวัฒน เอกบูรณะวฒั น แพทยอ าชีวเวชศาสตร รพ.สมิตเิ วช ศรรี าชา

หวั ขอในการเรียนรูวันน้ี™รจู กั กบั โรคจากการประกอบอาชีพ (และโรคทเ่ี กยี่ วเนือ่ งกบั การประกอบอาชพี )™รูจกั กับโรคจากสิง่ แวดลอม™ระบบสถิตโิ รคจากการประกอบอาชพี 3 ระบบ ในประเทศไทยปจจุบนั™ประโยชนจากการชว ยกันลงรหสั ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพ™หลักการลงรหสั ICD-10™หลกั การลงรหสั ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพ™ตัวอยา งของการลงรหสั ICD-10 โรคจากการประกอบอาชพี

หนังสอื การลงรหัส ICD-10 โรคจากการประกอบอาชพีเนือ้ หาสว นใหญใ นสไลดช ุดน้ี นํามาจากหนังสือ“คมู อื การลงรหสั ICD-10 สาํ หรับโรคจากการประกอบอาชพี ” สามารถดาวนโ หลดไดฟ รี จากเว็บไซตข องชมรมสัมมาอาชีวะ www.summacheeva.org นําเนอ้ื หาไปใชไ ดโดยไมสงวนลิขสทิ ธ์ิ ติดตอ นพ.ววิ ฒั น 087-9792169 [email protected] และ www.wiwat.org

โรคจากการประกอบอาชพี คอื อะไร ?™โรคจากการประกอบอาชีพ หรอื โรคจากการทํางาน (occupational disease) แปลตรงตัวไดวา คือโรคทที่ าํ งานแลวทําใหเ กดิ โรคขนึ้ (ถาไมท ํางานจะไมเปน โรคน)ี้ โรคจากการทํางานมอี ยมู ากมายหลายโรค ตัวอยางเชน โรคปอดฝุนหิน, โรคปอดฝุนฝา ย, โรคพิษตะกั่ว, โรคพษิ ปรอท™โรคทเี่ กี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชพี หรือ โรคท่เี ก่ียวเน่ืองกับการทาํ งาน (work-related disease) คอื โรคทไ่ี มไ ดเกิดจากการทาํ งาน (คอื ถาไมทํางานกย็ ัง เปน โรคนไี้ ดอยดู )ี แตการทํางานอาจมผี ลกระทบ ทาํ ใหอาการของโรคดีขนึ้ หรอื เลวลงได ตัวอยา งเชน โรคเกา ต, โรคเบาหวาน, โรคมะเรง็ เตานม, โรคพยาธิ, โรคโลหติ จาง

โรคจากสิง่ แวดลอ มคืออะไร ?™โรคจากสิ่งแวดลอ ม (environmental disease) คอื โรคท่เี กิดจากการสมั ผสั สิ่ง คุกคาม (hazards) ในสงิ่ แวดลอม (environment) แลวทาํ ใหคนเกิดเปน โรคขน้ึ™ตัวอยา งของโรคจากส่ิงแวดลอมเชน อาการหอบหดื ทเ่ี กดิ จากไดร ับสารพษิ ใน อากาศ โรคภูมิแพทเี่ กดิ จากระดบั ฝนุ ในอากาศสงู ขึน้ โรคพษิ สารหนูจากแหลง นา้ํ ทมี่ ีการปนเปอ นสารหนู เหลานเี้ ปนตน™โรคจากสิง่ แวดลอมนน้ั สามารถเกิดขน้ึ ไดก บั ทกุ คนทอี่ ยูในสิง่ แวดลอ มทมี่ ี มลพษิ ไมวาจะ เด็ก คนสงู อายุ คนหนมุ สาว คนวยั ทํางาน™การวินจิ ฉยั โรคทางสิ่งแวดลอมน้นั โดยทางปฏบิ ตั ิแลวทาํ ไดค อ นขา งยาก™สง่ิ คกุ คามเดยี วกัน ทําใหเกดิ โรคเดียวกัน เชน สารหนู ถา ไดร ับจากการประกอบ อาชีพจัดเปน “โรคจากการประกอบอาชีพ” ถา ไดร บั จากสงิ่ แวดลอ มเราจัดเปน “โรคจากส่ิงแวดลอ ม”

ระบบสถติ ิโรคจากการทาํ งานของไทย 3 ระบบสํานักระบาด กองทุนเงนิ สํานักโรคจากการ วทิ ยา ทดแทน ประกอบอาชพีรง.506/2 กท.16/1 ICD-10โรงพยาบาลรฐั โรงพยาบาลเอกชน โรงเรียนแพทย โรงพยาบาลอําเภอ สถานอี นามัย เขียนใบรายงานโรคหรอื สงขอมลู ให

เปรียบเทยี บ ขอ ดี – ขอจาํ กดั ของทั้ง 3 ระบบหนวยงานทด่ี ูแลสถิติ รง. 506/2 กท. 16/1 ICD-10ลักษณะผูปว ยทเี่ ก็บ สํานักระบาด กองทนุ เงนิ ทดแทน สาํ นักโรคจากอาชีพ Suspected case Confirmed case Confirmed caseผวู นิ จิ ฉยั และสง รายงาน บคุ ลากรสาธารณสุข แพทยเทานั้น แพทยโอกาสตองไปเปน พยานศาล แพทย พยาบาล อนามัย และนักเวชสถิติการลงทุนในการธํารงระบบไว มีภาระงานตอ บคุ ลากรตาม รพ. ไมมี สงู ที่สุด (อาจ) มีความรวดเร็วของขอมูล ปานกลาง ปานกลาง ตํา่ ทีส่ ุด มากที่สุด รายป ต่ําท่สี ุด รายสัปดาห หลายๆ ปสรปุ ที

หนังสอื สถติ ิโรคจากการประกอบอาชพี จาก ICD-10™เปนหนงั สือที่สรปุ สถิติจาก ICD-10 ทสี่ ํานักโรคจากการประกอบอาชีพทาํ ไว™เลมน้เี ปน เลมทอี่ อกในป พ.ศ. 2547™ลิขสิทธขิ์ องสํานกั โรคฯ™ไมม กี ารเผยแพรโดยทวั่ ไป™จะดีไหมถาขอมูลนมี้ าออนไลนบ น อนิ เตอรเน็ต และเปดใหค นทว่ั ไปเขาดู ขอมลู ไดเ หมือนทส่ี าํ นกั ระบาดทํา ???

ประโยชนจ ากการชว ยกนั ลงรหัส ICD-10™เมื่อบุคลากรทางสาธารณสุขทั่วประเทศ ชวยกนั ลงรหัส ICD-10 โรคจากการ ประกอบอาชีพแลว จะเกิดประโยชนข นึ้ กับประเทศชาตดิ ังน้ี ƒ ประเทศเราจะมีระบบสติตโิ รคจากการประกอบอาชีพเพ่มิ ข้นึ อกี 1 ระบบ ƒ เปน ระบบท่ีไมตองลงทนุ อะไร เพราะทุก รพ. กต็ อ งลงรหัส ICD-10 อยูแ ลว ƒ กระทรวงสาธารณสุข และหนว ยงานที่เก่ียวของ จะเอาขอมลู สถิตินไ้ี ปใช วางยุทธศาสตรปองกนั โรคจากการประกอบอาชพี ไดเ พิม่ ขึ้นในอนาคต ƒ ระบบนี้ครอบคลุมประชากรท้ังประเทศ และเปน สถิติผปู วยยืนยัน ƒ ระบบ ICD-10 น้ี ใชกับโรคจากส่ิงแวดลอ มกไ็ ดดวย ƒ ระบบน้ีเปน มาตรฐานสากล ขอ มลู ทไี่ ดจ ึงเปรียบเทยี บกบั ประเทศอนื่ ได

รูจกั กบั รหสั ICD-10™ICD-10 หรอื International Statistic Classification of Diseases and Related Health Problems (tenth revision). คอื บญั ชีจาํ แนกโรคสากล จดั ทําโดยองคการ อนามยั โลก (World Health Organization; WHO)™จุดมงุ หมายของระบบ ICD-10 นัน้ เพ่อื ตอ งการใหการบันทึกขอ มลู สถติ ิโรค ใน ประเทศตา งๆ ระบบทีต่ รงกนั สามารถนํามาใชอ างอิงเปรยี บเทยี บกันได™การบันทกึ รหสั ICD-10 น้ี ถูกนํามาใชป ระโยชน ทง้ั ในดานการดูขอ มลู จํานวน โรค การสบื คนขอ มูล และการเบกิ จายเงิน ในปจจบุ ัน™มที ้งั ฉบบั ภาษาอังกฤษ ภาษาไทย และออนไลนท างอินเตอรเ นต็™หลกั การของระบบน้ีคอื เปล่ียน “ชือ่ โรค” ใหเปน “รหสั ตัวเลข”

หลกั การพนื้ ฐานของ ICD-10™หลักการของระบบนี้คอื การเปลย่ี น “ชื่อโรค” ใหเ ปน “รหสั ตัวเลขและตัวอกั ษร”™โดยรหสั พ้ืนฐานจะมี 3 หลกัƒ หลักท่ี 1 เปน รหัสตวั อกั ษร บอกหมวดหมโู รคƒ หลักท่ี 2 – 3 เปนรหัสตวั เลข บอกวา เปน โรคอะไร™ตัวอยา งƒ J45 หมายถึง โรคหอบหืด (asthma)ƒ J49 หมายถึง โรคปอดฝุนหิน (silicosis)ƒ G96 หมายถึง อาการสมองเสื่อมเน่อื งจากการไดร ับสารพิษ

การลงรหัสหลักที่ 4 จะทาํ ใหล ะเอยี ดขึ้น™หากตองการใหข อ มูลสถิติละเอียดขนึ้ อกี ทําไดด ว ยการลงรหสั หลักที่ 4™รหัสหลกั ที่ 4 นี้ จะอยหู ลงั จุดทศนิยม เปน การแบงกลุมยอ ยของโรค™รหสั หลกั ที่ 4 น้ี จะมีจําแนกไวเฉพาะในบางโรคเทาน้นั™ตัวอยา ง ƒ A15 วณั โรคทางเดินหายใจ ƒ A15.1 วณั โรคทางเดนิ หายใจท่มี ผี ลตรวจเสมหะยนื ยัน ƒ L23 ผวิ หนงั อกั เสบจากสารกอภมู ิแพ ƒ L23.4 ผิวหนงั อกั เสบจากสารกอภมู แิ พก ลุมสีสังเคราะห

รหสั โรคหลกั กับ รหัสโรครอง™ในผปู ว ย 1 รายทเี่ ขามาคร้งั หนง่ึ เราอาจลงรหสั เพอ่ื อธิบายอาการเจบ็ ปวยของ ผูป ว ยรายนั้นมากกวา 1 รหสั กไ็ ด™รหสั แรกท่ีลง เรยี กวา รหัสโรคหลัก (primary code) คือรหสั โรคหรอื ปญ หาที่ มคี วามสําคัญมากท่ีสดุ ทที่ าํ ใหผ ูปวยมาพบแพทย™รหสั ตอ ๆ มา เรียกวา รหสั โรครอง (secondary codes) คอื รหสั ของโรคหรือ ปญหาทม่ี คี วามสําคญั รองๆ ลงมา™ตัวอยาง ผูปวยมโี รคประจําตัวเปนหอบหดื และ ความดันโลหติ สงู มาพบแพทยเพราะมีอาการไอ ตรวจเสมหะพบวาเปน วัณโรคปอด ƒ รหัสโรคหลกั A15.1 ƒ รหัสโรครอง J45 และ I10

ปญ หาของการแปลผลรหสั ICD-10™ระบบการลงขอ มูลใน ICD-10 น้ัน แตละโรงพยาบาลจะใชไ มเ หมอื นกัน™โรงพยาบาลรฐั สวนใหญ ใหนกั เวชสถติ ิ (บางทีเรยี ก coder) เปน คนลงรหสั™ โรงพยาบาลเอกชน ƒ ถามรี ะบบคอมพวิ เตอรดี สว นใหญจะใหแพทยเ ปน คนลงรหัสเอง ƒ ถาไมม รี ะบบคอมพวิ เตอร สว นใหญยังใหนกั เวชสถิติเปนคนลงรหัส™ดงั นัน้ ...ปญ หาทอ่ี าจพบไดค อื ลายมอื แพทยอ านไมออก, แพทยเ ขียนวินจิ ฉัย กาํ กวม เชน ใชค ําวา possible, questionable, suspected, ruled out (R/O), differential diagnosis (DDx), most likely ซึ่งทาํ ใหตดั สินใจไมไ ดว า ตกลง วนิ จิ ฉัยเปนโรคอะไรกนั แน. ..กรณีเชนนีแ้ กดว ยการลงรหัสอาการ (R code)™(รพ. ทีใ่ หแ พทยล งรหัสเอง ปญ หามกั เกดิ นอยกวา รพ. ทใี่ ช coder)

ตัวอยางลายมือแพทย aspirated pneumonia improvedRhinosinusitisHemoglobin constant spring (homozygous)

หลักการลง ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพ™หลกั ในการลง ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพนน้ั ใชประโยชนจ ากการลง รหัสโรครอง (secondary code)™รหัสโรค Y96 และ Y97 ƒ Y96 หมายถึง Work-related conditions ƒ Y97 หมายถึง Environmental pollution related condition™หลกั การคอื ถาเปนโรคจากการประกอบอาชพี ใหล งรหสั “Y96” เปน รหสั โรค รอง และถาเปน โรคจากสิ่งแวดลอม ใหล งรหสั “Y97” เปนรหัสโรครองเสริมไป™เนอ่ื งจากระบบ ICD-10 ไมม รี หสั แยกระหวา ง occupational disease กับ work- related disease ผมเหน็ วาการลงรหัส “Y96” เสรมิ ใหล งเฉพาะในกรณีทีเ่ ปน occupational disease เพียงอยางเดียว ประเทศชาติจะไดป ระโยชนม ากกวา

ตัวอยางการลงรหัส ICD-10 โรคจากการประกอบอาชพีลมพิษ ลงรหัส L50.6ลมพษิ ในพยาบาลท่แี พถุงมือลาเทก็ ซ ลงรหัส L50.6 และ Y96ตอ กระจก ลงรหัส H26.2ตอ กระจกในชางเปาแกวจากการสมั ผสั รังสอี นิ ฟราเรด ลงรหัส H26.2 และ Y96โรคหอบหดื ลงรหัส J45โรคหอบหดื ในชางพนสรี ถยนตจ ากการสดู ดมสี ลงรหสั J45 และ Y96กลมุ อาการอุโมงคขอมือ ลงรหสั G56.0กลมุ อาการอโุ มงคขอมอื ในคนงานท่ีใชมอื ทง้ั วนั ลงรหสั G56.0 และ Y96

สรุปการลง ICD-10 โรคจากการประกอบอาชพี™โรคจากการประกอบอาชีพ มที กุ ระบบ ทงั้ ระบบหายใจ, ทางเดินอาหาร, ผิวหนงั , และอื่นๆ รายช่ือโรคจากการประกอบอาชีพ จงึ กระจายอยูทัว่ ทัง้ เลม ICD-10 ไมม ี การแยกบทออกมาเปน หมวดหมชู ดั เจน™จะมโี รคจากการประกอบอาชีพกลมุ หนงึ่ ทรี่ ูจ ักกนั มานาน มีอาการเฉพาะชัดเจน พวกน้ีจะมรี หัสของตัวเองอยูแลว เชน ปอดใยหนิ (J61) ปอดฝนุ หิน (J62) ปอด ฝนุ ฝา ย (J67.0) ปอดชานออย (J67.1) เปนตน พวกนีล้ งรหสั ตามทมี่ ไี ดเลย™แตจะมโี รคจากการประกอบอาชีพอีกกลุมหนงึ่ ทีไ่ มม คี วามจําเพาะ เปนโรคทพี่ บ ทว่ั ไปกไ็ ด เกิดจากการประกอบอาชพี กไ็ ด เราสามารถลงรหัสเพ่อื เนน ใหท ราบวา เปนโรคจากการประกอบอาชีพไดโ ดย ลงรหสั “Y96” เปนรหัสโรครอง™กรณขี องโรคจากสิ่งแวดลอม ใหลงรหสั “Y97” เปน รหสั โรครอง

ตัวอยางรหสั โรคจากคูมอื (1) – วณั โรค™ เพื่อความสะดวก หนงั สือ “คูมือการลงรหสั ICD-10 สําหรับโรคจากการประกอบอาชพี ” จงึ ได ทําการรวบรวมรายการของโรคจากการประกอบอาชีพทีพ่ บบอ ย มาไวเรียบเรียงไวในเลมเดียว ชวยใหก ารลงรหัสทําไดงา ยขนึ้ ไมตองเปด หนังสือ ICD-10 เลม เตม็ บอยๆ

ตวั อยางรหสั โรคจากคมู ือ (2) – โรคตดิ เช้อื ไวรสั

ตวั อยางรหสั โรคจากคมู อื (3) – โรคตา

ตวั อยางรหสั โรคจากคูมอื (4) – โรคผวิ หนงั

ตวั อยางรหสั โรคจากคมู อื (5) – โรคปอด

เราหวงั วา... ในอนาคต... หากทกุ โรงพยาบาลรวมมอื รว มใจกัน ลงรหสั ICD-10 โรคจากการประกอบอาชีพเพิม่ ขึ้น ประเทศชาตขิ องเราจะไดร ะบบเก็บสถติ ิโรคจากการประกอบอาชีพ เพมิ่ ขึ้นอกี ระบบหนึง่ ทําใหม ขี อมูลทจี่ ะนาํ ไปใชด แู ลผูป ระกอบอาชีพ ในประเทศของเราไดเปน อยางดี...


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook