Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore Edit-AW-NECTEC-KidBright-Book-Primary-5

Edit-AW-NECTEC-KidBright-Book-Primary-5

Published by comvices, 2022-07-05 07:41:39

Description: Edit-AW-NECTEC-KidBright-Book-Primary-5

Search

Read the Text Version



ณ ศนู ย์เทคโนโลยอี ิเลก็ ทรอนิกสแ์ ละคอมพวิ เตอร์แห่งชาติ สาำ นักงานพฒั นาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแหง่ ชาติ สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี พิิมพิ์ครั้้�งที่่� 1 มกราคม พ.ศ. 2564 จ�านวน 100 เล่ม สงวนลิขสิทธ์ิ ตาม พ.ร.บ. ลิขสิทธ์ิ (ฉบับเพ่ิมเติม) พ.ศ. 2558 ไม่อนุญาตให้คัดลอก ท�าซ�้า และดัดแปลง ส่วนหน่ึงส่วนใด ของหนงั สอื ฉบบั น้ี นอกจากจะไดร้ บั อนญุ าตเป็นลายลักษณ์อกั ษรจากเจ้าของลิขสทิ ธเ์ิ ทา่ น้นั แนวทางจัดการเรียนรู้ เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ): Coding with KidBright ชั้นประถมศึกษาปีท่ี 5 โดย ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ และ สถาบนั สง่ เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. พมิ พ์ครั้งท่ี 1. -- ปทุมธานี : ส�านักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีแหง่ ชาต,ิ 2562. 96 หน้า : ภาพประกอบสี 1. คอมพิวเตอร์ 2. การสื่อสารด้วยระบบดิจิทัล 3. ระบบสื่อสารข้อมูล 4. การส่ือสารข้อมูล 5. การสื่อสารแบบ สื่อประสม 6. โปรโตคอลเครือข่ายคอมพิวเตอร์ 7. คอมพิวเตอร์อัลกอริทึม I. ส�านักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยีแห่งชาติ II. ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ III. ห้องปฏิบัติการวิจัยสมองกล ฝังตัว IV. ห้องปฏิบัติการวิจัยการประมวลผลสัญญาณชีวการแพทย์ V. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี VI. ช่อื เร่ือง TK5105 004.6 จดั ทำาโดย ศูนย์เทคโนโลยอี เิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ ละคอมพวิ เตอร์แห่งชาติ สา� นักงานพัฒนาวทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยีแหง่ ชาติ 112 อุทยานวิทยาศาสตร์ประเทศไทย ถนนพหลโยธนิ ตา� บลคลองหนง่ึ อา� เภอคลองหลวง จงั หวดั ปทมุ ธานี 12120 โทร 0-2564-6900 โทรสาร 0-2564-6901-3 อีเมล [email protected] เวบ็ ไซต์ http://www.nectec.or.th สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี เว็บไซต์ http://www.ipst.ac.th

ค�ำ นำ� ปัจจุบันท่ัวโลกให้ความส�าคัญกับการเรียนเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ในโรงเรียน เนื่องจากการเรียนดังกล่าวช่วยให้เกิด การกระตุ้นกระบวนการคิด เช่น การคิดเชิงค�านวณ การคิดวิเคราะห์ แก้ปัญหาเป็นขั้นตอนและเป็นระบบ ซ่ึงเป็นทักษะ สา� คัญของเยาวชนในศตวรรษที่ 21 อกี ท้ังกระทรวงศกึ ษาธกิ ารไดป้ ระกาศใชห้ ลักสตู รวิชาวิทยาการค�านวณ โดยจดั ให้อยูใ่ น สาระเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) จากความส�าคัญดังกล่าวข้างต้น ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ (เนคเทค) ส�านักงานพัฒนา วทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) จงึ ไดพ้ ฒั นาบอรด์ KidBright ซ่งึ เป็นบอร์ดสมองกลฝังตวั ทต่ี ิดตั้งจอแสดงผล และเซนเซอร์แบบง่าย เพ่ือเป็นเคร่ืองมือในการเรียนเขียนโปรแกรมแบบบล็อกอย่างง่ายส�าหรับนักเรียนระดับประถมและ มัธยมศกึ ษา ทา� ใหก้ ารเขยี นโปรแกรมมคี วามสนกุ สนานและกระต้นุ การพัฒนากระบวนการคดิ ส�าหรับคู่มอื แนวทางจดั การเรียนรู้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ): Coding with KidBright เลม่ น้ี ได้รบั ความรว่ มมอื จาก ผู้ทรงคุณวุฒิ สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ ร่วมจัดท�าคู่มือการเขียน โปรแกรมแบบบลอ็ กดว้ ยบอร์ด KidBright เพอื่ ใชเ้ ปน็ หนงั สอื ประกอบการเรยี นรายวชิ าพนื้ ฐานวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) เนคเทค สวทช. หวังเป็นอย่างย่ิงว่า คู่มือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการจัดการเรียนรู้ และเป็นส่วนส�าคัญในการพัฒนา คุณภาพและมาตรฐานการศึกษา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ขอขอบคุณ ผู้ทรงคุณวุฒิ บุคลากร ทางการศึกษาและหนว่ ยงานตา่ ง ๆ ที่มสี ว่ นเกยี่ วข้องในการจัดทา� ไว้ ณ โอกาสนี้ ดร.ชัย วฒุ ิววิ ัฒนช์ ยั ผูอ้ �านวยการ ศูนย์เทคโนโลยีอเิ ล็กทรอนิกส์และคอมพวิ เตอร์แหง่ ชาติ (เนคเทค)

ค�ำ ช้แี จง สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ ได้พัฒนาหลักสูตรวิชาคอมพิวเตอร์ และมีการปรับปรุงหลักสูตรมาอย่างต่อเน่ือง จนกระท่ังมีการประกาศใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 จึงได้เปล่ียนช่ือวิชาเป็น เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร โดยจัดให้อยู่ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ การงานอาชีพและเทคโนโลยี ตอ่ มาในปีพุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2560) ได้มกี ารเปล่ยี นชื่อวิชาอีกครง้ั เป็น วิทยาการค�านวณ อยู่ในสาระเทคโนโลยี กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยมีเป้าหมายหลักเพื่อ พัฒนาผู้เรียนให้มีความรู้และมีทักษะต่าง ๆ ที่ครอบคลุม การคิดเชิงค�านวณ การคิดวิเคราะห์ การแก้ปัญหาเป็นขั้นตอน และเป็นระบบ รวมทั้งการประยุกต์ใช้ความรู้ด้านวิทยาการคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการแก้ ปัญหาทีพ่ บในชวี ิตจริงไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ แนวทางการจดั การเรียนรู้ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ): Coding with KidBright ช้ันประถมศึกษาปีท่ี 5 เลม่ น้ี สามารถ น�าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้นักเรียนบรรลุตัวชี้วัดท่ีเก่ียวข้องกับการเขียนโปรแกรม ตามสาระการเรียนรู้ท่ี 4.2 เทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยสถานศึกษาสามารถนา� ไปประยุกต์ใช้ ในการจัดการเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม เนื้อหาในเล่มนี้ประกอบด้วยจุดประสงค์การเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้ แนวคิด ตวั อยา่ งสือ่ และอปุ กรณ์ ข้ันตอนดา� เนินกิจกรรม การวดั และประเมนิ ผล สื่อและแหล่งเรียนรู้ และข้อเสนอแนะ ซ่งึ ควรน�าไปจดั การเรียนรู้รว่ มกับคู่มอื ครูรายวิชาพน้ื ฐานวทิ ยาศาสตร์ เทคโนโลยี (วทิ ยาการคา� นวณ) ทีพ่ ัฒนาโดย สสวท. โดย ปรับเปลี่ยนกิจกรรมการเรียนรู้เก่ียวกับการเขียนโปรแกรม ในคู่มือครูของสสวท. เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตาม แนวทางการจดั การเรยี นรู้การเขยี นโปรแกรมแบบบล็อกด้วยโปรแกรม KidBright IDE ซึ่งจะท�าให้สามารถจดั การเรยี นรูไ้ ด้ อยา่ งสมบรู ณ์และสอดคล้องตามท่หี ลักสตู รกา� หนด สสวท. และ สวทช. ขอขอบคณุ คณาจารย์ ผู้ทรงคุณวฒุ ิ นักวิชาการ และครผู ู้สอน จากสถาบนั ตา่ ง ๆ ท่ใี หค้ วามร่วมมือใน การพัฒนาและหวังเป็นอย่างยิ่งว่า เอกสารเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อเยาวชนและผู้เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนรู้รายวิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคา� นวณ) ในการจัดการเรยี นรูไ้ ด้อยา่ งสมบูรณ์ตามเป้าหมายของหลักสูตรตอ่ ไป สาขาเทคโนโลยี สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี กระทรวงศกึ ษาธิการ

ค�ำ แนะน�ำ ก�รใชเ้ อกส�ร เอกสารฉบับน้ีจัดท�าข้ึนเพ่ือส่งเสริมการเรียนรู้ด้านการเขียนโปรแกรม โดยใช้บอร์ด KidBright เป็นเครื่องมือ สถานศึกษา สามารถน�าไปใช้ในการจัดการเรียนรู้เพ่ือให้นักเรียนบรรลุตัวชี้วัดสาระเทคโนโลยี (วิทยาการค�านวณ) กลุ่มสาระการเรียนรู้ วทิ ยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี หลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขนั้ พน้ื ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 (ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2560) ชน้ั ป.5 ข้อท่ี 3 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผลเชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข โดยใช้เวลารวม ทั้งหมด 8 ชั่วโมงดังน้ี กิจกรรมท่ีออกแบบไว้น้ีสามารถบูรณาการกับตัวชี้วัดอื่นท้ังในกลุ่มสาระเดียวกันหรือนอกกลุ่มสาระ รวมท้ังอาจต้องจัด เตรียมอินเทอร์เน็ตส�าหรับการเข้าถึงแหล่งเรียนรู้ที่ได้แนะน�าไว้ในเอกสารเพื่อส่งเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพในการเรียนรู้ ของนักเรียน และเอกสารฉบับน้ีได้ใช้เมนูและบล็อกค�าสั่งต่าง ๆ เป็นภาษาอังกฤษเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนคุ้นเคยกับการใช้ ภาษาองั กฤษซง่ึ จะเปน็ ประโยชน์ในการใช้โปรแกรมหรือแอปพลิเคชนั อนื่ ๆ อกี ทง้ั ยงั เปน็ ทกั ษะทีส่ า� คญั ตอ่ การเรียนรู้ ทง้ั น้ี หากไมท่ ราบความหมายของคา� ศัพทอ์ าจคลิกเปลี่ยนภาษาเพ่อื ดูความหมายได้





กิจกรรมท่ี 1 กดสวิตชต์ ิดไฟ จุดประสงค์ก�รเรยี นรู้ 1. เขียนโปรแกรมควบคุมการทำางานแบบมีเงื่อนไข 2. เขียนโปรแกรมเพื่อควบคุมสวิตช์ ตัวชีว้ ัด ว.4.2 ป.5/3 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผล เชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข



กจิ กรรมที่ 1 ส�ระก�รเรียนรู้ 1. การเขียนโปรแกรมแบบมเี งอื่ นไข 2. การตรวจหาข้อผดิ พลาดของโปรแกรม 3. การใชบ้ ล็อกค�าสั่ง if do และบลอ็ กคา� สงั่ สวิตช์ แนวคิด การเขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไข ใช้ในการสั่งงานโปรแกรมให้ท�าตามเงื่อนไขท่ีก�าหนด ซ่ึงในบางครั้งอาจต้องสั่งงานให้ ครอบคลุมเงื่อนไขทุกกรณี เพื่อให้ได้ผลลัพธ์ท่ีถูกต้องและโปรแกรมท�างานได้อย่างสมบูรณ์ บล็อกค�าสั่งท่ีใช้ส�าหรับการ ส่ังงานแบบมีเง่ือนไขในโปรแกรม KidBright IDE เช่น บล็อก if do นอกจากน้ียังมี บล็อกสวิตช์ ซึ่งใช้ส�าหรับตรวจสอบการกดสวิตช์ 1 (S1) และ สวิตช์ 2 (S2) บนบอร์ด KidBright อีกด้วย สื่อและอปุ กรณ์ ใบกิจกรรม 10

กจิ กรรมท่ี 1 แนวท�งก�รจัดก�รเรียนรู้ ก�รจัดเตรียม 1. ใบกจิ กรรมตามจา� นวนนักเรียน 2. เครือ่ งคอมพิวเตอรท์ ี่ติดต้ังโปรแกรม KidBright IDE 3. บอร์ด KidBright และสาย Micro USB ขั้นตอนดำ�เนนิ ก�ร 1. ครูน�าเข้าสู่บทเรียนโดยยกตัวอย่างการใช้เงื่อนไขท่ีเก่ียวข้องกับกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจ�าวัน โดยเขียนกิจกรรม ทค่ี รูตอ้ งท�าในวันนไี้ วบ้ นกระดาน เชน่ • เดินทางมาโรงเรียน - ถา้ ฝนตก ขับรถยนต์ไปโรงเรียน - ถ้าฝนไม่ตก ขรี่ ถจกั รยานยนต์ไปโรงเรยี นและแวะซอื้ เครือ่ งเขยี น • สอนหนังสือ • ตรวจงานนกั เรยี น • ซอ้ื อาหารเยน็ - ถ้ามีเงนิ น้อยกวา่ หรือเทา่ กบั 200 บาท ใหซ้ ้ือกบั ขา้ ว 2 อย่าง - ถ้ามเี งนิ มากกวา่ 200 บาท แต่ไมเ่ กิน 400 บาท ใหซ้ ื้อกบั ข้าว 3 อย่าง - ถา้ มีเงินมากกวา่ 400 บาท ใหซ้ อื้ อาหารจานเดียว และน�าเงิน 300 บาท ใส่กระปุกออมสนิ • กลบั บ้าน 1111

กิจกรรมท่ี 1 จากนั้นครูให้นักเรียนพิจารณาโปรแกรม (หรือกิจกรรม) ที่ครูก�าหนดส�าหรับตนเองในวันน้ี และต้ังค�าถามเพื่อให้ นกั เรียนรว่ มกนั ตอบ เชน่ - นักเรียนคิดว่าวันนี้ครูขับรถยนต์หรือข่ีรถมอเตอร์ไซด์มาท�างาน เพราะอะไร (ขัับรถยนต์์เพราะวัันน้�ฝนต์ก หรือขั้� รถมอเต์อร์ไซค์์เพราะวันั น�ฝ้ นไมต่ ์ก) - ถา้ ครมู เี งนิ ในกระเปา๋ 300 บาท เยน็ นค้ี รจู ะไดร้ บั ประทานกบั ขา้ วกอ่ี ยา่ ง เพราะอะไร (ค์รไู ด้ร้ บั ประทานกบั ขัา้ วั 3 อยา่ ง เพราะปฏิบิ ัต์ิต์ามเง�อื นไขัท้ก� าำ หนด้ไวั้) - ถา้ ครมู เี งิน 700 บาท เย็นนค้ี รูจะตอ้ งทา� อะไร เพราะอะไร (ค์รซู �อื อาหารจานเด้ย้ วั และนาำ เงินเกบ็ ใส่กระปุกออมสิน 300 บาท เพราะปฏิบิ ัต์ิต์ามเง�ือนไขัทก�้ ำาหนด้ไวั้) - ถ้าครมู ีเงนิ 100 บาท ครจู ะซ้ือกบั ข้าวได้กอี่ ยา่ ง (2 อยา่ ง) - นกั เรยี นคดิ วา่ ถา้ มเี งนิ 10 บาท ครตู อ้ งทา� ตามเงอ่ื นไขใด นกั เรยี นคดิ วา่ เงอื่ นไขแรกในการซอื้ อาหารของครสู อดคลอ้ ง กับสถานการณ์ปัจจุบันหรือไม่ ถ้าเง่ือนไขแรกไม่สอดคล้อง ต้องแก้ไขอย่างไร (ต์้องปรับเง�ือนไขัแรกใหม่เนื�องจาก เงอ�ื นไขัแรกจะหมายถงึ ถา้ มเ้ งนิ 1-200 บาทใหซ้ อื� กบั ขัา้ วั 2 อยา่ ง ซง�ึ การมเ้ งนิ 1 บาทไมส่ ามารถซอื� กบั ขัา้ วั 2 อยา่ งได้้ จึงอาจต์้องเพ�ิมเง�ือนไขัให้ค์รอบค์ลุม เช่่น ถ้าม้เงินน้อยกวั่าหรือเท่ากับ 80 บาท ให้ต์้มบะหม้�กึ�งสำาเร็จรูป (กรณี้ม้ บะหมก�้ งึ� สาำ เรจ็ รปู อยแู่ ลว้ ั) และปรบั เงอ�ื นไขัเด้มิ เปน็ ถา้ มเ้ งนิ มากกวัา่ 80 บาท แต์ไ่ มเ่ กนิ 200 บาท ใหซ้ อ�ื กบั ขัา้ วั 2 อยา่ ง) 2. ครูให้นักเรียนช่วยกันยกตัวอย่างกิจกรรมในชีวิตประจ�าวันท่ีมีการตัดสินใจ หรือมีการพิจารณาเงื่อนไข (ถ้าสอบได้้ เกรด้ 4 ผปู้ กค์รองจะพาไปเทย�้ วัสวันสนกุ ถา้ ไมท่ ะเลาะกบั นอ้ งผปู้ กค์รองจะไมด่ ุ้ หรอื ถา้ กลบั ถงึ บา้ นแลว้ ัรบ้ ทาำ การบา้ น จะไม่ต์้องนอนด้ึก) 3. ครูให้นักเรียนดูคลิปวิดีโอแนะน�า KidBright จากลิงก์ http://gg.gg/egro4 ซึ่งเป็นวิดีโอแนะน�าเกี่ยวกับการเขียน โปรแกรมดว้ ยโปรแกรม KidBright IDE และตัง้ ค�าถาม เช่น • บอร์ด KidBright คอื อะไร มีประโยชนแ์ ละความส�าคัญอย่างไร • เราสามารถสงั่ งานและตดิ ตอ่ สอื่ สารกบั บอร์ด KidBright ได้อยา่ งไร • ในกรณที ่ีนกั เรียนรู้จกั และเคยเขยี นโปรแกรมด้วยโปรแกรม KidBright IDE แล้ว ครูอาจทบทวนความรู้เกี่ยวกับ โปรแกรม KidBright IDE โดยใชค้ า� ถาม เช่น º นักเรียนรูจ้ กั บล็อกคา� สัง่ อะไรบ้าง แต่ละบล็อกทา� หน้าท่ี อะไร มีการท�างานอย่างไร º นักเรยี นเคยเขียนโปรแกรมดว้ ยโปรแกรม KidBright IDE ให้ท�างานอะไรบ้าง º นกั เรยี นคดิ วา่ การเขยี นโปรแกรมดว้ ยโปรแกรม KidBright IDE มปี ระโยชนอ์ ย่างไร º นักเรียนคดิ ว่าเราสามารถเขยี นโปรแกรมควบคมุ บอรด์ KidBright ในงานเรื่องอะไรบ้าง 12

กิจกรรมที่ 1 4. ครูและนักเรียนร่วมกันอภิปรายความรู้ในใบความรู้ท่ี 1 เรื่องการท�างานแบบมีเงื่อนไข และให้นักเรียนทดลองต่อบอร์ด KidBright และเขยี นโปรแกรมตามตวั อย่าง จากนัน้ ตง้ั คา� ถามเพื่อทบทวนความเข้าใจ เช่น • โปรแกรมนมี้ ีการทา� งานอยา่ งไรบา้ ง • บลอ็ กคา� สั่ง if do ใช้ทา� อะไร • ถา้ นา� บลอ็ กคา� สงั่ Switch 1 pressed ไปวางตอ่ จาก if (if Switch 1 pressed do….) และคลกิ สง่ั ใหโ้ ปรแกรมทา� งาน ถ้านักเรียนกดปุ่มสวติ ช์ 2 (S2) จะเกดิ อะไรข้ึน เพราะอะไร 5. ครใู หน้ กั เรยี นทา� ใบกจิ กรรมที่ 1.1 ดอกไมห้ รอื หวั ใจ? แลว้ สมุ่ นกั เรยี นนา� เสนอผลงาน จากนนั้ ใหน้ กั เรยี นรว่ มกนั อภปิ ราย ในประเด็นตอ่ ไปน้ี • นกั เรียนใช้บล็อกค�าสัง่ อะไรบา้ ง • เงือ่ นไขการทา� งานของโปรแกรมน้ีมอี ะไรบา้ ง • โปรแกรมของนกั เรียนเหมือนกบั เพอ่ื นหรือไม่ อย่างไร และได้ผลลัพธ์เหมือนกนั หรอื ไม่ เพราะเหตใุ ด 6. ครใู หค้ วามรเู้ พม่ิ เตมิ วา่ การสงั่ งานอปุ กรณต์ า่ ง ๆ ทเ่ี ราใชใ้ นชวี ติ ประจา� วนั ยงั มเี รอื่ งของเงอ่ื นไขเขา้ มาเกยี่ วขอ้ งดว้ ยเชน่ กนั จากนัน้ ครูตัง้ คา� ถามเกยี่ วกับการปิดเปิดสวิตช์ไฟที่โรงเรยี นหรือท่ีบ้าน เช่น • นักเรยี นมีวิธกี ารปดิ เปิดสวติ ชไ์ ฟท่บี า้ นหรอื ท่ีโรงเรยี นอยา่ งไร (กด้สวัติ ์ช่ไ์ ปด้้านใด้ด้า้ นหน�งึ เพ�อื ทาำ การเปดิ ้หรือปิด้) • นกั เรียนคดิ ว่าสวิตช์ไฟฟ้าถกู ควบคุมให้ท�างานไวอ้ ยา่ งไร (เมื�อกด้สวัิต์ช่์เปดิ ้ หลอด้ไฟก็จะสวัา่ ง หรือ เมอ�ื กด้สวัิต์ช่ป์ ดิ ้ หลอด้ไฟจะด้บั ) 1313

กิจกรรมที่ 1 7. ครอู ธบิ ายเพิ่มเติมว่าเราสามารถใชบ้ อรด์ KidBright จา� ลองการท�างานของสวิตช์เปิดปิดไฟได้ดว้ ย จากนน้ั ให้นักเรยี นทา� ใบกจิ กรรมท่ี 1.2 เปิดไฟหรอื เปดิ พดั ลม? แล้วสมุ่ นกั เรียนออกมานา� เสนอผลงาน 8. ครูให้นักเรียนปรับปรุงโปรแกรมเก่ียวกับการเปิดปิดไฟและพัดลมโดยใช้สวิตช์ และขอความเห็นจากนักเรียนว่า จากโปรแกรมข้างต้นเหลา่ นี้ สามารถน�าไปประยุกตใ์ ชใ้ นการควบคุมการทา� งานในเรอ่ื งใดไดอ้ กี บ้าง 9. ครูให้นักเรียนแลกเปล่ียน เรียนรู้ พูดคุย แสดงผลงานระหว่างนักเรียนด้วยกัน และครูน�าอภิปรายเกี่ยวกับค�าสั่งท่ีใช้ใน การเขยี นโปรแกรม การตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรมและแนวทางแกไ้ ข 10. ครูและนักเรยี นรว่ มกนั สรปุ ความรู้ท่ไี ดจ้ ากการทา� กิจกรรม • บลอ็ กคา� ส่งั ท่ีนักเรยี นใชม้ ีอะไรบา้ ง • นกั เรยี นมวี ธิ ีการเขยี นโปรแกรมอยา่ งไร • เม่อื โปรแกรมให้ผลลพั ธไ์ ม่ตรงตามความต้องการนกั เรยี นแก้ไขขอ้ ผิดพลาดอยา่ งไร • นักเรียนคิดว่าเราสามารถปรับเปลี่ยนการเขียนโปรแกรมควบคุมการปิดเปิดไฟ/ปิดเปิดพัดลม ไปใช้ในการควบคุม อปุ กรณ์อนื่ ๆ ได้หรือไม่ ถ้าท�าได้ มีเรอื่ งอะไรบ้าง • นักเรยี นคิดวา่ การเรียนร้เู กย่ี วกับเงอ่ื นไขมปี ระโยชนอ์ ยา่ งไร (นา� ไปเปน็ เกณฑใ์ นการพจิ ารณาใหส้ อดคลอ้ ง เพ่อื สร้าง เงื่อนไขทคี่ รอบคลุม สรา้ งทางเลือกในการท�างานหรือท�ากจิ กรรมตา่ ง ๆ) ก�รวดั และประเมนิ ผล ตรวจชิน้ งาน 14

กจิ กรรมท่ี 1 สอ่ื และแหล่งเรยี นรู้ 1. คลิปวิดโี อ แนะน�า KidBright โดย NECTEC จาก http://gg.gg/egro4 2. หนังสอื “สนกุ Kids สนุก Code กับ KidBright” (สา� หรับนักเรยี น) โดย สวทช. ดาวน์โหลดไดท้ ่ี ! ขอ้ เสนอแนะ 1. ครสู ามารถปรบั เปลย่ี นกจิ กรรมทต่ี อ้ งทาำ ในขอ้ 1. ไดต้ ามความเหมาะสม โดยอาจใชส้ ถานการณจ์ รงิ และสว่ นท่ี เปน็ เง่อื นไขทั้ง 2 เง่ือนไข ควรยกตัวอย่างใหม้ ีรปู แบบท่แี ตกตา่ งกัน 2. ครอู าจอธิบายความหมายของคำาว่าอาหารจานเดยี วซึง่ หมายถึง อาหารท่มี ีขายตามรา้ นอาหารตามสง่ั ทัว่ ไป ซึง่ จัดใส่ในจานเดยี ว เชน่ กะเพราไก่ ข้าวผดั ผดั ไท ราดหนา้ ผดั ซอี ๊ิว 1515

กิจกรรมที่ 1 ใบคว�มรทู้ ่ี 1 ก�รท�ำ ง�นแบบมเี งอ่ื นไขและสวติ ช์ ก�รทำ�ง�นแบบมเี งอื่ นไข ในการเขยี นโปรแกรมคอมพวิ เตอร์อาจมกี ารตรวจสอบเงอื่ นไขก่อนการทา� งานใด ๆ ซ่ึงในโปรแกรม KidBright IDE สามารถ ท�าไดโ้ ดยใชบ้ ลอ็ กค�าส่ัง if...do... บลอ็ กค�ำ สงั่ if do (ถ้�...ท�ำ :...) บล็อกค�าสง่ั if do เปน็ บลอ็ กค�าสั่งทใี่ ชต้ รวจสอบเงอ่ื นไข หากเงื่อนไขท่ีกา� หนดเปน็ จริง จะทา� ค�าสงั่ หรอื ชุดค�าส่งั ที่ถกู ครอบ อย่ใู นบลอ็ กคา� สั่ง if do แต่ถ้าเงอื่ นไขท่กี า� หนดไมเ่ ป็นจริง (เป็นเท็จ) คา� สั่งหรอื ชดุ ค�าสง่ั ภายในบล็อกคา� ส่ัง if do จะไม่ถูก ท�าและจะข้ามไปท�าคา� ส่ังถัดไป สวติ ช์ ใชส้ �าหรับตรวจสอบการกดสวิตช์ มกั ใช้ร่วมกันกับบล็อก if do บล็อกค�ำ ส่ัง Switch 1 pressed (สวิตช์ 1 (S1) ถกู กด) 16

กจิ กรรมที่ 1 อยู่ในกลุ่มบล็อกค�าส่ัง Logic (ตรรกะ) เป็นบล็อกค�าส่ังท่ีตรวจสอบว่าสวิตช์ 1 (S1) ที่บอร์ด KidBright ถูกกดหรือไม่ ถ้าถูกกดจะคนื คา่ เปน็ จริง (ค่า 1) หากไม่ถูกกดจะคืนค่าเปน็ เท็จ (ค่า 0) ดงั แสดงในรปู ที่ 1 (1) สวติ ช์ 1 (S1) ถกู กด (2) สวติ ช์ 1 (S1) ไมถ่ กู กด รูปท่ี 1 การทาำ งานของสวิตช์ 1 (S1) จากการใชบ้ ลอ็ กคาำ ส่ัง Switch 1 pressed 1717

กจิ กรรมท่ี 1 ต้วอย่างโปรั้แกรั้ม การใช้งานที่ 1 รูปท่ี 2 โปรแกรมแสดงตวั อักษรที่ออกแบบไวบ้ นหนา้ จอ LED เมอ่ื สวิตช์ 1 ถกู กด จากรูปท่ี 2 เมื่อสวิตช์ 1 (S1) ถูกกด จอแสดงผลของบอร์ด KidBright จะแสดงผลว่า COM แต่ถ้าสวิตช์ 1 (S1) ไม่ถูกกด จะไม่แสดงอะไร นอกจากนยี้ งั มบี ลอ็ กคา� สง่ั Switch 2 pressed (สวติ ช์ 2 (S2) ถกู กด) ซง่ึ สามารถใชง้ านในลกั ษณะเดยี วกนั กบั สวติ ช์ 1 (S1) 18

กจิ กรรมที่ 1 ต้วอย่างโปรั้แกรั้ม การใช้งานที่ 2 รูปท่ี 3 โปรแกรมเพือ่ แสดงตวั อักษรบนหน้าจอ LED เมอ่ื สวติ ช์ 1 (S1) หรือ สวติ ช์ 2 (S2) ถูกกด จากรปู ท่ี 3 เม่ือกดสวิตช์ 1 (S1) จะแสดงข้อความ “Switch 1” บนจอแสดงผลของบอร์ด KidBright และเม่ือกดสวติ ช์ 2 (S2) จะแสดงข้อความ “Switch 2” บนจอแสดงผลของบอร์ด KidBright โดยจะมีการตรวจสอบการกดสวติ ชซ์ า้� ไปเรอื่ ย ๆ เพราะมีบลอ็ กคา� สงั่ Forever 1919

กจิ กรรมที่ 1 ใบกจิ กรรมที่ 1.1 ดอกไม้หรือหวั ใจ? ค�ำ ชแี้ จง ใหน้ ักเรยี นเขียนโปรแกรมด้วยโปรแกรม KidBright IDE ตามทรี่ ะบุดงั ตอ่ ไปน้ี 1. สรา้ งรปู ดอกไมแ้ ละเขียนโปรแกรมดังรูปที่ 1 แล้วสงั่ แสดงผลการท�างาน รูปท่ี 1 โปรแกรมแสดงภาพดอกไม้ 2. สังเกตผลการทา� งานโดยกดสวิตช์ 1 (S1) 20

กิจกรรมที่ 1 3. ปรับปรุงโปรแกรมในข้อ 1 เพ่ือให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ • ถ้ายังไม่กดสวิตช์ใด ให้ปรากฏภาพดังรูปท่ี 2 รูปท่ี 2 โปรแกรมแสดงตัวอกั ษร F | H • ถ้ากดสวิตช์ 1 (S1) ให้แสดงภาพดอกไม้ ดังรูปท่ี 3 รูปที่ 3 ภาพดอกไม้ • ถ้ากดสวิตช์ 2 (S2) ให้แสดงภาพหัวใจ ดังรูปที่ 4 รูปที่ 4 ภาพหวั ใจ 2121

กิจกรรมท่ี 1 ใบกิจกรรมที่ 1.2 เปิดไฟหรือเปดิ พดั ลม? คำ�ชีแ้ จง ใหน้ กั เรียนพิจารณาโปรแกรม และปรับปรงุ โปรแกรมตามทรี่ ะบุดังต่อไปนี้ 1. แกไ้ ขโปรแกรมตอ่ ไปนี้ โดยใหแ้ สดงขอ้ ความ “Please save energy” กอ่ น จากนน้ั เมอ่ื ผใู้ ชก้ ด สวติ ช์ 1 (S1) จงึ แสดงภาพ หลอดไฟ ดังรปู ที่ 1 รปู ที่ 1 โปรแกรมแสดงภาพหลอดไฟ 22

กิจกรรมท่ี 1 2. ปรับปรุงโปรแกรมในข้อ 1 ให้ได้ผลลัพธ์ดังนี้ • แสดงข้อความ “Please save energy” • ให้ท�างานแบบวนซ้�าไม่ส้ินสุด ดังน้ี - ถ้ากดสวิตช์ 1 (S1) ให้แสดงข้อความ “light bulb” - จากนั้นแสดงภาพหลอดไฟ ดังรูปท่ี 2 รูปท่ี 2 ภาพหลอดไฟ - ถ้ากดสวิตช์ 2 (S2) ให้แสดงข้อความ “fan” - จากนั้นแสดงภาพพัดลม ดังรูปที่ 3 รปู ที่ 3 ภาพพัดลม 3. ให้ปรับปรุงโปรแกรมโดยเปลี่ยนการแสดงผลเม่ือกดสวิตช์ 1 (S1) และสวิตช์ 2 (S2) ตามความสนใจ 2323

กิจกรรมท่ี 2 ร้รู อ้ นรหู้ นาว จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. เขียนโปรแกรมแสดงค่าอุณหภูมิ 2. เขียนโปรแกรมเปรียบเทียบค่าอุณหภูมิและแสดงผล 3. ตรวจหาข้อผิดพลาดของโปรแกรม ตัวชี้วดั ว.4.2 ป.5/3 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผล เชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข



กจิ กรรมที่ 2 สาระการเรียนรู้ 1. การเขียนโปรแกรมอ่านค่าอุณหภูมิ 2. การเขียนโปรแกรมเปรียบเทียบคา่ โดยใช้ตัวแปรและตัวด�าเนินการ 3. การตรวจหาขอ้ ผิดพลาดของโปรแกรม แนวคิด บอร์ด KidBright มีเซนเซอร์สำ�าหรับวัดอุณหภูมิท�ีผู้เรียนสำามารถเขียนโปรแกรมเพ่�ออ่านค่า และน�าผลจากการอ่านค่า อุณหภูมิไปใช้ประโยชน์ในการสำั�งควบคุมการท�างานของอุปกรณ์ต่าง ๆ ท�ีสำัมพันธ์์กับการเปล�ียนแปลงของอุณหภูมิ โดย การเขียนโปรแกรมนี�อาจต้องใช้ค�าสำั�งในการก�าหนดตัวแปรและการเปรียบเทียบค่าร่วมด้วย สื่อและอุปกรณ์ ใบกจิ กรรม 26

กจิ กรรมท่ี 2 แนวทางการจดั การเรียนรู้ การจัดเตรียม 1. ใบกิจกรรมตามจา� นวนนักเรยี น 2. เคร่อ� งคอมพิวเตอรท์ �ตี ดิ ต�งั โปรแกรม KidBright IDE 3. บอรด์ KidBright พรอ้ มสำาย Micro USB 5V 5V IO0 GND IN1 IN2 BT GND WIFI U2SDA1 SCL1 NTP 3V3 IN3 IN4 IOT 5V S1 S2 U1 OUT1 OUT2 5V 4 3V3 32 SCL0 1 GND GNDSDA180 19 GND KidBright 32 v1.2 MFG by 4 GN 22.3.1 IN 1 2 3 OUT Mhtitnpi:s/t/rwywofwS.kciiden-bcreigahntd.cToemchnology Thailand 2018 ขน้ั ตอนดาำ เนนิ การ 1. ครทู บทวนความรใู้ นกิจกรรมทแ�ี ลว้ โดยการตง�ั ค�าถาม เชน่ • กิจกรรมท�ผี า่ นมานักเรยี นไดเ้ ขียนโปรแกรมเก�ยี วกับเร�อ่ งใด • นักเรยี นไดใ้ ชบ้ ล็อกค�าสำัง� อะไรบ้างในการเขยี นโปรแกรม และแต่ละบลอ็ กค�าสำ�งั ทา� หน้าท�อี ะไร 2. ครนู า� เขา้ สำบู่ ทเรยี นโดยใหน้ กั เรยี นชว่ ยกนั คดิ วา่ มอี ปุ กรณเ์ ครอ�่ งใช ้ หรอ่ กจิ กรรมอะไรบา้ งทต�ี อ้ งเกย�ี วขอ้ งกบั การตรวจสำอบ อณุ หภมู ิ และตอ้ งตรวจสำอบอณุ หภมู เิ พราะอะไร • เคร่�องปรบั อากาศ ( ามารถกา� นดอุณ ภมู ิตามความตอ้ งการของผู้ใช)้ • เคร�อ่ งซกั ผา้ (มกี ารซักดว้ ยนา้� ทร่ี ้อนในระดับตา่ ง ๆ) • เตาอบ ( ามารถกา� นดอณุ ภูมใิ เ้ มาะ มกบั การอบอา าร) • ตู้ฟกั ไข่ ( ามารถก�า นดอุณ ภูมิใ เ้ มาะ มกับการฟกั ไข่) 27

กิจกรรมท่ี 2 3. ครูแนะน�าเซนเซอร์ที�อยู่บนบอร์ด KidBright และให้นักเรียนบอกต�าแหน่งของเซนเซอร์วัดอุณหภูมิ จากน�ันครูน�า อภปิ ราย สำาธ์ิต เกี�ยวกับการอ่านค่าอุณหภูมิ พร้อมกับให้นักเรียนศึกษาใบความรู้ที� 2 เร�่องการแสำดงค่าอุณหภูมิ และการเปรยี บเทยี บค่า และอาจตง�ั ค�าถามหร่อประเดน็ อภปิ รายเพ�มิ เตมิ ระหวา่ งการศึกษาใบความรู้ เชน่ • ใหน้ กั เรียนอธ์ิบายการทา� งานของตัวอย่างโปรแกรมอ่านค่าอณุ หภูมิ • ให้นักเรียนทดลองใช้บล็อกตัวแปรโดยตั�งช่�อเป็นช�่ออ่�นท�ีเหมาะสำมกว่าช�่อ X และถามนักเรียนว่าตัวแปร X ควรเปลีย� นช่อ� เป็นอะไร เพราะเหตุใด (ควรตง้ั ชอื่ ใ ้ อดคลอ้ ง เชน่ ช่อื temp ที่ยอ่ มาจาก temperature) • ให้นักเรียนช่วยกันคิดว่าเหตุใดจึงต้องตั�งช่�อตัวแปรให้สำอดคล้องกับข้อมูลหร่อค่าที�เก็บไว้ในตัวแปร (เพ่ือใ ้จ�าและ เขา้ ใจไดง้ ่ายวา่ ตวั แปรนท้ี า� นา้ ทอ่ี ะไร และจะไม่ บั นเม่ือตอ้ งใช้ตวั แปร ลายตัวในโปรแกรมเดียวกนั ) • ใหน้ กั เรยี นลองเปลี�ยนรปู แบบของตวั ด�าเนนิ การให้เปน็ เคร�่องหมายอน่� และสำังเกตผลลัพธ์์ • ใหน้ กั เรยี นลองใช้ KidBright simulator ในการแสำดงผลและปรับเปล�ยี นอณุ หภมู ิ 4. ครชู แี� จงการทา� ใบกจิ กรรมท �ี 2 หนาว ๆ รอ้ น ๆ จากนน�ั ใหน้ กั เรยี นทา� ใบกจิ กรรม และสำมุ่ นกั เรยี นออกมานา� เสำนอคา� ตอบ และตั�งค�าถามใหร้ ่วมกนั อภิปราย เช่น • โปรแกรมของนักเรยี นและของเพ�อ่ นเหม่อนหรอ่ แตกต่างกันอย่างไร ให้ผลลัพธ์เ์ ชน่ เดยี วกันหรอ่ ไม่ เพราะอะไร 5. ครูนา� อภปิ รายสำรุปเกี�ยวกบั ความรทู้ �ไี ดร้ ับ เชน่ • นกั เรยี นเขียนโปรแกรมและไดผ้ ลลัพธ์์ที�ถูกตอ้ งในครั�งเดยี วเลยหร่อไม ่ อย่างไร • นกั เรียนมวี ิธ์ีการในการตรวจหาขอ้ ผดิ พลาดของโปรแกรมอยา่ งไร • บลอ็ กค�าสำ�งั ที�ใชม้ ีอะไรบา้ ง แตล่ ะบลอ็ กท�าหน้าท�ีอะไร • สำง�ิ ที�นักเรยี นได้เรยี นร้ใู นวนั นม�ี อี ะไรบา้ ง • นักเรียนคิดว่าเราสำามารถน�าความรู้ในการเขียนโปรแกรมเพ�่ออ่านค่าอุณหภูมิไปใช้ประโยชน์ในการสำร้างอุปกรณ์ อะไรบา้ ง การวดั และประเมินผล 1. ตรวจค�าตอบในใบกิจกรรม 2. ประเมินทกั ษะในการเขยี นโปรแกรมและการตรวจหาข้อผดิ พลาดโดยใชแ้ บบประเมินกจิ กรรมที� 2 28

กจิ กรรมท่ี 2 ส่ือและแหลง่ เรียนรู้ 1. ความรู้เกย�ี วกับอณุ หภูม ิ โดย KIPEDU จาก http://gg.gg/egs4f 2. หนงั สำ่อ “สำนกุ Kids สำนุก Code กบั KidBright” (สำา� หรับนักเรยี น) โดย สำวทช. ดาวน์โหลดไดท้ ี� ! ขอ้ เสนอแนะ 1. หากมเี วลาเหลอื ครอู าจใหน้ กั เรยี นปรบั ปรงุ โปรแกรมในสว่ นการอา่ นคา่ อณุ หภมู เิ พอ่ื นาำ ไปใชป้ ระโยชน์ในงานอน่ื ๆ 2. ครอู าจใหน้ กั เรียนศกึ ษาวดิ ีโอความรเู้ ก่ยี วกบั อุณหภมู ิและต้ังคำาถามตรวจสอบความรู้ท่ีได้เพื่อเป็นการนาำ เข้า สูบ่ ทเรยี น โดยครูอธบิ ายเน้ือหาในวิดีโอเพม่ิ เตมิ เนือ่ งจากเสยี งบรรยายเปน็ ภาษาองั กฤษ 29

กิจกรรมท่ี 2 ใบความรู้ที่ 2 การแสดงคา่ อณุ หภมู แิ ละ การเปรยี บเทยี บคา่ อณุ หภูมิ (temperature) อุณหภูมิ ค่อ ระดับความร้อนเย็นท�ีวัดได้ของวัตถุหร่อมวลสำาร เคร�่องม่อที�ใช้ในการวัดอุณหภูมิ เรียกว่า เทอร์โมมิเตอร ์ (Thermometer) โปรแกรม KidBright IDE มีบลอ็ กคา� สำัง� ที�ใช้ในการแสำดงค่าและการตรวจสำอบเง�่อนไขท�เี กย�ี วขอ้ งกบั อุณหภมู ิ ดังนี� บลอ็ กคำาสัง่ Temperature Sensor เปน็ บล็อกทีใ� ชส้ ำ�าหรบั อา่ นคา่ จากเซนเซอรว์ ัดอุณหภมู ิ 30

กจิ กรรมท่ี 2 ตัวอย่างโปรแกรม การแสำดงค่าอุณหภูมิ รูปท ่ี 1 โปรแกรมการอ่านค่าอณุ หภมู ิจากเซนเซอร์วดั อุณหภูมิแลว้ นาำ ค่าทีอ่ ่านไดแ้ สดงผลบนหน้าจอ LED ของบอร์ด KidBright ผลลพั ธ์ ท�ีหน้าจอแสำดงผลจะปรากฏคา่ อุณหภูมิในขณะน�นั ดงั รปู ที� 2 รูปท ี่ 2 ค่าอุณหภูมิทอ่ี า่ นไดจ้ ากเซนเซอรว์ ัดอณุ หภมู ิ 31

กิจกรรมท่ี 2 ทั�งนี�นักเรียนอาจใช้ KidBright simulator ดังรูปที� 3 ในการปรับเปลี�ยนค่าอุณหภูมิเพ�่อทดสำอบการท�างานของโปรแกรม แทนการอ่านค่าอุณหภูมิจริง รูปท ี่ 3 KidBright simulator บล็อกคำาสงั่ ท่ีใช้ในการกำาหนดค่าและตรวจสอบค่า บลอ็ กคำาส่งั กำาหนดค่าคงที่ (A constant number) อยู่ในแท็บ Math (คณิตศาสำตร์) ใช้ก�าหนดค่าคงท�ี เช่น 0, 5, 17 32

กิจกรรมที่ 2 บลอ็ กคำาสั่ง set to (กำาหนด...เป็น...) อยู่ในแท็บ Math (คณิตศาสำตร์) ใช้ก�าหนดค่าให้กับตัวแปร ตัวอย่างโปรแกรม การใช้ตัวแปร รูปท ่ี 4 โปรแกรมการกาำ หนดคา่ 1000 ใหต้ วั แปร x แลว้ นำาไปแสดงผลบนหนา้ จอ LED จากตัวอย่างในรูปที� 4 ข้างต้น จะใช้บล็อก set to ในการก�าหนดค่า 1,000 ให้กับตัวแปร X จากน�ันให้แสำดงผลค่าหร่อ ข้อมูลของตัวแปร X โดยใช้บล็อกค�าสำั�ง LED 16x8 Scroll บล็อกคำาส่ังสาำ หรบั เปรยี บเทยี บคา่ 33

กิจกรรมที่ 2 อยู่ในแท็บ Logic (ตรรกะ) ใช้ในการเปรียบเทียบค่าสำองค่า โดยจะค่นค่าเป็นจริงเม่�อค่าทางด้านซ้ายและค่าทางด้านขวา เท่ากัน และค่นค่าเป็นเท็จเม�่อค่าทั�งสำองค่าไม่เท่ากัน สำามารถเล่อกเปรียบเทียบแบบต่าง ๆ ได้โดยคลิกที�รูปสำามเหล�ียม เล็ก ซึ�งจะให้ความหมายท�ีแตกต่างกัน ดังตารางด้านล่าง ตัวด�าเนินการและความหมาย ตัวอย่างโปรแกรม การใช้ตัวแปรและการเปรียบเทียบ รูปที่ 5 โปรแกรมการกำาหนดค่า 1000 ให้ตัวแปร x แล้วเปรียบเทียบค่าในตัวแปร x กับค่า 500 แล้วนำาผลลัพธ์ที่ได้ไปแสดงผลบนหน้าจอ LED 34

กจิ กรรมท่ี 2 ใบกิจกรรมท่ี 2 หนาว ๆ รอ้ น ๆ 1. พิจารณาโปรแกรมดา้ นลา่ งน �ี แลว้ ตอบคา� ถามโดยการเตมิ คา� ลงในชอ่ งวา่ ง • บลอ็ กค�าสำง�ั ที�ใชส้ ำ�าหรบั อา่ นคา่ อณุ หภูม ิ ค่อ อยู่ในแทบ็ • บล็อกค�าสำง�ั ที�ท�าใหม้ กี ารอ่านคา่ อุณหภูมแิ ละแสำดงผลซา� ไปเร�่อย ๆ คอ่ • บล็อกคา� สำ�ัง ท�าหน้าทีน� า� ค่าอณุ หภมู ิท�อี า่ นไดไ้ ปเก็บไว้ในตัวแปรช�่อ • เขียนโปรแกรมตามชดุ คา� สำัง� ด้านบน ผลการท�างานของโปรแกรมท�ไี ด ้ ค่อ 35

กจิ กรรมท่ี 2 2. พิจารณาเง�่อนไขที�ใช้ตรวจสำอบค่าอุณหภูมิที�อ่านได้และโปรแกรมต่อไปนี�แล้วตอบค�าถาม 2.1 ใหน้ ักเรียนปรับปรงุ โปรแกรมด้านลา่ งน�ใี ห้สำามารถตรวจสำอบไดว้ า่ อุณหภมู ิทีอ� ่านได้มคี ่าน้อยกว่า 25 องศาเซลเซยี สำ ให้แสำดงผลบนบอร์ด KidBright ว่า “cool” สำาเหตุท�ีผลการท�างานไม่เป็นไปตามต้องการ ค่ออะไร มีวิธ์ีการแก้ไขอย่างไร 2.2 ให้ปรับปรงุ โปรแกรมในข้อ 2.1 โดยเพม�ิ เงอ�่ นไขอกี 2 เงอ�่ นไขดา้ นล่าง และตอบค�าถามตอ่ ไปน�ี เง่อ� นไข - ถา้ อณุ หภูมิทีอ� า่ นไดม้ คี า่ ต�งั แต ่ 25-30 องศาเซลเซยี สำ ใหแ้ สำดงบนหน้าจอแสำดงผล LED วา่ “warm” - ถา้ อุณหภมู ทิ ีอ� า่ นได้มีคา่ ต�งั แต ่ 30 องศาเซลเซยี สำ ใหแ้ สำดงบนหน้าจอแสำดงผล LED ว่า “hot” บล็อกคา� สำง�ั ท�าหนา้ ที�ตรวจสำอบเงอ่� นไขทก�ี า� หนด หากเง�่อนไขท�กี า� หนดเป็นจริง จะท�าค�าสำง�ั หรอ่ ชดุ คา� สำัง� ที�ถกู ครอบอยู่ โปรแกรมนีม� ตี ัวแปรหร่อไม ่ (ท�าเคร�่องหมายถูกลงใน หนา้ ข้อท�ีตอ้ งการตอบ) มี มีจ�านวน ตัวแปร ชอ�่ ตวั แปร ไมม่ ี 36

กจิ กรรมท่ี 2 แบบประเมินกจิ กรรมท่ี 2 37

กิจกรรมท่ี 2 เกณฑ์การประเมนิ 38

กจิ กรรมท่ี 2 39

กจิ กรรมท่ี 3 ชดุ ใหญ่ไฟกระพริบ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. เขียนโปรแกรมอ่านค่าแสง 2. เขียนโปรแกรมที่มีการตรวจสอบเงื่อนไข พร้อมกันมากกว่า 1 เงื่อนไข ตัวชี้วดั ว.4.2 ป.5/3 ออกแบบและเขียนโปรแกรมที่มีการใช้เหตุผล เชิงตรรกะอย่างง่าย ตรวจหาข้อผิดพลาดและแก้ไข



กจิ กรรมท่ี 3 สาระการเรยี นรู้ 1. การเขยี นโปรแกรมอ่านคา่ แ ง 2. การเขยี นโปรแกรมแบบมีเงื่อนไขและการเชื่อมเงือ่ นไข 3. การตร จ าข้อผิดพลาดของโปรแกรม แนวคดิ การเขียนโปรแกรมแบบมีเง่ือนไขอาจต้องมีการตร จ อบเง่ือนไขมากก ่า 1 เงื่อนไขพร้อมกัน จึงต้องใช้บล็อกคำา ่ังใน การเชื่อมเงื่อนไข ในโปรแกรม KidBright IDE ทำำาได้โดยใช้บล็อกคำา ั่ง if do ร่ มกับบล็อกคำา ั่ง and/or สอื่ และอุปกรณ์ ใบกิจกรรม 42

กิจกรรมที่ 3 แนวทางการจัดการเรียนรู้ การจดั เตรียม 1. ใบกจิ กรรมตามจำาน นนกั เรยี น 2. เครือ่ งคอมพิ เตอรท์ ำ่ีตดิ ตง้ั โปรแกรม KidBright IDE 3. บอรด์ KidBright และ าย Micro USB 4. Exit ticket ตามจำาน นนกั เรยี น ขั้นตอนดาำ เนินการ 1. ครูนำาเข้า ู่บทำเรียนโดยใ ้นักเรียนดูคลิป ิดีโอเร่ือง Automatic light sensor (เฉพาะนาทำีทำี่ 0.07-0.29) จากนั้น ตั้งคำาถาม า่ • อปุ กรณท์ ำี่ปรากฏในภาพมอี ะไรบา้ ง • นักเรียนคิด า่ บุคคลในภาพกำาลังทำำาอะไร • เพราะเ ตุใด ลอดไฟจงึ ตดิ และเพราะเ ตุใด ลอดไฟจึงดับ ครอู ธบิ ายเพม่ิ เตมิ า่ บคุ คลใน ดิ โี อกาำ ลงั ทำด อบการทำาำ งาน ลอดไฟผา่ นเซนเซอรแ์ ง โดยทำดลอง า่ ากแ งมคี าม า่ งมาก รือมีค าม ่างน้อย ลอดไฟจะยัง ามารถทำำางานได้ถูกต้อง รือไม่ ำา รับคลิป ิดีโอทำ่ีดูนั้นจะเป็นชุดอุปกรณ์ทำ่ีมี จาำ นา่ ยในทำ้องตลาด แต่นกั เรยี น ามารถประดิ ฐ์ชดุ อปุ กรณ์ข้นึ เองไดด้ ้ ยการเขียนโปรแกรมและใช้บอร์ด KidBright 2. ครูใ ้นกั เรยี นบอกตำาแ น่งของเซนเซอร์แ งในบอรด์ KidBright และ กึ าใบค ามรู้ทำ่ ี 3.1 เร่อื งเซนเซอร์แ ง พร้อมกับ เขียนโปรแกรมเพื่ออา่ นคา่ แ ง 43

กจิ กรรมที่ 3 3. ครูใ ้นักเรียนทำำาใบกิจกรรมทำี่ 3.1 เรื่องโปรแกรมปลาแดดเดีย โดยชี้แจงการทำำาใบกิจกรรมพร้อมใ ้ข้อมูลเพิ่มเติม ่า ระดับแ งทำ่ีใช้ในการตากปลาน้ันเป็นระดับแ งทำ่ี มมุติขึ้น ากนักเรียนจะนำาไปจัดทำำาเป็นโครงงานนักเรียนจะต้อง ึก าค่าแ งทำี่เ มาะ มก่อน เมื่อนักเรียนทำำาใบกิจกรรมเ ร็จแล้ ครู ุ่มนักเรียนออกมานำาเ นอผลงาน และอภิปราย เกย่ี กบั แน ทำางในการปรบั ปรุงโปรแกรม ปญั าและข้อผิดพลาดทำีพ่ บระ า่ งการเขยี นโปรแกรมและแน ทำางแก้ไข 4. ครูใ ้นักเรียน ึก าใบค ามรู้ทำ่ี 3.2 เร่ืองบล็อกคำา ่ัง ำา รับเช่ือมเงื่อนไข และใ ้นักเรียนเขียนโปรแกรมตามตั อย่าง จากนั้นทำด อบผลการทำำางาน ร มทำ้งั ทำดลองเปลยี่ นแปลงค่าตา่ ง ๆ ทำ่ีอยใู่ นเงอ่ื นไข จากนน้ั งั เกตผลลพั ธ์ทำ่ไี ด้ 5. ครูใ ้นักเรียนทำำาใบกิจกรรมทำ่ี 3.2 เร่ืองชุดใ ญ่ไฟกระพริบ เพ่ือจำาลองผลการทำำางานของเซนเซอร์แ ง และ ุ่มนักเรียน ออกมานำาเ นอผลงาน พร้อมอภิปรายแน ทำาง ปัญ าทำ่ีพบและการแก้ปัญ า ร มทำั้งเปรียบเทำียบค ามแตกต่างของ โปรแกรมในใบกิจกรรมทำ่ ี 3.1 และใบกิจกรรมทำ ่ี 3.2 โดยใชค้ ำาถาม เช่น • ในใบกิจกรรมทำ ี่ 3.1 นักเรียนใชค้ ำา ัง่ อะไรบา้ ง แต่ละคาำ ่ังมี น้าทำแ่ี ละการทำาำ งานอย่างไร • ในใบกิจกรรมทำ่ี 3.2 นกั เรยี นใช้คาำ ่งั อะไรบ้าง แตล่ ะคาำ ั่งมี น้าทำแี่ ละการทำาำ งานอยา่ งไร • การทำำางานของโปรแกรมในใบกิจกรรมทำ ี่ 3.1 และใบกิจกรรมทำ่ี 3.2 ตา่ งกันอยา่ งไร • นักเรียนคิด า่ โปรแกรมทำ่เี กดิ จาก 2 กิจกรรมน ้ี ามารถนำาไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นงานใดได้บา้ ง 6. ครูแจกกระดา Exit ticket ใ ้นักเรยี นคนละ 1 แผ่น ใ แ้ ตล่ ะคนตอบคำาถาม 3 ข้อ ดงั น้ี • ิง่ ทำี่นักเรยี นไดเ้ รยี นรใู้ น ันนี้ • ง่ิ ทำนี่ กั เรียนค้นพบจากการเรียนเรื่องนี้ • ่งิ ทำ่นี กั เรียน ง ัย รอื อยากจะรูเ้ ก่ยี กบั เรื่องนี้ การวัดและประเมินผล 1. ตร จผลงานและตร จคำาตอบในใบกจิ กรรม 2. ตร จ อบค ามรู้ค ามเข้าใจของนักเรียนจาก Exit ticket และครูนำาข้อมูลทำ่ีได้ไปพิจารณาออกแบบการจัดการเรียนรู้ ในชั่ โมงตอ่ ไป 44

กิจกรรมท่ี 3 สอ่ื และแหลง่ เรยี นรู้ 1. คลปิ ิดีโอ automatic light sensor (นาทำที ำ่ี 0.07-0.29) โดย viki Tech จาก http://gg.gg/egrb3 2. นงั ือ “ นุก Kids นุก Code กบั KidBright” ( ำา รับนกั เรียน) โดย ทำช. ดา น์โ ลดไดท้ ำี่ ! ข้อเสนอแนะ 1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับการวัดค่าแสงโดยใช้เซนเซอร์บนบอร์ด KidBright จะแสดงเป็นค่าระดับความเข้ม แสงในช่วง 0 - 100% เพื่อให้ง่ายต่อการเขียนโปรแกรม แต่ในความเป็นจริงการวัดค่าความสว่างและ ปริมาณแสงจะมีหน่วยวัดโดยเฉพาะ 2. ครอู าจเพม่ิ เตมิ ความรู้ในสาระวทิ ยาศาสตร์ในเรอ่ื งเซนเซอรแ์ สง 45

กจิ กรรมที่ 3 Exit Ticket ก่อนจะออก บอกครหู นอ่ ย ชอ่ื เลขทำ่ี สิง่ ที่นกั เรยี นไดร้ ู้ในวนั นี้ สง่ิ ที่นกั เรียนคน้ พบจากการเรยี นเรื่องน้ี สิ่งที่นักเรยี นสงสยั หรืออยากจะรเู้ กีย่ วกบั เร่ืองนี้ ความร้สู ึกโดยรวม ที่ไดเ้ รียนเรื่องนี้ 46

กจิ กรรมที่ 3 ใบความรู้ท่ี 3.1 เซนเซอรแ์ สง ในโปรแกรม KidBright IDE ามารถอ่านคา่ จากเซนเซอร์ ดั แ งได ้ ดงั รายละเอียดต่อไปน้ี บลอ็ กคำาส่ัง Light Level Sensor (หวั วัดระดบั แสง) เป็นบล็อกคำา ั่งทำ่ีอยู่ในแทำ็บ Sensor (เซนเซอร์) โดยบล็อกคำา ่ังน้ีจะอ่านค่าแ งขณะนั้นจากเซนเซอร์ ัดระดับแ งทำี่อยู่ บนบอรด์ KidBright โดยคา่ ทำอ่ี ่านไดจ้ ะอยู่ในช่ ง 0-100% ตัวอย่างโปรแกรม การอ่านค่าแ งจากเซนเซอร์ ัดระดับแ ง รปู ท ี่ 1 โปรแกรมการอา่ นคา่ แสงจากเซนเซอรว์ ัดระดับแสงแลว้ วนแสดงคา่ ที่อ่านได้บนหน้าจอแสดงผล LED แบบไมร่ ู้จบ อธิบายการท�างานจากรูปท่ี 1 • แ ดงผลค่าแ งทำี่อา่ นได้จากบล็อก Light Level Sensor • น่ งเ ลา 2 ินาทำดี ้ ยบลอ็ กคาำ ง่ั Delay เพ่ือใ ้แ ดงคา่ แ งเ ร็จกอ่ นทำี่จะทำำาคำา ั่งในบลอ็ กถดั ไป 47

กจิ กรรมที่ 3 ใบความรู้ที่ 3.2 บล็อกคำาส่งั สาำ หรับเชือ่ มเงื่อนไข โปรแกรม KidBright IDE มีบล็อกคำา ่ัง ำา รบั ตร จ อบการทำาำ งานทำม่ี มี ากก า่ 1 เงอื่ นไขดังนี้ บลอ็ กคำาสง่ั เป็นบล็อกทำ่ีใช้ในการดำาเนินการทำางตรรกะซง่ึ อยใู่ นแทำ็บ Logic (ตรรกะ) บล็อกคาำ ั่งน้ใี ช้ตร จ อบเงอ่ื นไข 2 เงอ่ื นไข คือ เงื่อนไขทำางด้านซ้ายและเง่ือนไขทำางด้านข า ซึ่งจะมีตั ดาำ เนินการใ ้เลือก 2 แบบคือ and (และ) และ or ( รือ) การ ทำำางานของบลอ็ กคาำ งั่ นแี้ ดงได้ดังตารางทำ ่ี 1 ตารางทำี่ 1 ตั ดำาเนนิ การทำางตรรกะ 48


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook