Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เล่มที 6 ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารและการแก้ปัญหาเบื้องต้น

เล่มที 6 ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารและการแก้ปัญหาเบื้องต้น

Published by อรุณี สุเมธโสภณ, 2020-12-10 10:23:46

Description: เล่มที 6 ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีการสื่อสารและการแก้ปัญหาเบื้องต้น

Search

Read the Text Version

บทเรยี นออนไลน์อเิ ล็กทรอนิคส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) ก ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารและการแกป้ ญั หาเบอ้ื งต้น

บทเรียนออนไลนอ์ ิเล็กทรอนคิ ส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) ก สำหรับบทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระ กำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 2 เล่มนี้ ได้จัดทำขึ้น เพื่อ เป็นส่ือประกอบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 2 เพื่อพัฒนำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน โรงเรียนวฒั นำนคร สังกัดองคก์ ำรบริหำรส่วนจังหวัดสระแกว้ บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 2 มีเนื้อหำสำระกำรเรียนรู้สอดคล้อง กับหลักสูตรกำรศึกษำข้ันพ้ืนฐำน พุทธศักรำช 2551 และหลักสูตรสถำนศึ กษำ ตำม กระทรวงศึกษำธิกำรกำหนด ซึ่งนับว่ำมีควำมสำคัญอย่ำงยิ่งสำหรับนักเรียน เพรำะถือเป็นพ้ืนฐำน สำคญั ของกำรใช้เทคโนโลยีในยุค 4.0 และสอดคล้องกับกำรเรียนรู้ในศตวรรษท่ี 21 น้ี โดยใช้ร่วมกับ กำรเรียนรู้แบบใช้โครงงำนเป็นฐำน เพื่อส่งเสริมและพัฒนำกำรเรียนรู้ด้ำนเทคโนโลยีแก่นักเรียน ตลอดจนทักษะกำรคดิ วเิ ครำะห์ สงั เครำะห์ และกำรแก้ปัญหำ เพ่ือกำรนำไปใช้ในชีวิตประจำวนั ผู้จัดทำมุ่งหวังว่ำ บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 2 จะอำนวย ประโยชนแ์ กผ่ ้รู ักกำรอำ่ น นักเรยี น และผูส้ นใจ ได้เป็นอยำ่ งย่งิ นำงอรุณี สเุ มธโสภณ ตำแหน่ง ครู วทิ ยำฐำนะ ครูชำนำญกำรพเิ ศษ ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่อื สารและการแก้ปญั หาเบื้องต้น

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ลก็ ทรอนิคส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) ข บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 2 เล่มน้ี ได้จัดทำขึ้น เพื่อเป็นสื่อ ประกอบกำรจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 2 เพ่ือพัฒนำผลสัมฤทธ์ิทำงกำรเรียน โรงเรียนวัฒนำนคร สังกัดองค์กำรบริหำรส่วนจังหวัดสระแก้ว บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้น มัธยมศึกษำปีที่ 2 มีเนื้อหำสำระกำรเรียนรู้สอดคล้องกับหลักสูตรกำรศึกษำขั้นพื้นฐำน พุทธศักรำช 2551 และหลักสูตรสถำนศึกษำ ตำมกระทรวงศึกษำธิกำรกำหนด ซ่ึงนับว่ำมีควำมสำคัญอย่ำงย่ิง สำหรับนักเรียน เพรำะถือเป็นพ้ืนฐำนสำคัญของกำรใช้เทคโนโลยีในยุค 4.0 และสอดคล้องกับกำรเรียนรู้ ในศตวรรษท่ี 21 น้ี โดยใช้ร่วมกับกำรเรียนรู้แบบใช้โครงงำนเป็นฐำน เพ่ือส่งเสริมและพัฒนำ กำรเรียนรู้ด้ำนเทคโนโลยีแก่นักเรียน ตลอดจนทักษะกำรคิดวิเครำะห์ สังเครำะห์ และกำรแก้ปัญหำ เพ่อื กำรนำไปใช้ในชวี ิตประจำวนั บทเรียนออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วิชำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้ วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรบั นักเรียนช้ันมธั ยมศกึ ษำปีท่ี 2 จำนวน 6 เล่ม ดงั น้ี เลม่ ท่ี 1 วิทยำกำรเชิงคำนวณ เลม่ ท่ี 2 กำรออกแบบอลั กอริทึมท่ใี ชแ้ นวคดิ เชิงคำนวณในกำรแก้ปัญหำ เลม่ ที่ 3 กำรออกแบบและเขียนโปรแกรมทีใ่ ชต้ รรกะและฟังกช์ ่นั ในกำรแก้ปญั หำ เลม่ ที่ 4 กำรออกแบบและเขียนโปรแกรมดว้ ยภำษำไพทอน เล่มท่ี 5 องคป์ ระกอบและหลักกำรทำงำนของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยสี ำรสนเทศ เลม่ ที่ 6 ประยุกต์ใช้งำนระบบคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีกำรสื่อสำรและกำรแก้ปัญหำ เบ้ืองต้น บทเรยี นออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วชิ ำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรยี นชัน้ มัธยมศึกษำปที ี่ 2 เลม่ นี้ คอื เลม่ ท่ี 6 ประยกุ ตใ์ ช้งำน ระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ำรสื่อสำรและกำรแกป้ ัญหำเบื้องตน้ ทั้งน้ี บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับ นักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีที่ 2 เป็นแบบ E-Book มีลักษณะเป็นหนังสือ อิเล็กทรอนิกส์ โดยสำมำรถสแกนผ่ำน QR-Code หรือเข้ำผ่ำนลิงค์เว็บ ไซด์ เพ่ือใช้งำนตำมปกติ พร้อมกับรูปเล่มจริง ตำมลิงค์ออนไลน์ท่ีแนบน้ี https://pubhtml5.com/bookcase/........... QR-Code ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสารและการแก้ปญั หาเบ้ืองต้น

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ลก็ ทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) ค เน่ืองจำกบทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำร คำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษำปีท่ี 2 เล่มนี้ เป็นแบบ E-Book มี ลักษณะเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยสำมำรถสแกนผ่ำน QR-Code หรือเข้ำผ่ำนลิงค์เว็บไซด์ เพื่อใช้งำนตำมปกติ QR-Code พ ร้ อ ม กั บ รู ป เ ล่ ม จ ริ ง ต ำ ม ลิ ง ค์ อ อ น ไ ล น์ ที่ แ น บ นี้ https://pubhtml5.com/bookcase/............. ควรปฏิบัติ ดงั น้ี 1. ศึกษำและทำควำมเขำ้ ใจคู่มือกำรใชแ้ ละบทเรยี นออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนิคส์ วชิ ำ วทิ ยำกำร คำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรบั นักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษำ ปที ่ี 2 เลม่ น้ี ใหเ้ ข้ำใจก่อนนำไปใช้งำน 2. จดั เตรียมบทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนคิ ส์ วิชำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระ กำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศึกษำปีท่ี 2 สำหรบั แจกให้นักเรยี น 3. แนะนำกำรใช้งำนบทเรยี นออนไลนอ์ เิ ลก็ ทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลมุ่ สำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรยี นชั้นมธั ยมศึกษำปที ี่ 2 4. ให้นกั เรยี นลงมือทำแบบทดสอบก่อนเรียนประจำบทเรียนออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วชิ ำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรบั นักเรยี นช้ัน มัธยมศกึ ษำปีที่ 2 5. เปดิ โอกำรสใหน้ กั เรยี นศกึ ษำเนอื้ หำ หรือบทเรยี นในบทเรียนออนไลนอ์ ิเล็กทรอนิคส์ วชิ ำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรวู้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรยี นช้ัน มธั ยมศกึ ษำปีที่ 2 ด้วยตนเอง ตำมกระบวนกำรเรียนรู้แบบใชโ้ ครงงำนเปน็ ฐำน 6. ให้นกั เรียนทบทวนควำมรู้ ควำมเข้ำใจดว้ ยกำรทำกจิ กรรมฝึกทักษะให้ครบถ้วนทุกตอน 7. ใหน้ กั เรยี นลงมือทำแบบทดสอบหลังเรียนประจำบทเรยี นออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนิคส์ วิชำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนช้นั มัธยมศกึ ษำปที ่ี 2 8. นำนกั เรยี นตรวจคำตอบและเฉลยคำตอบท้งั หมด เพื่อบันทึกคะแนนท้ำยบทเรยี นออนไลน์ อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนร้วู ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนกั เรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 2 หมำยเหตุ : บทเรียนออนไลน์อเิ ลก็ ทรอนคิ ส์ น้ี นักเรยี นสำมำรถกลบั มำเรียนร้แู ละทบทวนได้ ภำยหลังจำกทเี่ รยี นเสรจ็ แล้ว หำกนักเรยี นไม่เข้ำใจหรอื ต้องกำรทบทวนเน้ือหำนอกเวลำเรียน สำหรับ กิจกรรมระหวำ่ งเรียนอำจมที ั้งแบบเดีย่ วและกลุ่ม ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสารและการแก้ปญั หาเบอ้ื งตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) ง เนื่องจำกบทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำร คำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์และ เทคโนโลยี สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มัธยมศกึ ษำปีที่ 2 เลม่ นี้ เป็นแบบ E- Book มลี กั ษณะเป็นหนังสืออิเล็กทรอนิกส์ โดยสำมำรถสแกนผ่ำน QR-Code หรือเข้ำผ่ำนลิงค์เว็บไซด์ เพ่ือใช้งำนตำมปกติ พร้อมกับ QR-Code รู ป เ ล่ ม จ ริ ง ต ำ ม ลิ ง ค์ อ อ น ไ ล น์ ที่ แ น บ น้ี https://pubhtml5.com/bookcase/........... ควรปฏิบัติ ดังน้ี 1. ศึกษำและทำควำมเข้ำใจคำช้ีแจง และบทบำทนักเรียน เพ่อื กำรใช้บทเรียนออนไลน์ อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรยี นร้วู ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนกั เรียนชน้ั มัธยมศกึ ษำปที ี่ 2 เล่มนี้ ใหเ้ ขำ้ ใจก่อนนำไปใชง้ ำน 2. นักเรียนลงมือทำแบบทดสอบก่อนเรยี นประจำบทเรยี นออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วิชำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุม่ สำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 2 3. นกั เรียนศกึ ษำบทเรยี นออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วิชำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่ม สำระกำรเรยี นรูว้ ทิ ยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรยี นชน้ั มธั ยมศึกษำปีที่ 2 ด้วยตนเอง ตำม กระบวนกำรเรียนรู้ (ด้วยกำรเรยี นร้แู บบ SQ4R) 4. นักเรียนทบทวนควำมรู้ ควำมเข้ำใจดว้ ยกำรทำกจิ กรรมฝึกทักษะใหค้ รบถว้ นทุกตอน 5. นกั เรียนลงมือทำแบบทดสอบหลังเรียนประจำบทเรียนออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วชิ ำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุม่ สำระกำรเรยี นรู้วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนกั เรยี น ชน้ั มธั ยมศึกษำปที ี่ 2 6. นกั เรียนรว่ มตรวจคำตอบและเฉลยคำตอบท้ังหมด เพื่อบันทึกคะแนนท้ำยบทเรียน ออนไลนอ์ ิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วทิ ยำกำรคำนวณ (ว22103) กลมุ่ สำระกำรเรยี นรู้วทิ ยำศำสตรแ์ ละ เทคโนโลยี สำหรบั นกั เรยี นชนั้ มธั ยมศกึ ษำปที ี่ 2 7. นกั เรียนสำมำรถศึกษำทบทวนเน้อื หำบทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วทิ ยำกำร คำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรยี นรวู้ ิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชัน้ มัธยมศกึ ษำ ปีที่ 2 ได้ตลอดเวลำ หลงั เรียนเสรจ็ แลว้ หำกไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ร้อยละ 80.00 หมำยเหตุ : บทเรยี นออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ นี้ นักเรียนสำมำรถกลับมำเรยี นรแู้ ละทบทวนได้ ภำยหลงั จำกทเี่ รยี นเสร็จแล้ว หำกนักเรยี นไม่เข้ำใจหรอื ต้องกำรทบทวนเนื้อหำนอกเวลำเรียน สำหรบั กิจกรรมระหวำ่ งเรยี นอำจมีทั้งแบบเดยี่ วและกลุ่ม ประยกุ ตใ์ ช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและการแก้ปัญหาเบอ้ื งต้น

บทเรยี นออนไลน์อเิ ลก็ ทรอนิคส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) จ ข้อควรระวังและปฏบิ ตั ิกอ่ นการดาเนนิ การสอน 1. ศึกษำแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้อย่ำงละเอียด 2. เตรยี มอุปกรณ์ ส่ือกำรเรยี นกำรสอนใหเ้ รยี บร้อย 3. ศกึ ษำรำยละเอียดบทเรยี นออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนิคส์ก่อนกำรเรียนรู้ 4. กำหนดบทบำทสมำชใิ นกลุ่มทรำบถงึ กำรปฏบิ ตั ติ มบทบำทตำ่ งๆ โดยสมำชิกทุกคนในกลุ่ม ต้องไดท้ ำทุกบทบำท 5. ครูผู้สอนชี้แจงวธิ กี ำรใช้บทเรยี นออนไลน์อเิ ล็กทรอนิคส์และกิจกรรมที่นักเรียนต้องปฏิบัติ ข้อควรระวงั และปฏิบตั ขิ ณะดาเนินการสอน 1. ชแี้ จงกำรใช้บทเรียนออนไลน์อเิ ล็กทรอนคิ ส์ใหน้ ักเรยี นทุกคนทรำบ 2. ตำเนินกิจกรมตมแผนกำรจัดกำรเรยี นรู้ เพ่ือให้สอดคลอ้ งกับจดุ ประสงค์กำรเรียนรู้ เนื้อหำ และเวลำท่กี ำหนด 3. ครผู สู้ อนต้องให้คำแนะนำและคอยดูแลนกั เรยี นอยำ่ งใกล้ชิด 4. ให้นักเรียนเรยี นรจู้ ำกบทเรียนออนไลน์อเิ ล็กทรอนิคส์ตำมชั้นตอนอยำ่ งเครง่ ครดั และมี ควำมซ่อื สตั ยต์ ่อตนเอง 5. ตรวจสอบกำรทำงำนของนักเรียนและสรุปบทเรียนร่วมกันนกั เรยี น ขอ้ ควรระวังและปฏิบตั เิ มื่อดาเนินการสอนสน้ิ สุด 1. ครผู ู้สอนใหน้ กั เรียนทำแบบทดสอบหลังเรยี น 2. ตรวจผลงำนจำกกำรทำแบบทดสอบและกจิ กรรมระหวำ่ งเรียน 3. ถำ้ นักเรียนไมผ่ ำ่ นเกณฑ์ที่ระบุไว้ ครูควรใหน้ ักเรยี นศึกษำและทบทวนเน้ือหำใหม่อกี ครั้ง แลว้ ทำแบบทดสอบหลงั เรยี นใหผ้ ่ำนเกณฑท์ ก่ี ำหนดไว้ ประยกุ ตใ์ ช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสอ่ื สารและการแกป้ ญั หาเบอ้ื งตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ลก็ ทรอนิคส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) ฉ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) กลมุ่ สาระการเรียนรู้วิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 2 จานวน 1.0 หน่วยกติ ปีการศกึ ษา 1/2561 เวลา 40 ชวั่ โมง ศกึ ษำกำรออกแบบอลั กอริทมึ ทีใ่ ช้แนวคิดเชิงคำนวณในกำรแก้ปัญหำ หรือกำรทำงำนที่พบ ในชีวิตจริงกำรออกแบบและเขียนโปรแกรมท่ีใช้ตรรกะและฟังก์ชันในกำรแก้ปัญหำ กำรเขียน โปรแกรมโดยใชซ้ อฟต์แวร์Scratch, python, java และ c อภปิ รำยองค์ประกอบและหลักกำรทำงำน ของระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีกำรส่ือสำรเพ่ือประยุกต์ใช้งำนหรือแก้ปัญหำเบ้ืองต้น ตลอดจน ใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศอยำ่ งปลอดภยั มีควำมรบั ผิดชอบ สร้ำงและแสดงสิทธิในกำรเผยแพรผ่ ลงำน โดยอำศยั กระบวนกำรเรียนรู้โดยใช้ปัญหำเป็นฐำน (Problem-based Learning) และกำร เรียนรู้แบบใช้โครงงำนเป็นฐำน (Project-based Learning) เพื่อเน้นให้ผู้เรียนได้ลงมือปฏิบัติ ฝึกทักษะกำรคิด เผชิญสถำนกำรณ์กำรแก้ปัญหำ วำงแผนกำรเรียนรู้ ตรวจสอบกำรเรียนรู้ และ นำเสนอผ่ำนกำรทำกิจกรรมโครงงำน เพื่อให้เกิดทักษะ ควำมรู้ ควำมเข้ำใจ และทักษะใน กำรวิเครำะห์โจทยป์ ัญหำ จนสำมำรถนำเอำแนวคิดเชิงคำนวณมำประยุกตใ์ ช้ในกำรสร้ำงโครงงำนได้ เพอ่ื ให้ผู้เรียนมีควำมรู้ ควำมเข้ำใจ กำรนำข้อมูลปฐมภูมิเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ วิเครำะห์ ประเมิน นำเสนอข้อมูลและ สำรสนเทศได้ตำมวัตถุประสงค์ ใช้ทักษะกำรคิดเชิงคำนวณในกำร แก้ปัญหำที่พบในชีวิตจริง และเขียนโปรแกรมอย่ำงง่ำย เพ่ือช่วย ในกำรแก้ปัญหำ ใช้เทคโนโลยี สำรสนเทศและกำรสื่อสำรอย่ำงรู้เท่ำทันและรับผิดชอบต่อสังคม ตลอดจนนำควำมรู้ควำมเข้ำใจใน วิชำวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยีไปใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อสังคมและกำรดำรงชีวิต จนสำมำรถพัฒนำ กระบวนกำรคิดและจินตนำกำร มีควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำและมีทักษะในกำรสื่อสำร มีควำมสำมำรถในกำรตดั สินใจ และเป็นผ้ทู ่มี จี ิตวิทยำศำสตร์ มีคณุ ธรรม จรยิ ธรรม และค่ำนยิ มในกำร ใช้วิทยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยอี ยำ่ งสร้ำงสรรค์ ตวั ชว้ี ัด คอื ว 4.2 ม.2/1, ม.2/2, ม.2/3, ม.2/4 รวม 4 ตวั ชี้วดั ประยุกตใ์ ช้งานระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและการแกป้ ญั หาเบื้องตน้

บทเรียนออนไลน์อเิ ลก็ ทรอนคิ ส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) ช แนวคดิ สาคญั เครอ่ื งมือสอ่ื สำรที่ใช้กนั แพร่หลำยในยคุ ปจั จุบนั คือ สมำรต์ โฟน แทบ็ เล็ต และคอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ที่ใช้ติดต่อส่ือสำรระหว่ำงกันก็มีหลำกหลำย เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ก ทวิตเตอร์ ในแต่ละ โปรแกรมมเี ครอื่ งมือสำหรับแบ่งปันขอ้ มลู ข่ำวสำรทัง้ ท่รี บั มำจำกผู้อื่น และที่ค้นข้ึนเองไปให้สมำชิกอื่น ๆ กำรเผยแพร่ข้อมูลที่ไม่ควรเปิดเผยอำจทำให้เกิดควำมเสียหำยต่อผู้ที่ถูกพำดพิงถึง และผู้เผยแพร่ ขอ้ มลู ทกุ คนมคี วำมผิดไปดว้ ย กำรใช้เทคโนโลยโี ดยไม่ระมัดระวังหรือใช้ด้วยควำมคึกคะนอง เชน่ กำรเผยแพร่ข้อมูลท่ีรับมำ โดยไม่พิจำรณำให้รอบคอบ กำรถ่ำยทำคลิปล้อเลียนผู้อ่ืนหรือคลิปตลกขบขันที่พำดพิงถึงคนอื่นแล้ว เผยแพร่ทำงอนิ เทอร์เนต็ อำจมคี วำมผิดตำมพระรำชบญั ญัติคอมพิวเตอร์ ผูใ้ ชอ้ นิ เทอร์เน็ตต้องมีควำมรับผิดชอบต่อสำรสนเทศท่ีได้เผยแพร่ออกไป โดยสำรสนเทศน้ัน ตอ้ งไมส่ ร้ำงควำมเดอื ดรอ้ นแกผ่ ูอ้ น่ื ไม่คัดลอกสำรสนเทศของผู้อ่ืนมำเผยแพร่ เว้นแต่จะได้รับอนุญำต เปน็ ลำยลกั ษณ์อักษร โดยจะต้องศึกษำระเบยี บกฎเกณฑใ์ นกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศใหเ้ ขำ้ ใจก่อน กำรวำงแนวทำงในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศจะช่วยให้ใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศได้อย่ำง ปลอดภยั และมีควำมรบั ผดิ ชอบ สำรสนเทศและสิง่ ประดษิ ฐท์ ี่สรำ้ งขน้ึ เองเปน็ ทรพั ยส์ ินทำงปัญญำ เม่ือสรำ้ งขึ้นมำแล้วนำไป เผยแพรอ่ ำจถกู ลอกเลยี นแบบ จงึ ต้องจดสิทธิบตั รเพอ่ื ไมใ่ ห้ถกู ละเมิด โดยผู้อืน่ สิ่งประดิษฐ์หรือสำรสนเทศท่ีจดลิขสิทธ์ิบัตรแล้วจะได้รับกำรคุ้มครองตำมพระรำชบัญญัติ ตำมชว่ งเวลำทก่ี ำหนดในสทิ ธบิ ตั รนั้น สาระการเรยี นรู้ ประยุกตใ์ ชง้ ำนระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีกำรสื่อสำรและกำรแก้ปัญหำเบ้ืองตน้ 1. กำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศอยำ่ งปลอดภัย 2. ภยั จำกกำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศ 3. ควำมรับผิดชอบของผใู้ ช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศ 4. กำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศอย่ำงปลอดภยั และมคี วำมรับผดิ ชอบ 5. กำรสร้ำงและกำรแสดงสิทธิในกำรเผยแพรผ่ ลงำน 6. พระรำชบัญญตั ิลขิ สิทธิ์ ประยุกตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสารและการแกป้ ญั หาเบอื้ งต้น

บทเรียนออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนคิ ส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) ซ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. มีควำมรู้ ควำมเขำ้ ใจสำมำรถตอบคำถำมเกีย่ วกับประยุกต์ใชง้ ำนระบบคอมพวิ เตอร์และ เทคโนโลยีกำรสอื่ สำรและกำรแก้ปญั หำเบ้ืองตน้ ได้ (K) 2. อธิบำยเก่ยี วกับประยกุ ต์ใช้งำนระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ำรส่อื สำรและกำร แกป้ ัญหำเบ้ืองตน้ ได้ (A) 3. ปฏบิ ตั ิตำมคำส่งั ของกำรใช้งำนโปรแกรมท่ีกำหนดได้ (P) 4. ออกแบบ กำหนด และทำโครงงำน หรอื ช้ินงำนตำมท่ีกำหนดได้ (P) 5. สือ่ สำร และใช้ทกั ษะกำรคิด กำรแกป้ ัญหำ ทักษะชีวิต และกำรใช้เทคโนโลยไี ด้ (P) 6. มคี วำมกระตอื รือร้น ใฝ่เรยี นรู้ และใหค้ วำมร่วมมือในกจิ กรรมกลมุ่ (A) สมรรถนะที่สาคัญ หลกั สตู รแกนกลำงกำรศึกษำขั้นพน้ื ฐำน มุง่ ให้ผ้เู รยี นเกิดสมรรถนะสำคญั 5 ประกำร ดังน้ี 1. ควำมสำมำรถในกำรส่ือสำร 2. ควำมสำมำรถในกำรคดิ 3. ควำมสำมำรถในกำรแก้ปัญหำ 4. ควำมสำมำรถในกำรใชท้ ักษะชวี ิต 5. ควำมสำมำรถในกำรใชเ้ ทคโนโลยี คุณลกั ษณะอันพึงประสงค์ หลักสูตรแกนกลำงกำรศึกษำข้ันพื้นฐำน มุ่งพัฒนำผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เพ่ือใหส้ ำมำรถอยู่ร่วมกบั ผู้อ่ืนในสงั คมได้อยำ่ งมคี วำมสุข ในฐำนะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดงั น้ี 1. รกั ชำติ ศำสน์ กษัตรยิ ์ 2. ซื่อสตั ย์สุจริต 3. มีวินยั 4. ใฝ่เรียนรู้ 5. อยอู่ ย่ำงพอเพยี ง 6. มุง่ ม่นั ในกำรทำงำน 7. รักควำมเป็นไทย 8. มจี ติ สำธำรณะ ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่อื สารและการแก้ปญั หาเบ้อื งต้น

บทเรียนออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนคิ ส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) ฌ ภาระงาน/ช้ินงาน บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ วิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษำปีท่ี 2 เล่มท่ี 6 ประยุกต์ใช้งำนระบบ คอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยกี ำรส่อื สำรและกำรแก้ปญั หำเบ้ืองตน้ 1. แบบทดสอบก่อนเรยี น 2. กิจกรรมระหว่ำงเรียน 3. แบบทดสอบหลงั เรียน การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1. แบบทดสอบก่อนเรียน เกณฑก์ ำรประเมินนักเรียนต้องได้คะแนน ร้อยละ 80 ขน้ึ ไป 2. กจิ กรรมระหว่ำงเรยี น เกณฑก์ ำรประเมินนักเรียนต้องไดค้ ะแนน ร้อยละ 80 ขึน้ ไป 3. แบบทดสอบหลังเรียน เกณฑ์กำรประเมินนักเรียนต้องไดค้ ะแนน ร้อยละ 80 ขนึ้ ไป ประยกุ ต์ใช้งานระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสือ่ สารและการแก้ปญั หาเบ้ืองตน้

บทเรยี นออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) ญ คำนำ หนา้ คำชี้แจง ก คำแนะนำสำหรบั ครู ข คำแนะนำสำหรบั นักเรยี น ค ข้อควรระวงั และปฏบิ ัติ ง คำอธบิ ำยรำยวิชำพ้นื ฐำน จ บทเรยี นออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชำ วิทยำกำรคำนวณ (ว22103) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้ ฉ วทิ ยำศำสตรแ์ ละเทคโนโลยี สำหรบั นกั เรยี นช้นั มัธยมศกึ ษำปีท่ี 2 แบบทดสอบก่อนเรยี น ช กะดำษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น 1 ใบควำมรู้ เรอ่ื ง ประยุกต์ใชง้ ำนระบบคอมพวิ เตอร์และเทคโนโลยีกำรส่ือสำร 3 และกำรแกป้ ญั หำเบ้ืองตน้ 4 กิจกรรมท่ี 1 19 กิจกรรมที่ 2 20 กจิ กรรมท่ี 3 21 กิจกรรมที่ 4 22 แบบทดสอบหลังเรียน 23 กระดำษคำตอบแบบทดสอบหลังเรยี น 25 ภำคผนวก 26 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรียน 31 แบบบนั ทึกคะแนนผลกำรทำกจิ กรรม 32 บรรณนกุ รม 33 ประวตั ิยอ่ ผู้จดั ทำ 34 ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสื่อสารและการแกป้ ัญหาเบื้องตน้

บทเรียนออนไลน์อิเลก็ ทรอนคิ ส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 1 แบบทดสอบก่อนเรียน เร่อื ง ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่ือสาร และการแก้ปญั หาเบื้องต้น คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบทถ่ี ูกท่สี ดุ เพียงคำตอบเดยี วแล้วทำเครื่องหมำย X ลงในกระดำษคำตอบ 1. ข้อใด คือ ควำมหมำยของเทคโนโลยสี ำรสนเทศ ก. เทคโนโลยีที่ใชใ้ นกำรติดต่อส่อื สำรเพ่อื รับและสง่ ข่ำวสำร ข. ควำมรับผิดชอบของผู้ใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศ ค. กำรสร้ำงและกำรแสดงสิทธใิ นกำรเผยแพร่ผลงำน ง. กำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศอย่ำงปลอดภยั และมคี วำมรับผดิ ชอบ 2. คำว่ำ “ควำมเป็นอยู่ สุขสบำยดหี รือไม่ ผลกำรเรยี นดไี หม” มชี อ่ื เรียกวำ่ อย่ำงไร ก. ขำ่ วสำร ข. สิทธบิ ัตร ค. ทรพั ย์สินทำงปัญญำ ง. ทรัพยส์ ินทำงอตุ สำหกรรม 3. ขอ้ ใด คือ ลักษณะของสำรสนเทศวิทยุกระจำยเสียง ก. สอื่ ประสม ข. เสยี ง ค. ภำพเคลื่อนไหว ง. ขอ้ ควำม+รปู ภำพ 4. ข้อใด คือ ควำมหมำยของอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์หรอื อำชญำกรรมไซเบอร์ ก. ทำใหท้ ุกคนท่สี นใจสำมำรถรบั รู้ขำ่ วสำรและข้อมูลได้ ข. กำรใชค้ อมพวิ เตอร์หรอื สมำทร์โฟนเพ่ือคน้ หำข้อมลู ค. กำรใช้คอมพิวเตอร์หรือสมำทร์โฟนเพ่ือกำรศึกษำหำควำมรูด้ ้วยตนเอง ง. อำชญำกรรมใด ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับคอมพิวเตอรแ์ ละเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ 5. ผ้ใู ชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศที่กระทำควำมผดิ ต้องรบั ผิดตำมกฎหมำยในข้อใด ก. ควำมผิดตำมพระรำชบญั ญตั ิ ข. ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ค. ควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณชิ ย์ ง. ถกู ทกุ ข้อท่ีกล่ำวมำ ประยกุ ต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่ือสารและการแกป้ ญั หาเบื้องต้น

บทเรียนออนไลน์อิเลก็ ทรอนคิ ส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 2 6. ข้อใด คือ ควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ก. ลักทรพั ย์ ฉอ้ โกง ยกั ยอกทรพั ย์ ข. กำรผดิ สัญญำ ละเมิดลขิ สิทธ์ิ ค. เคร่อื งหมำยกำรค้ำ ง. ทรัพย์สินทำงปัญญำ 7. ข้อใด คือ กำรวำงแนวทำงในกำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศอยำ่ งปลอดภยั และมีควำมรับผดิ ชอบ ก. หลักรู้เขำ-รเู้ รำ ข. หลักกนั ไวด้ ีกวำ่ แก้ ค. หลักคุณธรรม ง. ถกู ทกุ ขอ้ ทกี่ ลำ่ วมำ 8. ขอ้ ใด คือ แนวคดิ สำคญั ของกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศอยำ่ งปลอดภยั และมีควำมรบั ผดิ ชอบ ก. เปน็ กำรเขียนคำส่ังใหค้ วบคุมกบั คอมพวิ เตอร์ ข. เครื่องคอมพิวเตอร์และองคป์ ระกอบต่ำง ๆ ค. สำรสนเทศและสิง่ ประดิษฐ์ท่ีสรำ้ งขึน้ เอง เปน็ ทรัพย์สินทำงปัญญำ ง. กำรวำงแนวทำงในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศจะชว่ ยให้ใชเ้ ทคโนโลยไี ด้อยำ่ งปลอดภัย 9. ข้อใด คือ ควำมหมำยของทรัพย์สนิ ทำงปัญญำ ก. ผลงำนอนั เกิดจำกกำรประดิษฐ์ คดิ คน้ หรอื สรำ้ งสรรค์ของมนุษย์ ข. ควำมคดิ สรำ้ งสรรค์ของมนุษย์ทเี่ กี่ยวกบั สินค้ำอสุ ำหกรรม ค. สิทธบิ ัตรกำรประดิษฐ์ อนุสทิ ธบิ ตั ร สิทธิบัตรกำรออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ง. แบบผังคุมของวงจรรวม ส่ิงบ่งช้ที ำงภมู ศิ ำสตร์ 10. ข้อใด คอื แนวคดิ สำคัญของพระรำชบัญญัติลิขสทิ ธ์ิ ก. ประเภทสิทธบิ ตั รคมุ้ ครองผลติ ภัณฑอ์ ตุ สำหกรรม ข. ลขิ สทิ ธส์ิ ิ่งพมิ พ์ในประเทศไทย ค. สงิ่ ประดิษฐห์ รอื สำรเทศท่ีจดสิทธบิ ตั รแลว้ จะไดร้ บั กำรคุ้มครองตำมพระรำชบญั ญัตติ ำม ชว่ งเวลำทกี่ ำหนด ง. เครื่องหมำยกำรค้ำจดทะเบียน ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสื่อสารและการแกป้ ญั หาเบือ้ งต้น

บทเรียนออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 3 กระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนเรยี น เร่ือง ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสาร และการแก้ปัญหาเบ้อื งต้น คาชีแ้ จง ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกทส่ี ดุ เพียงคำตอบเดียวแล้วทำเคร่ืองหมำย X ลงในกระดำษคำตอบ ขอ้ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ ..................... คะแนน  ผ่าน  ไมผ่ า่ น ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและการแก้ปัญหาเบือ้ งตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 4 เรอ่ื ง ประยกุ ต์ใช้งานระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสอ่ื สาร และการแกป้ ัญหาเบื้องต้น แนวคิดสาคญั เทคโนโลยีสารสนเทศ คือ เทคโนโลยีท่ีใช้ เครื่องมือสื่อสำรที่ใช้กันแพร่หลำยใน ในกำรติดต่อสื่อสำรเพ่ือรับและส่งข่ำวสำรรวมถึง ข้อมูลท่ีเป็นประโยชน์หรือข้อมูลที่จำเป็นสำหรับ ยุคปัจจุบัน คือ สมำร์ตโฟน แท็บเล็ต และ กำรทำ ธุรกรรม กำรส่งข่ำวสำร เช่น กำรส่ง คอมพิวเตอร์ ส่วนซอฟต์แวร์ที่ใช้ติดต่อสื่อสำร ขอ้ ควำมออนไลนถ์ งึ เพอื่ น หรือเขียนเป็นจดหมำย ระหว่ำงกันก็มีหลำกหลำย เช่น ไลน์ เฟซบุ๊ก สง่ ทำงไปรษณยี ใ์ นข้อควำม หรือจดหมำยนั้นบอก ทวิตเตอร์ ในแต่ละโปรแกรมมีเครื่องมือ เล่ำข่ำวสำรต่ำง ๆเช่น ควำมเป็นอยู่ สุขสบำยดี สำหรับแบ่งปันข้อมูลข่ำวสำรท้ังท่ีรับมำจำก หรือไม่ ผลกำรเรียนดีไหม เหล่ำน้ีเรียกว่ำ ผู้อ่ืน และที่ค้นข้ึนเองไปให้สมำชิกอ่ืน ๆ กำร ข่ำวสำร (Message) แต่ถ้ำมีกำรแนบสำเนำบัตร เผยแพร่ข้อมูลท่ีไม่ควรเปิดเผยอำจทำให้เกิด ประชำชนเพ่ือนำไปติดต่อรำชกำร หรือกำรฝำก ควำมเสียหำยต่อผู้ที่ถูกพำดพิงถึง และ ถอนเงินจำกธนำคำรจะเป็นกำรส่งข้อมูลสำหรับ ผ้เู ผยแพรข่ อ้ มลู ทุกคนมีควำมผดิ ไปดว้ ย กำรทำธรุ กรรม (Transaction) คำว่ำ สารสนเทศ (Information) ในควำมหมำยท่ัวไป หมำยถึง ข้อมูลที่เป็นประโยชน์ (มีสำระ) เปน็ คำรวมทหี่ มำยถึง ทัง้ ข่ำวสำรที่บอกเลำ่ มำและข้อมูลสำหรับทำธุรกรรม ซ่ึงสิ่งเหล่ำน้ีเป็น นำมธรรมไม่มีตวั ตนและจบั ต้องไมไ่ ด้ แต่นำไปใชป้ ระโยชน์ได้ กำรสง่ สำรสนเทศต้องอำศัย “สอ่ื ” พำไป เช่น ในกรณีของจดหมำยจะมีแผ่นกระดำษท่ีเขียน จดหมำยเป็นส่ือที่พำสำรสนเทศไปถึงผู้รับ กำรรับส่งข้อมูลในยุคแรก ๆ ใช้คนนำจดหมำยเดินทำงไป ส่ง ก่อนจะพัฒนำมำเป็นกำรไปรษณีย์ และต่อมำมีเครื่องโทรสำร (แฟกซ์) ซ่ึงสำมำรถแปลงภำพและ ข้อควำมบนแผ่นกระดำษเป็นคลื่นไฟฟ้ำส่งไปทำงสำยโทรศัพท์ แล้วเคร่ืองรับโทรสำรที่ปลำยทำงก็ แปลงสัญญำณจำกคลื่นไฟฟ้ำกลับมำเป็นภำพและข้อควำม เช่น กำรส่งสำเนำบัตรประจำตัว สำรสนเทศ คือ ข้อมูลในบัตรประชำชน ปัจจุบันเรำส่งสำเนำบัตรประชำชนโดยใช้สมำร์ตโฟนถ่ำยรูป แลว้ สง่ ภำพไดท้ ันที ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่ือสารและการแกป้ ัญหาเบอ้ื งตน้

บทเรียนออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนคิ ส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 5 ในยุคปัจจุบันมสี ่ือสารสนเทศหลายประเภท ได้แก่ วทิ ยุกระจายเสยี ง ลักษณะของสำรสนเทศ : เสียง ลักษณะกำรรับ-สง่ : รับ-ส่งคลน่ื วิทยุ ส่งทำงเดียว คอมพิวเตอร์+อินเทอร์เนต็ ลกั ษณะของสำรสนเทศ : ส่อื ประสม ลกั ษณะกำรรับ-สง่ : รับ-สง่ ขอ้ มลู ดจิ ทิ ลั ไปกบั คล่ืน ในระบบเครือขำ่ ย (เช่น ใยแก้วนำแสง) รบั -ส่ง 2 ทำง โทรทศั น์ ลักษณะของสำรสนเทศ : ภำพเคลื่อนไหว+เสียง ลกั ษณะกำรรบั -สง่ : รับ-ส่งคล่นื วิทยุ สง่ ทำงเดียว โทรศัพท์บ้าน ลักษณะของสำรสนเทศ : เสียง ลักษณะกำรรับ-สง่ : รบั -ส่งคลื่นไฟฟำ้ ในโทรศพั ท์ รบั -ส่ง 2 ทำง ส่งิ พมิ พ์ (หนังสือพิมพ์ นิตยาสาร ใบปลิว) ลักษณะของสำรสนเทศ : ข้อควำม+รปู ภำพ ลักษณะกำรรับ-ส่ง : รับ-สง่ ทำงกำยภำพ มคี นนำไปสง่ สมาร์ตโฟน ลักษณะของสำรสนเทศ : สื่อประสม ลกั ษณะกำรรบั -สง่ : รบั -ส่งขอ้ มลู ดิจิทลั ไปกบั คล่นื ในระบบเครือขำ่ ย (เช่น ใยแก้วนำแสง) รบั -สง่ 2 ทำง ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่ือสารและการแก้ปญั หาเบื้องต้น

บทเรียนออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนคิ ส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) 6 เทคโนโลยีสำรสนเทศเรม่ิ มำมีบทบำทมำกในชีวติ ประจำวันและมกี ำรใช้เทคโนโลยนี เ้ี ป็นไป อยำ่ งกวำ้ งวำง เชน่ ในเกือบทุกครวั เรอื นจะมีอุปกรณ์สื่อสำรสมัยใหม่ คอื สมำรต์ โฟน หรือสมำรต์ โฟ นอย่ำงน้อย 1 เครื่อง นอกจำกน้นั ยังมีวิทยุ โทรทศั น์และอำจมเี ครอื่ งคอมพิวเตอรท์ ่ตี ่อเช่อื มกับ เครือข่ำยอนิ เทอร์เนต็ ดว้ ย เทคโนโลยีสำรสนเทศเป็นสงิ่ อำนวยควำมสะดวกที่มปี ระโยชน์มำก แตใ่ น ขณะเดยี วกันหำกใช้อย่ำงไม่ถูกวธิ หี รือขำดควำมระมัดระวงั ก็อำจมีโทษได้เช่นกนั เรำจึงควรศึกษำและ ทำควำมเข้ำใจใหถ้ ่องแท้ถึงประโยชนแ์ ละโทษของเทคโนโลยีสำรสนเทศ ประโยชน์ของเทคโนโลยีสารสนเทศ มดี งั น้ี 1. ทาให้ทุกคนที่สนใจสามารถรับรู้ขา่ วสารและข้อมูลได้อย่างรวดเร็ว เชน่ กำรฟงั ข่ำวจำก สถำนีวทิ ยกุ ระจำยเสียงหรือกำรดขู ่ำวจำกสถำนีโทรทัศนท์ ำให้ทรำบว่ำมเี หตกุ ำรณ์อะไรเกดิ ข้ึนหำก เป็นกำรเกิดภยั พบิ ัติต่ำง ๆ เช่น น้ำทว่ ม แผน่ ดินไหว ดินถล่มไฟไหม้ จะไดป้ ระเมินสถำนกำรณ์และ เตรียมรับสถำนกำรณไ์ ด้ทนั ท่วงที แมก้ ระทงั่ ข้อมูลขำ่ วสำรเรื่องกำรพยำกรณ์อำกำศก็มปี ระโยชน์ เพรำะชว่ ยใหส้ ำมำรถวำงแผนกำรเดนิ ทำงหรือกำรเตรียมร่มกันฝนได้และมีประโยชนอ์ ย่ำงมำกสำหรับ เกษตรกรและชำวประมง นอกจำกนน้ั กำรรบั รขู้ ่ำวสำรเก่ยี วกับกฎหมำย และประกำศของทำง รำชกำรจะชว่ ยให้เรำปฏบิ ัติตนได้อยำ่ งถกู ตอ้ ง ไม่เสียสทิ ธติ ่ำงๆ และไมต่ กเป็นผูก้ ระทำผิดโดย รเู้ ท่ำไม่ถงึ กำรณ์ สำหรบั ขำ่ วสำรประเภทข่ำวอำชญำกรรมก็มีประโยชน์เชน่ กนั เพรำะทำใหเ้ รำรู้เทำ่ ทนั และไม่ตกเปน็ เหย่ือของมจิ ฉำชีพ 2. การใช้โทรศพั ท์ ทำให้เรำสมำรถติดต่อนดั หมำยกับบุคคลตำ่ ง ๆ ได้ ทำใหป้ ระหยัดเวลำ และประหยัดคำ่ ใช้จำ่ ยไดม้ ำก เช่น กำรสงั่ ซ้อื สินคำ้ ออนไลน์ และอีกกรณหี น่ึง คือ กำรแจ้งเหตดุ ว่ น เหตรุ ้ำยทำงโทรศัพท์อำจชว่ ยบรรเทำควำมสญู เสยี ไดม้ ำกเช่น กำรเรียกรถพยำบำลหรอื รถกู้ชีพมำ ชว่ ยเหลอื ผู้ปว่ ยฉุกเฉินหรือผู้ประสบอุบัตเิ หตุ 3. การใชค้ อมพิวเตอร์หรอื สมารต์ โฟนคน้ หาขอ้ มลู ต่าง ๆ มปี ระโยชนม์ ำกในชวี ิตประจำวัน เช่น ถ้ำตอ้ งกำรซ้ือเครอ่ื งใช้ประจำบำ้ นบำงอยำ่ งท่มี ีรำคำค่อนช้ำงสงู เช่น เครือ่ งปรบั อำกำศ ถำ้ ต้องกำรทรำบสมบัตติ รงกบั ควำมต้องกำรหรอื ไม่กส็ ำมำรถหำข้อมลู จำกอินเทอรเ์ น็ตได้ทันที และถ้ำ อยำกทรำบวำ่ ผู้ทเ่ี คยใช้แลว้ มีควำมพงึ พอใจกบั ยห่ี ้อนนั้ ๆ หรือไม่ก็สำมำรถหำข้อมลู ไดจ้ ำกเวบ็ ไซต์ เช่นกนั นอกจำกนัน้ ยงั สำมำรถเปรยี บเทียบรำคำจำกผขู้ ำยสินค้ำออนไลน์ และสำมำรถ สั่งซื้อจำก ผขู้ ำยออนไลน์ไดด้ ้วย 4. การใชค้ อมพิวเตอร์หรอื สมารต์ โฟนเพือ่ การศึกษาหาความรูด้ ว้ ยตนเองในระบบ การศกึ ษาตลอดชีวิต (Lifelong Learnig) สำมำรถทำได้แลว้ ในวันน้ี เพรำะมแี หล่งควำมรู้ตำ่ ง ๆ มำกมำยในเครือข่ำยอนิ เทอร์เน็ต เพยี งแตต่ ้องรู้จักเลือกแหล่งท่เี ชื่อถือได้ ซ่ึงไม่ใชเ่ รอ่ื งยำก เพรำะใน แต่ละเร่ืองที่อยำกรู้มักมีแหลง่ ข้อมลู ให้เปรียบเทียบไดเ้ สมอหรอื แม้แต่ควำมรู้ประเภททกั ษะก็สำมำรถ เรียนออนไลนไ์ ด้เพรำะมคี ลิปวดี ิโอมำกมำยท่เี ผยแพรค่ วำมรปู้ ระเภทน้ี โดยมีตง้ั แต่เรื่องกำรถนอม อำหำร กำรซ่อมบ้ำนและเครื่องใช้ในบำ้ น ตลอดจนกำรดูแลสขุ ภำพของตนเองและคนใกลช้ ิด 5. การชาระเงินผ่านสมาร์ตโฟน ในอนำคตอันใกล้นี้ประเทศไทยกำลังพัฒนำให้เป็น สังคม ไร้เงินสด หมำยควำมว่ำ กำรจับจ่ำยใช้สอยเกือบทุกอย่ำงจะเป็นกำรโอนเงินผ่ำนสมำร์ตโฟนข้อดี คือ ไม่ต้องพกเงิน เช่น กำรชำระเงินด้วยคิวอำร์โค้ด ซึ่งได้รับกำรรับรองควำมปลอดภัยจำกธนำคำรแห่ง ประยุกตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและการแก้ปญั หาเบ้ืองตน้

บทเรียนออนไลน์อเิ ล็กทรอนคิ ส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) 7 ประเทศไทยและได้รับกำรรับรองทั่วโลก ผู้ซื้อสินค้ำเพียงใช้สมำร์ตโฟนถ่ำยคิวอำร์โค้ดของสินค้ำก็ ชำระเงินได้ แต่ต้องสมัครเป็นผู้ใช้บริกำรคิวอำร์โค้ดผ่ำนธนำคำรที่มีบัญชีเงินฝำกอยู่ หลังจำกสมัคร แลว้ ธนำคำรจะให้ดำวน์โหลดแอปพลิเคชันสำหรบั ถ่ำยคิวอำร์โค้ดไว้ในสมำร์ตโฟนเพ่ือนำไปใช้ได้ทันที เมอ่ื มกี ำรชำระเงินผำ่ นควิ อำร์โค้ดจะมีขอ้ มลู แจ้งกลบั มำว่ำได้ชำระเงินไปเป็นจำนวนเท่ำไร นอกจำกน้ี ยังมี Wallet หรือกระเป๋ำเงินออนไลน์ที่ใช้ระบบเติมเงิน เซ่น True money ร้ำน 7-11 และ mPAY ของบรษิ ทั AIS โทษของเทคโนโลยีสารสนเทศ มดี งั น้ี 1. ใช้เวลาอยูก่ ับสอ่ื สารสนเทศมากขึน้ เพรำะข้อมูลข่ำวสำรจะมปี ริมำณมำกขน้ึ ทุกวนั และ ช่องทำงกำรเผยแพร่กจ็ ะมมี ำกขึน้ ท้งั ในดำ้ นของรำยกำรทีวแี ละรำยกำรวทิ ยุ รวมถึงอีกมำกมำยทเี่ รม่ิ เพิ่มขนึ้ ทำใหจ้ ะเหลือเวลำสำหรบั กำรทำสิ่งท่ีมปี ระโยชนก์ วำ่ นอ้ ยลง 2. พกสมารต์ โฟนตดิ ตัวตลอดเวลา โดยที่ไม่ไดใ้ ชเ้ พ่ือกำรส่อื สำรเท่ำท่จี ำเป็น หำกแต่ใช้เพื่อ แชทตดิ ต่อกับเพ่ือนผำ่ นช่องทำงกำรติดต่อออนไลน์ รวมถงึ ใชใ้ นกำรดูหนังและฟังเพลงมำกเกินเวลำที่ สมควร ซึง่ เปน็ พฤตกิ รรมทค่ี ่อนขำ้ งหมกม่นุ ทำให้เสียเวลำและเสยี คำ่ ใช้จ่ำยเปน็ ค่ำโทรศัพทท์ ่มี ำกเกิน จำเป็น นอกจำกน้ยี งั มผี ลเสียต่อสขุ ภำพ เชน่ สำยตำเสือ่ ม นวิ้ ล็อก และสมองมึนชำอกี ด้วย 3. ติดเกมจนเกินไป อำจจะทำให้ประสทิ ธภิ ำพในกำรเรยี นหรอื กำรทำงำนลดลง ทั้งน้ีอำจจะ เสียคำ่ ใช้จ่ำยและเสยี เวลำในกำรใช้ชีวติ ประจำวันไปบ้ำง 4. ภัยจากส่งิ ผดิ กฎหมายและผิดศีลธรรม เพรำะมีกำรปล่อยเวบ็ ไซต์ท่เี ป็นภยั จำนวนมำกทงั้ เว็บไซตส์ ือ่ ลำมกอนำจำร เว็บไซตก์ ำรพนนั โฆษณำที่ส่อเจตนำผดิ กฎหมำยและศีลธรรมต่ำง ๆ ซงึ่ หำ พบเห็นส่ิงเหลำ่ น้ีควรจะหลีกเลี่ยงและรำยงำนเจ้ำหนำ้ ทผี่ ู้เกี่ยวข้อง 5. มิจฉาชีพหลายจาพวกใช้สือ่ ออนไลนห์ ลอกลวงประชาชน เช่น พวกคอลเซน็ เตอร์ทีอ่ ำ้ ง ตนเป็นเจ้ำหนำ้ ทห่ี ลอกให้ผไู้ ม่รู้โอนเงนิ ไปให้ผ่ำนตูเ้ อทีเอม็ และสมำรต์ โฟน และพวกขำยของออนไลน์ ทไ่ี มส่ ง่ ของให้ผู้สง่ั ซอื้ หลงั จำกได้รับเงนิ แลว้ ประชำชนควรเรียนร้ใู หเ้ ทำ่ ทนั 6. การถกู หลอกลวง เยำวชนบำงรำยชอบแชทกับคนแปลกหนำ้ ท่ไี ม่รูจ้ ักกันมำก่อน และมี กำรนัดไปพบกัน แล้วถกู ลอ่ ลวงไปในทำงเส่ือมเสยี เคยมีบำงรำยทต่ี กเป็นเหย่ืออำชญำกรรมถกู ฆำตกรรมก็มี เร่ืองเชน่ นจี้ งึ เป็นอทุ ำหรณส์ ำหรับเวลำจะคบหำกับใครควรปรึกษำผู้ใหญ่ เช่น ผูป้ กครองหรือครูกอ่ นและทสี่ ำคัญ คือ ตอ้ งรเู้ ท่ำทนั ว่ำบคุ คลทเี่ รำรู้จกั ผ่ำนสอ่ื ออนไลนน์ ั้นอำจไมใ่ ช่ ตัวตนท่แี ท้จรงิ จงึ ไมค่ วรไวว้ ำงใจ ประยุกตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่ือสารและการแกป้ ัญหาเบื้องตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ลก็ ทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 8 แนวคดิ สาคญั จำกหัวข้อโทษของเทคโนโลยี กำรใช้เทคโนโลยีโดยไม่ระมัดระวังหรือใช้ ส ำ ร ส น เ ท ศ เ ป็ น โ ท ษ ใ น ลั ก ษ ณ ะ ภ ำ พ ร ว ม ข อ ง ผ ล เ สี ย ท่ี เ ท ค โ น โ ล ยี ด้วยควำมคึกคะนอง เช่น กำรเผยแพร่ข้อมูลที่รับมำ สำรสนเทศมีต่อสังคมส่วนรวมหรือ โดยไม่พิจำรณำให้รอบคอบ กำรถ่ำยทำคลิปล้อเลียน บำงส่วนของสังคมแต่ในข้อน้ีเป็นกำร ผู้อื่นหรือคลิปตลกขบขันที่พำดพิงถึงคนอ่ืนแล้ว เน้นถึงส่ิงท่ีเป็นภัยที่อำจเกิดข้ึนแก่ เผยแพร่ทำงอินเทอร์เน็ต อำจมีควำมผิดตำม บคุ คลทีเ่ ขำ้ ไปเกย่ี วขอ้ งกบั เทคโนโลยี พระรำชบัญญัติคอมพิวเตอร์ สำรสนเทศในฐำนะต่ำง ๆ เช่น ผู้ส่งสำรสนเทศ ผู้รับ ผู้เผยแพร่ต่อตลอดจนผู้รับผลกระทบโดยตรง หรือโดยออ้ ม อาชญากรรมทางคอมพิวเตอร์ หรืออาชญากรรมไซเบอร์ หมำยถึง อำชญำกรรมใด ๆ ที่ เก่ียวขอ้ งกบั คอมพิวเตอร์และเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ โดยท่ีคอมพิวเตอร์นั้นอำจถูกใช้เป็นเครื่องมือก่อ อำชญำกรรมหรืออำจตกเป็นเป้ำหมำยของกำรกระทำก็ได้ ที่พบมำก คือ อาชญากรรมบน อินเทอร์เน็ต หมำยถึง กำรแสวงหำผลประโยชน์อย่ำงผิดกฎหมำยบนอินเทอร์เน็ต ปัจจุบันท่ัวโลกได้ จำแนกประเภทอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอร์ออกเป็น 8 ประเภท (ตำมข้อมูลคณะอนุกรรมกำร เฉพำะกจิ ร่ำงกฎหมำยอำชญำกรรมทำงคอมพวิ เตอร์) ดงั น้ี 1. กำรขโมยข้อมูลทำงอินเทอร์เน็ต รวมถึงกำรขโมยประโยชน์ในกำรลักลอบใช้บริกำร เช่น กำรนำภำพของผู้อ่ืนมำส่งใหก้ นั ทำงไลน์จัดเปน็ กำรขโมยข้อมูลดว้ ยเช่นกนั 2. กำรปกปิดควำมผดิ ของตวั เอง โดยใช้ระบบกำรสอื่ สำร 3. กำรละเมิดลิขสิทธิ์ ปลอมแปรูปแบบ หรอื เลยี นแบบระบบซอฟต์แวรโ์ ดยมชิ อบ 4. กำรเผยแพรข่ อ้ มูลท่ีไม่เหมำะสม เชน่ ภำพ เสยี ง และสอ่ื ลำมกอนำจำร 5. กำรก่อกวนระบบคอมพวิ เตอร์ เชน่ ทำลำยระบบสำธำรณูปโภค เช่น ระบบจ่ำยน้ำจ่ำยไฟ และระบบควบคุมกำรจรำจร 6. กำรหลอกลวงใหร้ ว่ มค้ำขำยหรอื ลงทุนปลอม (กำรทำธุรกจิ ทีไ่ ม่ชอบดว้ ยกฎหมำย) 7. กำรลกั ลอบใช้ขอ้ มูลเพอ่ื แสวงหำผลประโยชน์ในทำงมชิ อบ เชน่ กำรขโมยรหัสบตั รเครดติ 8. กำรใชค้ อมพิวเตอร์ในกำรโอนบญั ชีผอู้ ืน่ เปน็ ของตวั เอง ประยุกต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารและการแก้ปัญหาเบือ้ งตน้

บทเรียนออนไลน์อเิ ลก็ ทรอนคิ ส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) 9 แนวคิดสาคญั ผู้ใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศท่ีกระทำ ผู้ใช้อินเทอร์เน็ตต้องมีควำมรับผิดชอบต่อ ควำมผิดตำมกฎหมำยใน 3 ลักษณะ ดว้ ยกนั คอื สำรสนเทศที่ได้เผยแพร่ออกไป โดยสำรสนเทศนั้น ต้องไม่สร้ำงควำมเดือดร้อนแก่ผู้อ่ืน ไม่คัดลอก 1. ควำมผิดตำมพระรำชบัญญัติว่ำ สำรสนเทศของผู้อ่ืนมำเผยแพร่ เว้นแต่จะได้รับ ด้ ว ย ก ำ ร ก ร ะ ท ำ ค ว ำ ม ผิ ด เ กี่ ย ว กั บ อนุญำตเป็นลำยลักษณ์อักษร โดยจะต้องศึกษำ คอมพวิ เตอร์ พ.ศ. 2560 ระเบียบกฎเกณฑ์ในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศให้ เข้ำใจก่อน 2. ควำมผิดตำมประมวลกฎหมำย อำญำสำหรบั ควำมผดิ ท่ีเกยี่ วกบั คอมพิวเตอร์หรือกำรใช้คอมพิวเตอร์ท่ีไม่มีปัญญัติไว้โดยชัดแจ้งในพระรำช-บัญญัติว่ำด้วยกำรกระทำ ควำมผิดเก่ียวกับคอมพิวเตอร์แต่เข้ำข่ำยควำมผิดทำงอำญำ เช่น ลักทรัพย์ ยักยอกทรัพย์ ฉ้อโกง กรรโชกทรัพย์ ทำให้เสียทรัพย์หม่ินประมำท ควำมผิดต่อสถำบันพระมหำกษัตริย์ ควำมผิดต่อควำม ม่นั คงของรฐั ควำมผดิ ต่อควำมสงบเรียบรอ้ ยและศลี ธรรมอนั ดีของประชำชน 3. ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยแพง่ ละพำณิชย์สำหรับควำมผิดที่เกี่ยวกับคอมพิวเตอร์หรือ กำรใช้คอมพิวเตอร์ที่ไม่มีบัญญัติไว้โดยชัดแจ้งในพระรำชบัญญัติว่ำด้วยกำรกระทำควำมผิดเกี่ยวกับ คอมพิวเตอร์ แต่เข้ำข่ำยควำมผิดทำงแพ่ง เช่น กำรผิดสัญญำ กำรละเมิดลิขสิทธ์ิ เคร่ืองหมำยกำรค้ำ และทรพั ยส์ นิ ทำงปัญญำ เน่ืองจำกภำษำในตัวบทกฎหมำยเป็นถ้อยคำท่ีเข้ำใจยำก ต่อไปน้ีเป็นข้อสรุปจำกผู้ สันทัดกรณีในวงกำรคอมพิวเตอร์ซึ่งใช้ภำษำธรรมดำสรุปพฤติกรรมท่ีเข้ำข่ำยเป็นควำมผิดตำม พระรำชบัญญัติคอมพิวเตอร์ (ทั้งนี้ต้องถือว่ำข้อสรุปนี้เป็นกำรตีควำมกฎหมำยเท่ำนั้น ยังไม่อำจถือ เป็นบรรทดั ฐำนได)้ 1. กำรลักลอบเข้ำสู่ระบบคอมพิวเตอร์ของผู้อื่นท่ีตนไม่มีสิทธิ (กำรเจำะระบบ) เพื่อให้ได้มำ ซึ่งข้อมูลที่เป็นควำมลับหรือกำรทำให้ระบบเสียหำยใช้กำรไม่ได้ เช่น กำรใช้ไวรัสหรือมัลแวร์ มีโทษ จำคกุ ตั้งแต่ 6 เดอื น ถึง 2 ปี หรือปรบั ต้งั แต่ 5,000-40,00 บำท หรือท้งั จำท้งั ปรบั (มำตรำ 4, 5, 6) 2. กำรทำลำยหรอื แกไ้ ขขอ้ มูลคอมพิวเตอร์ผู้อื่นไม่ว่ำทั้งหมดหรือบำงส่วน มีโทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกนิ 100,000 บำท (มำตรำ 9) 3. กำรระงับ ชะลอ ขัดขวำง รบกวนระบนของผู้อื่นจนไม่สำมำรถทำงนตำมปกติได้ มีโทษ ปรบั ไม่เกนิ 00,000 บำท (มำตรำ 10) 4 กำรโพสตข์ อ้ มลู ทีบ่ ิดเบอื นหรือปลอม จำคกุ ไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บำท 5. กำรโพสต์ข้อมูลเท็จที่น่ำจะเกิดควำมเสียหำยต่อควำมมั่นคงของประเทศ ควำมปลอดภัย สำธำรณะ หรือโครงสร้ำงพื้นฐำนอันเป็นประโยชน์สำธำรณะ หรือทำให้เกิดควำมต่ืนตระหนักแก่ ประชำชนจำคุกไม่เกนิ 5 ปี ปรับไม่เกิน 100,000 บำท 6. กำรโพสต์ข้อมูลเกี่ยวกับควำมมั่นคงแห่งรำชอำณำจักร-กำรก่อกำรร้ำย จำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรบั ไม่เกิน 100,000 บำท ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่อื สารและการแกป้ ญั หาเบือ้ งต้น

บทเรยี นออนไลน์อิเล็กทรอนคิ ส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 10 7. กำรกดไลก์ทำได้ไม่ผิดพระรำชบัญญัติคอมพิวเตอร์ ยกเว้นกำรกดไลก์ข้อมูลท่ีมีฐำน ควำมผดิ ดังทก่ี ล่ำวมำขำ้ งตน้ 8. กำรเผยแพร่ เช่น กำรกดไลก์หรือแชร์ หำกข้อมูลที่เผยแพร่มีผลกระทบต่อผู้อื่นอำจเข้ำ ข่ำยควำมผติ ตำมพระรำชบญั ญตั คิ อมพวิ เตอร์โดยเฉพำะท่ีกระทบต่อบุคคลท่ี 3 9 ผดู้ ูแลระบบหรือแอดมนิ เพจทเ่ี ปิดให้มีกำรแสดงควำมคดิ เห็น เมื่อพบเน้ือหำทีผ่ ิดกฎหมำย ถ้ำได้รับกำรแจ้งเตือนแล้วลบออกไม่ต้องรับโทษ แต่ถ้ำไม่ยอมลบออก โทษจำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่ เกิน100,000 บำท 10. ผู้ให้บริกำรเว็บไซต์ต้องขยำยเวลำกำรเก็บข้อมูลจรำจรทำงคอมพิวเตอร์ (Log) เอำไว้ไม่ น้อยกวำ่ 90 วัน และกรณีท่ีจำเป็นอำจสั่งให้ขยำยเป็น 2 ปี สำเหตุท่ีขยำยเวลำเนื่องจำกเทคโนโลยีมี ควำมเปล่ียนแปลงรูปแบบกำรกระทำควำมผิดจงึ อำจซบั ซ้อนมำกขนึ้ 11. กำรแก้ไขเปลี่ยนแปลงทำให้ระบบทำงำนไม่ปกติ ทำให้บำดเจ็บ และทรัพย์สินหำยโทษ จำคกุ ไมเ่ กนิ 10 ปี ปรบั ไมเ่ กนิ 200,00 บำท 12. กำรโพสต์ภำพลำมกอนำจำรและสำมำรถเผยแพร่สู่ประชำชนคนอื่นได้ จำคุกไม่เกิน 5 ปี ปรับไม่เกิน 10,000บำท เป็นควำมผิดตำมมำตรำ 14 (4) พระรำชบัญญัติว่ำด้วยควำมผิดเก่ียวกับ คอมพิวเตอร์ 13. กำรโพสตภ์ ำพของผู้อื่นที่เกิดจำกกำรสร้ำง ตัดต่อ หรือดัดแปลงที่น่ำจะทำให้ผู้อ่ืนน้ันเสีย ช่ือเสียงและถูกดหู ม่นิ เกลียดชัง มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บำท เป็นควำมผิดตำม มำตรำ 14 (1) พระรำชบัญญตั วิ ่ำดว้ ยควำมผดิ เกย่ี วกบั คอมพวิ เตอร์ 14. กำรโพสต์ภำพผู้เสียชีวิต หำกเป็นกำรโพสต์ท่ีทำให้บิดำมำรดำ คู่สมรส หรือบุตรของ ผู้ตำยเสียช่ือเสียงและถูกดูหมิ่นเกลียดชังหรือได้รับควำมอับอำย มีโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี ปรับไม่เกิน 200,000 บำท เป็นควำมผิตตำมมำตรำ 14 (1) พระรำชบญั ญตั วิ ำ่ ด้วยควำมผิดเก่ยี วกบั คอมพิวเตอร์ แนวคดิ สาคญั กำรวำงแนวทำงกำรใช้เทคโนโลยี ก ำ ร ว ำ ง แ น ว ท ำ ง ใ น ก ำ ร ใ ช้ เ ท ค โ น โ ล ยี สำรสนเทศอย่ำงปลอดภัยและมีควำม รับผิดชอบมีวัตถปุ ระสงค์เพ่ือควำมปกติสุข สำรสนเทศจะช่วยให้ใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศได้ ของสงั คม เพ่อื ใหก้ ำรใชค้ อมพวิ เตอร์และ อยำ่ งปลอดภัยและมคี วำมรับผิดชอบ ข้อมูลเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ของสุจริตชนได้รับควำมคุ้มครอง ไม่ถูกขัดวำงหรือบ่อนทำลำยจำกผู้ไม่ ประสงค์ดี ในขณะเดียวกันเพื่อให้สุจริตชนต้องโดยประมำทเลินเล่อท่ีจะเป็นผลกระทบในทำงลบต่อ ผู้อื่นด้วย กำรวำงแนวทำงดังกล่ำวจงึ อำศัย 3 ประกำร คอื 1. หลักรูเ้ ขา-รูเ้ รา - รูจ้ กั ภัยคุกคำม (มีอะไรบ้ำง ทำใหเ้ กิดผลเสยี หำยอย่ำงไร มีวธิ ปี อ้ งกนั ได้อยำ่ งไร) - ระบบของเรำมคี วำมสำคัญอยำ่ งไร (ตอ้ งป้องกนั อะไรบำ้ ง เชน่ มีกำรทำ Backup ขอ้ มลู มีกำรป้องกนั ทีเ่ พียงพอหรือไม่ ถ้ำประสบภยั จะรับมืออย่ำงไร) ประยุกต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและการแกป้ ัญหาเบอ้ื งตน้

บทเรียนออนไลน์อเิ ลก็ ทรอนิคส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 11 2. หลักกันไวด้ กี ว่าแก้ - ป้องกนั กำรถกู โจมตี เช่น ใช้ Firewal ใส่รหสั ผ่ำน (Password) สำรองข้อมลู ไว้เสมอ (Backup) - รกั ษำสิทธิของตนเอง (ประกำศสิทธิชัดเจน) 3. หลกั คณุ ธรรม - พงึ่ ปฏบิ ัตติ อ่ ผู้อ่ืน เหมือนที่อยำกให้ขำปฏิบัติต่อเรำ (ทำกำรโดยสจุ รติ ไม่ทำผิด กฎหมำยไม่ฉอ้ ฉลหรอื เอำเปรียบผู้อ่นื ไมล่ ะเมิดสิทธผิ อู้ ืน่ ) - ทำหนำท่พี ลเมืองดี (คอยรำยงำนควำมผิดปกตทิ ่พี บแก่หนว่ ยงำนของรัฐที่มหี นำ้ ท่ี รับผิดชอบ) แนวคดิ สาคัญ สิทธิในผลงำนเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ สำรสนเทศและสิง่ ประดิษฐท์ ่ีสร้ำงขนึ้ เอง และเทคโนโลยีสำรสนเทศน้ันเป็นส่วนหนึ่ง ข อ ง สิ ท ธิ ใ น ท รั พ ย์ สิ น ท ำ ง ปั ญ ญ ำ เปน็ ทรัพยส์ ินทำงปัญญำ เม่ือสรำ้ งข้นึ มำแล้วนำไป เผยแพร่อำจถกู ลอกเลยี นแบบ จึงตอ้ งจดสทิ ธบิ ตั ร ทรัพย์สินทางปัญญา หมำยถึง ผลงำน เพื่อไม่ให้ถกู ละเมิด โดยผอู้ ่ืน อนั เกดิ จำกกำรประดิษฐ์ คดิ คัน หรอื สร้ำงสรรค์ของมนุษย์ ซึ่งเน้นที่ผลผลิตของสติปัญญำและควำมชำนำญทรัพย์สินทำงปัญญำ อำจ แสดงออกในรูปแบบของสิ่งที่จับต้องได้ เช่น สินค้ำต่ำงๆ หรือในรูปของสิ่งท่ีจับต้องไม่ได้ เช่น บริกำร แนวคิดในกำรดำเนินธุรกจิ กรรมวิธีกำรผลิตทำงอุตสำหกรรม ในทางสากลทรพั ยส์ นิ ทางปัญญาแบ่งออกเปน็ 2 ประเภท ได้แก่ 1. ทรัพย์สินทางอุตสาหกรรม (Industrial Property) หมำยถึง ควำมคิดสร้ำงสรรค์ของ มนุษย์ที่เกี่ยวกับสินค้ำอุตสำหกรรมต่ำง ๆ ควำมคิดสร้ำงสรรค์นี้อำจเป็นควำมคิดในกำรประดิษฐ์ คิดค้น ซึ่งอำจจะเป็นกระบวนกำรหรือเทคนิคในกำรผลิตที่ได้ปรับปรุงหรือคิดค้นข้ึนใหม่ หรือกำร ออกแบบผลิตภัณฑ์ทำงอุตสำหกรรมที่เป็นองค์ประกอบและรูปร่ำงของตัวผลิตภัณฑ์ นอกจำกนี้ยัง รวมถึงเครื่องหมำยกำรค้ำ หรือย่ีห้อ ชื่อและถ่ินที่อยู่ทำงกำรค้ำ รวมถึงแหล่งกำเนิดและกำรป้องกัน กำรแข่งขันทำงกำรค้ำท่ีไม่เป็นธรรม ทรัพย์สินทำงอุตสำหกรรมจึงสำมำรถแบ่งออกเป็น 5 ประเภท ดังนี้ 1.1 สทิ ธิบัตร (Patent) ซ่งึ มี 3 ประเภทยอ่ ย คือ 1) สิทธิบตั รกำรประดิษฐ์ ระยะเวลำคมุ้ ครอง 20 ปี นบั แต่วันยื่นคำขอ 2) อนุสิทธิบัตร ระยะเวลำคมุ้ ครอง 6 ปี นับแต่วันยน่ื คำขอ 3) สิทธิบัตรกำรออกแบบผลิตภณั ฑ์ ระยะเวลำคุ้มครอง 10 ปี นบั แตว่ นั ยน่ื คำขอ 1.2 แบบผังภมู ิของวงจรรวม (Layout-Design of Inegrated Circuits) 1.3 เครือ่ งหมายการค้า (Tradenark) 1.4 ความลบั ทางการค้า (Trade Secret) 1.5 สิ่งบง่ ช้ีทางภมู ิศาสตร์ (Geographical Indications) ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสือ่ สารและการแก้ปญั หาเบื้องต้น

บทเรียนออนไลน์อเิ ล็กทรอนคิ ส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 12 2. ลขิ สิทธิ์ (Copright) หมำยถงึ สทิ ธิแตเ่ พียงผู้เดียวของผู้สร้ำงสรรค์ทีจ่ ะกระทำกำรใด ๆ เกีย่ วกบั งำนที่ผสู้ ร้ำงสรรค์ได้ทำขึน้ ตำมประเภทลิขสิทธทิ์ ีก่ ฎหมำยกำหนด ได้แก่ งำนวรรณกรรม นำฎกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทศั นวัสดุ ภำพยนตร์ สง่ิ บนั ทึกเสยี ง งำนแพร่เสยี งแพร่ ภำพ หรืองำนอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยำศำสตร์ หรือแผนกศิลปะ ไม่วำ่ งงำนดังกลำ่ วจะ แสดงออกโดยวิธหี รือรปู แบบอยำ่ งใด ๆ กำรคุม้ ครองลขิ สทิ ธิ์ไม่ครอบคลมุ ถึงควำมคิดหรือชัน้ ตอน กรรมวธิ ีหรือระบบหรือวิธีใช้หรือวธิ ีทำงำน หรอื แนวควำมคิด หลกั กำร กำรคน้ พบ หรือทฤษฎีทำง วทิ ยำศำสตร์ ข้อดีและข้อเสียของระบบลขิ สทิ ธ์ิสทิ ธิบัตร กำรจดสิทธิบตั รมที งั้ ขอ้ และข้อเสียต่อผู้เป็นจำ้ ของสิทธบิ ตั ร ตัวอย่ำงดังนี้ ข้อดีของการจดสิทธิบตั ร มดี ังนี้ 1. ผจู้ ดแจง้ สทิ ธบิ ัตรเปน็ เจำ้ ของผถู้ ือครองสิทธกิ ำรสรำ้ งสรรค์ผลงำนที่ได้คิดค้นขึน้ มำ โดยไมไ่ ดล้ อกเลยี นแบบจำกผู้อน่ื อยำ่ งถูกตอ้ งตำมพระรำชบญั ญัตทิ รัพยส์ นิ ทำงปญั ญำ 2. เจำ้ ของสิทธบิ ตั รมีสทิ ธิในกำรหำผลประโยชนท์ ำงกำรค้ำจำกกำรผลติ และจำหนำ่ ยผลงำน ตำมสริ บิ ัตรท่ไี ตจ้ ดแจ้ไว้ หรอื นุญำตให้ผอู้ ื่นใชส้ ิทธบิ ตั รน้นั โดยเรียกรับคำ่ ตอบแทน 3. เจำ้ ของสทิ ธิบตั รมีสทิ ธใิ นกำรปรบั ปรุง เปลยี่ นแปลง ทำซำ้ หรอื เผยแพรต่ ่อสำธำรณชนไต้ โดยได้รับค่ำตอบแทนอยำ่ งเป็นธรรม 4. ผู้จดสิริบตั รต้องเปิดเผยรำยละเอยี ดเกย่ี วกบั กำรประดิษฐค์ ดิ ค้น เพื่อนำไปใชใ้ นกำรศึกษำ คน้ ควำ้ กำรวจิ ยั และพัฒนำ ทำใหเ้ ทคโนโลยไี ด้รับกำรพฒั นำขน้ึ อยำ่ งรวดเรว็ ประหยัดตนั ทุน และ เวลำในกำรคดิ ดนั ได้มำก (ไม่ใชก่ รลอกแบบมำปรับปรงุ เพยี งเลก็ นอ้ ย) 5. ระบบสิทธบิ ัตรทำใหเ้ จำ้ ของเทคโนโลยีจำกตำ่ งประเทศ มคี วำมมัน่ ใจในกำรลงทนุ และ ถ่ำยทอดเทคโนโลยีแกผ่ ู้ร่วมทุนในประเทศ ข้อเสียของการจดสิทธบิ ตั ร มดี ังน้ี 1. กำรจดสิทธิบัตรมคี ำ่ ใช้จำ่ ยสงู มำก เช่น คำ่ ธรรมเนียมกำรจดทะเบียน และค่ำธรรมเนียม รวม 20 ปี รวมเปน็ เงนิ ท้ังส้ินกว่ำ 50,000 บำท เรอ่ื ง เฉพำะกำรคมุ้ ครองในประเทศไทย 2. กำรคุ้มครองสิทธิบัตร มีผลเฉพำะในประเทศที่จดทะเบียนเท่น้ัน ทำใหน้ ำยทุนทีม่ ีทุน จำนวนมำก ๆ เทำ่ นน้ั กส็ มำรถนำสทิ ธบิ ตั รนัน้ ไปจดทะเบยี นคุม้ ครองไดใ้ นหลำยๆ ประเทศ และ สทิ ธิบัตรมีผลในกำรค้มุ ครองเพียง 20 ปีเทำ่ นนั้ 3. กำรทต่ี อ้ งเปดิ เผรำยละเอยี ดเกีย่ วกบั กำรประดิษฐค์ ดิ ดันเพอ่ื ใช้ในกำรศึกษำและวจิ ัย พัฒนำทำให้มีกำรละเมดิ โดยกำรคดั ลอกผลงำนไปจำหน่ำยทำให้ผูเ้ ป็นเจำ้ ของสูญเสยี โอกำสหรอื ผล ประโยชนจำกกำรจำหน่ำยสินคำ้ นนั้ 4. กำรดสทิ ธบิ ัตรเพื่อกรขอรับกำรคมุ้ ครองในต่ำงประเทศ ต้องย่ืนจดและชำระเงนิ ในแต่ละ ประทศภำยใน 2 ปี เทำ่ น้นั นับจกวันทยี่ ่ืนจดในประเทศไทย ตำมขอ้ ตกลงทำงกำรคำ้ เกีย่ วกบั สิทธบิ ัตรนำนำชำตทิ ี่เรยี กวำ่ Paris Convention ทำใหก้ ำรจดสิทธิบัตรเพือ่ คมุ้ ครองสิทธใิ นประเทศ ตำ่ ง ๆ ให้ครบถว้ นแทบจะสมำรถกระทำได้เฉพำะบริษัทยักษใ์ หญห่ รอื บริษัทข้ำมชำตเิ ท่ำนัน้ ประยกุ ต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารและการแก้ปญั หาเบือ้ งตน้

บทเรยี นออนไลน์อเิ ล็กทรอนิคส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 13 แนวคดิ สาคัญ พระรำชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537 สิ่งประดิษฐ์หรือสำรสนเทศท่ีจดลิขสิทธ์ิ หมวด 1 ลิขสทิ ธิ์ บัตรแล้วจะได้รับกำรคุ้มครองตำมพระรำชบัญญัติ ตำมช่วงเวลำทกี่ ำหนดในสทิ ธิบัตรน้นั 1. งานอนั มีลขิ สทิ ธ์ิ มาตรา 6 งำนอันมีลิขสิทธิ์ตำมพระรำชบัญญัตินี้ ได้แก่ งำนสร้ำงสรรค์ประเภท วรรณกรรม นำฏกรรม ศิลปกรรม ดนตรีกรรม โสตทศั นวสั ดุ ภำพยนตร์ สิ่งบันทึกเสียง งำนแพร่ เสียงแพร่ภำพ หรืองำนอื่นใดในแผนกวรรณคดี แผนกวิทยำศำสตร์ หรือแผนกศิลปะของผู้ สร้ำงสรรค์ในงำนดังกล่ำว จะแสดงออกด้วยวิธีหรือรูปแบบอย่ำงใด กำรคุ้มครองลิขสิทธ์ิไม่คลุมถึง ควำมคิด ขั้นตอน กรรมวิธีระบบ วิธีใช้หรือทำงำน แนวควำมคิดหลักกำร กำรค้นพบ หรือทฤษฎีทำง วทิ ยำศำสตรห์ รือคณิตศำสตร์ มาตรา 7 ส่งิ ต่อไปน้ไี มถ่ ือว่ำเปน็ งำนอนั มลี ิขสทิ ธต์ิ ำมพระรำชบญั ญัติน้ี (1) ขำ่ วประจำวันและข้อเทจ็ จริงต่ำง ๆ ท่ีมีลกั ษณะเป็นเพียงขำ่ วสำรอันนี้ใชง่ ำนใน แผนกวรรณคดี แผนกวทิ ยำศำสตร์ หรือแผนกศลิ ปะ (2) รัฐธรรมนญู และกฎหมำย (3) ระเบียบ ข้อบังคับ ประกำศ คำส่งั คำช้ีแจง และหนังสอื โตต้ อบของกระทรวง ทบวง กรมหรอื หน่วยงำนอืน่ ของรฐั และของท้องถ่นิ (4) คำพพิ ำกษำ คำส่งั คำวนิ ิจฉัย และรำยงำนของทำงรำชกำร (5) คำแปลและกำรรวบรวมสง่ิ ตำ่ งๆ ตำม (1) ถึง (4) ที่กระทรวง ทบวง กรม หรอื หนว่ ยงำนใดของรฐั หรอื ของท้องถิน่ จัดทำขน้ึ 2. การได้มาซ่งึ ลิขสทิ ธ์ิ มาตรา 8 ให้ผู้สร้ำงสรรค์เป็นผู้มีลิขสทิ ธ์ิในงำนทต่ี นไดส้ ร้ำงสรรคข์ ึน้ ภำยใต้เง่ือนไข ดังตอ่ ไปนี้ (1) ในกรณที ยี่ งั ไม่ไดม้ ีกำรโฆษณำงำนผู้สร้ำงสรรคต์ ้องเปน็ ผู้มสี ญั ชำติไทยหรอื อย่ใู น รำชอำณำจกั รโดยเปน็ ผู้มสี ญั ชำติหรอื อยู่ในประเทศท่เี ปน็ ภำคีแหง่ อนุสญั ญำว่ำด้วยกำรคุ้มครอง ลิขสิทธิ์ซ่งึ ประเทศไทยเปน็ ภำคีอยดู่ ้วยตลอดระยะเวลำหรอื เปน็ ส่วนใหญ่ในกำรสรำ้ งสรรค์งำนนัน้ (2) ในกรณีที่ได้มีกำรโฆษณำงำนแลว้ กำรโฆษณำงำนนั้นในคร้ังแรกได้กระทำข้ึนใน รำชอำณำจักรหรือในประเทศทเ่ี ปน็ ภำคีแห่งอนสุ ัญญำวำ่ ดว้ ยกำรคุม้ ครองลิขสทิ ธิ์ ซ่งึ ประเทศไทยเปน็ ภำคีอย่ดู ว้ ย หรอื ในกรณที ่ีกำรโฆษณำครง้ั แรกไดก้ ระทำนอกรำชอำณำจักรดใี นประเทศอ่ืนทไี่ ม่เป็น ภำคแี หง่ อนสุ ัญญำว่ำด้วยกำรคมุ้ ครองลขิ สทิ ธ์ิ ซ่ึงประเทศไทยเป็นภำคอี ยดู่ ้วย หำกไดม้ ีกำรโฆษณำ งำนดงั กลำ่ วนีร้ ำชอำณำจกั รหรือในประเทศทเี่ ป็นภำคีแห่งอนสุ ญั ญำวำ่ ดว้ ยกำรคมุ้ ครองลิขสทิ ธ์ซิ ่งึ ประเทศไทยเปน็ ภำคอี ยูด่ ว้ ยภำยใน 30 วัน นบั แต่วนั ท่ีไดก้ ำรโฆษณำครงั้ แรก หรอื ผูส้ ร้ำงสรรคเ์ ปน็ ผ้มู ี ประยุกตใ์ ช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่อื สารและการแก้ปญั หาเบอื้ งต้น

บทเรียนออนไลน์อเิ ลก็ ทรอนิคส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 14 ลกั ษณะตำมทกี่ ำหนดไวใ้ น (1) ในขณะทม่ี ีกำรโฆษณำงำนคร้ังแรกในกรณีทผี่ ู้สร้ำงสรรคต์ ้องเปน็ ผู้มี สญั ชำตไิ ทยถำ้ ผู้สร้ำงสรรคเ์ ป็นนติ บิ คุ คล นิติบคุ คลน้ันต้องเป็นนิตบิ คุ คลที่จดั ตั้งขน้ึ ตำมกฎหมำยไทย มาตรา 9 งำนท่ีผสู้ ร้ำงสรรค์ไดส้ ร้ำงสรรค์ขึ้นในฐำนะพนักงำนหรือลกู จำ้ ง ถำ้ ไม่ได้ทำเป็น หนงั สอื ตกลงกันไว้เป็นหยงั อีกใหล้ ิขสิทธใิ์ นงำนนั้นเป็นของผู้สรำ้ งสรรค์ แตน่ ำยจ้ำงมีสทิ ธิ์นำงำนนั้น ออกมำแพรต่ ่อสำธำรณชนได้ตำมทีเ่ ปน็ วัตถปุ ระสงค์แห่งกำรจำ้ งแรงงำนนั้น มาตรา 10 งำนทผ่ี ูส้ รำ้ งได้สร้ำงสรรค์ขน้ึ โดยกนั รบั จำ้ งบุคคลอนื่ ใหผ้ วู้ ำ่ จำ้ งเป็นผูม้ ลี ิขสทิ ธิ์ ในงำนนนั้ เป็นแตผ่ สู้ รำ้ งสรรคแ์ ละผูว้ ่ำจำ้ งจะได้ตกลงกันไว้เปน็ อยำ่ งอ่นื มาตรา 11 งำนใดมีลกั ษณะเป็นกำรดดั แปลงงำนอนั มีลขิ สิทธ์ิตำมพระรำชบัญญตั นิ ้ี โดย ไดร้ บั อนุญำตจำกเจำ้ ของลขิ สิทธใ์ิ ห้ผู้ท่ีได้ดดั แปลงน้ันมลี ขิ สิทธิ์ในงำนที่ได้ดดั แปลงตำม พระรำชบัญญตั ินีแ้ ตท่ ั้งนี้ไม่กระทบกระเทือนลิขสทิ ธขิ์ องเจ้ำของลิขสทิ ธิ์ทีม่ ีอยู่ในงำนโรงเรยี นของผู้ สรำ้ งสรรค์ด่มื ท่ีถูกดัดแปลง มาตรา 12 งำนใดมีลกั ษณะเปน็ กำรนำเอำงำนอนั มีลิขสิทธ์ิตำมพระรำชบัญญตั นิ ้ีมำ รวบรวมหรือประกอบเข้ำกนั โดยไดร้ ับอนุญำตจำกเจ้ำของลิขสทิ ธห์ิ รือเป็นกำรนำเอำขอ้ มลู หรือส่งิ อื่น ใดซ่งึ สำมำรถถ่ำยทอดได้ โดยอำศยั คล่ืนกลหรอื อปุ กรณอ์ น่ื ใดมำรวบรวมหรอื ประกอบเข้ำกนั หำกผทู้ ่ี ไดร้ วบรวมหรือประกอบเข้ำกันได้รวบรวมหรือประกอบเขำ้ กันซึ่งงำนดังกลำ่ วข้นึ ดูวิธีกำรคดั สรรหลี จดั ลำดับในลักษณะซ่ึงมไิ ด้ลอกเลียนงำนของบคุ คลอ่นื ให้ผู้ที่ไดร้ วบรวมหรอื ประกอบเขำ้ กันนัน้ มี ลิขสิทธ์ใิ นงำนท่ีได้รวบรวมหรอื ประกอบเข้ำกนั ตำมพระรำชบัญญัตนิ ีแ้ ตท่ ั้งน้ีไม่กระทบกระเทือน ลิขสทิ ธข์ิ องเจ้ำของลขิ สทิ ธทิ์ ีม่ ีอยูใ่ นงำนหรือข้อมูลหรอื สิง่ อ่ืนใดของผสู้ ร้ำงสรรคเ์ ดิมท่ีถกู นำมำ รวบรวมหรอื ประกอบเข้ำกนั มาตรา 13 กำรนำมำตรำ8 มำตรำ9 และมำตรำ 10 มำใช้บงั คับแก่กันมลี ิขสิทธิต์ ำม มำตรำ 11 หรือ มำตรำ 12 โดยอนุโลม มาตรา 14 กระทรวง ทบวง กรม หรอื หนว่ ยงำนอืน่ ใดของรกั ดีของท้องถิน่ ย่อมมลี ขิ สิทธ์ิ ในงำนทไ่ี ดส้ ร้ำงสรรค์ขึ้นโดยกำรจำ้ ง หรอื ตำมคำสงั่ หรอื ในควำมควบคมุ ของตน เว้นแตจ่ ะได้ตกลง กันไว้เปน็ อย่ำงอ่ืนเปน็ ลำยลกั ษณอ์ ักษร 3. การคมุ้ ครองลิขสทิ ธ์ิ มาตรา 15 ภำยใต้บงั คับมำตรำ 9 มำตรำ10 มำตรำ 14 เจ้ำของลิขสิทธย์ิ อ่ มมีลขิ สทิ ธ์แิ ต่ เพยี งผเู้ ดียวดงั ต่อไปน้ี (1) ทำซ้ำหรือดัดแปลง (2) เผยแพร่ตอ่ สำธำรณชน (3) ให้เชำ่ ตน้ ฉบบั หรือสำเนำงำนโปรแกรมคอมพวิ เตอร์ โสตทศั นวัสดุ ภำพยนตร์ และสิ่งบันทึกเสยี ง (4) ใหป้ ระโยชนอ์ ันเกดิ จำกลิขสทิ ธแิ์ กผ่ ู้อ่ืน (5) อนญุ ำตใหผ้ ู้อ่ืนใชล้ ิขสิทธติ์ ำม (1) (2) หรอื (3) โดยจะกำหนดเงอ่ื นไขอยำ่ งไร หรอื ไม่ก็ได้แต่เงื่อนไขดงั กลำ่ วจะกำหนดในลักษณะทเี่ ป็นกำรกำจดั กำรแขง่ ขัน โดยไมเ่ ป็นธรรมไมไ่ ด้ กำรพิจำรณำวำ่ เง่ือนไขตำมวรรคหนงึ่ (5) จะเป็นกำรกำจดั กำรแข่งขนั โดยไม่เป็นธรรมหรอื ไม่ให้ เป็นไปตำมหลักเกณฑ์ วิธกี ำร และเงื่อนไขทีก่ ำหนดในกฎกระทรวง ประยกุ ตใ์ ช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสารและการแกป้ ญั หาเบือ้ งต้น

บทเรียนออนไลนอ์ ิเล็กทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 15 มาตรา 16 ในกรณีทีเ่ จ้ำของลขิ สิทธ์ติ ำมพระรำชบญั ญตั นิ ้ีได้อนุมตั ใิ ห้ผู้ใดใชล้ ิขสทิ ธ์ิตำม มำตรำ 15 (5) ยอมให้ตดั สทิ ธิเจ้ำของของสทิ ธิทีจ่ ะอนุญำตให้ผู้อนื่ ใช้สิทธิน้ันไดด้ ้วย เวน้ แต่ในหนงั สือ อนุญำตได้ระบุเปน็ ข้อห้ำมไว้ มาตรา 17 ลขิ สทิ ธ์ิน้ันยอ่ มโอนใหแ้ ก่กนั ได้ เจำ้ ของลขิ สิทธิโ์ ดนลขิ สิทธ์ขิ องตนทง้ั หมดหรือ แต่บำงสว่ นให้แกบ่ ุคคลอื่นได้ และจะโอนให้โดยมกี ำหนดเวลำหรือตลอดอำยุแห่งกำรควบครอง ลขิ สทิ ธ์ิก็ได้ กำรโอนลขิ สิทธติ์ ำมวรรคสองซง่ึ มใิ ช่ทำงมรดกตอ้ งทำเปน็ หนังสอื ลงลำยมือช่ือผูโ้ อนและ ผรู้ ับโอนถำ้ ไม่ได้กำหนดระยะเวลำไวใ้ นสญั ญำโอนให้ถือว่ำเปน็ กำรโอนมีกำหนดระยะเวลำ 10 ปี มาตรา 18 ผสู้ ร้ำงสรรค์งำนอันมีลิขสทิ ธ์ิตำมพระรำชบญั ญัติน้ีมีสทิ ธทิ ่จี ะแสดงแสดงว่ำตน เป็นผู้สรำ้ งสรรคง์ ำนดังกลำ่ ว และมสี ทิ ธิทจี่ ะห้ำมมิให้ผู้รบั โอนลิขสทิ ธ์ิหรือบุคคลอน่ื ใดบิดเบียน ตัด ทอนดดั แปลง หรือทำโดยประกำรอ่นื ใดแก่งำนน้นั จนเกิดควำมเสียหำยต่อช่อื เสยี งหรือเกลยี ดเกยี รติ คณุ ของผสู้ รำ้ ง และเมื่อผู้สรำ้ งสรรคถ์ ึงแก่ควำมตำย ทำยำทของผูส้ ร้ำงสรรค์มสี ทิ ธิท่จี ะฟ้องร้อง บงั คับ ตำมสทิ ธิดังกลำ่ วได้ตลอดอำยุแห่งกำรครอบครองลขิ สทิ ธิ์ ท้ังนี้เว้นแต่จะได้ตกลงกนั ไว้เป็นอยำ่ งอื่น เปน็ ลำยลกั ษณ์อกั ษร 4. อายุแห่งการคุม้ ครองลขิ สิทธิ์ มาตรา 19 ภำยใต้บังคบั มำตรำ 21 และมำตรำ 22 สิทธิตำมพระรำชบญั ญัติน้ีให้มีอยู่ ตลอดอำยุของผู้สร้ำงสรรค์ และมีอยู่ต่อไปอีกเปน็ เวลำหำ้ สบิ ปี นับแต่ผสู้ ร้ำงสรรคถ์ ึงแก่ควำมตำย ในกรณที ี่มีผ้สู ร้ำงสรรคร์ ่วมลขิ สทิ ธิ์ในงำนดงั กลำ่ วใหม้ ีอยตู่ ลอดอำยุของผสู้ ร้ำงสรรคร์ ว่ ม และมีอยู่ตอ่ ไปอีกเปน็ เวลำห้ำสบิ ปนี ับแต่ผู้สรำ้ งสรรคร์ ว่ มคนสดุ ทำ้ ยถงึ แกค่ วำมตำย ถ้ำผู้สร้ำงสรรคห์ รือผู้สรำ้ งสรรค์ร่วมทุกคนถึงแกค่ วำมตำยก่อนทีไ่ ด้มีกำรโฆษณำงำนนัน้ ใหล้ ิขสทิ ธิด์ ังกล่ำวมีอำยุห้ำสิบปนี ับแตไ่ ด้กำรโฆษณำเปน็ ครง้ั แรก ในกรณที ่ผี ูส้ ร้ำงสรรค์เปน็ นติ ิบคุ คล ใหล้ ิขสทิ ธ์ิมีอำยุหำ้ สิบปนี บั แต่ผูส้ ร้ำงสรรค์ได้ สร้ำงสรรคข์ ึน้ แต่ถ้ำได้มีกำรโฆษณำงำนน้นั ในระหวำ่ งระยะเวลำดงั กลำ่ ว ให้ลิขสิทธิม์ ีอำยุห้ำสบิ ปีนับ แตไ่ ด้มีกำรโฆษณำเป็นคร้ังแรก มาตรา 20 งำนอนั มีลขิ สิทธ์ิตำมพระรำชบัญญตั ิน้ีที่ได้สรำ้ งสรรค์ขึ้นโดยผู้สร้ำงสรรค์ใช้ นำมแฝงหรือไมป่ รำกฏช่ือผสู้ ร้ำงสรรค์ ใหล้ ิขสิทธมิ์ อี ำยหุ ้ำสบิ ปีนบั แตไ่ ดส้ รำ้ งสรรค์งำนนั้นข้นึ แต่ถำ้ ได้ มีกำรโฆษณำงำนนน้ั ในระหว่ำงระยะเวลำดงั กล่ำว ใหล้ ขิ สิทธมิ์ ีอำยหุ ำ้ สบิ ปนี ับแต่ได้มีกำรโฆษณำเปน็ ครงั้ แรก ในกรณที ่รี ตู้ ัวผู้สร้ำงสรรค์ ให้นำมำตรำ 19 มำใชบ้ ังคบั โดยอนุโลม มาตรา 21 ลขิ สิทธใิ์ นงำนภำพถ่ำย โสตทัศนวัสดุ ภำพยนตร์ ส่ิงบนั ทกึ เสียง หรืองำนแพร่ เสียงแพรภ่ ำพ ให้มอี ำยุหำ้ สบิ ปนี บั แต่ไดส้ ร้ำงสรรค์งำนน้นั ขึ้น แต่ถำ้ ได้มกี ำรโฆษณำงำนนั้นในระหวำ่ ง ระยะเวลำดังกลำ่ วใหล้ ิขสทิ ธมิ์ ีอำยุหำ้ สิบปีนับแตไ่ ด้มกี ำรโฆษณำเป็นครั้งแรก มาตรา 22 ลิขสิทธิใ์ นงำนศิลปประยุกต์ให้มีอำยยุ ่สี บิ ปนี บั แต่ได้สร้ำงสรรคง์ ำนนนั้ ข้ึน แต่ ถ้ำได้มกี ำรโฆษณำงำนนัน้ ในระหว่ำงระยะเวลำดังกล่ำว ให้ลขิ สิทธม์ิ อี ำยยุ ี่สบิ ปนี บั แตไ่ ด้มีกำรโฆษณำ เป็นคร้ังแรก ประยุกตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสอื่ สารและการแกป้ ัญหาเบ้ืองตน้

บทเรียนออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 16 มาตรา 23 ลขิ สิทธใ์ิ นงำนท่ีได้สรำ้ งสรรคข์ ้นึ โดยกำรจ้ำงหรือตำมคำส่งั หรือไม่ไดค้ วำม ควบคุมตำมมำตรำ 14 ให้มีอำยหุ ้ำสบิ ปนี ับแตไ่ ดส้ รำ้ งสรรค์งำนนั้นขน้ึ แต่ถ้ำได้มกี ำรโฆษณำงำนน้นั ใน ระหว่ำงระยะเวลำดงั กลำ่ วให้มีลิขสทิ ธ์มิ ีอำยหุ ้ำสิบปีนับแตไ่ ด้มกี ำรโฆษณำเปน็ ครั้งแรก มาตรา 24 กำรโฆษณำงำนตำมมำตรำ 19 มำตรำ 20 มำตรำ 21 มำตรำ 22 หรอื มำตรำ 23 อนั เป็นกำรเรมิ่ นบั อำยแุ ห่งกำรควบคุมลิขสิทธ์ิ หมำยควำมถงึ กำรนำงำนออกทำกำรโฆษณำโดย ควำมยนิ ยอมของเจำ้ ของลขิ สิทธิ์ มาตรา 25 เมือ่ อำยุแห่งกำรคุ้มครองลิขสิทธิ์ครบกำหนดในปใี ด ถำ้ วนั ครบกำหนดอำยุ แห่งกำรควบคุมลขิ สิทธไิ์ ม่ตรงกบั วนั สิน้ ปปี ฏทิ นิ หรือในกรณีที่ไม่อำจทรำบวันครบกำหนดอำยแุ ห่ง กำรคุ้มครองลิขสิทธ์ิที่แน่นอนในลิขสิทธ์ิยังคงมีอย่ตู ่อไปจนถึงวนั ส้ินปปี ฏิทินของปฏทิ ินนั้น มาตรา 26 กำรทำงำนอันมีลิขสทิ ธิอ์ อกทำกำรโฆษณำภำยหลังจำกท่ีอำยแุ ห่งกำรควบ ของลิขสิทธิ์สิน้ สุดลง ไม่ก่อให้เกิดลขิ สทิ ธใิ์ นงำนน้ันๆ ขน้ึ ใหม่ ขอความรู้เกยี่ วกับการแสดงสทิ ธใิ นการเผยแพรผ่ ลงาน วธิ ีกำรแสดงสิทธขิ องผลงำนหรือทรัพยส์ นิ ทำงปัญญำในระดับสำกลมีใหเ้ ห็นแตกตำ่ งกันโดย ขึ้นอยู่กับประเภทของผลงำน ดงั นนั้ 1. ประเภทสิทธบิ ตั รซ่ึงคมุ้ ครองผลิตภณั ฑ์อุตสำหกรรม จะมขี อ้ ควำมแสดงบนบรรจุภัณฑ์ ของผลติ ภณั ฑ์นั้น แจ้งหมำยเลขสิทธิบตั ร เช่น US Pat. No.1234567 ถ้ำเป็นผลติ ภัณฑ์ทไี่ ด้ย่นื คำขอ สทิ ธิบตั รไวแ้ ต่ยังไม่ไดร้ ับสิทธิบตั ร จะมขี ้อควำมว่ำ Us Patent Pending 2. ประเภทลขิ สิทธ์ิ เช่น จะ้ ลิขสิทธซิ์ อฟต์แวรต์ ำ่ งๆ จะมขี ้อควำมที่นำหน้ำด้วยเครื่องหมำย (c) ซื้อมำจำกคำว่ำ Copy right ตำมดว้ ยชอื่ เจำ้ ของลขิ สทิ ธ์ิและตอ่ ด้วย ค.ศ. ที่เริ่มไดร้ ับควำม คุ้มครอง เช่น (c) Microsoft 2018 และอำจมีข้อควำมกลบต่อว่ำ All Rights Reserved ก็ได้ 3. ลขิ สิทธิส์ ิง่ พิมพ์ในประเทศไทย จะมกี ำรแจ้งสทิ ธโิ ดยใช้ข้อควำม เช่น สงวนลขิ สิทธ์ิ มนี ำคม 2546 และอำจมขี ้อควำมอนื่ เพ่ิมเติม เชน่ สงวนลขิ สิทธ์ติ ำมกฎหมำย ห้ำมลอกเลียน ไมว่ ำ่ จะ เปน็ สว่ นหนง่ึ ส่วนใดของหนงั สือเล่มน้ี นอกจำกจะไดร้ บั อนุญำต 4. ซอฟต์แวรป์ ระเภท open source ซึง่ อนุญำตใหม้ ีกำรแกไ้ ข ดดั แปลง นำไปใชง้ ำน หรอื อำจอนญุ ำตให้พัฒนำต่อเพ่ือใชใ้ นเชงิ พำณชิ ย์หรอื ไม่ มักจะมคี ำประกำศสิทธพิ ร้อมทง้ั เงือ่ นไขต่ำงๆ ระบุไว้เชน่ อนุญำตให้ใช้ได้ท่ัวไป เวน้ แต่ในเชิงธุรกิจ แต่ต้องมกี ำรระบุแหล่งท่ีมำของต้นฉบบั และมี เง่ือนไขกำรอนญุ ำตเชน่ เดยี วกบั กรณีของต้นฉบับ 5. เครื่องหมำยกำรค้ำจดทะเบียน จะแสดงสิทธิโดยใช้เคร่ืองหมำย (R) ซึง่ มำจำกคำวำ่ Registered Trade Mark เพื่อประกำศว่ำ ช่ือหรือภำพสญั ลักษณท์ ี่ปรำกฏนั้นได้รบั กำรคุ้มครองตำม กฎหมำย กล่ำวโดยขอ้ สรุป คือ ในกำรเผยแพร่ผลงำนและผเู้ ผยแพรต่ อ้ งเลือกใช้วธิ ีกำรแสดงสทิ ธิให้ เหมำะสมแกก่ รณี ประยุกตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่ือสารและการแก้ปัญหาเบ้ืองต้น

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนคิ ส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 17 บทลงโทษหลักสาหรับการละเมิดทรัพย์สินทางปัญญา พระราชบญั ญัติลิขสิทธ์ิ พ.ศ. 2537 มาตรา 31 ผูใ้ ดรู้อยแู่ ลว้ หรือมเี หตอุ นั ควรรวู้ ำ่ งำนใดให้ทำขึน้ โดยละเมดิ ลขิ สิทธิ์ของผู้อื่น กำรกระทำใดอย่ำงหน่ึงแก่งำนน้ันเพื่อหำกำไรให้ถือว่ำผู้นัน้ กระทำกำรละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ ถำ้ รำยกำร กระทำดังต่อไปน้ี (1) ขำย มไี วเ้ พ่ือขำย เสนอขำย ใหเ้ ชำ่ เสนอใหเ้ ชำ่ ใหเ้ ช่ำซอ้ื หรือเสนอให้เชำ่ ซื้อ (2) เผยแพร่ตอ่ สำธำรณชน (3) แจกจำ่ ยในลกั ษณะทอ่ี ำจก่อให้เกิดควำมเสยี หำยแก่เจ้ำของลิขสิทธ์ิ (4) นำหรอื ส่งั ยำเขำ้ มำในรำชอำณำจักร มาตรา 70 ผ้ใู ดกระทำกำรละเมดิ ลขิ สทิ ธิ์ตำมมำตรำ 31 ต้องระวำงโทษปรับต้ังแต่ 10,000บำท ถงึ 100,000 บำท ถ้ำกำรกระทำควำมผดิ ตำมวรรคหนง่ึ เป็นกำรกระทำเพื่อกำรคำ้ ผู้กระทำต้องระวำงโทษ จำคุกตัง้ แต่ 3 เดอื น ถงึ 2 ปี หรือปรบั ตง้ั แต่ 50,000บำทถึง 400,000 บำท หรือท้งั จำท้ังปรบั พระราชบญั ญัติสทิ ธิบตั ร พ.ศ. 2522 มาตรา 22 ห้ำมมใิ ห้บุคคลใดซ่งึ รู้อยวู่ ำ่ กำรประดษิ ฐน์ ั้นไดม้ ีผู้ยน่ื คำขอรบั สิทธิบตั รไว้แลว้ เปดิ เผยรำยละเอียดกำรประดิษฐ์ไมว่ ำ่ โดยวธิ ใี ดๆ หรอื กระทำโดยประกำรอน่ื ที่อำจจะก่อใหเ้ กดิ ควำม เสียหำยแกผ่ ้รู บั สิทธิบัตรก่อนมกี ำรประกำศโฆษณำตำมมำตรำ 28 เว้นแต่จะได้รับควำมยินยอมเปน็ หนังสอื จำกผูข้ อรับสิทธบิ ัตร มาตรา 82 บคุ คลใดฝำ่ ฝนื มำตรำ 22 หรือมำตรำ 65 ประกอบด้วยมำตรำ 22 หรือ มำตรำ 65 ทศ ประกอบด้วยมำตรำ 22 ตอ้ งระวำงโทษจำคกุ ไม่เกิน 6 เดอื น หรอื ปรับไม่เกนิ 20,000 บำท หรอื ทั้งจำทั้งปรับ มาตรา 36 ผู้สงู สิทธบิ ตั รเท่ำนั้นมีสิทธดิ ังต่อไปนี้ (1) ในกรณสี ทิ ธิบัตรผลิตภณั ฑ์ สิทธใิ นกำรผลิต ใช้ ขำย มีไวเ้ พอื่ ขำย เสนอขำยหรือ นำเข้ำมำในรำชอำณำจกั รซง่ึ ผลติ ภณั ฑต์ ำมสิทธบิ ัตร (2) ในกรณสี ทิ ธบิ ตั รกรรมวธิ ี สทิ ธิในกำรใช้กรรมวิธตี ำมสิทธิบัตร ผลิต ใช้ ขำย มีไว้ เพือ่ ขำยเสนอขำยหรือนำเข้ำมำในรำชอำณำจักรซ่ึงผลติ ภณั ฑ์ทีผ่ ลิตโดยใช้กรรมวธิ ตี ำมสทิ ธบิ ัตร ควำมในวรรค (1) ไม่ใช่บังคบั แกก่ ำรกระทำใดๆ เพ่อื ประโยชน์ในกำรศึกษำ ค้นควำ้ ทดลอง หรอื วจิ ยั ท้งั นต้ี ้องไม่ขดั ตอ่ กำรใชป้ ระโยชน์ตำมปกติของผู้ทรงสิทธิบัตร และไมท่ ำใหเ้ ส่ือมเสีย ตอ่ ประโยชนอ์ ันชอบธรรมของผทู้ รงสทิ ธิบัตรเกินสมควร มาตรา 85 บุคคลใดกระทำอย่ำงใดอยำ่ งหน่งึ ตำมมำตรำ 36 หรอื มำตรำ 63 โดยไมไ่ ด้รับ อนญุ ำตจำกผ้ทู รงสทิ ธิบัตร ต้องระวำงโทษจำคุกไมเ่ กิน 2 ปี หรอื ปรับไมเ่ กิน 400,000 บำท หรือท้งั จำท้งั ปรบั มาตรา 86 (6) บคุ คลใดกระทำอย่ำงใดอย่ำงหนึ่งตำมมำตรำ 65 ทศ ประกอบดว้ ยมำตรำ 36 โดยไมไ่ ด้รับอนญุ ำตจำกผู้ทรงอนสุ ทิ ธิบตั ร ต้องระวำงโทษจำคุกไม่เกนิ 1 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 200,000บำทหรือทงั้ จำท้ังปรับ ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่อื สารและการแก้ปัญหาเบือ้ งตน้

บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนคิ ส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 18 พระราชบญั ญัติเครอ่ื งหมายการค้า พ.ศ. 2534 มาตรา 108 บุคคลใดปลอมเคร่อื งหมำยกำรค้ำ เคร่อื งหมำยบรกิ ำร เครือ่ งหมำยรบั รอง หรอื เครอื่ งหมำยร่วมของบุคคลอ่ืนท่ีไดจ้ ดทะเบยี นแล้ว ในรำชอำณำจกั รตอ้ งระวำงโทษจำคกุ ไมเ่ กิน 4 ปี หรือปรับไมเ่ กิน400,000บำท หรอื ท้งั จำทงั้ ปรบั มาตรา 109 บคุ คลใดเรียนเคร่อื งหมำยกำรคำ้ เครื่องหมำยบริกำร เครื่องหมำยรับรอง หรอื เครือ่ งหมำยร่วมของบุคคลอื่นที่ได้จดทะเบียนแลว้ ในรำชอำณำจกั ร เพอื่ ใหป้ ระชำชนหลงเช่ือวำ่ เป็นเครือ่ งหมำยกำรค้ำ เครื่องหมำยบรกิ ำร เคร่ืองหมำยรบั รอง หรือเคร่ืองหมำยรวมของบคุ คลอ่นื น้ัน ตอ้ งระวำงโทษจำคุกไมเ่ กนิ 2 ปี หรอื ปรบั ไม่เกิน 200,000บำท หรือท้งั จำทัง้ ปรบั ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการส่อื สารและการแกป้ ัญหาเบ้อื งต้น

บทเรยี นออนไลน์อเิ ลก็ ทรอนคิ ส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) 19 ใหน้ ักเรียนตอบคำถำม10ต่อไปนี้ใหถ้ กู ต้อง 1. เทคโนโลยสี ำรสนเทศ มีควำมหมำยวำ่ อยำ่ งไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 2. “ควำมเปน็ อยู่ สขุ สบำยดีหรอื ไม่ ผลกำรเรียนดีไหม” คำเหลำ่ นมี้ ชี ่ือเรียกวำ่ อย่ำงไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 3. คำวำ่ “สำรสนเทศ” ในควำมหมำยท่ัวไปมีควำมหมำยว่ำอยำ่ งไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 4. กำรสง่ สำเนำบัตรประจำตัวสำรสนเทศ มคี วำมหมำยวำ่ อย่ำงไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 5. วทิ ยกุ ระจำยเสียงมีลักษณะของสำรสนเทศอย่ำงไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนทีไ่ ด้ ..................... คะแนน  ผา่ น  ไม่ผ่าน ประยุกตใ์ ชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสื่อสารและการแก้ปญั หาเบอ้ื งต้น

บทเรียนออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนคิ ส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) 20 ให้นักเรยี นวิเครำะห์ข้อควำมตอ่ นีแ้ ลว้1ท0ำเครื่องหมำยถูก และเคร่อื งหมำยผดิ ต่อไปนี้ ……………………. 1. คอมพิวเตอร์+อินเทอรเ์ น็ต มีลักษณะของสำรสนเทศ คือ สื่อประสม ……………………. 2. ลักษณะของกำรรับ-ส่งของคอมพวิ เตอร์+อนิ เทอรเ์ น็ต คอื รบั ส่งข้อมูลดจิ ิทลั ไปกบั คล่ืนในระบบเครอื ข่ำย ……………………. 3. โทรทัศนม์ ลี ักษณะของสำรสนเทศ คอื ภำพเคล่ือนไหว+ เสียง ……………………. 4. กำรรับ-ส่งของโทรทัศน์ คือ รับ-สง่ คลน่ื วิทยุ ส่งทำงเดียว ……………………. 5. เทคโนโลยเี ปน็ อปุ กรณ์ส่ือสำรสมยั ใหม่ คอื สมำร์ตโฟน ……………………. 6. ประโยชน์ของเทคโนโลยสี ำรสนเทศ ได้แก่ ทำให้ทกุ คนท่ีสนใจสำมำรถรบั รู้ ข่ำวสำร และข้อมลู ท่ีได้อยำ่ งรวดเร็ว ……………………. 7. สงั คมไรเ้ งินสด หมำยถงึ กำรจบั จำ่ ยใช้สอยเกือบทุก ๆ อยำ่ งจะเป็นกำรโอนผ่ำน สมำร์ตโฟน ……………………. 8. กำรโอนผ่ำนสมำร์ตโฟน คือ กำรจ่ำยเงินสดเทำ่ น้นั ……………………. 9. อำชญำกรรมทำงคอมพวิ เตอรห์ รืออำชญำกรรมไซเบอร์ คอื อำชญำกรรมใด ๆ ทเี่ กีย่ วกบั คอมพวิ เตอร์และเครือข่ำยคอมพวิ เตอร์ …………………….10. ผู้ใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศที่กระทำควำมผดิ ต้องรบั ผิดตำมกฎหมำยใน 3 ลกั ษณะ คอื ควำมผิดตำมพระรำชบญั ญัติ ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณชิ ย์ คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนท่ไี ด้ ..................... คะแนน  ผ่าน  ไม่ผา่ น ประยุกต์ใชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสือ่ สารและการแกป้ ญั หาเบอ้ื งตน้

บทเรียนออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 21 ให้นกั เรยี นตอบคำถำมต่อไปน้ีใหถ้ ูกต1้อ0ง 1. ผใู้ ช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศทีก่ ระทำควำมผิดต้องรบั ผิดตำมกฎหมำยในกลี่ กั ษณะ ได้แก่ลกั ษณะ ใดบ้ำง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 2. กำรใชเ้ ทคโนโลยสี ำรสนเทศอยำ่ งปลอดภัยและมีควำมรับผดิ ชอบ มีควำมหมำยว่ำอย่ำงไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 3. กำรวำงแผนในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศอยำ่ งปลอดภัยและมีควำมรับผดิ ชอบอำศยั หลกั อยู่ กี่ประกำรได้แกห่ ลกั กำรใดบ้ำง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 4. ทรัพยส์ นิ ทำงปัญญำ มคี วำมหมำยว่ำอยำ่ งไร ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… 5. ทำงสำกลทรัพย์สินทำงปัญญำ แบง่ ออกเป็นกี่ประเภทได้แกป่ ระเภทใดบ้ำง ตอบ ……………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………..………………………………………………………………………… คะแนนเต็ม 10 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ ..................... คะแนน  ผ่าน  ไมผ่ า่ น ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่อื สารและการแกป้ ญั หาเบ้อื งต้น

บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 22 ใหน้ กั เรยี นปฏิบัติกจิ กรรมกล1ุ่ม0ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. ให้นักเรยี นแบง่ กลุ่มออกเป็น กลุ่มละ 4-5 คน 2. ชว่ ยกันสรุปองค์ควำมรู้ 3. สร้ำงแผนทคี่ วำมคดิ จำกกำรสรุปองค์ควำมรู้ 4. สรุปองค์ควำมรใู้ นสมุดบนั ทกึ ส่วนตวั 5. นำเสนอแผนที่ควำมคดิ …………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………… ………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………… .…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………….………….……… …………………….…………………….………………….…………………….…………………….…………………….…………… ……….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….……………………. …………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………….………….……… …………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………… ………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………… .…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………….………….……… …………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………… ………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………… .…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………….………….……… …………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………… ………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………… .…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………….………….……… …………………….…………………….………………….…………………….…………………….…………………….…………… ……….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….……………………. …………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………….………….……… …………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….………… ………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………….…………………… คะแนนเต็ม 15 คะแนน คะแนนทไ่ี ด้ ..................... คะแนน  ผ่าน  ไม่ผา่ น ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสอื่ สารและการแก้ปัญหาเบอ้ื งต้น

บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนคิ ส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 23 แบบทดสอบหลังเรยี น เรื่อง ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ารสอ่ื สาร และการแกป้ ัญหาเบอื้ งตน้ คาชแี้ จง ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบท่ถี ูกทส่ี ุดเพียงคำตอบเดยี วแล้วทำเคร่ืองหมำย X ลงในกระดำษคำตอบ 1. ขอ้ ใด คือ ควำมหมำยของเทคโนโลยีสำรสนเทศ ก. กำรสร้ำงและกำรแสดงสิทธิในกำรเผยแพรผ่ ลงำน ข. ควำมรบั ผิดชอบของผูใ้ ช้เทคโนโลยีสำรสนเทศ ค. เทคโนโลยที ใี่ ชใ้ นกำรติดต่อสอ่ื สำรเพ่ือรับและส่งขำ่ วสำร ง. กำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศอย่ำงปลอดภยั และมคี วำมรับผดิ ชอบ 2. คำวำ่ “ควำมเป็นอยู่ สุขสบำยดหี รือไม่ ผลกำรเรยี นดไี หม” มีชอ่ื เรียกวำ่ อย่ำงไร ก. สิทธบิ ัตร ข. ข่ำวสำร ค. ทรัพย์สินทำงปัญญำ ง. ทรพั ย์สินทำงอุตสำหกรรม 3. ข้อใด คือ ลกั ษณะของสำรสนเทศวิทยุกระจำยเสยี ง ก. เสียง ข. สือ่ ประสม ค. ภำพเคล่ือนไหว ง. ข้อควำม+รปู ภำพ 4. ข้อใด คือ ควำมหมำยของอำชญำกรรมทำงคอมพิวเตอรห์ รืออำชญำกรรมไซเบอร์ ก. ทำใหท้ กุ คนที่สนใจสำมำรถรับรขู้ ่ำวสำรและขอ้ มลู ได้ ข. กำรใช้คอมพวิ เตอรห์ รือสมำทร์โฟนเพ่ือคน้ หำขอ้ มูล ค. อำชญำกรรมใด ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งกับคอมพิวเตอร์และเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ ง. กำรใชค้ อมพวิ เตอรห์ รอื สมำทรโ์ ฟนเพ่ือกำรศึกษำหำควำมรู้ดว้ ยตนเอง 5. ผูใ้ ชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศท่กี ระทำควำมผิดต้องรับผิดตำมกฎหมำย ในข้อใด ก. ควำมผิดตำมพระรำชบญั ญตั ิ ข. ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ค. ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ ง. ถกู ทุกขอ้ ทก่ี ล่ำวมำ ประยกุ ตใ์ ช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและการแกป้ ญั หาเบือ้ งตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 24 6. ข้อใด คือ ควำมผิดตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ก. ทรพั ยส์ นิ ทำงปัญญำ ข. กำรผดิ สญั ญำ ละเมดิ ลิขสิทธ์ิ ค. เครื่องหมำยกำรค้ำ ง. ลกั ทรัพย์ ฉ้อโกง ยกั ยอกทรพั ย์ 7. ขอ้ ใด คือ กำรวำงแนวทำงในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศอย่ำงปลอดภัยและมคี วำมรับผิดชอบ ก. หลักรเู้ ขำ-รูเ้ รำ ข. หลกั กันไวด้ ีกวำ่ แก้ ค. หลกั คณุ ธรรม ง. ถูกทุกขอ้ ทีก่ ลำ่ วมำ 8. ขอ้ ใด คือ แนวคิดสำคญั ของกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศอย่ำงปลอดภยั และมีควำมรับผดิ ชอบ ก. เป็นกำรเขียนคำสั่งให้ควบคุมกับคอมพวิ เตอร์ ข. เคร่ืองคอมพิวเตอร์และองคป์ ระกอบต่ำง ๆ ค. กำรวำงแนวทำงในกำรใช้เทคโนโลยีสำรสนเทศจะช่วยให้ใช้เทคโนโลยไี ดอ้ ย่ำงปลอดภยั ง. สำรสนเทศและสงิ่ ประดษิ ฐ์ทส่ี ร้ำงขึ้นเอง เป็นทรัพยส์ ินทำงปัญญำ 9. ขอ้ ใด คือ ควำมหมำยของทรพั ย์สนิ ทำงปัญญำ ก. สทิ ธบิ ัตรกำรประดิษฐ์ อนุสทิ ธิบตั ร สทิ ธบิ ัตรกำรออกแบบผลติ ภณั ฑ์ ข. ควำมคิดสรำ้ งสรรคข์ องมนุษยท์ ีเ่ กี่ยวกบั สินค้ำอุสำหกรรม ค. ผลงำนอันเกิดจำกกำรประดิษฐ์ คิดค้น หรอื สรำ้ งสรรค์ของมนุษย์ ง. แบบผังคมุ ของวงจรรวม ส่งิ บง่ ช้ีทำงภมู ศิ ำสตร์ 10. ข้อใด คอื แนวคดิ สำคญั ของพระรำชบัญญตั ลิ ิขสทิ ธิ์ ก. ประเภทสิทธิบตั รคมุ้ ครองผลติ ภัณฑ์อตุ สำหกรรม ข. ลขิ สทิ ธ์สิ ิ่งพิมพ์ในประเทศไทย ค. เครื่องหมำยกำรค้ำจดทะเบียน ง. สง่ิ ประดษิ ฐ์หรอื สำรเทศทีจ่ ดสทิ ธบิ ัตรแลว้ จะไดร้ บั กำรคุ้มครองตำมพระรำชบัญญัตติ ำม ชว่ งเวลำท่กี ำหนด ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่อื สารและการแก้ปัญหาเบอื้ งตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 25 กระดาษคาตอบแบบทดสอบหลังเรยี น เรือ่ ง ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ารสื่อสาร และการแกป้ ัญหาเบอื้ งตน้ คาช้แี จง ให้นักเรียนเลือกคำตอบทถ่ี ูกท่ีสุดเพียงคำตอบเดยี วแล้วทำเคร่ืองหมำย X ลงในกระดำษคำตอบ ข้อ ก ข ค ง 1. 2. 3. 4. 5. 6. 7. 8. 9. 10. รวม คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนที่ได้ ..................... คะแนน  ผา่ น  ไมผ่ ่าน ประยุกต์ใชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสารและการแก้ปัญหาเบื้องตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ เิ ล็กทรอนคิ ส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) 26 ภาคผนวก ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารและการแก้ปญั หาเบื้องตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ ิเล็กทรอนคิ ส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 27 ใหน้ กั เรยี นตอบคำถำม10ต่อไปนี้ใหถ้ กู ต้อง 1. เทคโนโลยีสำรสนเทศ มีควำมหมำยว่ำอยำ่ งไร ตอบ เทคโนโลยีทใี่ ชใ้ นกำรตดิ ต่อส่ือสำร เพื่อรับและสง่ ข่ำวสำรรวมถึงข้อมลู ทเ่ี ปน็ ประโยชน์ 2. “ควำมเปน็ อยู่ สุขสบำยดีหรอื ไม่ ผลกำรเรียนดีไหม” คำเหลำ่ นีม้ ชี อื่ เรียกวำ่ อย่ำงไร ตอบ ขำ่ วสำร 3. คำวำ่ “สำรสนเทศ” ในควำมหมำยทวั่ ไปมคี วำมหมำยวำ่ อย่ำงไร ตอบ ข้อมูลที่เปน็ ประโยชน์ (มีสำระ) เป็นคำรวมท่ีหมำยถึง ทั้งข่ำวำสำรทบี่ อกเล่ำมำและข้อมูล สำหรบั ธุรกรรม 4. กำรส่งสำเนำบัตรประจำตัวสำรสนเทศ มคี วำมหมำยว่ำอยำ่ งไร ตอบ ข้อมลู ในบัตรประชำชน ปจั จบุ นั เรำสง่ สำเนำบัตรประชำชน โดยสมำรต์ โฟน ถ่ำยรปู แล้วสง่ ภำพไดท้ ันที 5. วทิ ยกุ ระจำยเสียงมีลกั ษณะของสำรสนเทศอยำ่ งไร ตอบ เสยี ง และรบั -สง่ คลืน่ วิทยุ ส่งทำงเดยี ว ประยกุ ต์ใช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสารและการแก้ปัญหาเบือ้ งตน้

บทเรียนออนไลน์อเิ ล็กทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 28 ให้นักเรียนวิเครำะห์ขอ้ ควำมต่อน้แี ลว้1ท0ำเคร่ืองหมำยถกู และเครื่องหมำยผดิ ต่อไปน้ี …………………. 1. คอมพิวเตอร์+อนิ เทอรเ์ นต็ มีลักษณะของสำรสนเทศ คือ สื่อประสม …………………. 2. ลกั ษณะของกำรรับ-สง่ ของคอมพิวเตอร์+อนิ เทอรเ์ น็ต คือ รับส่งข้อมลู ดจิ ทิ ัลไป กบั คลืน่ ในระบบเครือข่ำย …………………. 3. โทรทศั น์มีลักษณะของสำรสนเทศ คือ ภำพเคลื่อนไหว+ เสยี ง …………………. 4. กำรรบั -สง่ ของโทรทศั น์ คือ รับ-ส่ง คล่นื วิทยุ ส่งทำงเดียว …………………. 5. เทคโนโลยเี ป็นอปุ กรณ์สื่อสำรสมยั ใหม่ คอื สมำรต์ โฟน …………………. 6. ประโยชน์ของเทคโนโลยสี ำรสนเทศ ไดแ้ ก่ ทำให้ทกุ คนทส่ี นใจสำมำรถรบั รู้ ขำ่ วสำร และข้อมูลท่ีไดอ้ ย่ำงรวดเรว็ …………………. 7. สังคมไร้เงนิ สด หมำยถึง กำรจับจำ่ ยใช้สอยเกือบทุก ๆ อย่ำงจะเป็นกำรโอนผำ่ น สมำร์ตโฟน …………………. 8. กำรโอนผำ่ นสมำร์ตโฟน คือ กำรจ่ำยเงนิ สดเท่ำนน้ั …………………. 9. อำชญำกรรมทำงคอมพวิ เตอร์หรืออำชญำกรรมไซเบอร์ คอื อำชญำกรรมใด ๆ ท่เี กยี่ วกบั คอมพิวเตอร์และเครือข่ำยคอมพิวเตอร์ …………………. 10. ผใู้ ช้เทคโนโลยีสำรสนเทศทีก่ ระทำควำมผิดต้องรับผิดตำมกฎหมำยใน 3 ลักษณะ คอื ควำมผดิ ตำมพระรำชบญั ญัติ ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยแพง่ และพำณิชย์ ประยุกต์ใช้งานระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสื่อสารและการแก้ปญั หาเบอ้ื งตน้

บทเรียนออนไลนอ์ เิ ลก็ ทรอนิคส์ วิชา วิทยาการคานวณ (ว22103) 29 ให้นักเรยี นตอบคำถำมต่อไปน้ีให้ถูกต1้อ0ง 1. ผใู้ ช้เทคโนโลยีสำรสนเทศทก่ี ระทำควำมผิดต้องรบั ผิดตำมกฎหมำยในก่ลี กั ษณะ ไดแ้ กล่ กั ษณะ ใดบำ้ ง ตอบ มี 3 ลักษณะ ได้แก่ 1. ควำมผดิ ตำมพระรำชบญั ญัติ 2. ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยอำญำ 3. ควำมผดิ ตำมประมวลกฎหมำยแพ่งและพำณิชย์ 2. กำรใชเ้ ทคโนโลยีสำรสนเทศอย่ำงปลอดภัยและมีควำมรับผิดชอบ มคี วำมหมำยว่ำอย่ำงไร ตอบ เพอ่ื ควำมปกตสิ ุขของสงั คม เพ่อื ให้กำรใชค้ อมพวิ เตอร์และข้อมลู เกี่ยวกบั คอมพวิ เตอร์ของ สุจรติ ชนไดร้ บั ควำมคมุ้ ครอง 3. กำรวำงแผนในกำรใช้เทคโนโลยสี ำรสนเทศอย่ำงปลอดภัยและมคี วำมรบั ผิดชอบอำศยั หลกั อยู่ ก่ปี ระกำรได้แก่หลกั กำรใดบำ้ ง ตอบ มี 3 ประกำร ได้แก่ 1. หลกั กำรรเู้ รำ-รู้เขำ 2. หลักกนั ไว้ดกี วำ่ แท้ 3. หลักคณุ ธรรม 4. ทรัพยส์ นิ ทำงปญั ญำ มคี วำมหมำยว่ำอยำ่ งไร ตอบ ผลงำนอันเกิดจำกกำรประดษิ ฐ์ คิดคน้ หรือสรำ้ งสรรคข์ องมนุษย์ 5. ทำงสำกลทรัพย์สินทำงปัญญำ แบง่ ออกเป็นกี่ประเภทได้แกป่ ระเภทใดบ้ำง ตอบ มี 2 ประเภท ได้แก่ 1. ทรัพย์สินทำงอุตสำหกรรม 2. ลิขสทิ ธิ์ ประยุกตใ์ ช้งานระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอื่ สารและการแกป้ ัญหาเบอ้ื งตน้

บทเรียนออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนิคส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 30 ให้นกั เรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมกล1ุ่ม0ดงั ต่อไปนี้ 1. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็น กลุ่มละ 4-5 คน 2. ชว่ ยกันสรุปองค์ควำมรู้ 3. สรำ้ งแผนท่คี วำมคิดจำกกำรสรปุ องค์ควำมรู้ 4. สรปุ องคค์ วำมรใู้ นสมดุ บันทกึ ส่วนตวั 5. นำเสนอแผนท่คี วำมคิด เกณฑ์การให้คะแนน คาชแ้ี จง โปรดทำเครื่องหมำย ลงในชอ่ งวำ่ งตำมระดบั คะแนนทเ่ี ป็นจริง ระดับคะแนน 3 ระดับ ดงั น้ี 3 คะแนน หมำยถงึ ดี 2 คะแนน หมำยถงึ พอใช้ 1 คะแนน หมำยถึง ควรปรบั ปรงุ รำยกำรประเมนิ ระดับคะแนน หมำยเหตุ 321 1. สรุปองคป์ ระกอบควำมรู้ได้ชัดเจนและครบถ้วน 2. บอกควำมสำคญั ได้ตรงประเดน็ 3. สะอำด เรยี บร้อย และสวยงำม 4. ควำมคดิ สร้ำงสรรค์ 5. ควำมกล้ำแสดงออกในกำรนำเสนองำน รวม เกณฑ์กำรให้คะแนน 12-15 คะแนน หมำยถงึ ดี 8-11 คะแนน หมำยถึง พอใช้ ตำ่ กวำ่ 8 คะแนน หมำยถงึ ควรปรับปรุง ลงชอื่ ………………………………………..ผบู้ นั ทกึ (…………………………………….) ประยกุ ต์ใช้งานระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารสอ่ื สารและการแกป้ ัญหาเบือ้ งต้น

บทเรยี นออนไลน์อิเลก็ ทรอนิคส์ วชิ า วิทยาการคานวณ (ว22103) 31 เฉลยกระดาษคาตอบแบบทดสอบก่อนและหลงั เรยี น เร่อื ง ประยุกต์ใชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่ือสาร และการแก้ปญั หาเบอ้ื งตน้ คาช้แี จง ใหน้ ักเรียนเลือกคำตอบทีถ่ ูกที่สุดเพียงคำตอบเดียวแล้วทำเคร่ืองหมำย X ลงในกระดำษคำตอบ ขอ้ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1. × 1. × 2. × 2. × 3. × 3. × 4. × 4. × 5. × 5. × 6. × 6. × 7. × 7. × 8. × 8. × 9. × 9. × 10. × 10. × รวม รวม ประยกุ ตใ์ ช้งานระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่ือสารและการแกป้ ัญหาเบือ้ งตน้

บทเรยี นออนไลนอ์ ิเลก็ ทรอนคิ ส์ วชิ า วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 32 แบบบันทกึ ผลการเรยี นรู้ เร่ือง ประยุกตใ์ ช้งานระบบคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยกี ารสื่อสาร และการแกป้ ัญหาเบอื้ งต้น คาช้แี จง โปรดบนั ทกึ คะแนนทีไ่ ด้ระหวำ่ งเรียนท้งั หมดลงในตำรำง การประเมนิ คะแนนเตม็ คะแนนทไ่ี ด้ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 10 แบบทดสอบหลังเรียน 10 เกณฑ์กำรประเมินนกั เรียนต้องไดค้ ะแนน รอ้ ยละ 80 ขึ้นไป ผำ่ น ไม่ผำ่ น การประเมนิ คะแนนเตม็ คะแนนที่ได้ กจิ กรรมท่ี 1 10 กิจกรรมที่ 2 10 กิจกรรมที่ 3 10 กจิ กรรมท่ี 4 15 45 รวม เกณฑ์กำรประเมนิ นักเรียนตอ้ งไดค้ ะแนน รอ้ ยละ 80 ขน้ึ ไป ผ่ำน ไมผ่ ่ำน ลงช่ือ………………………………………..ผูบ้ นั ทกึ (…………………………………….) ประยกุ ต์ใชง้ านระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสื่อสารและการแก้ปัญหาเบอ้ื งตน้

บทเรียนออนไลน์อิเล็กทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 33 บรรณานกุ รม กระทรวงศึกษำธกิ ำร. (2551). หลกั สูตรแกนกลางการศึกษาขนั้ พ้นื ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ชมุ ชมุ สหกรณ.์ ______. (2552). แนวทางการจดั การเรียนรู้ ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้นั พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชุมนมุ สหกรณ์กำรเกษตรแหง่ ประเทศไทย. ______. (2552). แนวการวดั ผลและประเมินผลการเรียนรู้ ตามหลกั สตู รแกนกลางการศึกษา ขั้นพนื้ ฐานพุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ : ชมุ นมุ สหกรณ์กำรเกษตรแห่งประเทศไทย. ______. (2552). มาตรฐานและตัวชี้วดั ตามกลมุ่ สาระการเรยี นร้วู ทิ ยาศาสตร์ หลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศักราช 2551. กรงุ เทพฯ : ชุมนุมสหกรณก์ ำรเกษตรแห่ง ประเทศไทย. โกสนั ต์ เทพสทิ ธิทรำกรณ์. (2562). หนงั สือเรียน รายวิชาวิทยาศาสตร์ฯ เทคโนโลยี (วิทยาการคานวณ) ม.2. กรุงเทพฯ : แม็คเอ็ดดูเคช่นั ชนินทร เฉลมิ สุข และ อภชิ ำติ คำปลวิ . (2562). เทคโนโลย(ี วิทยาการคานวณ) ชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 2. กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์อักษรเจริญทศั น.์ สถำบนั สง่ เสรมิ กำรสอนวิทยำศำสตร์และเทคโนโลยี. (2562). เทคโนโลยี (วทิ ยาการคานวณ) ชนั้ มธั ยมศึกษาปที ่ี 2 : หนังสอื เรียนรายวิชาพนื้ ฐานวิทยาศาสตร.์ กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ แห่งจุฬำลงกรณม์ หำวิทยำลัย. ประยกุ ตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสอื่ สารและการแก้ปญั หาเบื้องต้น

บทเรยี นออนไลน์อเิ ล็กทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 34 ประวตั ยิ อ่ ผ้จู ัดทา ชือ่ – สกลุ นำงอรุณี สเุ มธโสภณ วัน เดอื น ปีเกดิ 18 มกรำคม พ.ศ.2519 ที่อยู่ปจั จุบัน 695/11 หมู่ที่ 10 ตำบลวฒั นำนคร อำเภอวัฒนำนคร จงั หวดั สระแก้ว ตาแหน่ง ครูชำนำญกำรพิเศษ สถานท่ที างานปจั จุบนั โรงเรยี นวัฒนำนคร อำเภอวฒั นำนคร จังหวัดสระแกว้ ประวตั กิ ารศึกษา พ.ศ. 2524 – 2530 -ชัน้ ประถมศึกษำตอนปลำย โรงเรียนหนองโตง จงั หวัดสรุ นิ ทร์ พ.ศ. 2530 – 2536 -ชัน้ มธั ยมศกึ ษำตอนปลำย โรงเรยี นสิรินธร จังหวัดสรุ นิ ทร์ พ.ศ. 2541 – 2544 -ครศุ ำสตรบัณฑติ สำขำวิชำคอมพิวเตอร์ศึกษำ สถำบันกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยรำชภัฎสุรินทร์ จงั หวัดสุรินทร์ พ.ศ. 2556 – 2557 -ศึกษำศำสตรมหำบณั ฑิต สำขำวชิ ำกำรบริหำรกำรศึกษำ สถำบันกำรศึกษำ มหำวิทยำลัยปทุมธำนี ประยุกตใ์ ช้งานระบบคอมพวิ เตอรแ์ ละเทคโนโลยีการสอื่ สารและการแก้ปัญหาเบื้องตน้

บทเรยี นออนไลน์อิเล็กทรอนคิ ส์ วิชา วทิ ยาการคานวณ (ว22103) 35 ประยุกตใ์ ชง้ านระบบคอมพิวเตอรแ์ ละเทคโนโลยกี ารส่อื สารและการแกป้ ัญหาเบ้ืองตน้