Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราศ ตอนสมิงพระรามอาสา

การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราศ ตอนสมิงพระรามอาสา

Published by piyada221041, 2023-07-08 17:16:06

Description: การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี

Search

Read the Text Version

42 3.3 ระดับต่ำกว่าเกณฑ์ เมื่อประสิทธิภาพของแบบฝึกต่ำกว่าเกณฑ์ที่ตั้งไว้ แต่ไมต่ ำ่ กว่าร้อยละ 2.5 ซงึ่ ถอื วา่ ยงั มปี ระสิทธิภาพท่ยี อมรบั ได้ ไชยยศ เรืองสุวรรณ (2533 : 129-130 ไดเ้ สนอแนะการหาประสทิ ธิภาพของสอื่ ไว้ 2 วธิ ี 1. ประเมินโดยอาศัยเกณฑ์ ความหมายของตัวเลขเกณฑ์มาตรฐานดังเช่นกำหนด ไว้ 80/80มีความหมายดงั น้ี 80 ตัวแรก หมายถึง ค่าร้อยละของประสิทธิภาพในด้านกระบวนการของแบบฝึก ซึ่งประกอบด้วย ผลของการปฏิบัตกิ ิจกรรมตา่ งๆ เชน่ งานและแบบฝึกย่อยของผู้เรียน โดยนำคะแนน ที่ไดจ้ ากการวดั ผล กจิ กรรมทัง้ หมด ทั้งรายบุคคลและรายกลุ่มย่อยทุกชนิ้ มารวมกัน แล้วคำนวณหาค่า ร้อยละเฉล่ีย 80 ตัวหลัง หมายถึง คะแนนจากการทดสอบหลังเรียน (post-test) ของผู้เรียน ทุกคน นำมาคำนวณหาค่ารอ้ ยละเฉลี่ย 2. ประเมินโดยไม่ต้องตั้งเกณฑ์ไว้ล่วงหน้า เป็นการประเมินประสิทธิภาพของส่ือ ดว้ ยการเปรียบเทียบผลการสอบของผเู้ รยี นภายหลังจากท่ีเรยี นจากส่ือนั้นแล้ว (post-test) ว่าสูงกว่า ผลการสอบ ก่อนเรียน (pre-test) อย่างมีนัยสำคัญหรือไม่ หากผลการเปรียบเทียบพบว่าผู้เรียนได้ คะแนนสอบ หลังเรียนสงู กวา่ คะแนนสอบกอ่ นเรยี นอย่างมีนยั สำคญั ก็แสดงว่าสอ่ื นั้นมีประสทิ ธภิ าพ 2.5 งานวจิ ัยทเี่ ก่ียวข้อง สดสวย กาวี (2548) ได้ทำการวิจัยเรื่องการสร้างชุดกิจกรรมการอ่านจับใจความสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนท่าปลาประชาอุทิศ อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการอ่าน จับใจความสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียน ท่าปลาประชาอุทิศ อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์การอ่าน จับใจความสำคัญก่อนเรียนและหลังเรียน โดยใช้ชุดกิจกรรมการอ่านจับใจความสำคัญ กลุ่มสาระ การเรยี นร้ภู าษาไทย สำหรบั นักเรยี นช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรยี นทา่ ปลาประชาอุทศิ อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ผลการวิจัยพบว่า ชุดกิจกรรมการอ่านจับใจความสำคัญ กลุ่มสาระการเรี ยน ภาษาไทย สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนท่าปลาประชาอุทิศ อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 5 ชุด มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 70/70 ทุกชุด และการประเมินผลสัมฤทธ์ิ ทางการเรียนการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนที่ได้รับการสอน โดยใช้ชุดกิจกรรมการอ่าน จบั ใจความสำคญั กลมุ่ สาระการเรียนภาษาไทย สำหรบั นกั เรียนชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นท่าปลา ประชาอุทิศ อำเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ พบว่า สามารถทำให้นักเรียนมีทักษะ การอ่านจับใจความสำคัญสูงขึ้น อย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า


43 ชดุ กิจกรรมการอ่านจบั ใจความสำคญั ท่ีผู้วิจยั สรา้ งข้นึ สามารถช่วยฝกึ ทกั ษะการอ่านจับใจความสำคัญ ไดอ้ ย่างมีประสทิ ธิภาพ ปรีชญา วันแว่น (2551) ได้ทำการวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่าน จับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์ จากบทความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โดยมี วัตถปุ ระสงคเ์ พื่อพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์จากบทความ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เพื่อวิเคราะห์หาประสิทธิภาพของชุดกิจกรรมฝึกทักษะ การอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์จากบทความ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และเพื่อศึกษาระดับความพึงพอใจของนกั เรยี นที่มีต่อชดุ กิจกรรมฝึกทกั ษะการอ่านจับใจความสำคัญ แบบคดิ วิเคราะห์จากบทความ สำหรับนกั เรยี นชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 6 ผลการวิจยั พบวา่ 1. ผลการสร้างชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์ จากบทความ สำหรับนักเรยี นชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ได้แก่ หน่วยท่ี 1 หลักการเบื้องค้น ให้เวลาเรียน 2 ชวั่ โมง หนว่ ยท่ี 2 พระบรมราโชวาท ใช้เวลาเรยี น 2 ชว่ั โมง หนว่ ยท่ี 3 คำสอนท่านพุทธทาสใชเ้ วลา เรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 4 บทความเพื่อสุขภาพ ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 5 บทความเกี่ยวกับ ครอบครัว ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 6 บทความเกี่ยวกับวัยรุ่น . ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง และหน่วยที่ 7 บทความเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม ใช้เวลาเรียน 2 ชั่วโมง รวมเวลาใช้ชุดกิจกรรม จำนวน 14 ชั่วโมง ผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 ท่าน ได้ทำการตรวจความถูกต้องของชุดกิจกรรม ความเหมาะสม ระหว่างจุดประสงค์การเรียนรู้ เนื้อหา กิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ การวัดผลและประเมินผลและนำไป คำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (1OC) พบว่า ดัชนีความสอดคล้องของชุดกิจกรรมหน่วยที่ 7 มคี า่ ดัชนคี วามสอดคล้องเท่ากับ 0.95 แสคงว่าชุดกจิ กรรมมีคุณภาพเหมาะสม และมีความสอดคล้อง ตรงตามวัตถุประสงค์การวิจัยข้อ ! คือ เพื่อพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ แบบคิดวเิ คราะห์จากบทความ สำหรับนกั เรยี นชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 6 2. ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบ คิดวิเคราะห์จากบทความ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 พบว่า ชุดกิจกรรมมีประสิทธิภาพ ระหว่างเรยี น/หลังเรียนเท่ากับ 88.15/87.64 ซงึ่ สูงกวา่ รอ้ ยละ 80/80 และเป็นไปตามตามสมมุดิฐาน การวิจัยข้อ 1 คือ ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์จากบทความ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 มีประสิทธิภาพ คิดเป็นผลคะแนนระหว่างเรียนและหลังเรียน ไม่ตำ่ กวา่ ร้อยละ 80/ 80 3. ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการใช้ชุดกิจกรรมศึกทักษะการอ่าน จบั ใจความสำคัญแบบคิดวเิ คราะหจ์ ากบทความ สำหรบั นักเรียนช้นั ประถมศกึ ษาปีที่ 6 พบว่านักเรียน มีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมอยู่ในระดับมาก ( X - 4.49 . S.D. = 0.24) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐาน


44 การวิจัยข้อ 2 คือ นักเรียนมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแ บบ คดิ วิเคราะห์จากบทความในระดบั มาก ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์ จากบทความ สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ที่ผู้วิจัยสร้างขึ้นสามารถช่วยฝึกทักษะการอ่าน จับใจความสำคัญแบบคดิ วเิ คราะห์จากบทความได้อยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ วาสนา หาดขุนทด (2552) ได้ทำการวิจัยเรือ่ งการศกึ ษาผลการใช้แบบเรียนการ์ตูนภาพ ยกระดับ สำหรับพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โดยมี วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแบบเรียนการ์ตูนภาพยกระดับ เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความ ภาษาไทย ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 และเปรียบเทียบทักษะ การอ่านจับใจความภาษาไทยของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ก่อนและหลังการใช้แบบเรียน การ์ตูนภาพยกระดับ ผลการวิจัยพบว่า แบบเรียนการ์ตูนภาพยกระดับการทดลองรายบุคคล มีประสิทธิภาพ E1/E2=85.58/81.22 การทดลองกลุ่มย่อย มีประสิทธิภาพ E1/E1 = 88.71/86.19 แสดงว่าประสิทธิภาพของแบบเรียนการ์ตูนภาพยกระดับ สูงกว่าเกณฑ์ที่กำหนด คือ 80/80 ทักษะ การอ่านจับใจความภาษาไทย ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ที่เรียนด้วยแบบเรียนการ์ตูนภาพ ยกระดบั กอ่ นเรียนไดค้ ่าคะแนนเฉลี่ย = 17.30 สว่ นเบ่ยี งเบนมาตรฐาน = 3.74 และหลังเรียนได้ค่า คะแนนเฉลี่ย = 25.27 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน = 2.33 เมื่อทดสอบด้วยสถิติที่มีผลการพัฒนาทักษะ การอ่านจับใจความภาษาไทย หลังเรียนสูงกวา่ กอ่ นเรยี นอย่างมีนัยยะสำคญั ทางสถติ ทิ รี่ ะดบั .05 เยาวลักษณ์ สาระโน (2550) ได้ทำการวิจัยเรื่องการใช้ชดุ การสอนนิทานเพื่อพัฒนาการ อา่ นจับใจความกลุ่มสาระการเรยี นรู้ภาษาไทยของนักเรยี นชว่ งชน้ั ท่ี 1 ชนั้ ประถมศึกษาปีท่ี 3 โรงเรยี น บ้านห้วยไคร้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างชุดการสอน นิทานที่มีประสิทธิภาพเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในการอ่านจับใจความกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาไทย และเพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นต่อวิชาภาษาไทยระหว่างกลุ่มทดลองกับ กลุ่มควบคุม ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของชุดการสอนนิทานของนั กเรียนช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านห้วยไคร้ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3 พบว่า การอา่ นจบั ใจความของกลุ่มทดลองมีประสิทธิภาพ 84.72/91.03 สงู กวา่ เกณฑ์ทก่ี ำหนดไว้คอื 80/80 ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวจิ ัย ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียน ชว่ งช้ันที่ 1 ชน้ั ประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบา้ นหว้ ยไคร้ สำนกั งานเขตพื้นทก่ี ารศึกษาเชียงราย เขต 3 เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ พบว่า นักเรียนกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ภาษาไทยแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มทดลองมีผลสัมฤทธิ์ทาง การเรยี นสงู กว่ากลุ่มควบคุม ซง่ึ เปน็ ไปตามสมมตฐิ านการวิจยั และการแสดงความคิดเห็นต่อการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยของนักเรียนช่วงชั้นที่ 1 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 โรงเรียนบ้านห้วยไคร้


45 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาเชียงราย เขต 3 ระหว่างกลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุม ผลปรากฏว่า ค่าเฉลี่ยของคะแนนมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยยะสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยกลุ่มทดลอง มีคะแนนเฉลี่ยสูงกว่ากลุ่มควบคมุ ซึ่งสรุปได้ว่าความคิดเห็นต่อวิธีสอนของนักเรียนกลุ่มทดลองดีกวา่ กลุม่ ควบคมุ ซึ่งเปน็ ไปตามสมมติฐานการวิจยั


บทที่ 3 วิธีดำเนินการวิจัย การวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เร่ืองราชาธริ าช ตอนสมิงพระรามอาสา ในคร้งั นี้ผวู้ จิ ยั ไดก้ ำหนดขนั้ ตอนการวจิ ยั ดังต่อไปนี้ 3.1 กลมุ่ เป้าหมาย 3.2 เครอื่ งมือที่ใช้ในการวจิ ยั 3.3 ข้ันตอนการสร้างและการหาประสทิ ธิภาพของเครื่องมือท่ีใชใ้ นการวจิ ัย 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู 3.5 การวเิ คราะห์ข้อมูล 3.6 สถิตทิ ีใ่ ช้ในการวเิ คราะหข์ ้อมูล 3.1 กลมุ่ เป้าหมาย กลุ่มเป้าหมาย ได้แก่ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู จำนวนนักเรียน 11 คน 3.2 เครื่องมือทใ่ี ช้ในการวิจัย เคร่อื งมอื ทใี่ ช้ในการดำเนนิ การวจิ ัย ได้แก่ 1. แผนการจัดการเรียนรู้การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญพัฒนา ความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีเรือ่ งราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ของนักเรียน ชน้ั มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 จำนวน 8 แผน 2. แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอา่ นจับใจความสำคญั วรรณคดี จำนวน 7 แบบฝกึ แบบฝกึ ละ 2 ตอน 3. แบบประเมินความเหมาะสมของสอื่ และแผนการสอน 4. แบบประเมินความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อแบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านจับใจความสำคญั วรรณคดี เรอ่ื ง ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา


47 3.3 การสร้างและการหาประสทิ ธิภาพของเครื่องมอื ท่ีใชใ้ นการวจิ ยั การวจิ ัยคร้งั น้ผี ูว้ จิ ยั ไดก้ ำหนดเคร่ืองมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั ได้แก่ 1. แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู มีขนั้ ตอนการสรา้ งและหาประสทิ ธภิ าพดังต่อไปนี้ 1.1 ศึกษาหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 และศึกษาเนื้อหาจากหนังสอื เรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ สาระการเรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกระทรวงศกึ ษาธิการตามหลกั สตู รการศึกษาข้นั พื้นฐานพทุ ธศักราช 2551 1.2 ศกึ ษาเอกสารท่ีเกย่ี วข้องกับเทคนิคการสอนการอา่ นจับใจความสำคญั หลักการสร้าง แบบฝึกเสริมทักษะ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างแบบฝึกเสริมทักษะ เพื่อใช้ประกอบเป็น แนวทางในการสร้างแบบฝกึ เสรมิ ทกั ษะ 1.3 นำเน้อื หาสาระทไี่ ด้จากหนงั สือเรียนรายวิชาพ้ืนฐาน ภาษาไทย วรรณคดวี ิจักษ์ สาระ การเรยี นรภู้ าษาไทยชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ของกระทรวงศกึ ษาธิการตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 มาออกแบบให้สอดคล้องกับตัวชี้วัดในหลักสูตรแกนกลางขั้นพื้นฐาน 2551 และ หลักสตู รสถานศึกษา 1.4 สร้างแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีให้ตรงกับมาตรฐานการเรียนรู้ 1.5 นำแบบฝึกเสริมทักษะที่สร้างขึ้นเสนอต่อผู้เชี่ยวชาญเพื่อตรวจสอบความสอดคล้อง ความเหมาะสมของแบบฝึกเสริมทักษะเกี่ยวกับคำสั่งกิจกรรม และนำข้อเสนอมาปรับปรุง แก้ไข จากนนั้ นำไปหาประสิทธภิ าพตามลำดับ 1.6 นำแบบฝึกไปใช้ในชั้นเรียน แล้วนำค่าคะแนนที่ได้ในแต่ละครั้งมาเปรียบเทียบ ความสามารถของนักเรยี น 2. แผนการจัดการเรียนรู้เรื่อง การอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี มีขั้นตอนการสร้าง และหาประสิทธิภาพ ดังน้ี 2.1 ศกึ ษาหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้นื ฐานพุทธศักราช 2551 ในรายวิชาภาษาไทย เรื่องการ อ่านจับใจความสำคัญ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยศึกษาสาระการ เรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ และผลการเรียนรทู้ คี่ าดหวัง 2.2 ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับแผนการจัดการเรียนรู้ และเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการ เขียนแผนการสอน


48 2.3 ศึกษาเนื้อหาจากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย วรรณคดีวิจักษ์ สาระการ เรียนรู้ภาษาไทยชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 ของกระทรวงศึกษาธิการตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 2.4 จัดทำแผนการจดั การเรียนรภู้ าษาไทย ช้นั มัธยมศึกษาปีท่ี 1 เรอ่ื งการอา่ นจับใจความ สำคัญวรรณคดี ให้สอดคล้องกับคำอธิบายรายวิชาและการเรียนรู้ที่คาดหวัง เพื่อใช้สอนจำนวน 8 แผนเวลาที่ใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนแผนละ 1 ชั่วโมง รวมทั้งสิ้น 8 ชั่วโมง โดยมี รายละเอียดดงั ต่อไปนี้ - แผนการจดั การเรยี นรู้ท่ี 1 เรื่อง การอ่านจบั ใจความสำคัญ - แผนการจดั การเรียนรทู้ ่ี 2 เรื่อง พงศาวดารและนยิ ามเรือ่ งราชาธิราช - แผนการจัดการเรยี นรทู้ ่ี 3 เรื่อง สงครามธรรมยุทธ์ - แผนการจดั การเรยี นรทู้ ี่ 4 เรอ่ื ง จำต้องอาสาตัดศกึ และบทวิเคราะห์ - แผนการจัดการเรียนรู้ท่ี 5 เรอ่ื ง ภาษาและวรรณศลิ ป์ - แผนการจัดการเรียนร้ทู ี่ 6 เร่ือง ความสำคญั ของฝมี ือและปัญญา - แผนการจดั การเรยี นร้ทู ี่ 7 เร่ือง ศกั ดศ์ิ รีของเชลย - แผนการจดั การเรียนรู้ท่ี 8 เรอ่ื ง ศกั ดิศ์ รขี องเชลย 2.5 นำแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เสนอผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 คน เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องขององค์ประกอบต่าง ๆ ในแผนการจัดการเรียนรู้ด้าน ภาษาและความเที่ยงตรงของเนื้อหา จุดประสงค์การเรียนรู้ กิจกรรมการเรียน การสอน การวัดผล ประเมินผล ความชัดเจน ความถูกต้องเหมาะสมของภาษาที่ใช้ และนำข้อมูลที่รวบรวมจากความ คิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญมาคำนวณหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) โดยใช้ดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item Objective Congruence) (Rovinelli & Hambleton, 1977,p.49-60) โ ด ย ใ ห้ ผู้เชี่ยวชาญให้คะแนนความคิดเห็นในการพิจารณา ซึ่งมีค่าเท่ากับ 3.01-5.00 ไปถือว่ามีความ สอดคล้องอย่ใู นเกณฑ์ทีย่ อมรบั ได้ โดยกำหนดเกณฑก์ ารพจิ ารณาดงั น้ี 4.01-5.00 หมายถงึ แผนการจัดการเรยี นร้มู ีคา่ ความเหมาะสมอย่ใู นระดบั มาก 3.01-4.00 หมายถึง แผนการจดั การเรยี นรู้มคี า่ ความเหมาะสมอยูใ่ นระดบั ดี 2.01-3.00 หมายถงึ แผนการจัดการเรียนรู้มีคา่ ความเหมาะสมอยู่ในระดับปานกลาง 1.01-2.00 หมายถึง แผนการจดั การเรียนรู้มีคา่ ความเหมาะสมอยใู่ นระดบั น้อย 0.01-1.00 หมายถงึ แผนการจัดการเรียนรูม้ คี ่าความเหมาะสมอยูใ่ นระดบั นอ้ ยมาก


49 2.6 นำแผนการจัดการเรียนรู้เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี ไปปรับปรุงแก้ไข ตามคำแนะนำของผูเ้ ช่ียวชาญแล้วเสนอต่อผู้เช่ยี วชาญตรวจสอบเพือ่ ให้ขอ้ เสนอแนะ 2.7 ปรับปรุงแก้ไขตามคำแนะนำของผู้เชี่ยวชาญ แล้วมาให้ผู้เชี่ยวชาญตรวจสอบอีกครั้ง กอ่ นนำไปใช้ 2.8 นำแผนการจัดการเรียนรู้ไปทดลองใชใ้ นช้นั เรยี น 3.4 การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา กลุ่มเป้าหมายเป็นนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 11 คน ผู้วิจัยได้ใช้เวลาในการ ทดลอง 8 ชัว่ โมง โดยดำเนินตามขั้นตอนดงั น้ี ขั้นที่ 1 ขอความอนุเคราะห์ผู้อำนวยการโรงเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองเพื่อทดลองใช้แบบฝึก เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีเพื่อพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดี เร่ืองราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ของนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษาปีท่ี 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู ขั้นที่ 2 ดำเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ วรรณคดี โดยใชว้ รรณคดีเรื่องราชาธริ าช ตอนสมงิ พระรามอาสา ขั้นที่ 3 ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอนสมิง พระรามอาสา เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี และเพื่อเปรียบเทียบ ระดบั ความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธริ าช ตอน สมงิ พระรามอาสาของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู เป็นการประเมินดูว่าการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา บรรลุจุดประสงค์หรือไม่ และนำข้อมูลทไี่ ด้นำมาวเิ คราะห์ทางสถติ ิ ขน้ั ที่ 4 สอบถามความพึงพอใจนักเรยี นชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 ท่ีมีต่อการใช้แบบฝกึ เสริมทักษะ การอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาของนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปที ่ี 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู ขัน้ ที่ 5 เก็บรวบรวมขอ้ มูลท้ังหมดนำไปประมวลผลและวเิ คราะห์ผล


50 3.5 การวิเคราะห์ขอ้ มลู ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากการทดลองของกลุ่มเป้าหมายคือ นักเรียน ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู จำนวน 11 คน ดังนี้ 1. การวิเคราะห์ผลการประเมินประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ สำคัญวรรณคดีเร่ืองราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการ ตรวจสอบความเที่ยงตรง (Validity) การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Comgruence : IOC) 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ วรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาแต่ละแบบฝึก โดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̅) ร้อยละ ค่าร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ และเกณฑ์ผ่านการประเมินร้อยละ 60 แล้วนำค่าเฉลี่ยที่ได้มาวิเคราะห์ พัฒนาการดา้ นการอา่ นจบั ใจความสำคัญของนักเรียน 3. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของนกั เรียนช้ันมธั ยมศึกษาปีที่ 1 โดย ให้นักเรียนกลุ่มเป้าหมายตอบแบบสอบถามหลังเรียน จากนั้นนำข้อมูลมาหาค่าเฉลี่ย และค่าร้อยละ เทยี บกับเกณฑ์ 3.6 สถติ ิทใ่ี ชใ้ นการวเิ คราะห์ขอ้ มลู 3.6.1 สถติ ทิ ใ่ี ช้ในการหาคณุ ภาพของเคร่ืองมอื ได้แก่ 3.6.1.1 ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean) ของคะแนน โดยใช้สูตรของ บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 105 ) ������̅ = ∑ ������ ������ เมื่อ X แทน ค่าเฉล่ีย ∑ ������̅ แทน ผลรวมของคะแนนทั้งหมดในกล่มุ N แทน จำนวนผเู้ ช่ียวชาญ จากการหาคุณภาพเครอ่ื งมือจากแบบประเมินผูเ้ ชี่ยวชาญ พบว่า มีค่าเฉล่ียเปน็ 4.94


51 3.6.1.2 ร้อยละ (Percentage ) ใช้สตู ร P ของบุญชม ศรีสะอาด ( 2545 : 104 ) สตู ร P = ������ × 100 ������ เมื่อ P แทน รอ้ ยละ f แทน ความถท่ี ่ีต้องการแปลงใหเ้ ป็นรอ้ ยละ N แทน จำนวนความถ่ที ้ังหมด 3.6.1.3 ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) โดยใชส้ ูตร S.D. ของ บญุ ชม ศรีสะอาด ( 2545 : 106 ) ������. ������. = √������ ∑ ������̅2 − (∑ ������̅)2 ������(������ − 1) เมอื่ ������. ������. แทน ส่วนเบยี่ งเบนมาตรฐาน ∑ ������̅ แทน ผลรวมของคะแนน ∑ ������̅2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตวั ยกกำลังสอง ������ แทน จำนวนนักเรยี น จากการประเมนิ ของผู้เช่ียวชาญ พบวา่ สว่ นเบย่ี งเบนมาตรฐาน มีค่าเทา่ กับ 0.08 3.6.2 สถิตทิ ่ีใช้ในการวิเคราะหข์ ้อมลู ในการวจิ ัยครัง้ นี้ ได้แก่ 3.6.2.1 คะแนนพฒั นาการสมั พัทธโ์ ดยใชส้ ูตร ดังนี้ (ศิรชิ ัย กาญจนวาสี, 2552 : 266 – 267) DS = (������−������) × 100 ������−������ เมอื่ DS (%) หมายถงึ คะแนนรอ้ ยละของพฒั นาการของนักเรียน (คดิ เป็นร้อยละ) F หมายถึง คะแนนเต็มของการวัดทง้ั คร้ังแรกและคร้ังหลงั X หมายถึง คะแนนการวัดครง้ั แรก Y หมายถึง คะแนนการวดั ครั้งหลงั


52 จากคะแนนแบบฝึกแต่ละคร้งั พบว่า คะแนนพฒั นาการสมั พัทธ์ของกลุ่มเปา้ หมายมี คะแนนเฉลย่ี รอ้ ยละ 65.94 3.6.2.2 ค่าเฉลีย่ (Arithmetic Mean) ของคะแนน โดยใช้สูตรของ บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 105 ) =������̅ ∑ ������ ������ เมื่อ X แทน ค่าเฉล่ีย ∑ ������̅ แทน ผลรวมของคะแนนท้ังหมดในกลุ่ม N แทน จำนวนนกั เรยี น พบวา่ ค่าเฉล่ยี (Arithmetic Mean) ของคะแนน โดยใช้สูตรของ บุญชม ศรีสะอาด (2545 : 105 ) ของกลุ่มเป้าหมาย อย่ทู ่ี 99.82 คิดเปน็ ร้อยละ 71.30 ของคะแนนทง้ั หมด 3.6.2.3 ร้อยละ (Percentage ) ใช้สูตร P ของบุญชม ศรีสะอาด ( 2545 : 104 ) สูตร P = ������ × 100 ������ เม่ือ P แทน รอ้ ยละ f แทน ความถ่ที ี่ต้องการแปลงใหเ้ ปน็ รอ้ ยละ N แทน จำนวนความถี่ท้ังหมด พบว่า ร้อยละของคะแนนที่กลุ่มเป้าหมายทำได้ โดยใช้สูตรร้อยละ (Percentage ) ใช้สตู ร P ของบญุ ชม ศรีสะอาด ( 2545 : 104 ) คิดเป็นรอ้ ยละ 71.30


53 3.6.2.4 ส่วนเบ่ยี งเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) โดยใช้สตู ร S.D. ของ บญุ ชม ศรีสะอาด ( 2545 : 106 ) ������. ������. = √������ ∑ ������̅2 − (∑ ������̅)2 ������(������ − 1) เม่ือ ������. ������. แทน สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ∑ ������̅ แทน ผลรวมของคะแนน ∑ ������̅2 แทน ผลรวมของคะแนนแตล่ ะตัวยกกำลังสอง ������ แทน จำนวนนกั เรียน จากคะแนนแบบฝึกในแตล่ ะคร้ัง พบว่า สว่ นเบี่ยงเบนมาตรฐาน ( Standard Deviation) โดยใช้สูตร S.D. ของบุญชม ศรีสะอาด มีคา่ เฉล่ีย 0.76 3.6.2.5 การหาคา่ ความเชอื่ มน่ั ของแบบประเมินความพงึ พอใจ โดยการวิเคราะหห์ าค่า สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟาของครอนบาค (Cronbach, 1990 : 204) ∝= ������ (1 − ∑ ������ 2 ) − ������ ������ 1 ������ 2 ������ เมอ่ื ∝ แทน สมั ประสทิ ธแ์ิ อลฟา ������ แทน จำนวนขอ้ คำถาม ∑ ������ 2 แทน ผลรวมของความแปรปรวนของคะแนนแต่ละข้อ ������ ������22������ แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม พบว่า คา่ ความเช่ือมนั่ ของแบบประเมนิ ความพงึ พอใจของกล่มุ เป้าหมาย มคี ่าคะแนนอยู่ท่ี 0.46


บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ขอ้ มูล การวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูโดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน จับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู และศึกษาความพึงพอใจ ของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูทม่ี ีตอ่ แบบฝึกเสริมทักษะการอา่ นจับใจความ สำคัญวรรณคดี ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล โดยผู้วิจัยได้จัดทำแบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน จับใจความสำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสาและจัดรูปแบบการสอน ควบคู่กับ การให้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู จำนวน 11 คน ทำแบบฝึก จำนวน 8 แบบฝึก แบบฝึกละ 2 ตอน ผู้วิจัยได้วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาประสิทธิภาพแบบฝึกเสริมทักษะ การอา่ นจบั ใจความสำคัญวรรณคดีเร่ืองราชาธริ าช ตอนสมงิ พระรามอาสา โดยใชส้ ตู ร การหาค่าเฉล่ีย (������̅) และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (������.������.) คะแนนพฒั นาการสมั พทั ธ์ (DS) ในการนี้ผูว้ จิ ัยขอนำเสนอผลการวิเคราะหข์ ้อมูลตามลำดับขน้ั ตอนดังนี้ 1. สัญลักษณ์ทใี่ ช้ในการวเิ คราะห์ข้อมลู 2. ผลการวิเคราะห์ขอ้ มลู 1. สญั ลกั ษณท์ ่ีใชใ้ นการวิเคราะห์ข้อมูล เพื่อความสะดวกในการนำเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูล และเพื่อให้เกิดความเข้าใจตรงกั บ ผวู้ ิจัยไดก้ ำหนดสญั ลกั ษณท์ ่ีใช้ในการนำเสนอการวเิ คราะหข์ ้อมูล ดังตอ่ ไปน้ี ������ แทน จำนวนนักเรยี นกลุ่มเปา้ หมาย ������̅ แทน คา่ เฉล่ยี ของคะแนน S.D. แทน สว่ นเบ่ียงเบนมาตรฐาน DS แทน ร้อยละพฒั นาการสมั พัทธ์ 2. ผลการวิเคราะหข์ อ้ มลู ผลการวิเคราะห์ข้อมูล การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ วรรณคดี เรือ่ งราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา จำนวน 11 คน โดยแบง่ เปน็ 2 ตอนดังต่อไปน้ี


55 ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดี ของนกั เรียนช้นั มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นบ้านโกตา บารู ท่ีมตี อ่ แบบฝกึ ทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เรือ่ งราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ตอนที่ 1 ผลการวิเคราะห์ การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดี ของนักเรยี นช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู ผลการวิเคราะห์ การพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีของนักเรียนช้ัน มัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู แสดงดงั ตารางท่ี 4.1 ตารางที่ 4.1 แสดงคะแนนพฒั นาการการใชแ้ บบฝึกเสริมทกั ษะการอ่านจับใจความวรรณคดี ทงั้ 7 แบบฝกึ แบบ แบบ แบบ แบบ แบบ แบบ แบบ รวม รอ้ ยละ คนท่ี ฝกึ ที่ ฝกึ ท่ี ฝกึ ที่ ฝึกท่ี ฝกึ ที่ ฝกึ ที่ ฝกึ ที่ คะแนน พฒั นาการ 1 2 3 4 5 6 7 สมั พัทธ์ (20) (20) (20) (20) (20) (20) (20) (140) (DS%) 1 9 7 10 16 16 18 19 95 60.58 2 8 10 3 14 15 15 19 84 52.94 3 9 9 9 15 16 17 17 92 57.78 4 8 9 7 13 16 17 19 89 55.97 5 10 8 12 14 12 17 20 93 57.46 6 12 14 14 13 16 17 20 106 65.41 7 12 16 14 14 15 17 20 108 66.92 8 14 11 13 16 17 19 19 109 65.65 9 18 15 14 15 18 19 20 119 70.45 10 9 15 12 14 16 17 18 101 64.71 11 8 7 14 17 18 18 20 102 66.42 ������̅ 10.64 11.00 11.09 14.64 15.91 17.36 19.18 99.82 ร้อยละเฉล่ยี S.D 3.14 3.41 3.56 1.29 1.64 1.12 0.98 10.30 62.21


56 จากตาราง 4.1 แสดงคะแนนพัฒนาการการใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ วรรณคดีทั้ง 7 แบบฝึก แบบฝึกละ 20 คะแนน รวม 140 คะแนน พบว่า คะแนนรวมของแต่ละแบบ ฝึกมีค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นตามลำดับ โดยแบบฝึกที่มีคะแนนเฉลี่ยมากที่สุดคือแบบฝึกที่ 7 (������̅ = 19.18 ,S.D = 0.98) รองลงมาคือแบบฝึกที่ 6 (������̅ = 17.36 ,S.D = 1.12) ตามด้วยแบบฝึกที่ 5 (������̅ = 15.91 ,S.D = 1.64) แบบฝึกที่ 4 (������̅ = 14.64 ,S.D = 1.29) แบบฝึกที่ 3 (������̅ = 11.09 ,S.D = 3.56) แบบฝึก ที่ 2 (������̅ = 11.00 ,S.D = 3.41) และแบบฝึกที่มีคะแนนเฉลี่ยน้อยที่สุดคือ แบบฝึกที่ 1 (������̅ =10.64 ,S.D = 3.14) จากตารางดังกลา่ วสามารถนำเสนอพัฒนาการโดยอ้างอิงจากคะแนนเฉลี่ยของแต่ละแบบฝกึ ในรูปแบบแผนภูมิเสน้ ต่อไปน้ี แผนภมู แิ สดงผลการพฒั นาความสามารถในการจบั ใจความสาคัญวรรณคดี ของนักเรยี นชั้น ม.1 จานวน 11 คน 25 20 15 10 5 คะแนนเฉลย่ี 0 แบบฝึกท่ี 1 แบบฝึกที่ 2 แบบฝึกท่ี 3 แบบฝึกท่ี 4 แบบฝึกท่ี 5 แบบฝึกที่ 6 แบบฝึกท่ี 7 จากแผนภูมิ แสดงผลการพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดีของนักเรยี น ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 11 คน พบว่า คะแนนแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เรื่องราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา ของนกั เรยี น มีแนวโน้มเพมิ่ ข้ึนอยา่ งต่อเนื่องแม้ว่าจะให้แบบ ฝึกในรูปแบบแตกต่างกัน แสดงให้เห็นว่าแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดีสามารถ พฒั นาความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคัญของนักเรียนได้


57 นอกจากนี้ตารางที่ 4.1 ยังแสดงร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ของนักเรียนรายบุคคล พบว่า ค่าเฉลี่ยร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ เท่ากับ 62.21 โดยมีนักเรียนที่มีค่าพัฒนาการสัมพัทธ์สูงที่สุด 70.45 และต่ำสุดคอื 52.94 ดงั จะแสดงผลในรปู ของร้อยละพฒั นาการสัมพัทธข์ องกลุ่มเป้าหมายตาม ชว่ งคะแนนในรูปของแผนภูมวิ งกลมดงั ต่อไปนี้ แผนภมู ิแสดงร้อยละพัฒนาการสัมพทั ธข์ องกลุ่มเป้าหมายตามชว่ งคะแนน 50.01-60.00 60.01-70.00 70.01 ขน้ึ ไป จากแผนภูมิแสดงร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ของกลุ่มเป้าหมายตามช่วงคะแนน พบว่า นักเรียน ที่มีคะแนนร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ ระหว่าง ร้อยละ 50.01-60.00 มีจำนวน 4 คน คิดเป็นร้อยละ 36.36 ของกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนที่มีคะแนนร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ ระหว่าง ร้อยละ 60.01-70.00 มีจำนวน 6 คน คิดเป็นนร้อยละ 54.54 ของกลุ่มเป้าหมาย และนักเรียนที่มีคะแนนร้อยละพัฒนาการ สัมพัทธ์ ระหว่าง ร้อยละ 70.01 ขึ้นไป มีจำนวน 1 คน คิดเปน็ นรอ้ ยละ 9.09 ของกลุ่มเป้าหมาย


58 ตอนที่ 2 ผลการวเิ คราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นบ้านโกตาบารู ทีม่ ตี ่อแบบฝึกทกั ษะการอา่ นจบั ใจความสำคญั วรรณคดี ผลการวิเคราะห์ความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู ทีม่ ีต่อแบบฝกึ ทักษะการอ่านจบั ใจความสำคัญวรรณคดี แสดงดงั ตารางท่ี 4.2 ตารางที่ 4.2 แสดงระดับความพึงพอใจของนักเรยี นชนั้ มธั ยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรียนบ้านโกตา บารู ท่ีมีตอ่ แบบฝกึ ทกั ษะการอา่ นจับใจความสำคญั วรรณคดี ระดับความพึงพอใจ ส่วน รายการท่ปี ระเมิน ของนักเรียน ค่าเฉลย่ี เบีย่ งเบน เกณฑก์ าร 54321 ������̅ มาตรฐาน ประเมิน (S.D.) 1. ฉนั สามารถเขา้ ใจเร่ืองที่อา่ นได้ 6 2 3 4.27 0.90 มาก ดยี ่ิงขึ้น 2. ฉันสามารถจบั ใจความ 335 3.82 0.87 มาก เรื่องราวในวรรณคดีไดด้ ยี งิ่ ขึ้น 3. ฉนั สามารถอ่านออกเสยี งคำใน 6 5 4.55 0.52 มากทส่ี ุด ภาษาไทยไดด้ ยี ง่ิ ขนึ้ 4. ฉันสามารถนำส่งิ ที่ไดร้ บั จาก การทำกจิ กรรมในครง้ั นไ้ี ปใช้ 5 2 3 1 4.00 1.10 มาก ประโยชนใ์ นชีวติ ประจำวันได้ 5. ฉนั ชอบส่ือการสอนของคุณครู 7 4 4.64 0.50 มากที่สุด ค่าเฉลี่ยรวม 4.25 0.46 มาก จากตาราง 4.2 พบว่า นักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ สำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยภาพรวมมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับ มาก (������̅ = 4.25, ������. ������. = 0.46) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ชอบสื่อการสอนของ คุณครู โดยมีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (������̅ = 4.64, ������. ������. = 0.5) รองลงมาคือ นักเรียน สามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึน้ มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (������̅ = 4.55, ������. ������. = 0.52) นักเรียนสามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น (������̅ = 4.27, ������. ������. = 0.90) นักเรียนสามารถนำสิ่งที่ได้รับจาก การทำกิจกรรมในครั้งนี้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้ (������̅ = 4.00, ������. ������. = 1.10) และสามารถจับ ใจความเรื่องราวในวรรณคดีได้ดียิ่งขึ้น (������̅ = 3.82, ������. ������. =0.87) มีระดับความพึงพอใจ อยู่ในระดับมาก


59 สรุปได้ว่า นักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่อง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยมีระดับความพึงพอตั้งแต่ 3.82 – 4.64 โดยความพึงพอใจของ นักเรยี นช้ันมัธยมศึกษาปีท่ี 1 โรงเรยี นบ้านโกตาบารู ทีม่ ีตอ่ แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ วรรณคดี เรอื่ งราชาธริ าช ตอน สมงิ พระรามอาสาอยู่ในระดับมากถึงมากท่ีสดุ


บทที่ 5 สรุปผล อภปิ รายผล และขอ้ เสนอแนะ การวิจัยเรื่องการพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดี ของนักเรียน ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่าน จับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู และศึกษาความพึงพอใจ ของนกั เรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรยี นบ้านโกตาบารูทม่ี ีตอ่ แบบฝึกเสรมิ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความ วรรณคดี สมมตฐิ านวจิ ัย ระดับคะแนนแบบฝกึ ความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญของนกั เรียน ช้นั มธั ยมศกึ ษาปที ี่ 1 เพมิ่ ข้นึ ตามลำดบั เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยประกอบด้วย (1) แผนการจัดการเรียนรู้การพัฒนาความสามารถ ในการอา่ นจบั ใจความสำคญั เพ่ือพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคญั วรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 8 แผน (2)แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านจับใจความวรรณคดี จำนวน 7 แบบฝึก และ(3)ประเมินความพึงพอใจของนักเรียน ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 ทมี่ ีต่อแบบฝกึ ทกั ษะการอ่านจบั ใจความสำคญั วรรณคดี ผู้วิจัยดำเนินการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพัฒนา กลุ่มเป้าหมาย เป็นนักเรยี นชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบา้ นโกตาบารู ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2564 จำนวน 11 คน ผู้วจิ ยั ไดใ้ ช้เวลาในการทดลอง 8 ช่วั โมง โดยดำเนนิ ตามขน้ั ตอนคือ 1. ขอความอนุเคราะห์ผู้อำนวยการโรงเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองเพื่อทดลองใช้แบบฝึก เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีเพื่อพัฒนาความสามารถในการจับใจความสำคัญวรรณคดี เร่อื งราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา ของนักเรียนชัน้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรยี นบ้านโกตาบารู 2. ดำเนินการจัดการเรียนรู้ด้วยแผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องการอ่านจับใจความสำคัญ วรรณคดี โดยใช้วรรณคดีเรอื่ งราชาธิราช ตอนสมงิ พระรามอาสา 3. ใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอนสมิง พระรามอาสา เพื่อพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี และเพื่อเปรียบเทียบ ระดบั ความสามารถในการอา่ นจับใจความสำคัญวรรณคดีเร่ืองราชาธริ าช ตอน สมงิ พระรามอาสาของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู เป็นการประเมินดูว่าการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา บรรลุจุดประสงค์หรือไม่ และนำข้อมลู ท่ไี ดน้ ำมาวิเคราะห์ทางสถติ ิ


61 4. สอบถามความพึงพอใจนักเรียนชั้นมธั ยมศึกษาปีที่ 1 ที่มีต่อการใช้แบบฝึกเสริมทักษะ การอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาของนักเรียนชั้น มธั ยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู 5. เก็บรวบรวมข้อมูลทงั้ หมดนำไปประมวลผลและวิเคราะห์ผล การวิเคราะห์ข้อมูล ผู้วิจัยทำการวิเคราะห์ข้อมูลที่เก็บรวบรวมได้จากการทดลองของ กลุม่ เปา้ หมายคอื นกั เรียนชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู จำนวน 11 คน ดงั นี้ 1. การวิเคราะห์ผลการประเมินประสิทธิภาพของแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความ สำคัญวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยการ ตรวจสอบความเที่ยงตรง (Validity) การหาค่าดัชนีความสอดคล้อง (Index of Item-Objective Comgruence : IOC) 2. เปรียบเทียบความแตกต่างของคะแนนแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ วรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาแต่ละแบบฝึก โดยใช้ค่าเฉลี่ยเลขคณิต (x̅) ร้อยละ ค่าร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ และเกณฑ์ผ่านการประเมินร้อยละ 60 แล้วนำค่าเฉลี่ยที่ได้มาวิเคราะห์ พฒั นาการดา้ นการอ่านจบั ใจความสำคญั ของนักเรียน 3. วิเคราะห์ข้อมูลเพื่อให้ทราบถึงระดับความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยให้นักเรียนกลุ่มเปา้ หมายตอบแบบสอบถามหลังเรียน จากนั้นนำข้อมูลมาหาค่าเฉลีย่ (x̅) และค่า รอ้ ยละเทยี บกบั เกณฑ์ 4. สรปุ ผลและอภิปรายผลโดยใช้ตาราง และการพรรณนา 5.1 สรุปผล จากการวิจัยสรปุ ผล ไดด้ ังน้ี 5.1.1 การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 11 คน พบว่า คะแนนรวมของแต่ละแบบฝึกมคี ่าเฉลยี่ ท่เี พ่ิมข้นึ ตามลำดบั โดยแบบฝึกท่ีมคี ะแนน เฉลี่ยมากที่สุดคือแบบฝึกที่ 7 (������̅ = 19.18 ,S.D = 0.98) รองลงมาคือแบบฝึกที่ 6 (������̅ = 17.36 ,S.D = 1.12) ตามด้วยแบบฝึกที่ 5 (������̅ = 15.91 ,S.D = 1.64) แบบฝึกที่ 4 (������̅ = 14.64 ,S.D = 1.29) แบบฝึกที่ 3 (������̅ = 11.09 ,S.D = 3.56) แบบฝึกที่ 2 (������̅ = 11.00 ,S.D = 3.41) และแบบฝึกที่มีคะแนน เฉลี่ยน้อยที่สุดคือ แบบฝึกที่ 1 (������̅ =10.64 ,S.D = 3.14) และค่าพัฒนาการสัมพัทธ์ (DS%) ของ นักเรียนรายบุคคล มีค่าร้อยละพัฒนาการตั้งแต่ 52.94-70.45 จากสถิติดังกล่าวสรุปได้ว่า แบบฝึกเสริม ทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา สามารถพัฒนาทักษะ การอ่านจับใจความวรรณคดีของนักเรยี นได้


62 5.1.2 การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูที่มีต่อ แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดี พบว่า นักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อแบบฝึกเสริม ทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยภาพรวมมีระดับ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก (������̅ = 4.25, ������. ������. = 0.46) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่า นักเรียนส่วน ใหญ่ชอบสอ่ื การสอนของคุณครู โดยมรี ะดบั ความพึงพอใจอยู่ในระดับมากทสี่ ุด (������̅ = 4.64, ������. ������. = 0.5) รองลงมาคือ นักเรียนสามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น มีระดับความพึงพอใจอยู่ในระดับมากที่สุด (������̅ = 4.55, ������. ������. = 0.52) นักเรียนสามารถเข้าใจเรื่องที่อ่านได้ดียิ่งขึ้น (������̅ = 4.27, ������. ������. = 0.90) นกั เรยี นสามารถนำส่ิงท่ีได้รับจากการทำกิจกรรมในครั้งน้ีไปใช้ประโยชน์ในชวี ติ ประจำวันได้ (������̅ = 4.00, ������. ������. = 1.10) และสามารถจับใจความเรื่องราวในวรรณคดีได้ดียิ่งขึ้น (������̅ = 3.82, ������. ������. =0.87) มีระดับ ความพึงพอใจอยู่ในระดับมาก สรุปได้ว่า นักเรียนมีระดับความพึงพอใจต่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่าน จับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยมีระดับความพึงพอตั้งแต่ 3.82 – 4.64 โดยความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู ที่มีต่อแบบฝึก เสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาอยู่ในระดับมาก ถงึ มากทส่ี ดุ 5.2 อภปิ รายผล 5.2.1 การพัฒนาความสามารถในการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จำนวน 11 คน พบว่า นักเรียนที่ผ่านเกณฑ์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 60 จำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 100 จะ เห็นไดว้ า่ คะแนนจากการทำแบบฝึกหัดของนักเรียนจำนวน 7 แบบฝึก แบบฝกึ ฝึกละ 2 ตอน เมอื่ พิจารณา แบบฝึกที่ 1 นักเรียนมีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 40-90 (������̅ =10.64 ,S.D = 3.14) แบบฝึกที่ 2 นักเรียนมี คะแนนตั้งแต่ร้อยละ 35-80 (������̅ = 11.00 ,S.D = 3.41) แบบฝึกที่ 3 นักเรียนมีคะแนน ตั้งแต่ร้อยละ 15- 70 (������̅ = 11.09 ,S.D = 3.56) แบบฝึกที่ 4 นักเรียนมีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 65-85 (������̅ = 14.64 ,S.D = 1.29) แบบฝกึ ที่ 5 นักเรยี นมคี ะแนนต้ังแต่ร้อยละ 60-90 (������̅ = 15.91 ,S.D = 1.64) แบบฝกึ ที่ 6 นักเรียน มีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 75-95 (������̅ = 17.36 ,S.D = 1.12) แบบฝึกที่ 7 นักเรียนมีคะแนนตั้งแต่ร้อยละ 85- 100 (������̅ = 19.18 ,S.D = 0.98) เมื่อรวมคะแนนทั้ง 7 ครั้งพบว่า นักเรียนทั้ง 11 คนผ่านเกณฑ์ร้อยละ 60 ทั้งหมด (������̅ = 14.26) คิดเป็นร้อยละ 100 โดยมีคะแนนรวมตั้งแต่ 84-119 คิดเป็นร้อยละ 60 ถึงร้อยละ 85 ของคะแนนท้งั หมด นักเรียนที่มีคะแนนร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ ระหว่าง ร้อยละ 50.01-60.00 มีจำนวน 4 คน คิด เป็นร้อยละ 36.36 ของกลุ่มเป้าหมาย นักเรียนที่มีคะแนนร้อยละพัฒนาการสัมพัทธ์ ระหว่าง ร้อยละ


63 60.01-70.00 มีจำนวน 6 คน คิดเป็นร้อยละ 54.54 ของกลุ่มเป้าหมาย และนักเรียนที่มีคะแนนร้อย ละพัฒนาการสัมพัทธ์ ระหว่าง ร้อยละ 70.01 ขึ้นไป มีจำนวน 1 คน คิดเป็นร้อยละ 9.09 ของ กลุ่มเป้าหมาย ดังแนวคิดของกรมวิชาการ (2545 : 2) ที่ให้ความหมายของการอ่านว่า การอ่านเป็น กระบวนการสื่อความหมายระหว่างผู้เขียนกับผู้อ่าน โดยการแปลความหมายจากตัวอักษรหรือ สัญลักษณ์ให้ได้ความหมายที่ถูกต้อง ชัดเจน การอ่านจึงเปน็ เครื่องมือพืน้ ฐานท่ีสำคัญสำหรับนักเรยี น ในการเรียนภาษาไม่ว่าจะเรียนในหรือนอกห้องเรียน และที่สำคัญเป็นทักษะเดียวที่จะคงอยู่ตลอดได้ นานท่ีสดุ ซ่งึ เป็นเครื่องมือแสวงหาความร้สู ำหรับผูเ้ รียน การท่ีนักเรียนสามารถอ่านจับใจความ การที่ นักเรียนมีคะแนนพัฒนาการที่ดีขึ้น เกิดจากนักเรียนสามารถพัฒนาการอ่านของตนเองให้มี ประสทิ ธิภาพในการอ่านไดด้ ียิ่งขึ้น สามารถเข้าใจเร่อื งท่อี ่านได้เปน็ อยา่ งดี ดังนั้น จากผลการศึกษาสรุปได้ว่า การพัฒนาความสามารถในการอ่านจบั ใจความสำคัญของ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โดยใช้แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความวรรณคดีเรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา สามารถพัฒนาความสามารถด้านการอ่านจับใจความสำคัญของนักเรียนช้ัน มัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูได้ นักเรียนมีพัฒนาการที่ดีขึ้นตามลำดับ ซึ่งสอดคล้องกับ สมมติฐานทตี่ ัง้ ไวใ้ นตอนต้น ทำใหผ้ ู้เรยี นเกิดทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ เกดิ เจตคติท่ีดีต่อวิชาท่ี เรียน ตลอดจนสามารถนำประสบการณ์การเรียนรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการเรียนในรายวิชาอื่น ๆ ตอ่ ไป 5.2.2 การศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารูที่มี ตอ่ แบบฝึกเสรมิ ทักษะการอา่ นจับใจความสำคัญวรรณคดี จากแบบประเมินความพึงพอใจโดยคำนวณ หาคา่ เฉลย่ี (������̅) พบวา่ นักเรยี นมรี ะดับความพึงพอใจต่อแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านจับใจความสำคัญ วรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยมีระดับความพึงพอตั้งแต่3.82 – 4.64 โดย ความพงึ พอใจของนักเรยี นชั้นมัธยมศกึ ษาปีที่ 1 โรงเรียนบ้านโกตาบารู ท่ีมตี อ่ แบบฝึกเสริมทักษะการ อ่านจับใจความสำคัญวรรณคดี เรื่องราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาอยู่ในระดับมากถึงมากที่สุด มีค่าเฉลย่ี (������̅) = 4.25 อยู่ในระดบั มากทีส่ ุด สอดคล้องกับงานวิจยั ของปรชี ญา วนั แว่น (2551) ได้ทำ การวิจัยเรื่อง การพัฒนาชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์ จากบทความสำหรับนักเรียนชั้นประถมศกึ ษาปีท่ี 6 โดยมีวัตถุประสงค์เพือ่ ศึกษาระดับความพึงพอใจ ของนักเรียนที่มีต่อชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์จากบทความ สำหรับนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปีท่ี 6 ผลการวิจยั พบวา่ นกั เรยี นมีความพึงพอใจต่อชุดกิจกรรมอยู่ใน ระดับมาก (������̅ - 4.49 . S.D. = 0.24) ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานการวิจัยข้อ 2 คือ นักเรียนมีความพึง พอใจต่อชุดกิจกรรมฝึกทักษะการอ่านจับใจความสำคัญแบบคิดวิเคราะห์จากบทความในระดับมาก


64 เนื่องจากสื่อการเรียนการสอนที่ใช้มีความแปลกใหม่ สีสันสวยงามและน่าสนใจ ทำให้นักเรียนรู้สึก สนกุ มีเกมมาใหน้ ักเรียนได้เลน่ เพ่ือเตรยี มความพร้อมก่อนที่จะเรียนรู้ มกี จิ กรรมท่ีส่งเสริมให้นักเรียน มสี ว่ นรว่ มในการจัดการเรยี นการสอน และทำให้เกดิ ทศั นะคตทิ ่ดี ีต่อการเรยี นรู้ 5.3 ข้อเสนอแนะสำหรบั การวิจยั 5.3.1 ข้อเสนอแนะสำหรบั การนำผลการวิจยั ไปใช้ 1) ผู้สอนควรศกึ ษาลักษณะของกลุ่มตัวอยา่ งกอ่ นเก็บข้อมูล 2) ผู้สอนควรสรา้ งแบบฝึกให้สอดคล้องกบั ความสามารถของผ้เู รยี น 3) ผู้สอนจะต้องสร้างกิจกรรมที่น่าสนใจในขั้นนำบทเรยี นเพื่อให้ผู้เรียนเกิดความพร้อมที่ จะเรยี นรู้ 5.3.2 ขอ้ เสนอแนะในการวิจยั ครง้ั ตอ่ ไป 1) การพฒั นาทกั ษะการอา่ นจับใจความข่าว สารคดี และบทความ 2) การพัฒนาแบบฝึกทักษะการอ่านจับใจความให้สอดคล้องกับความแตกต่างระหว่าง บคุ คลของผเู้ รยี น 3) การพัฒนาความสามารถในการใช้เทคโนโลยีและการใช้ภาษาอย่างชาญฉลาด โดยใช้ แบบฝึกอิเล็กทรอนิกส์


ช บรรณานกุ รม กรมวิชาการ. (2545). สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาไทยในหลักสูตร การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่ง สินค้าและ พสั ดุภณั ฑ์ (ร.ส.พ.) กอบกาญจน์ วงศว์ สิ ิทธิ์. (2551). ทักษะภาษาเพ่ือการสอ่ื สาร. กรงุ เทพฯ: โอเดียนสโตร.์ จนิ ตนา ใบกาซยู .ี (2547). สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถกับการส่งเสรมิ การอา่ น หนังสอื .วารสารวชิ าการ, 7(3), 20. จุไรรตั น์ ลกั ษณะศิริและบาหยันอม่ิ สำราญ. (2547). การใช้ภาษาไทย. กรุงเทพฯ: พ.ี เพรส. เชาวณี คำเลิศลกั ษณ์ . (2542). การสร้างแบบฝึกเสริมทกั ษะเขียนภาษาอังกฤษเพอ่ื การสอื่ สาร สำหรบั นกั เรยี นชั้นมธั ยมศึกษาช้นั ปที ่ี 4. ราชบรุ ี: มหาวิทยาลัยคริสเตยี น. ฐานิยา อมรพลัง. (2548). “การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้หลักภาษาไทย เรื่อง ไตรยางศ์ด้วย แบบฝึกเกมและเพลงสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4.” วิทยานิพนธ์ปริญญา ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บณั ฑิตวิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ถวลั ย์ มาศจรสั . (2550). การเขยี นเชงิ สร้างสรรค์เพอื่ การศกึ ษาและอาชีพ. กรงุ เทพฯ: ธารอกั ษร. นริ นั ดร์ สขุ ปรีดี. 2540. การศึกษาอตั ราความเรว็ และความเขา้ ใจในการอา่ นของนกั เรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. บรรเทา กิตตศิ ักด์ิ. (2537). การอา่ นและพจิ ารณาหนงั สอื . กรุงเทพฯ: ไทยวฒั นาพานชิ . ประพนธ์ เรอื งรณรงค์. (2545). กล่มุ สาระการเรยี นรู้ ภาษาไทยช่วงช้นั ท่ี3 (ม.1-ม.3). กรงุ เทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว. ผกาศรี เย็นบุตร. (2542). การอา่ น. กรุงเทพฯ: ภาควชิ าภาษาไทยและภาคตะวนั ออก คณะมนษุ ย์ศาสตรม์ หาวิทยาลัยศรีนครนิ ทรวโิ รฒ ประสานมติ ร. ไพทูลย์ มลู ดี. (2546). “การพฒั นาแผนและแบบฝกึ ทักษะการเขียนสะกดคำที่ไม่ตรงตามมาตรา ตัวสะกดกลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ชัน้ ประถมศึกษาปีที่ 2.” วทิ ยานิพนธ์ ปรญิ ญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต บณั ฑติ วทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. ไพพรรณ อนิ ทนลิ . (2546). การส่งเสริมการอ่าน. กรงุ เทพฯ: ชลบุรกี ารพมิ พ.์ มณีรตั น์ สกุ โชติรตั น์. (2548). อา่ นเป็น: เรียนกอ่ น- สอนเก่ง.กรงุ เทพฯ: นานมีบุ๊คส.์ แม้นมาส ชวลติ . (2543). กิจกรรมส่งเสริมการอา่ น. กรุงเทพฯ: คุรุสภา ลาดพรา้ ว. รญั จิตร แกว้ จำปา. (2544). ภาษาไทย1. กรุงเทพฯ: พฒั นาศกึ ษา.


ซ บรรณานกุ รม (ตอ่ ) ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานกุ รมราชบัณฑติ ยสถาน พ.ศ. 2542 (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: อกั ษรเจริญทศั น์. เรวดี อาษานาม. 2537. พฤติกรรมการสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. ภาควชิ าหลกั สูตรและ การสอน.มหาสารคาม: สถาบันราชภัฏมหาสารคาม, วรรณี โสมประยรู . 2544. การสอนภาษาไทยระดบั ประถมศึกษา. พิมพค์ ร้ังท่ี 4 กรุงเทพฯ : ไทยวฒั นาพานชิ วรรณี โสมประยูร. (2544). การสอนภาษาไทยระดับประถมศึกษา. วารสารวชิ าการ, 4(11), 55. วรรณี โสมประยรู . (2553). เทคนิคการสอนภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ดอกหญ้าวิชาการ. วรรณภา ไชยวรรณ. (2549). “การพัฒนาแผนการอา่ นภาษาไทย เรื่อง อกั ษรควบและอกั ษรนำ ช้นั ประถมศึกษาท่ี 3.” วิทยานิพนธป์ ริญญาศึกษาศาสตร์มหาบณั ฑติ บณั ฑติ วทิ ยาลัย มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม. แววมยรุ า เหมอื นนิล. (2553). การอ่านจับใจความ. กรงุ เทพมหานคร : ชมรมเด็ก. วนั เพ็ญ คุณพิริยะทวี. (2548). การพฒั นาแบบฝึกการอ่านจบั ใจความสำหรับนักเรยี น ชน้ั ประถมศึกษาปที ี่2. นครปฐม: สาขาวชิ าหลักสูตรและการนเิ ทศ ภาควิชาหลักสูตร และวธิ ีสอน บณั ฑิตวทิ ยาลยั มหาวทิ ยาลัยศิลปากร สมบัติ จำปาเงนิ . (2548). กลเม็ดการอา่ นให้เกง่ . กรงุ เทพฯ: สถาพรบ๊คุ ส์. สมศกั ดิ์ สนิ ธรุ ะเวชญ์ (2545). สรา้ งความเข้าใจสกู่ ารปฏบิ ัติจริง: การวัดและประเมินการเรยี นรู้. กรุงเทพฯ: วฒั นาพานชิ . สนทิ สัตโยภาส. (2545). ภาษาไทยเพื่อการส่ือสารและสืบคน้ . กรุงเทพฯ: 21 เซน็ จรู ่.ี สุนนั ทา มั่นเศรษฐวิทย์. (2545). หลักและวธิ ีการสอนอา่ นภาษาไทย. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช สุพรรณี วราทร. (2545). การอ่านอยา่ งมปี ระสทิ ธภิ าพ.กรุงเทพฯ: จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลัย. สุพรรณสิริ วฑั ฒกานน.์ (2548). อา่ นภาษาองั กฤษอย่างไรถงึ (ไม่) เข้าใจ. กรงุ เทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. สวุ ทิ ย์ มูลคำ และอรทยั มลู คำ. (2545). วธิ ีจัดการเรียนรู้ เพอ่ื พัฒนาคณุ ธรรม จรยิ ธรรม ค่านยิ ม การเรียนรูโ้ ดยการแสวงหาความรดู้ ว้ ยตนเอง. กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ.์ สุวทิ ย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. (2545). 21 วิธจี ัดการเรยี นรู้เพื่อพฒั นากระบวนการคิด. กรุงเทพฯ : ห้างหุ้นสว่ นจำกดั ภาพพิมพ.์ อกนิษฐ์ กรไกร. (2549). “การพัฒนาแผนการจดั การเรียนรู้ กาพยย์ านี 11 ด้วยแบบฝึกทกั ษะ ช้ันประถมศกึ ษาปีท่ี 5 ทเี่ รียนด้วยกลุ่มร่วมมือแบบ Co-op Co-op และแบบเด่ียว.” วทิ ยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบณั ฑติ บัณฑติ วิทยาลยั มหาวทิ ยาลัยมหาสารคาม.


ฌ ภาคผนวก ก รายนามผเู้ ช่ยี วชาญตรวจสอบเครื่องมือในการวจิ ยั


65 รายนามผเู้ ช่ียวชาญตรวจสอบเครื่องมือในการวิจยั 1. นางสาวจติ ตขิ วัญ ภูพ่ นั ธต์ ระกลู ประธานหลักสตู รครศุ าสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย 2. นางสาวซัลมา รตั นเยยี่ ม คณะมนษุ ยศาสตร์และสังคมศาสตร์ 3. นางณภทั ร เบลเลอร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏยะลา อาจารย์หลกั สตู รครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย คณะมนุษยศาสตรแ์ ละสังคมศาสตร์ มหาวทิ ยาลัยราชภัฏยะลา ครูโรงเรยี นบ้านโกตาบารู อำเภอรามนั จังหวดั ยะลา


ญ ภาคผนวก ข ตารางแสดงค่าดชั นีความสอดคล้อง(IOC) ของเคร่อื งมอื ในการวิจัย


66 ตารางแสดงค่าดชั นคี วามสอดคล้อง (IOC) ต่อแผนการจดั การเรยี นรู้ เรื่อง การอ่านจบั ใจความวรรณคดีเร่ือง ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา ดา้ น ขอ้ ความคดิ เหน็ ผ้เู ช่ียวชาญ รวม คา่ เฉลี่ย เกณฑ์การประเมนิ คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 15 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมากที่สดุ 25 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากทส่ี ุด ด้านแผนการ 3 5 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดับมากที่สุด จัดการเรียนรู้ 4 5 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากทส่ี ดุ 55 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากทส่ี ดุ 65 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดับมากที่สดุ 14 5 5 14 4.67 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากทส่ี ุด 25 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากที่สุด กระบวนการ 3 5 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ จัดการเรียน 4 5 5 5 15 ในระดบั มากทส่ี ุด การสอน 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากที่สุด 55 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากที่สุด 65 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมากทส่ี ุด


67 ด้าน ข้อ ความคิดเห็นผเู้ ช่ยี วชาญ รวม ค่าเฉล่ีย เกณฑ์การประเมนิ คนที่ 1 คนท่ี 2 คนที่ 3 75 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมากที่สุด 85 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดับมากทส่ี ุด 95 5 4 14 4.67 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากทส่ี ุด 10 5 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากที่สุด กระบวนการ 11 5 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ จดั การเรยี น 5 5 5 15 ในระดบั มากที่สุด การสอน(ต่อ) 12 5 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมากทส่ี ุด 13 5 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดับมากที่สุด 14 4 5 5 14 4.67 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากทสี่ ุด 15 4 5 5 14 4.67 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากทส่ี ดุ 16 4 5 5 14 4.67 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากที่สดุ 15 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ ในระดับมากที่สดุ 2 5 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ 3 5 5 5 15 ในระดบั มากทส่ี ดุ สือ่ มีความเหมาะสมอยู่ 5 ในระดับมากทีส่ ุด 45 5 5 15 5 มคี วามเหมาะสมอยู่ ในระดบั มากท่สี ดุ


68 ตารางแสดงคา่ คา่ ดชั นีความสอดคล้อง (IOC) ต่อกจิ กรรม เร่ือง การอ่านจบั ใจความวรรณคดเี ร่ือง ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา ขอ้ ความคิดเหน็ ผเู้ ชี่ยวชาญ รวม คา่ IOC ความหมาย คนที่ 1 คนที่ 2 คนที่ 3 1 5 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยใู่ น ระดับมากทส่ี ดุ 2 5 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดบั มากทส่ี ดุ 34 5 5 14 4.67 มีความเหมาะสมอยใู่ น ระดบั มากทส่ี ุด 4 5 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดบั มากที่สดุ 5 5 5 5 15 5 มีความเหมาะสมอยู่ใน ระดบั มากที่สดุ เกณฑ์การประเมิน 4.01 - 5.00 หมายถึง มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั มากทีส่ ุด 3.01 - 4.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยใู่ นระดบั มาก 2.01 - 3.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยใู่ นระดับปานกลาง 1.01 - 2.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยูใ่ นระดบั นอ้ ย 0.01 - 1.00 หมายถงึ มีความเหมาะสมอยู่ในระดบั น้อยทส่ี ุด


ฎ ภาคผนวก ค เครื่องมอื ทใี่ ชใ้ นการวิจยั


ฏ แผนการจัดการเรียนรู้


69 แผนการจัดการเรียนร้สู าระการเรยี นรภู้ าษาไทย ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี ๑ จำนวน ๘ ช่วั โมง หน่วยการเรียนรู้ท่ี ๒ เร่ือง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา แผนการเรยี นรูท้ ่ี ๑ เรอื่ ง การอา่ นจบั ใจความสำคัญ สอนวันท่ี ............ เดือน.................... พ.ศ. ............ เวลา ๑ ชัว่ โมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้วี ัด มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอา่ นสร้างความรู้และความคดิ ไปใช้ตดั สินใจ แกป้ ญั หา และสรา้ งวสิ ัยทัศน์ ในการดำเนนิ ชวี ติ และมนี ิสัยรกั การอ่าน ตวั ช้วี ดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ อ่านออกเสียงบทร้อยแก้วและบทร้อยกรองได้ถูกต้องเหมาะสมกับเรื่องท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความสำคัญจากเรี่องท่ีอ่าน ท ๑.๑ ม.๑/๖ ระบุขอ้ สังเกตและความสมเหตสุ มผลของงานเขียนประเภทชักจูง โน้มนา้ วใจ ท ๑.๑ ม.๑/๙ มมี ารยาทในการอา่ น ๒. สาระสำคญั การอา่ นจบั ใจความสำคัญ เป็นกระบวนการอ่านท่ีมีบทบาทสำคัญในการทำให้มนุษย์ได้รับองค์ความรู้ ความเข้าใจจากเนื้อหา หรือเรื่องราวที่อ่านอย่างลกึ ซึ้ง จนสามารถนำข้อมูลที่อ่านไปปรบั ใชแ้ ละพัฒนาในเรือ่ ง ดงั กล่าว ๓. จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ๑. นกั เรยี นสามารถอธบิ ายลกั ษณะของใจความสำคญั ได้ ๒. นักเรยี นสามารถอ่านจบั ใจความสำคัญข้อความได้ ๔. สาระการเรยี นรู้ (เน้ือหา) ๔.๑ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง - การอ่านจบั ใจความสำคญั ๕. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ๕.๑ ความสามารถในการส่ือสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด - การคดิ อย่างมีระบบ - การใหเ้ หตุผล - การวิเคราะห์ ๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชีวติ 6. คณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ ๖.๑ มวี ินัย ๖.๒ ใฝ่เรียนรู้ 6.3 มงุ่ มน่ั ในการทำงาน


70 7. ช้ินงาน / ภาระ แบบฝึกเรอื่ งการอ่านจบั ใจความสำคัญ 8. วิธีการวดั และประเมินผล 8.๑ วิธีการวดั และประเมนิ ผล - ตรวจแบบฝึกเรือ่ งการอ่านจับใจความสำคญั ๘.๒ เคร่อื งมือการวัดและประเมินผล - แบบฝึกเรื่องการอา่ นจับใจความสำคัญ ๘.๓ เกณฑ์การวดั และประเมินผล - ผ่าน หมายถงึ นักเรยี นทำแบบฝกึ เร่ืองการอา่ นจบั ใจความสำคญั ได้ร้อยละ ๖๐ ของคะแนนทง้ั หมด ๙. กิจกรรมการเรยี นรู้ ๑. ครอู ธิบายความหมายของการอ่านจบั ใจความสำคัญให้นักเรยี นฟงั แล้วสุ่มถามนกั เรียนเกย่ี วกบั ประเดน็ ดงั กล่าว เชน่ - ใจความสำคัญคืออะไร - ในหน่ึงขอ้ ความไม่มีใจความสำคญั ไดห้ รือไม่ - ทำไมต้องหาใจความสำคัญของขอ้ ความ - พลความคืออะไร เปน็ ตน้ ๒. ครูใหน้ กั เรียนอ่านลกั ษณะของใจความสำคัญและตำแหนง่ ใจความสำคัญ แลว้ สมุ่ ถามนกั เรยี น เก่ยี วกบั ประเดน็ ดังกลา่ ว เชน่ - ใจความสำคญั เปน็ ประโยคขยายได้หรือไม่ เพราะเหตุใด - ประโยคคความซ้อนเปน็ ใจความสำคญั ไดห้ รือไม่ - ใจความสำคัญส่วนใหญจ่ ะอยู่สวนไหนของขอ้ ความ เปน็ ตน้ ๓. ครอู ธิบายจุดมงุ่ หมายของการอ่านจบั ใจความสำคัญและแนวทางการอ่านจับใจความสำคญั ให้ นักเรียนฟัง แล้วส่มุ ถามนักเรียนเก่ียวกับประเดน็ ดงั กล่าว เชน่ - ทำไมต้องเรยี นเร่ืองการอ่านจับใจความสำคัญ - ทำไมเราถึงตอ้ งตัง้ จดุ มุ่งหมายในการอา่ น - ส่ิงแรกที่ควรทำก่อนอา่ นทุกครง้ั คืออะไร - เม่อื เราอา่ นเร่อื งใดเรอื่ งหนึ่งแล้วผเู้ ขียนไมไ่ ด้ระบใุ จความสำคญั โดยตรงเราจะทำอย่างไร เปน็ ตน้ ๔. ครูและนักเรียนช่วยกันสรปุ ความรู้ จากนัน้ ชวนนกั เรยี นให้จับใจความข้อความส้ัน ๆ แล้วให้ นกั เรยี นลองทำแบบฝกึ หัดการอา่ นจบั ใจความสำคัญ ๕. ครแู ละนกั เรียนช่วยกันเฉลยแบบบฝึกหัด 10. ส่อื และแหล่งเรียนรู้ - ใบความรู้เร่ืองการอ่านจับใจความสำคัญ - แบบฝึกเร่อื งการอา่ นจบั ใจความสำคัญ ลงชือ่ ....................... (ผสู้ อน)


71 ความคดิ เหน็ /ขอ้ เสนอแนะของครูพีเ่ ล้ียง ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงช่ือ................................................. (นางณภทั ร เบลเลอร์) ครู โรงเรยี นบ้านโกตาบารู วันท.ี่ ........./.............../...............


72 ๑๐. ความคิดเหน็ / ข้อเสนอแนะของหวั หน้ากลมุ่ สาระการเรยี นรู้ ............................................................................................................................................. ................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงช่ือ................................... (นางอรวรรณ ทองคำ) หวั หนา้ กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ภาษาไทย ๑๑. ความคิดเหน็ /ข้อเสนอแนะของผบู้ รหิ ารสถานศกึ ษา .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ลงชือ่ ................................... (นางสาวตอเฮเรา๊ ะ ระสหิ ิน)ิ รองผ้อู ำนวยการโรงเรยี นบา้ นโกตาบารู ๑๒. ความคดิ เห็นขอ้ เสนอแนะของผ้บู ริหารสถานศกึ ษา ............................................................................................................................. ................................................. .................................................................................. ....................................................................................... ..... ลงชื่อ................................... (นางรตั นา ดำทองเสน) ผู้อำนวยการโรงเรียนบา้ นโกตาบารู


73 ใบความรู้ เรอ่ื ง ความรพู้ ้ืนฐานการอา่ นจบั ใจความสำคญั ใจความสำคญั ใจความสำคัญ คอื แก่นของย่อหนา้ ท่ีสามารถครอบคลมุ เนอ้ื ความในประโยคอื่น ๆ ในย่อ หนา้ นัน้ หรอื สามารถเป็นหัวเร่ืองของยอ่ หน้าน้ันๆ ได้ และสามารถเปน็ ประโยคเดีย่ ว ๆ ได้ โดยไม่ ตอ้ งมีประโยคอ่นื ประกอบ ซ่ึงในแตล่ ะยอ่ หนา้ จะมปี ระโยคใจความสำคัญเพียงประโยคเดียวหรอื อยา่ งมากไม่เกิน ๒ ประโยค ใจความรองหรอื พลความ หมายถงึ ใจความหรอื ประโยคท่ีชว่ ยขยายใจความสำคัญเป็น ใจความให้ชดั เจน เช่น การอธบิ ายคำจำกัดความ การยกตัวอย่างการเปรยี บเทยี บ การแสดง เหตผุ ลสนับสนุน รวมถึงการเพ่ิมรายละเอียดใหแ้ ก่ประโยคใจความสำคญั ด้วยวธิ ีใดวิธีหนง่ึ ทกี่ ล่าว มาข้างตน้ การอ่านจับใจความสำคัญ คือ การค้นหาสาระสำคัญของเรื่องหรือของหนังสือที่อ่าน ส่วน นั้นคือข้อความทีม่ สี าระครอบคลุมขอ้ ความอ่ืนๆ ในย่อหน้านัน้ หรอื เนื้อเรือ่ งทัง้ หมด ข้อความตอน หนึ่งหรือเรื่องหนึ่งจะมีใจความสำคัญที่สุดเพียงหนึ่งเดียว ซึ่งใจความสำคัญก็คือสิ่งที่เป็น สาระสำคญั ของเรอ่ื งนัน่ เอง ลกั ษณะของใจความสำคัญ ๑. ใจความสำคัญเป็นข้อความที่ทำหน้าที่คลุมใจความของข้อความอนื่ ๆ ในตอน น้ัน ๆ ได้ หมดข้อความนอกนน้ั เปน็ เพียงรายละเอยี ดหรอื ส่วนขยายใจความเท่าน้ัน ๒. ใจความสำคัญของข้อความหนึ่งๆ หรือย่อหน้าหนึ่งๆ ส่วนหนึ่งๆ ส่วนมากจะมีเพียง ประการเดยี ว ๓. ใจความสำคัญส่วนมากมีลักษณะเป็นประโยค อาจจะเป็นประโยคเดียวหรือประโยค ซ้อนก็ได้ แต่ในบางกรณีใจความสำคัญไม่ปรากฏเป็นประโยค เป็นเพียงประโยคเดยี วหรอื ประโยค ซอ้ นกไ็ ด้ บางกรณีใจความสำคัญไม่ปรากฏเปน็ ประโยค เป็นเพยี งใจความทแ่ี ฝงอย่ใู นข้อความตอน น้นั ๆ ๔. ใจความสำคัญที่มีลักษณะเป็นประโยคส่วนมากจะปรากฏอยู่ต้นข้อความ เช่น ความ แตกต่างของมนุษยแ์ ละสัตว์อกี ประการหนึ่งที่เหน็ เด่นชัด คือเรื่องของการใช้ภาษา มนุษย์สามารถ ถ่ายทอดความรู้ความคิดออกมาเป็นตัวเขียน คือ เป็นภาษาหนังสือสำหรับให้ผู้อื่นอ่านและเข้าใจ ตรงตามท่ตี อ้ งการ แต่สตั วใ์ ช้ได้แตเ่ สยี งเทา่ นั้นในการส่อื สาร แม้แต่เสยี งหลายทา่ นก็ยังมีความเห็น ว่าสัตว์จะทำเสียงเพื่อแสดงความรู้สึก เช่น โกรธ หิว เจ็บปวด เท่านั้น เสียงของสัตว์ไม่อาจสื่อ ความหมายได้ละเอยี ดลออเท่าภาษาพูดของมนษุ ย์


74 การพจิ ารณาตำแหนง่ ใจความสำคญั ใจความสำคัญของขอ้ ความในแตล่ ะย่อหน้าจะปรากฏดงั นี้ ๑. ประโยคใจความสำคัญอยูต่ อนต้นของย่อหนา้ ๒. ประโยคใจความสำคญั อยตู่ อนกลางของยอ่ หนา้ ๓. ประโยคใจความสำคัญอยตู่ อนท้ายของยอ่ หนา้ ๔. ประโยคใจความสำคัญอยตู่ อนต้นและตอนทา้ ยของย่อหน้า ๕. ผู้อ่านสรุปขึ้นเอง จากการอ่านทั้งย่อหน้า (กรณีใจความสำคัญหรือความคิดสำคัญอาจ รวมอยู่ในความคิดย่อย ๆ โดยไม่มีความคิดที่เป็นประโยคหลัก) หลักการอ่านจับใจความให้เข้าใจ ง่ายและรวดเร็ว จุดมุ่งหมายในการอา่ นจับใจความสำคัญ ๑. อ่านเพื่อปฏิบตั ติ ามคำสัง่ และคำแนะนำ ๒. อ่านเพอื่ ฝึกการอ่านเร็วและตอบคำถามไดถ้ ูกต้องแม่นยำ ๓. อ่านเพอื่ สรปุ หรือย่อเรื่องที่อ่านเกีย่ วกบั อะไร ๔. อ่านเพื่อคาดการณ์หรอื ทำนายจดุ จบของเรอ่ื ง ๕. อ่านและทำรายงานย่อสรปุ มีการฝกึ โนต้ ย่อ ๖. อ่านเพือ่ หาความจรงิ และแสดงข้อคดิ เหน็ ได้ แนวทางการอา่ นจบั ใจความสำคญั ๑. สำรวจสว่ นประกอบของหนังสือ เช่น ช่อื เร่อื ง คำนำ สารบญั ฯลฯ เพราะส่วนประกอบ ของหนังสอื จะทำให้เกิดความเขา้ ใจเกีย่ วกับเรื่อง หรือหนังสือทีอ่ า่ นได้กว้างขวางและรวดเรว็ ๒. ตั้งจุดมุ่งหมายในการอ่านให้ชัดเจน เพื่อใช้เป็นแนวทางในการกำหนดการอ่านได้อย่าง เหมาะสมและสามารถจบั ใจความหรอื คำตอบได้รวดเร็วยง่ิ ขึ้น ๓. พยายามเก็บแต่ใจความสำคัญของข้อความ หรือเรื่องทอี่ ่านอยา่ งรวดเรว็ ๔. ขณะที่อ่านจะต้องรู้ว่าข้อความสำคัญอยู่ที่ใด เป็นเรื่องเกี่ยวกับอะไร มีใคร ทำอะไร ท่ี ไหน อย่างไร เมื่อไร ต้องพยายามบังคับสายตาให้กวาดไปตามตัวหนังสืออย่างรวดเร็ว ควร หลกี เล่ียง การอ่านทลี ะคำ และควรได้รบั การฝึกอา่ นทลี ะประโยค ๕. อ่านให้รายละเอียดอีกครั้งหนึ่ง เพื่อทำความเข้าใจเรื่องที่อ่าน เขียนเรียบเรียงใจความ สำคัญของเรื่องทีอ่ ่านด้วยสำนวนภาษาของตนเอง อ่านทบทวนเพ่ือตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หนง่ึ ๖. หากเรื่องที่อ่านเป็นเรื่องที่มีความยาวและหลายย่อหน้า เมื่ออ่านจบลงทุกครั้ง ควรมี การทดสอบ ความเข้าใจด้วยการฝึกถามตัวเองตามหัวข้อดังนี้เป็นเรื่องอะไร ใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร และทำไม ซง่ึ บางเรอ่ื งอาจมีคำตอบไม่ครบแตต่ อ้ งตอบเท่าท่มี ีอยใู่ หค้ รบถ้วนเพ่ือจะ


75 จับใจความสำคัญให้ได้มากที่สุดแล้วจดลงในกระดาษ นำไปเปรียบเทียบกับเนื้อเรื่องที่อ่านมาถึง ความถกู ต้องและพยายามสำรวจหรือเปรยี บเทยี บขอ้ บกพรอ่ งเพอื่ หาทางแก้ไข ตัวอยา่ งการอา่ นจบั ใจความสำคัญ ค้างคาว ค้างคาวเป็นสัตว์ที่ออกหากินในเวลากลางคืน มันสามารถบินผาดโผนฉวัดเฉวียนไปมาโดย ไม่ตอ้ งพง่ึ สายตา มันอาศัยเสียงสะท้อนกลับของตวั มันเอง โดยค้างคาวจะสง่ คล่นื สัญญาณพิเศษซึ่ง สั้นและรวดเร็ว เมื่อสัญญาณไปกระทบสิ่งกีดขวางด้านหน้าก็จะสะท้อนกลับเข้ามา ท าให้รู้ว่ามี อะไรอยดู่ ้านหน้า มนั จะบนิ หลบเล่ยี งได้ แมแ้ ตส่ ายโทรศพั ท์ที่ระโยงระยางเปน็ เส้นเล็กๆ คลื่นเสียง ก็จะไปกระทบแล้วสะท้อนกลับเข้าหูของมันได้ ไม่มีสัตว์ชนิดไหนที่จะสามารถรับคลื่นสะท้อน กลับไปได้ในระยะใกล้ แตค่ ้างคาวทำได้และบินวนกลับได้ทันท่วงที วิธกี ารสรปุ ใจความ ใคร = ทำอะไร = เม่ือไร = อย่างไร = ผลเปน็ อย่างไร = ใจความสำคัญของเร่อื ง ค้างคาว คอื


76 แบบฝกึ เรอื่ งการอ่านจับใจความ คำชี้แจง ขีดเสน้ ใต้ประโยคทเี่ ปน็ ใจความสำคญั ๑. ฤดูนี้ซื้อข้าวเกรียบมาปิ้งขายตอนเย็น ตอนค่ำมีคนซื้อแน่ ๆ เพราะอากาศหนาวคนชอบ เดนิ เทย่ี ว และขา้ วเกรยี บว่าวเปน็ อาหารฤดูหนาว กนิ ไดท้ กุ วนั ทกุ วยั ครับ ๒ .สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรประถมศกึ ษำแหง่ ชำติ รว่ มกบั บริษัทสำนกั พิมพว์ ฒั นำ พำนิช จดั ประกวดคดั ไทยระดบั ชำติขึน้ ซ่ึงผชู้ นะเลิศกำรประกวดจะไดร้ บั รำงวลั เป็นเงิน ทนุ กำรศึกษำ พรอ้ มโล่ ๓. \"กลุ่มพันธมิตร เพื่อการบำบัดโรคด้วยกัญชา กล่าวว่า กัญชา สามารถลดอาการ คลื่นเหียนอาเจียนและการสูญเสียน้ำหนักอันเนื่องมาจากไวรัสเอดส์ และยังช่วยให้ผู้ป่วย เกิดความรู้สึกอยากอาหาร ทั้งนี้ คณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐ ได้อนุญาตให้ ผู้ป่วยโรคเอดส์ ใช้กัญชาในการบำบัดโรคมาแล้ว 24 ราย\" ๔. \"แม่วัยรุ่น\" เป็นกลุ่มคนที่ต้องรับภาระของความเป็นแม่ในวันที่ยังไม่พร้อม ทั้งด้าน สถานภาพและความรู้สึก ทำให้บางคนเกิดภาวะซึมเศร้า ครอบครัวไม่อบอุ่นเข้มแข็ง เพราะ ไม่มีความรู้และไม่พร้อมในการเล้ียงดูลูก รวมทั้งไม่รู้วิธีจัดการปัญหาต่าง ๆ ท่ีเกิดขึ้น ๕. \"ปกติเขาทำงานเป็นยามรักษาความปลอดภัยของบริษัทแห่งหนึ่ง ตอนเช้าก่อนไป ทำงาน เขาจะรีบไปส่งหนังสือพิมพ์ วันหยุดก็ไปรับจ้างตัดหญ้าตามบ้าน งานอดิเรกของเขา ก็คือ รับซ่อมเคร่ืองใช้ไฟฟ้าท่ัวไปรวมความว่า เขาเป็นคนไม่เลือกงานทำทั้งนั้น ขอเพียงแต่ เป็นงานท่ีบริสุทธิ์เท่าน้ัน\"


77 แบบฝกึ เรอื่ งการอ่านจบั ใจความสำคัญ คำชแี้ จง ขดี เส้นใตป้ ระโยคทเ่ี ป็นใจความสำคญั ๑. ฤดูนี้ซื้อข้าวเกรียบมาปิ้งขายตอนเย็น ตอนค่ำมีคนซื้อแน่ ๆ เพราะอากาศหนาวคนชอบ เดนิ เท่ยี ว และขา้ วเกรยี บว่าวเปน็ อาหารฤดหู นาว กนิ ไดท้ กุ วนั ทกุ วยั ครบั ๒. สำนกั งำนคณะกรรมกำรกำรประถมศึกษำแหง่ ชำติ รว่ มกบั บริษัทสำนกั พิมพว์ ฒั นำ พำนิช จดั ประกวดคดั ไทยระดบั ชำติขึน้ ซึ่งผชู้ นะเลิศกำรประกวดจะไดร้ บั รำงวลั เป็นเงิน ทนุ กำรศกึ ษำ พรอ้ มโล่ ๓. \"กลุ่มพันธมิตร เพื่อการบำบัดโรคด้วยกัญชา กล่าวว่า กัญชา สามารถลดอาการ คลื่นเหียนอาเจียนและการสูญเสียน้ำหนักอันเนื่องมาจากไวรัสเอดส์ และยังช่วยให้ผู้ป่วย เกิดความรู้สึกอยากอาหาร ทั้งนี้ คณะกรรมการอาหารและยาของสหรัฐ ได้อนุญาตให้ ผู้ป่วยโรคเอดส์ ใช้กัญชาในการบำบัดโรคมาแล้ว 24 ราย\" ๔. \"แม่วัยรุ่น\" เป็นกลุ่มคนที่ต้องรับภาระของความเป็นแม่ในวันที่ยังไม่พร้อม ทั้งด้าน สถานภาพและความรู้สึก ทำให้บางคนเกิดภาวะซึมเศร้า ครอบครัวไม่อบอุ่นเข้มแข็ง เพราะ ไม่มีความรู้และไม่พร้อมในการเลี้ยงดูลูก รวมท้ังไม่รู้วิธีจัดการปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้น ๕. \"ปกติเขาทำงานเป็นยามรักษาความปลอดภัยของบริษัทแห่งหนึ่ง ตอนเช้าก่อนไป ทำงาน เขาจะรีบไปส่งหนังสือพิมพ์ วันหยุดก็ไปรับจ้างตัดหญ้าตามบ้าน งานอดิเรกของเขา ก็คือ รับซ่อมเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่วไปรวมความว่า เขาเป็นคนไม่เลือกงานทำทั้งนั้น ขอเพียงแต่ เป็นงานที่บริสุทธ์ิเท่านั้น\" เกณฑ์การใหค้ ะแนน ขดี เส้นใตถ้ ูกต้อง ๑ ขอ้ ได้ ๑ คะแนน


78 ตารางบนั ทกึ คะแนนแบบฝึกเร่อื งการอ่านนจับใจความสำคัญของนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษาปที ่ี ๑ โรงเรยี นบา้ นโกตาบารู ภาคเรียนที่ ๒ ปกี ารศกึ ษา ๒๕๖๔ ชอื่ – สกลุ ขอ้ คะแนน รวมคะ สรปุ ผล แนน การประเมิน (๑๐) ผ่าน ไม่ผา่ น 12345 หมายเหตุ ทำได้ ๓ คะแนนจึงจะผา่ น เกณฑ์การประเมิน ผา่ น หมายถงึ นกั เรยี นทำแบบฝกึ ได้คะแนนตั้งแต่ ๓ คะแนนขนึ้ ไป ไมผ่ า่ น หมายถึง นักเรยี นทำแบบฝกึ หดั ได้น้อยกว่า ๓ คะแนน สรุป ผา่ น ..................คน ร้อยละ......................................... ไมผ่ า่ น ....................คน รอ้ ยละ......................................... ลงช่อื .......................................... (นางสาวปิยะดา เบญ็ เหลบ็ ) ครผู ู้สอน


79 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ ๑ แผนการจัดการเรยี นร้สู าระการเรยี นรู้ภาษาไทย จำนวน ๘ ชว่ั โมง หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรอ่ื ง ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา แผนการเรยี นรู้ท่ี ๒ เรือ่ ง พงศาวดารและนิยามเร่ืองราชาธิราช สอนวันที่ ............ เดือน.................... พ.ศ. ............ เวลา ๑ ชัว่ โมง ๑. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวช้ีวัด มาตรฐานการเรยี นรู้ ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสรา้ งความรูแ้ ละความคิดไปใชต้ ัดสินใจ แกป้ ัญหา และสรา้ งวสิ ยั ทศั น์ ในการดำเนนิ ชวี ติ และมีนสิ ยั รักการอ่าน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟัง และดู อยา่ งมิวิจารณญาณ พูดแสดงความรู้ ความคิด และความร้สู กึ ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวจิ ารณญาณและสร้างสรรค์ ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณว์ รรณคดแี ละวรรณกรรมไทยอย่างเหน็ คุณค่าและนำมา ประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตจริง ตัวชี้วดั ท ๑.๑ ม.๑/๑ อา่ นออกเสียงบทรอ้ ยแก้วและบทร้อยกรองไดถ้ ูกต้องเหมาะสมกบั เรื่องที่อา่ น ท ๑.๑ ม.๑/๒ จับใจความสำคญั จากเรี่องท่ีอา่ น ท ๑.๑ ม.๑/๙ มมี ารยาทในการอ่าน ท ๓.๑ ม.๑/๓ พดู แสดงความคิดเห็นอย่างสรา้ งสรรค์เก่ยี วกับเรื่องท่ีฟงั และดู ท ๓.๑ ม.๑/๖ มมี ารยาทในการฟงั การดู และการพูด ท ๕.๑ ม.๑/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดแี ละวรรณกรรมที่อ่าน ๒. สาระสำคญั วรรณคดีเรื่องราชาธิราช เป็นเรื่องที่เกี่ยวกับพงศาวดารมอญ ได้แปลและเรียบเรียงขึ้นตั้งแต่สมัย พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลที่ ๑) โดยทรงมอบให้กวี ๔ คน นั่นคือพระยาพระ คลงั (หน) พระยาอินทรอัคคราช พระภริ มยร์ ัศมี และพระศรีภูริปรีชา แปลและเรยี บเรยี งใหม่เปน็ รอ้ ยแก้ว โดย มีพระราชประสงค์ให้แต่งเป็นหนังสือสำหรับบำรุงสติปัญญาของพระบรมวงศานุวงศ์และข้าราชบริพาร นิยม อ่านเพื่อเป็นความรู้ด้านกลอุบายทางการเมือง วิสัยของมนุษย์ เรื่องราวทางศีลธรรม การใช้สติปัญญาในการ แกไ้ ขปัญหา มสี ำนวนโวหารไพเราะโดดเด่นและให้คตสิ อนใจเปน็ อยา่ งดี ๓. จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ๑. นกั เรยี นสามารถบอกทม่ี าของวรรณคดี เร่อื ง ราชาธิราชได้ ๒. นักเรยี นสามารถตอบคำถามเกีย่ วกบั วรรณคดี เร่อื ง ราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสาได้ ๔. สาระการเรยี นรู้ (เนื้อหา) ๔.๑ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง - วรรณคดแี ละวรรณกรรม


80 ๕. สมรรถนะสำคญั ของผเู้ รียน ๕.๑ ความสามารถในการส่ือสาร ๕.๒ ความสามารถในการคิด - การคิดอย่างมรี ะบบ - การให้เหตุผล - การวิเคราะห์ ๕.๓ ความสามารถในการใช้ทักษะชวี ติ 6. คณุ ลกั ษณะอันพึงประสงค์ ๖.๑ มวี นิ ัย ๖.๒ ใฝเ่ รยี นรู้ 6.3 ม่งุ ม่นั ในการทำงาน 7. ช้ินงาน / ภาระ แบบฝกึ หัดท่ี ๑.๑ แบบฝกึ หัดท่ี ๑.๒ 8. วิธีการวดั และประเมนิ ผล 8.๑ วธิ กี ารวัดและประเมินผล - ตรวจแบบฝกึ ท่ี ๑.๑ - ตรวจแบบฝึกท่ี ๑.๒ ๘.๒ เครือ่ งมอื การวัดและประเมินผล - แบบฝึกที่ ๑.๑ - แบบฝึกท่ี ๑.๒ ๘.๓ เกณฑก์ ารวดั และประเมินผล - ผ่าน หมายถึง นักเรียนทำแบบฝึกที่ ๑.๑ ไดค้ ะแนนร้อยละ ๖๐ ของคะแนนทั้งหมด - ผา่ น หมายถงึ นักเรียนทำแบบฝึกที่ ๑.๒ ไดค้ ะแนนร้อยละ ๖๐ ของคะแนนท้งั หมด ๙. กิจกรรมการเรียนรู้ ๑. ครใู ห้นกั เรียนทำท่าประจำตัวคนละ ๑ ทา่ เป็นการเชค็ ช่อื และเตรียมความพรอ้ มก่อนเข้าเรียน ๒. ครูชวนให้นักเรียนศึกษาเรื่องราวราชาธิราช ตอน สมิงพระรามอาสา โดยครูแจกใบความรู้ศึกษา เรอ่ื งราว ราชาธิราช ตอน สมงิ พระรามอาสา ให้กับนักเรียน ๓. ครูขออสาสมัคร ๕ คน ออกมาหน้าชั้นเรียน ให้นักเรียนที่เป็นอาสาสมัครจับสลากเลือกประเด็น เป็นลำดับท่ี ๑-๕ ไดแ้ ก่ ๓.๑ ความเปน็ มาของวรรณคดีเรือ่ งราชาธริ าช ๓.๒ จดุ มงุ่ หมาย ๓.๓ ผเู้ รยี บเรยี งตอนสมงิ พระรามอาสา ๓.๔ ลักษณะคำประพนั ธ์ ๓.๕ สาระนา่ รู้


81 นักเรียนคนที่หนึ่ง(คนที่ได้หมายเลข ๑) อ่านใบความรู้ในประเด็นความเป็นมาของวรรณคดีเรื่อง ราชาธิราชให้เพื่อน ๆ ฟัง แล้วให้นักเรียนทุกคนอ่านออกเสียงตาม เมื่ออ่านจบให้นักเรียนคนที่สอง(คนที่ได้ หมายเลข ๒) อ่านประเด็นที่ตนเองได้รับแล้วให้นักเรียนทุกคนอ่านตาม ทำแบบนี้ต่อไปเรื่อย ๆ จนครบทั้ง ๕ คน ๔. ครใู ห้นกั เรยี น แบง่ กลุม่ กลมุ่ ละ ๔ คน โดยใชเ้ พลง แกว้ กะลาขันโอง่ ร้องวา่ “แก้ว กะลา ขนั โอง่ เป่าลกู โป่ง โอ่ง ขัน กะลา แกว้ ”ซ้ำไป ๔ รอบ เมือ่ จบเพลง กลมุ่ นกั เรียนทีแ่ บง่ กลุ่มไดเ้ ป็นกลุ่มสุดท้าย จะต้อง เตน้ เพลงแกว้ กะลาขนั โอง่ สว่ นนกั เรียนทแ่ี บง่ กลุม่ เสรจ็ แลว้ ให้นง่ั เปน็ วงกลม สง่ ตัวแทนออกมารบั กระดาษบรู๊ฟ พรอ้ มอปุ กรณ์การเขียนกลุ่มละ ๑ ชดุ และกระดาษเอห้า โดยใหน้ กั เรียนเขยี นช่ือกลุ่มและรายช่ือสมาชิกลงใน กระดาษขนาดเอห้า นำมาหยอดใส่กล่องเสี่ยงทาย จากนั่นครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มทำแผนภาพความคิดใน ประเดน็ ต่อไปน้ี - ความเป็นมา - จุดมงุ่ หมาย - ผูแ้ ต่ง - ลกั ษณะคำประพันธ์ - ตวั ละคร ๖. ครูสุ่มกลุ่มนักเรียน จำนวน ๒ กลุ่ม เพื่อนำเสนอแผนผังความคิด โดยใช้วิธีจับสลากจากชื่อกลุ่ม เมื่อนำเสนอครบทงั้ สองกลุ่ม ครูสุ่มถามนักเรียนในกลุ่มอ่นื ๆ ท่ีไมไ่ ด้นำเสนอ เช่น - ใครเป็นคนนำตน้ ฉบับวรรณคดีเรอ่ื งราชาธริ าชไปตีพมิ พเ์ พื่อจำหน่าย - วรรณคดเี รือ่ งราชาธริ าชถูกแปลมาจากเรื่องอะไร - คนแปลวรรณคดีเรอ่ื งน้มี ีใครบ้าง - ใครเปน็ คนแปลและเรยี บเรียงตอน สมงิ พระรามอาสา ๗. ครูและนกั เรียนชว่ ยกันสรุปเน้อื หาท้ังหมดทไี่ ดน้ ำเสนอไป ๘. ครูแจกแบบฝึกที่ ๑.๑ และแบบฝึกที่ ๑.๒ ให้นักเรียนทำ เป็นรายบุคคล เมื่อเสร็จแล้วครูให้ นักเรียนสลบั กันตรวจแบบฝกึ โดยครูและนกั เรยี นร่วมกันเฉลยแบบฝึก 10. สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ - ใบความรศู้ ึกษาเรอ่ื งราว ราชาธริ าช ตอน สมงิ พระรามอาสา - แบบฝึกที่ ๑.๑ - แบบฝึกที่ ๑.๒ - กระดาษบรู๊ฟ - ปากกาเคมี หรอื ปากกาสี - กระดาษขนาดเอหา้ - กลอ่ งเส่ียงทาย ลงช่ือ ....................... (ผ้สู อน)


82 ๑ ๑ ศึกษาเรอ่ื งราว ราชาธริ าช ตอนสมิงพระรามอาสา ความเปนมาของวรรณคดเี รอ่ื งราชาธิราช วรรณคดเี ร่อื งราชาธิราช เป็นเรื่องที่เก่ียวกับพงศาวดารมอญ ได้แปลและ เรียบเรียงข้ึนตั้งแต่สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช (รัชกาลท่ี ๑) ปรากฏในบานแพนกว่า โปรดฯ ให้แปลและเรียบเรียงข้ึนเม่ือ ป มะเส็ง พ.ศ. ๒๓๒๘ โดยทรงมอบให้กวี ๔ คน นั่นคือพระยาพระคลัง (หน) พระยาอินทรอัคคราช พระภิรมย์รศั มี และพระศรีภูริปรีชา โดยหมอบรัดเลได้ นาตน้ ฉบบั มาตพี ิมพจ์ าหน่ายเปน็ ครงั้ แรกเมื่อ พ.ศ. ๒๔๒๓ จุดม่งุ หมาย ๑. เพื่อให้เปน็ ประโยชนเ์ กอื้ กูล แก่พระบรมวงศานุวงศ์ และขา้ ราชบรพิ าร ๒. เพื่อให้เปน็ ข้อคิด คติเตอื นใจแกท่ หารและประชาชน ผ้เู รียบเรียง ตอน สมิงพระรามอาสา เจา้ พระยาพระคลงั (หน)


83 ๒ ศึกษาเร่อื งราว ราชาธิราช ๑ ตอน สมิงพระรามอาสา ลกั ษณะคาประพนั ธ์ ราชาธริ าช ตอน สมิงพระรามอาสา แปลและเรยี บเรียงเปน็ รอ้ ยแกว้ สาระน่ารู้ ราชาธริ าชตอนสมงิ พระรามอาสาเป็นเรอื่ งของการทาศึกสงครามระหว่าง พม่าและมอญ โดยกษัตริย์ฝ่ายมอญคือพระเจ้าราชาธิราช แห่งกรุงหงสาวดี และกษตั รยิ ์ฝ่ายพม่า คือ พระเจ้าฝรั่งมัง ้อง หรอื พระเจา้ มณเฑียรทองแห่งกรุง อังวะ และมีสมิงพระรามเปน็ ทหารเอกของฝ่ายมอญ ที่มีความสามารถเก่งกล้า มาก เคยข่ีช้างบุกไปถึงหน้าค่ายของพม่า และสังหารทหารพม่าไปมากมาย หลายคน เพราะต้องการช่วยสมิงนครอินทร์ ทหารเอกอีกคนของพระเจ้า ราชาธิราช จนเป็นท่ีร่าลือถึงความสามารถ แต่ต่อมา สมิงพระรามพลาดท่า ขชี่ า้ งตกหล่ม จึงถูกจับตวั ไปขงั ทกี่ รงุ องั วะ


84 ๓ แบบฝกึ ท่ี ๑.๑ คา ชี้ แ จ ง ทาเครื่องหมาย ✓ หนา้ ข้อความที่ถกู ตอ้ ง แลว้ ทาเคร่ืองหมาย  หนา้ ขอ้ ความท่ีผดิ ตัวอยา่ ง  ๐. วรรณคดีเรือ่ ง ราชาธิราชถกู แปลและเรยี บเรยี งขนึ้ เพ่อื ยกยอ่ งกษัตริยฝ์ ่ายมอญ ๑. วรรณคดเี รือ่ งราชาธิราชเปน็ เรื่องท่ีเกีย่ วกับพงศาวดารจนี ๒. วรรณคดีเรื่องราชาธิราชเรียบเรียงข้ึนในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้า จุฬาโลกมหาราช ๓. วรรณคดเี รื่องราชาธริ าชถกู แปลและเรยี บเรยี งโดยกวี ๔ คน ๔. หมอบรัดเลไดน้ าต้นฉบับมาตีพมิ พ์จาหนา่ ยเปน็ คร้งั แรกเมอ่ื พ.ศ. ๒๔๒๓ ๕. วรรณคดเี รือ่ งราชาธิราชถกู แปลและเรยี บเรียงเปน็ ร้อยกรอง ๖. พระเจา้ ราชาธริ าชเปน็ กษัตรยิ ์ฝา่ ยพม่า ๗. พระเจา้ ฝร่ังมัง ้องกบั พระเจ้ามณเฑยี รทองเป็นคน ๆ เดียวกัน ๘. พระยาพระคลงั (หน) เป็นผู้แปลและเรียบเรยี ง ราชาธิราช ตอนสมิงพระรามอาสา ๙. ราชาธิราชถูกแปลและเรียบเรียงข้ึนเพ่อื ให้เป็นขอ้ คดิ คติเตือนใจแกท่ หารและประชาชน ๑๐. สมงิ พระรามและสมิงนครอินทรเ์ ปน็ ทหาเอกของพม่า


85 ๔ แบบฝกึ ท่ี ๑.๒ คาช้แี จง เขียนคาตอบลงในชอ่ งวา่ งทกี่ าหนดใหด้ ้วยลายมือตัวบรรจงครง่ึ บรรทดั ตัวอย่าง ๐. วรรณคดเี ร่อื งราชาธริ าช เนือ้ เร่ืองเกีย่ วกับอะไร ตอบ การทาศกึ สงครามระหวา่ งพม่าและมอญ ๑. วรรณคดีเรอื่ งราชาธริ าชถกู แปลและเรยี บเรยี งขน้ึ มาในสมัยใด ๒. วรรณคดเี รอื่ งราชาธริ าชถูกนามาดัดแปลงจากวรรณคดปี ระเภทใด ๓. กวคี นใดแปลและเรยี บเรยี งวรรณคดีเร่อื งราชาธิราชตอนสมงิ พระราม ๔. วรรณคดีเร่ืองราชาธราชตอนสมิงพระรามอาสาใช้รปู แบบการประพนั ธ์แบบใด ๕. สมิงพระรามเปน็ ทหารเอกของเมอื งใด