Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore คู่มือวิสัญญีพื้นฐาน 2556

คู่มือวิสัญญีพื้นฐาน 2556

Published by arsa.260753, 2015-11-16 21:01:07

Description: คู่มือวิสัญญีพื้นฐาน 2556

Search

Read the Text Version

คูมือการเรยี นการสอนรายวิชา 576501 วสิ ัญญวี ทิ ยาพ้นื ฐาน Basic Anesthesiologyสําหรบั นิสติ แพทย ชน้ั ปที่ 5 ปการศึกษา 2556โรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชเทวี ณ ศรรี าชา

สารบัญ1. รายละเอยี ดรายวชิ า หนา 12. รายช่ือผสู อน 13. คาํ อธบิ ายรายวิชา 14. วัตถปุ ระสงค 25. กจิ กรรมการเรียนการสอน 4- กําหนดการการเรียนการสอนภาคทฤษฎี 6 8- กาํ หนดการการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ 96. การประเมินผลการเรยี น7. ส่ือการเรียนการสอน 108. รายละเอียดการประสานงาน 109. ตารางแบงกลุมวนั ฝก ปฏิบัตงิ านนสิ ติ แพทย 1110. ภาคผนวก 12- Assessment form General anesthesia- Assessment form Procedure & Technical skill & Affective and attitude

~1~ คมู อื การเรียนการสอน รายวชิ าวสิ ญั ญวี ิทยาพน้ื ฐาน (Basic Anesthesiology)------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------1. รายละเอียดรายวิชาชอ่ื วิชา : 576501 วิสัญญีวิทยาพนื้ ฐาน Basic Anesthesiologyจํานวนหนว ยกิต : 2(1-3-2)ปก ารศกึ ษา : พ.ศ. 2556สถานภาพวชิ า : หมวดวชิ าเฉพาะ / กลมุ วิชาบังคบับรุ พวชิ า : 580401 อายุรศาสตร 1 Medicine I 580402 อายรุ ศาสตร 2 Medicine II 580403 อายรุ ศาสตร 3 Medicine III 590400 ศลั ยศาสตรทฤษฎี 1 Theoretical Surgery I 590401 ศัลยศาสตรป ฏบิ ัตกิ าร 1 Practical Surgery I 590410 ศัลยศาสตรห ัตถการ 1 Operative Surgery Iผเู รียน : นิสิตหลักสูตรแพทยศาสตรบณั ฑิต มหาวทิ ยาลัยบูรพา ช้นั ปที่ 52. รายนามผูสอน1. นายแพทยอ ดลุ ย ปริยัติดลุ ภาค (ประธานรายวิชา) โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา2. นายแพทยการณุ ย เตชะพเิ ชฐวนชิ โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา3. แพทยห ญิงอรศริ ิ สามญั ตระกูล โรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชเทวี ณ ศรรี าชา4. นายแพทยกฤตนิ กิตติกรชัยชาญ มหาวิทยาลยั บูรพา5. นายแพทยวมิ านะ ภักดีธนากลุ มหาวทิ ยาลยั บูรพา6. นายแพทยเมษยน เผื่อนปฐม โรงพยาบาลสมติ ิเวช ศรีราชา7. นายแพทยฤ ทธิชยั พทุ ธประสิทธ์ิ โรงพยาบาลพญาไท ศรรี าชา3. คําอธิบายรายวชิ าหลกั การวิสัญญวี ทิ ยา ยาท่ีใช การเลือกเทคนิคในการระงบั ความรูส กึ เครอื่ งมือใหย าสลบ ฝกทักษะการประเมนิ และเตรียมผูปว ยกอ นระงับความรสู ึก การดูแลผูปวยกอ น ระหวางและหลังผาตัด ยาชาเฉพาะท่ีการใชยาชาเขา ชองไขสันหลงั การใสทอ ชวยหายใจ การใหสารนํา้ และเลอื ด การดูแลผูป วยท่ีไดยาระงับประสาทและระงับปวด ปญหาทางกฎหมาย จริยธรรมเกย่ี วกับวิสัญญีวิทยา

~2~4. วัตถุประสงค1. ประเมนิ เตรยี ม และดแู ลผปู ว ยกอนผา ตดั ระหวา งผา ตัด และหลังผา ตัดไดอ ยา งถูกตอง2. เลือกวธิ กี ารใหยาระงับความรูสกึ และเฝา ระวงั ไดอยางเหมาะสม3. ใหการวนิ ิจฉัย ปองกันและรักษาภาวะแทรกซอน ทางวสิ ญั ญที ี่พบบอ ยหรือคุกคามตอชวี ิต4. ทาํ หตั ถการพื้นฐานทีจ่ าํ เปน ไดแก4.1 ดแู ลทางเดนิ หายใจ (เปด ทางเดินหายใจ ชวยหายใจดวยหนา กาก ใสท อหายใจ)4.2 เฝาระวงั แบบ Non-invasive monitoring4.3 ใหสารนาํ้ เลือด และผลิตภัณฑของเลือดไดอยางถูกตอง5. เปนผูม ีความรบั ผิดชอบตองานท่ไี ดร บั มอบหมาย ตรงตอเวลา มคี วามซือ่ สตั ย คุณธรรม และจรยิ ธรรม6. มีมนษุ ยสมั พันธท ่ีดีตอผูป ว ย ญาติ และผูร วมงาน7. เมอื่ สน้ิ สดุ การเรยี นการสอนแลว นิสิตสามารถ7.1. อธิบายความหมาย ความสําคญั แนวคิดและหลักการทางวิสญั ญีวทิ ยาไดอ ยางถูกตอ ง7.2. อธิบายคุณสมบัติทางเภสชั วทิ ยา ขอ บงใช ขอ หา ม และวิธกี ารบริหารยาทใี่ ชในวสิ ญั ญไี ดอยา งถูกตอง7.3. อธบิ ายคุณสมบัติทางเภสัชวทิ ยา ขอ บง ใช วธิ กี ารบรหิ ารยาชาเฉพาะที่ ไดอยา งถูกตอง7.4. อธิบายหลักการเลอื กเทคนคิ ในการระงับความรสู กึ ไดอยางถกู ตอง7.5. อธิบายหลักการ วิธกี ารใชเครื่องมือใหยาสลบ และเครอ่ื งมอื เฝา ระวงั ผปู วยในระหวางผา ตดัไดอยา งถกู ตอง7.6. อธิบายหลักการใหส ารนํ้าและเลือด ในระหวา งผา ตัดไดอ ยางถูกตอง7.7. อธิบายหลักการดูแลผปู ว ยทไี่ ดย าระงับประสาทและระงบั ปวดไดอยา งถกู ตอ งอยา งเปนองคร วม7.8. อธบิ ายวธิ กี ารเปด ทางเดนิ หายใจ การใสท อ ชว ยหายใจ การชว ยหายใจระหวา งผาตัดไดอ ยางถูกตอ ง7.9. อธิบายวิธีการใหย าชาเขา ชองไขสันหลังไดอ ยางถูกตอ ง7.10. ประเมินและเตรียมผปู ว ยอยางเปน องคร วมกอ นระงับความรสู ึกไดอยางถกู ตอ งและเหมาะสม7.11. อธบิ ายหลักการดแู ลผปู วยอยางเปน องครวมระหวา งและหลงั ผาตดั และสามารถปฏิบัติไดอยางถกู ตอง7.12. บอกขอบง ชี้ ขอ หา ม ข้ันตอนวิธกี ารทํา เงือ่ นไขแหงความสําเร็จ บอกภาวะแทรกซอ นทอี่ าจจะเกิดขน้ึ ปจจยั เสี่ยงตอ ภาวะแทรกซอ น แนวทางปองกนั ภาวะแทรกซอ น และสามารถทาํ ไดดว ยตนเอง (เกณฑม าตรฐานฯ ขอ 3.5.1) - endotracheal intubation - การใหส ารน้ําทางหลอดเลอื ดดาํ - การใหเ ลอื ด - การชวยฟน คืนชพี

~3~7.13. บอกขอบงชี้ ขอ หาม ขั้นตอนวธิ ีการทาํ เงื่อนไขแหงความสําเร็จ บอกภาวะแทรกซอนทอ่ี าจจะ เกดิ ขนึ้ ปจ จยั เส่ยี งตอ ภาวะแทรกซอ น แนวทางปองกันภาวะแทรกซอน และสามารถปฏิบตั ิตอ ผปู ว ยอยา งเปน องคร วมภายใตก ารแนะนาํ ไดถ กู ตอง (เกณฑมาตรฐานฯ ขอ 3.5.2) - basic mechanical ventilation7.14. บอกขอบงช้ี ขอหา ม ข้ันตอนวธิ กี ารทํา เงือ่ นไขแหงความสําเร็จ บอกภาวะแทรกซอนท่อี าจจะเกิดขน้ึ ปจจัยเสีย่ งตอภาวะแทรกซอ น แนวทางปองกันภาวะแทรกซอ น ตอ งเคยเหน็ เคยชว ย (เกณฑม าตรฐาน ฯ ขอ 3.5.3) - general anesthesia of uncomplicated patient for simple surgery7.15. บอกขอ บงชี้ ขอหาม ขั้นตอนวิธกี ารทํา เงอ่ื นไขแหงความสาํ เร็จ บอกภาวะแทรกซอ นทอี่ าจจะ เกิดขน้ึ ปจ จัยเสีย่ งตอ ภาวะแทรกซอน แนวทางปองกนั ภาวะแทรกซอ น สามารถใหค ําแนะนํา ปรึกษาแกผ ูปว ยไดถ ูกตอง (เกณฑม าตรฐานฯ ขอ 3.5.4) - spinal anesthesia7.16. อธบิ ายภาวะแทรกซอ นทเ่ี กิดจากการระงับความรสู กึ กลไกลการเกิด ปจจัยเสีย่ ง หลกั การวินจิ ฉยั หลักการปอ งกัน การดาํ เนนิ โรค การดูแลรักษา และการพยากรณโ รคไดอยา งถูกตอ ง7.17. อธบิ ายปญหาทางจรยิ ธรรม และกฎหมายที่เก่ียวขอ งกับเวชปฏบิ ัติทางวิสญั ญวี ิทยาไดอยางเหมาะสม7.18. บนั ทึกเวชระเบยี นผปู วยไดถูกตองและครบถวนตามประกาศของแพทยสภาภายในระยะเวลาทก่ี ําหนด และถูกตอ งตามหลกั ภาษา ตดิ ตามผลการรักษาและบนั ทกึ ความกา วหนา การเปล่ยี นแปลงของผูปวย อยางเปน องครวม7.19. เขยี นรายงาน วิจารณ การวินจิ ฉยั การดูแลรักษาไดเหมาะสม ถกู ตอ งตามหลกั วิชา และถูกตอ งตาม หลักภาษาภายในเวลาทีก่ ําหนด7.20. สอ่ื สารกบั ผูป วยและญาตไิ ดอ ยางสุภาพและเหมาะสม โดยคาํ นงึ ถงึ ความแตกตา งในขนบธรรมเนยี ม ประเพณแี ละวฒั นธรรม7.21. มีมารยาทและปฏิบัตติ ามสทิ ธผิ ปู วยในการซกั ประวัติ ตรวจรางกาย และตรวจเพิ่มเติมอ่ืน ๆ ได อยางเหมาะสมตามขนบธรรมเนียมประเพณแี ละวัฒนธรรม7.22. ตระหนกั ถึงความตามสําคัญของคาํ ยินยอมของผูปวย ผปู กครองตามกฎหมายและผอู นุบาล ในการ ซกั ประวัติ ตรวจรางกาย การตรวจเพม่ิ เติม การรกั ษา การขอขอมูลจากแหลง อน่ื เพื่อใหผปู วย และผปู กครองรใู นสิทธิผูป ว ยไดอ ยางถกู ตอง7.23. มมี นษุ ยสมั พันธก บั ผปู ว ย ญาติผูปว ย อาจารย แพทยร ุน พี่ พยาบาล ผรู วมงาน ฯลฯ ไดอยา ง เหมาะสมตามวฒั นธรรมไทย7.24. ปฏบิ ตั ไิ ดถ กู ตองตามจริยธรรมวิชาชีพเวชกรรม7.25. มีนสิ ัยใฝรู และสามารถคน ควาหาขอมลู ใหทันความกา วหนา ทางวชิ าการจากแหลง ขอมลู ตา ง ๆ โดยสามารถใชเ ทคโนโลยสี ารสนเทศไดอยา งมปี ระสทิ ธิภาพ

~4~ และ หอผปู ว ย5. กิจกรรมการเรยี นการสอน สถานที่ - บรรยาย หองเรยี นที่ 3 อาคารอนุสรณ 100 ป ช้ัน 4 - ฝก ปฏบิ ัตงิ านฝา ยวิสญั ญวี ทิ ยา ณ หอ งผาตดั ตึกมหิดลอดุลยเดช ชัน้ 2กจิ กรรมการเรียนการสอน1. ภาคทฤษฏี : บรรยาย 15 หวั ขอ ดงั น้ี 1. Introduction to Anesthesia 2. Monitoring 3. Anesthetic machine 4. การประเมนิ และเตรียมผปู วยกอ นระงบั ความรูสึก 5. Airway management 6. Opioids and Local Anesthetics 7. Gaseous and volatile anesthetic agents & Intravenous anesthetic agents, Muscle relaxant 8. Regional Anesthesia 9. การดูแลผูปว ยระหวางผา ตดั 10. การดแู ลผปู ว ยทีไ่ ดรบั ยาระงับประสาทและระงับปวด 11. Choices of Anesthesia 12. Complications of Anesthesia 13. การใหสารนํา้ และเลือดระหวางผา ตดั 14. การดูแลผปู ว ยหลงั ผา ตัด 15. ปญ หาทางจริยธรรม และกฎหมายทีเ่ กีย่ วขอ งกบั เวชปฏิบตั ิทางวสิ ญั ญวี ิทยา2. ภาคปฏบิ ตั ิ2.1 ปฏิบตั งิ านในหองผาตัด นิสติ แตล ะกลมุ จะถกู แบงเปนกลุมยอ ย หมนุ เวียนปฏบิ ตั ิงานกบั อาจารยประจาํ กลมุ 3 ทา น ซึ่งประจาํ อยหู อ งผาตัด 2.2 เขยี นรายงานการใหการระงับความรูส กึ แบบทว่ั รางกาย (General Anesthesia) 1 ฉบับ สงใหอาจารยตรวจกอ นวันสอบปฏบิ ตั ิ 2.3 หัวขอการปฏบิ ัตทิ ีก่ ําหนดใหนิสติ ตอ งปฏบิ ตั ิมี minimal requirement ดงั น้ี 2.3.1 การฝกปฏิบัติกับหุนจําลอง อยางนอยหวั ขอ ละ 2 ครง้ั - การฝก ใส ET-tube - การฝก ทํา Spinal Block - การฝกทาํ Mask ventilation

~5~2.3.2 การปฏบิ ัตกิ บั ผูป ว ยจรงิ อยางนอยหัวขอละ 1 ครง้ั- การใส ET-tube - การทํา Mask ventilation2.3.3 การเรียนรูอปุ กรณทางวสิ ัญญี* นสิ ติ ตองบนั ทกึ การทาํ หัตถการลงในใบ Assessment form: Procedure & Technical skill & Affective and attitude และ สง ใหอาจารยกอนวนั สอบปฏิบตั เิ พ่อื ประเมินการ ปฏิบตั ิงาน โดยอาจารยจะนาํ ใบสง คืนศนู ยแพทยศาสตรศกึ ษาชน้ั คลินกิ เพือ่ รวบรวม ผลคะแนนตอ ไป3. การฝก ทกั ษะทางคลินกิ อื่น ๆ ไดแก การสือ่ สารกับผปู วย ผรู วมงาน การบันทกึ ขอมูลในเวชระเบยี น4. การศกึ ษาความรดู ว ยตนเอง

~6~ กําหนดการการเรียนการสอนภาคทฤษฎี รายวิชาวสิ ัญญีวิทยาพ้ืนฐาน ณ หอ งเรยี นที่ 3 ชั้น 4 อาคารอนสุ รณ 100 ปลาํ ดบั เวลา หวั ขอ อาจารย สังกัดวันจนั ทรท ี่ 11 พฤศจกิ ายน 25561 08.00 – 09.00 น. Introduction to Anesthesia นพ.เมษยน เผอื่ นปฐม รพ.สมิติเวช ศรรี าชา2 09.00 – 10.00 น. Anesthetic machine นพ.การุณย เตชะพิเชฐวนชิ รพ.สมเดจ็ ฯ ณ ศรีราชา3 14.30 – 16.30 น. การประเมนิ และเตรยี มผปู ว ยกอนระงับ พญ.อรศริ ิ สามัญตระกูล รพ.สมเดจ็ ฯ ณ ศรีราชา ความรูส ึก4 16.30 – 17.30 น. พาเขา OR ดูระบบ Gas นพ.การณุ ย เตชะพิเชฐวนชิ รพ.สมเดจ็ ฯ ณ ศรรี าชาวนั องั คารที่ 12 พฤศจิกายน 25561 08.00 – 10.00 น. Gaseous and volatile anesthetic agents, พญ.อรศริ ิ สามัญตระกูล รพ.สมเด็จฯ ณ ศรีราชา Intravenous anesthetic agents, Muscle relaxant2 14.30 – 15.30 น. Regional Anesthesia นพ. ฤทธิชยั พทุ ธประสิทธ์ิ รพ.พญาไท ศรีราชา3 15.30 – 16.30 น. Opioids and Local Anesthetics นพ.วมิ านะ ภักดธี นากลุ มหาวิทยาลัยบูรพา4 16.30 – 17.30 น. Airway Management นพ.วิมานะ ภักดธี นากลุ มหาวทิ ยาลยั บูรพาวันพุธท่ี 13 พฤศจกิ ายน 25561 08.00 – 09.00 น. Choices of Anesthesia นพ.อดลุ ย ปรยิ ัตดิ ลุ ภาค รพ.สมเด็จฯ ณ ศรรี าชา2 16.00 – 17.00 น. Monitoring นพ.กฤติน กิตตกิ รชัยชาญ มหาวิทยาลยั บูรพาวันพฤหสั บดที ่ี 14 พฤศจิกายน 25561 08.00 – 09.00 น. การดแู ลผูปวยระหวางผาตดั นพ.การุณย เตชะพิเชฐวนชิ รพ.สมเด็จฯ ณ ศรรี าชา2 14.30 – 15.30 น. การใหส ารน้าํ และเลือดระหวา งผาตดั นพ.กฤตนิ กิตตกิ รชยั ชาญ มหาวิทยาลัยบูรพา3 15.30 – 16.30 น. การดูแลผปู วยหลังผา ตัด นพ.กฤติน กติ ติกรชยั ชาญ มหาวิทยาลัยบรู พา

~7~ลาํ ดับ เวลา หัวขอ อาจารย สงั กดัวนั ศุกรท่ี 15 พฤศจกิ ายน 25561 08.00 – 09.00 น. Complications of Anesthesia นพ.อดลุ ย ปรยิ ัตดิ ลุ ภาค รพ.สมเด็จฯ ณ ศรีราชา2 14.30 – 15.30 น. การดูแลผูปวยท่ีไดรับยาระงับประสาทและ นพ.การณุ ย เตชะพิเชฐวนชิ รพ.สมเด็จฯ ณ ศรรี าชา ระงับปวด3 15.30 – 16.30 น. ปญหาทางจรยิ ธรรมและกฎหมายทีเ่ กี่ยวของ นพ.อดุลย ปริยตั ิดุลภาค รพ.สมเด็จฯ ณ ศรีราชา กับเวชปฏบิ ตั ิทางวิสญั ญวี ทิ ยา

~8~ กําหนดการการเรยี นการสอนภาคปฏิบตั ิ รายวชิ าวสิ ญั ญีวทิ ยาพื้นฐานวัน 08.00-09.00 09.00-10.00 10.00-11.00 11.00-12.00 13.00-14.00 14.00-15.00 15.00-16.00 Introduction to ฝกทาํ หตั ถการทางวิสญั ญกี บั หุน จาํ ลอง ดูแลผปู วยในหอ งผาตัด Preanestheticจันทร anesthetic working - Airway Management evaluation* - Spinal anesthesia (*หอผูปวย) คณาจารย กลมุ 1 อ.อดลุ ย / อ.อรศิริ กลุม 2 อ.การณุ ย อังคาร ดแู ลผปู ว ยในหองผาตดั Case discussion พธุพฤหัสบดี กลุม 1 อ.การณุ ย / อ.อรศิริ กลมุ 2 อ.อดลุ ย ศุกร 1. ดูแลผปู วยในหองผาตดั Topic: 2. ฝก ทําหัตถการทางวสิ ัญญี Anesthetic equipments (Endotracheal intubation, Spinal anesthesia, Mask ventilation, Intravenous cannulation) กลมุ 1 อ.อดุลย / อ.การณุ ย กลมุ 2 อ.อรศิริ 1. ดแู ลผปู วยในหอ งผา ตัด 2. ฝกทาํ หัตถการทางวิสัญญี (Endotracheal intubation, Spinal anesthesia, Mask ventilation, Intravenous cannulation หรอื Anesthetic equipments) กลมุ 1 อ.อรศิริ / อ.อดุลย กลมุ 2 อ.การณุ ย สอบปฏบิ ัติ ประเมินผลการเรียนการสอน คณาจารย

~9~6. การประเมินผลการเรยี น :- นํ้าหนกั การประเมิน1. สอบทฤษฏี 40 %2. สอบปฏบิ ตั ิ 20 %3. การเขยี นรายงาน 20 %4. Technical skill 10 %5. Affective and attitude 10 %- วธิ ีการ : อิงกลุม สําหรับการสอบทฤษฏี องิ เกณฑสําหรับการเขียนรายงานและการปฏิบตั งิ าน- ดชั นี :1. ปฏบิ ตั ิตามวัตถปุ ระสงคข องรายวิชาวสิ ัญญีวทิ ยาพื้นฐาน2. ปฏบิ ตั ติ ามเกณฑสําหรับนิสิตในการปฏบิ ัตงิ านท่ฝี า ยวสิ ญั ญีวทิ ยา ดังน้ี 2.1. ปฏิบัติงานในเวลาราชการ ตามทีก่ าํ หนด 2.2. ตอ งมาเรยี นไมตํ่ารอยละ 80 ของเวลาทงั้ หมด 2.3. รบั ผดิ ชอบในหนา ทท่ี ไ่ี ดร บั มอบหมายอยางเครง ครัด 2.4. ปฏบิ ตั งิ านตามแผนการเรียนการสอนที่กาํ หนด 2.5. แตงกายสภุ าพเรยี บรอ ย 2.6. มีสมั มาคาราวะ มนุษยสัมพนั ธด ี และตรงตอ เวลา3. ปฏิบตั ติ ามระเบียบโรงพยาบาลสมเดจ็ พระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา3.1 วาดวยการเขาเรียน การปฏบิ ัติงานในหอผูปวย และการสงงานที่ไดรับมอบหมาย และความรับผิดชอบตอ งาน ทไ่ี ดรบั ผิดชอบตอ งานท่ีไดร ับมอบหมาย ของนสิ ติ แพทย3.2 วา ดวยการลาปวยและการลากิจของนิสิตแพทย3.3 วาดวยเครือ่ งแบบและการแตงกายของนสิ ติ แพทย3.4 วา ดวยมารยาทสําหรบั นสิ ิตแพทย4. ปฏบิ ัติตามขอ บงั คบั มหาวทิ ยาลัยบรู พา วา ดวยวนิ ัยนสิ ติ พ.ศ. 2552 โดยอาศัยประกาศ มหาวทิ ยาลยั บูรพา เร่ือง เกณฑม าตรฐานการตดั คะแนนความประพฤตนิ ิสติ เพือ่ อนวุ ตั ติ ามขอ 9 และขอ 15หมายเหตุ : การไมปฏิบตั ติ ามขอ บงั คบั ของมหาวทิ ยาลัยบรู พา หรอื ระเบยี บโรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณศรีราชา ดงั กลาว หากประธานรายวชิ า เห็นวา เปนการฝา ฝนระเบยี บที่รา ยแรง ประธานรายวชิ าจะเปนผูนาํ เสนอกรณีดังกลา วตอคณะกรรมการวนิ ัยนสิ ิตหรือคณะกรรมการบรหิ ารรายวชิ าชั้นคลินิก เพอ่ื พจิ ารณาตดั สินการผานเกณฑดา นเจตคติ

~ 10 ~- การตัดสนิ ผล : เกณฑผา นเปน ไปตามขอบังคับของมหาวิทยาลยั /คณะ และรายวิชา และตองผานเกณฑดา นเจตคติ7. ส่ือการเรยี นการสอน1. ผปู ว ยและญาติ2. เอกสารประกอบการบรรยาย3. อปุ กรณทางการแพทย 3.1 หุน ฝกเจาะไขสนั หลงั 3.2 หัวหนุ ฝก ใสท อชว ยหายใจแบบผูใ หญ 3.3 หนุ ฝก ใสทอชว ยหายใจสําหรบั ผใู หญพ รอ มปอดเทยี มและชุดคอมพิวเตอร4. เอกสารอา งองิ4.1 ปวณี า บุญบรู พงศ, อรนุช เกี่ยวของ, เทวารักษ วีระวัฒนากานนท. บรรณาธกิ าร. วิสญั ญีวทิ ยาขัน้ ตน สาํ นักพมิ พ : โรงพิมพแ หงจฬุ าลงกรณม หาวทิ ยาลยั ; 2550 4.2 Barash, P.G., B.F. Cullen, et al. (2010). Clinical anesthesia. Philadelphia, Lippincott Williams & Wilkins. 4.3 Miller R.D. (2009). Miller’s anesthesia. Philadelphia, Pa., Elsevill livingstone. 4.4 Morgan G.E., M.S. Mikhail, et al.(2008). Clinical anesthesiology. New York, Lange Medical Books/McGraw Hill Medical Pub. Division.8. รายละเอียดการประสานงานประธานรายวิชา : นายแพทยอดุลย ปริยัตดิ ลุ ภาคนักวิชาการศึกษา : มาณวกิ า พนั ธุแนน Email : [email protected]เจา หนาทีธ่ รุ การ : ชนสิ รา สขุ ผดุง Email : [email protected]การติดตอ : Email (ศูนยแ พทย) : [email protected] โทรศัพท/ โทรสาร 038-320-200 ตอ 3618

~ 11 ~ ตารางแบงกลุมและวันฝก ปฏิบัตงิ านนิสิตแพทย 1 นายศมาพล ดวงคํา 1 นายพรี พล ทรายสุวรรณ 1.1 2 นางสาวศศิภากร จติ รสําเรงิ 4.1 2 นางสาวภัควิภา แกวสถติ พรชยักลมุ จ. 18 - ศ. 22 พย. 56 3 นายศรณั ย เปร่ืองประยูร กลมุ จ. 6 - ศ. 10 มค. 57 3 นายธนานนท เรอื งจรญู 1 4 นางสาวอษุ า ชัยวตั รสกุล 4 4 นางสาวทเลทิพย จุฬพันธท อง 1.2 5 นายจริ ฉัตร ตงั้ เจรญิ สมุทร 4.2 5 นายชานนทร โตคีรี 6 นางสาวกนกรัตน ขจรไชยกุล 6 นางสาวธนาพร เก้ือกาญจนาภรณ 1 นางสาวศริ ิพร จนิ ตสถาพร 1 นางสาวแสงดาว บุญกะยะกลมุ 2.1 2 นางสาวนาถลดา ปฐมวพี สิ ทุ ธ์ิ กลุม 5.1 2 นายอภิชาติ เหมะ 2 ศรเกิด 5 5.2 3 นางสาวรจุ รวี จันทรคาํ อาย จ. 16 - ศ. 20 ธค. 56 3 นายนที เทพศาสตรา จ. 13 - ศ. 17 มค. 57 4 นายชนพพล อนรุ พันธ ลลิ ติ สวุ รรณ 5 นางสาววราลี อมรินทโรวาท 2.2 4 นายธนสฤษดิ์ 5 นายณัฐพชั ร 3.1 1 นายอภิวัฒน ดดี ํารงค 6.1 1 นายชุมพล สันติศริ ิพัฒน 2 นางสาวพมิ พกมล ละออง 2 นางสาวสุชารยี  หริ ญั ศรีกลมุ ชวนศรไี พบูลย กลุม พูลประสาท 3 จ. 23 – ศ. 27 ธค. 56 3 นายตะวัน ธนสทิ ธิบรู ณ 6 จ. 3 - ศ. 7 กพ. 57 3 นายบณุ สิน บัวสวัสดิ์ 3.2 4 นางสาวโสภติ นภา 6.2 4 นางสาวปองกานต 5 นายธรี ธชั สคุ นพาทพิ ย 5 นายนนั ทณัฐ นาคแนวดี

~ 12 ~ แบบฟอรมการใหคะแนนรายงาน General anesthesia รายวชิ าวิสัญญวี ิทยาพืน้ ฐานชอ่ื -สกุลนิสิตแพทย : .................................................................................................................... นิสติ แพทยชนั้ ปท่ี : 5 เลขท่ี : .................................................หัวขอ หลัก หัวขอ ยอย 4คะแนน 32 1 1.1 การซกั ประวัติ ท่ไี ด ซกั ประวัตสิ าํ คัญไดค รบถวน ซักประวตั สิ ําคญั ไดเพียงพอ ขาดประวตั สิ าํ คญั ซกั ประวตั สิ าํ คัญไดครบถว น แตไมก ระชับหรอื ไมมเปน ระบบ แตไมครบถว น และกระชับเปน ระบบ ตรวจรา งกายไดถ ูกตอ ง ครบถวน ตรวจรา งกายไดถ ูกตอ ง กระบวนการตรวจ แตย ังไมค ลองแคลว แตยงั ไมครบถว น รา งการไมถ ูกตอ ง 1.2 การตวจรา งกาย ตรวจรา งกายไดถ ูกตอง ตรงประเดน็ และครบถวนดี สรปุ ปญหา ตรงประเดน็ และครบถวนพอใช ตรงประเดน็ เปนสวนนอ ย ไมสามารถ ครบถว น คลอ งแคลว ดนู าเชือ่ ถือ ผปู วยไดครบถวน และ Dx ไดถ กู ตอ ง สรุปปญหาผปู ว ยไดไมค รบถวน สรปุ ปญหาผปู วยได หรอื ไม สามารถ1. Preanesthetic evaluation ตรงประเดน็ และครบถว นดเี ยยี่ ม สรปุ ปญ หา DDxยงั ไมเ หมาะสม หรือ Dx กลมุ โรคได Dx กลมุ โรคได X ไมมีถูกตอง ไมประเมนิ ASA 1.3 การสรุปปญหาการเจบ็ ปวย ผูป ว ยไดค รบถว น และ Dx & DDx ไดถ กู ตอง ครบถว นและมมเี หตุผลดี ครบถว นและมเี หตุผลพอใช ไมครบถว นและมีเหตุผลนอ ย มีทางเลือกครบถวนและมเี หตุผลดี มีทางเลอื กและมเี หตผุ ลพอใช มีทางเลอื กแตม เี หตพุ อใช เหมาะสม ครบถวนและมมีเหตุผลดี สง ตรวจได ไมครบถวนและมเี หตผุ ลพอใช ไมครบถว นและมเี หตุผลนอย เลือกสง ถูกตอ ง ครบถว น แตเกินความจาํ เปน สง ตรวตไดถกู ตอ ง แตไ มค รบถวน 1.4 การประเมิน ASA ถูกตอง และ แปลผลไดถ ูกตอง หรือ แปล ผลผดิ ผลาดเล็กนอ ย ตรวจไมถ กู ตอง หรอื แปลผลไมถ กู ตอง X ไมถูกตอง 2.1 การใหขอ มูลผูปวย ครบถวนและมีเหตุผลดีเย่ยี ม เหมาะสมดี เหมาะสมพอใช ไมม ที ํา เหมาะสมดี อธบิ ายเหตผุ ลการใช และ/หรอื เหมาะสมนอย 2.2 การเลอื ก choice of anesthesia มที างเลอื กครบถวนและมีเหตุผลดเี ยย่ี ม ขนาดยา ครบถวนสวนใด สวนหน่งึ เหมาะสมพอใช เหมาะสมดี เหมาะสมนอ ย2. Preanesthetic preparation 2.3 การสงตรวจทางหองปฏบิ ัติการ ครบถว นและมเี หตุผลดเี ยีย่ ม สง ไดถ กู ตอ ง เหมาะสมดี เหมาะสมพอใช ครบถวน ไมมม ากเกนิ ความจําเปน และ เหมาะสมดี เหมาะสมพอใช เหมาะสมนอ ย เหมาะสมดี เหมาะสมพอใช เหมาะสมนอย แปลผลไดถูกตอง X เหมาะสมพอใช เหมาะสมนอ ย เหมาะสมดี คํานวณแตไมถูกตอ ง เหมาะสมนอ ย 2.4 การงดอาหารและน้ํา ถูกตอ ง เหมาะสมดี เหมาะสมพอใช ไมคาํ นวณสารน้าํ เหมาะสมดี เหมาะสมพอใช เหมาะสมนอ ย 3.1 การเตรียมอุปกรณ เหมาะสมดีเยยี่ ม เหมาะสมดี เหมาะสมพอใช เหมาะสมนอ ย X เหมาะสมพอใช เหมาะสมนอย 3.2 อธิบายเหตุผลการใชและขนาดยา เหมาะสมดเี ยย่ี ม อธิบายเหตผุ ลและ เหมาะสมดี X เหมาะสมนอย ขนาดยาใหค รบถว น เหมาะสมพอใช X รวมคะแนน เหมาะสมนอย 3.3 อธบิ ายขัน้ ตอนการทาํ GA เหมาะสมดีเย่ยี ม3. Introperative management 3.4 การเฝา ระวงั เหมาะสมดีเย่ียม 3.5 การคาดการณภ าวะแทรกซอนท่ีอาจเกิด เหมาะสมดีเยีย่ ม 3.6 การประเมินกอน Extubation เหมาะสมดีเย่ยี ม 3.7 การใหส ารน้ํา คํานวณถูกตอ ง 3.8 การดแู ลขณะนําผปู ว ยออกจากหอ งผา ตัด เหมาะสมดเี ยี่ยม 4.1 การเฝา ระวังภายหลงั การผา ตดั เหมาะสมดีเย่ยี ม 4.2 การดูแล ปอ งกนั ภาวะแทรกซอน เหมาะสมดีเย่ียม4. Postopative care 4.3 Postopative pain control เหมาะสมดเี ยี่ยม 4.4 PAR score มี 4.5 การประเมนิ และดูแลที่หอผูปวย เหมาะสมดเี ยย่ี ม อาจารยผูประเมนิ : ......................................................... (ตัวบรรจง) วนั ทปี่ ระเมิน : ......../......../........

~ 13 ~ Assessment form: Procedure & Technical skill & Affective and attitude รายวชิ า 576501 วสิ ัญญีวทิ ยาพน้ื ฐาน Basic Anesthesiology นสิ ิตแพทย . . วนั ทฝ่ี กปฏบิ ัติงาน . . สาํ หรบั เจา หนาที่ กลุมท่ี . . นิสติ แพทยช ั้นปท ี่ 5 . ปการศึกษา 2556 . P TA SUI. หัวขอการปฏิบัติ หัวขอ 1 2 3 วนั ท่ี1. การฝกใส ET-tube กับหนุ จําลอง ลายเซน็ อาจารย วนั ท่ี ลายเซน็ อาจารย วันที่ ลายเซน็ อาจารย2. การใส ET-tube กบั ผูปว ยจริง * *3. การฝก ทาํ Spinal Block กบั หนุ จําลอง *4. การทาํ Spinal Block กบั ผปู ว ยจรงิ * *5. การฝก ทาํ Mask ventilation กับหนุ จําลอง6. การทํา Mask ventilation กับผูป วยจรงิ * *7. การเรียนรอู ุปกรณทางวสิ ญั ญี * *หมายเหตุ: * หมายถงึ Minimal requirementII. การประเมินการปฏบิ ตั ิ ดีมาก ดี พอใช ไมผ า น หวั ขอ การประเมนิ การปฏบิ ตั งิ าน 2 1.5 1 0 2 1.5 1 0 Technical skills (10%) 2 1.5 1 0 1. การฝก ใส ET-tube กบั หนุ จาํ ลอง 2 1.5 1 0 2. การใส ET-tube กับผูป วยจรงิ 2 1.5 1 0 3. การฝกทาํ Spinal Block กับหุนจาํ ลอง 4. การฝกทาํ Mask ventilation กบั หุนจาํ ลอง 2.5 2 10 5. การทาํ Mask ventilation กับผปู ว ยจริง Affective and attitude (10%) 2.5 2 10 1. ความรับผิดชอบ 2. ความใฝรู 2.5 2 10 3. ความประพฤติ 4. มนษุ ยสมั พันธ 2.5 2 10 รวม (20%)อาจารยผ ูป ระเมิน............................................... / วนั ที่ ........................บันทกึ อื่นๆ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… * กรุณาสง คืนศูนยแพทยศาสตรศึกษาชนั้ คลนิ กิ ภายในวันจนั ทรถ ดั ไปนับจากวันสดุ ทา ยของการปฏิบัติงานของนิสติ รายวิชาวสิ ัญญวี ิทยาพนื้ ฐาน

~ 14 ~ รายละเอยี ดการประเมินการปฏบิ ัตงิ านการประเมนิ Affective and attitude1. ความรบั ผดิ ชอบ หมายถึง ความรับผดิ ชอบตอหนาท่ีทไี่ ดรบั มอบหมาย ปฏิบัตติ นลุลว งตามเวลาทกี่ าํ หนด0 = ไมผ าน ไมปฏิบัติงานทไี่ ดรับมอบหมาย หรอื ทาํ ไดไ มค รบถวนนอ ยกวา รอยละ 50 เชน การไมไป Preop และ postop round มาสายมากกวา 2 ครง้ั โดยไมมเี หตอุ ันสมควร ขาดเรยี นโดยไมแจง1 = ผาน ปฏิบตั งิ านท่ไี ดร ับมอบหมายครบถว นไมน อ ยกวา รอยละ 50-74 เชน การไป preop และ postop round เฉพาะในรายท่ีไดรับมอบหมาย การมาหอ งผาตดั ตรงเวลา ไมขาดเรยี น2 = ดี ปฏบิ ตั ิงานที่ไดรบั มอบหมายครบถว นมากกวา 75 เชน การไป preop และ postop round ตรงตอ เวลาทุกวัน ไมขาดเรียน ชวยเหลือเตรยี มยาและอปุ กรณกอ นปฏบิ ตั ิงาน3 = ดีมาก ปฏิบัติงานที่ไดร บั มอบหมายครบถว นมากกวา 75 เชน การไป preop และ postop round ตรงตอเวลาทุกวนั ไมข าดเรยี น ชว ยเหลอื เตรียมยาและอปุ กรณกอ นปฏิบตั ิงาน ผลการ ปฏิบัตงิ านมคี ณุ ภาพดีมาก2. ความใฝร ู หมายถงึ มีความสนใจและมสี วนรวมในการเรยี นอยา งสมํ่าเสมอ สามารถหาความรูไดด วยตนเอง0 = ไมผ า น ไมมกี ารพฒั นาความรเู พ่มิ เติมจากความรเู ดมิ ไมสนใจหาความรูเ พ่มิ เติม ไมทบทวน ไมใสใ จส่งิ ท่ีไดเ รยี นรไู ปแลว มีสวนรว มในการเรียนนอ ย1 = ผาน มีความสนใจใฝรใู นเน้ือหาวชิ าดปี านกลาง หาความรเู พม่ิ เตมิ ดว ยตนเองตามท่ีไดรบั มอบหมาย มีสว นรวมในการตอบคําถาม2 = ดี มีความสนใจใฝรูเ นอื้ หาวิชาดี หาความรเู พ่ิมเติมดว ยตนเองนอกเหนอื จากท่ีไดรับมอบหมาย มีสว นรวมในการเรยี น ซักถามตอบคําถามแสดงถงึ การศกึ ษาหาความรเู พมิ่ เติมเอง3 = ดมี าก มีความสนใจใฝร ใู นเน้ือหาวิชาดีมาก หาความรูเพ่มิ เตมิ ดวยตนเองนอกเหนือจากท่ีไดรับมอบหมาย มสี ว นรวมในการเรียนอยางมาก ซักถามตอบคําถามแสดงถงึ การศึกษาหาความรเู พิ่มเตมิ เองและ มีประโยชนห รือเปนตัวอยางทเ่ี อาไปประยุกตใ ชไดจ ริง3. ความประพฤติ หมายถงึ มคี วามซื่อสตั ย และไมท ําใหเ กิดความเสื่อมเสยี เปน ไปตามขนบธรรมเนยี มประเพณีทดี่ ีงามและจรยิ ธรรมทางการแพทย0 = ไมผ า น มคี วามประพฤตทิ ีข่ ัดตอขนบธรรมเนียมที่ดีงามและจริยธรรมทางการแพทยอ ยางชัดเจน ไมม กี ารพฒั นาเม่อื มีการตักเตือน1 = ผา น ไมมีความประพฤตทิ ่ีขดั ตอ ขนบธรรมเนียมประเพณีทด่ี ีงามและจริยธรรมทางการแพทย2 = ดี มคี วามประพฤตทิ ่ีเปนไปตามขนบธรรมเนยี มท่ดี งี ามและจรยิ ธรรมทางการแพทย3 = ดีมาก มีความประพฤติที่เปนไปตามขนบธรรมเนยี มประเพณีทด่ี ีงามและจริยธรรมทางการแพทย และสามารถเปน แบบอยางที่ดไี ด4. มนุษยสัมพันธ หมายถึง ความสัมพันธกับผูรว มงานทุกระดับ0 = ไมผา น มปี ญหากับผรู ว มงาน ไมส ามารถรวมงานกับผอู ืน่ ได ไมมีการพัฒนาเมอื่ ไดร บั การตักเตือน1 = ผา น สามารถปฏบิ ัตงิ านรวมกบั ผูอืน่ ได ไมม ปี ญหา2 = ดี สามารถปฏบิ ัตงิ านรวมกบั ผอู ่นื ไดเ ปน อยา งดี3 = ดมี าก สามารถปฏิบตั ิงานรว มกับผูอน่ื ไดเปน อยางดีและเปนแบบอยา งท่ดี ไี ด** อางอิงบางสวนจากสถาบนั รวมผลติ แพทย กรมการแพทย- มหาวิทยาลัยรงั สิต


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook