Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือที่ระลึกในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ(1)

หนังสือที่ระลึกในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ(1)

Published by chonthioha_bum, 2020-04-11 00:43:47

Description: หนังสือที่ระลึกในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดชัยภูมิ(1)

Search

Read the Text Version

คำ� น�ำ หนงั สอื ทรี่ ะลกึ พธิ เี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวดั ชัยภูมิ เล่มนี้จัดท�ำขึ้นเพ่ือเป็นท่ีระลึกเนื่องในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดชัยภูมิ ซ่ึงได้รับพระราชทานพระราชานุญาต ให้ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี จงั หวัดชยั ภมู ิ เข้าร่วมโครงการ จัดต้ังห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เพ่มิ เตมิ เปน็ ลำ� ดับท่ี ๑๐๗ ในวโรกาสท่ีพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรง พระกรณุ าเสดจ็ ราชดำ� เนนิ เปน็ องคป์ ระธานในพธิ เี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จงั หวัดชัยภูมิ ในวนั พฤหัสบดี ท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ ซึ่งเป็นการสนองต่อพระปณิธานของพระองค์ท่ีทรงส่งเสริมให้ห้องสมุด เปน็ ศนู ยเ์ รยี นรใู้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และดำ� รงตนอยใู่ นสงั คมอยา่ ง มีความสุข นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวจังหวัดชัยภูมิ เป็นอย่างยิ่ง ที่จะสามารถเข้าถึงโอกาสทางการศึกษาจากแหล่งเรียน รู้ที่ทรงคุณค่าแห่งน้ีได้ นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณอันหาที่สุดมิได้แก่ พสกนิกรชาวจงั หวดั ชยั ภมู ิ ภายในหนงั สอื เล่มนปี้ ระกอบด้วย พระราชประวตั ิ พระอจั ฉรยิ ภาพ พระราชกรณยี กจิ ของสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ความเปน็ มาของหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวดั ชยั ภมู ิ และ เรือ่ งราวของจงั หวดั ชัยภูมิ ในแง่มุมต่าง ๆ เพ่อื ให้ผู้อ่านได้รับรู้และเข้าใจ ได้ส่วนหน่งึ ความส�ำเร็จของการก่อตั้งห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดชัยภูมิ เกิดจากความน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ของบุคคลต่างๆ อาทิ หลวงพ่อสายทอง เตชะธัมโม เจ้าอาวาสวัดเฉลิมพระเกียรติ (วดั ป่าห้วยกุ่ม) ตำ� บลโพนทอง

อำ� เภอเกษตรสมบรู ณ์ จังหวัดชยั ภมู ิ ข้าราชการ หน่วยงาน องค์กร บริษทั ห้างร้านและประชาชนจงั หวดั ชยั ภมู ิ ท่ไี ด้ร่วมกนั สนับสนุนปจั จัย ในการดำ� เนนิ การกอ่ สรา้ งและพฒั นาตกแตง่ ใหม้ คี วามเรยี บรอ้ ยสมบรู ณ์ เอื้ออ�ำนวยประโยชน์ต่อการให้บริการ จึงขอขอบพระคุณทุกท่านมา ณ โอกาสน้ี สำ� นักงาน กศน.จงั หวัดชยั ภมู ิ

สารบัญ หนา้ เรอื่ ง ๘ ค�ำนำ� ๒๖ พระราชประวตั แิ ละพระราชกรณยี กิจพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกุมารี ๒๗ หอ้ งสมดุ ในทัศนะของขา้ พเจา้ ๓๙ ความเปน็ มาของห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๔๐ ๔๓ - ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวัดชยั ภูมิ ๔๓ ชัยภมู ิ เมอื งผ้กู ล้า พญาแล ๔๓ ประวัติและความเปน็ มาจงั หวดั ชัยภมู ิ ๔๔ สถานท่เี คารพศรัทธาชาวชัยภมู ิ ๔๔ ๔๕ - อนุสาวรยี ์พระยาภกั ดีชมุ พล ๔๕ - ศาลเจ้าพ่อพระยาแล ๔๖ ๔๗ แหล่งท่องเท่ยี วจงั หวัดชัยภมู ิ ๔๘ - ปรางค์กู่ ๔๘ - ใบเสมาบ้านกดุ โง้ง ๔๙ - พระธาตหุ นองสามหม่นื - ถำ้� แก้ว - วัดศลิ าอาสน์ภูพระ - พระธาตุกดุ จอก - พระพุทธรปู ใหญ่สมยั ทวารวดี - อุทยานแห่งชาตติ าดโตน

สารบัญ (ต่อ) หนา้ ๔๙ เร่อื ง ๕๐ - อทุ ยานแห่งชาตไิ ทรทอง ๕๐ - เขือ่ นห้วยกุ่ม ๕๑ - เขือ่ นล�ำปะทาว ๕๒ - ภูคิ้ง ๕๒ - เขตรกั ษาพนั ธ์ุสตั ว์ป่าภเู ขยี ว – ทุ่งกะมงั ๕๓ - จดุ ชมววิ เทือกเขาพังเหย ๕๓ - อุทยานแห่งชาตปิ ่าหนิ งาม ๕๔ - มอหนิ ขาว ๕๔ ๕๔ ภูมปิ ัญญาทางวัฒนธรรม ตามวถิ ีชาวชัยภมู ิ ๕๕ - ประเพณฉี ลองอนสุ าวรีย์เจ้าพ่อพญาแล ๕๕ - ประเพณบี วงสรวงเจ้าพ่อพระยาแล (บญุ เดอื นหก) ๕๖ - ประเพณบี ญุ เดือนหก ๕๗ - ประเพณแี ห่ต้นกระธูป ๕๗ - ประเพณแี ห่นาคโหด แห่งเดยี วในโลก ๕๗ ๕๘ ของดีเมอื งชัยภูมิ ๕๙ - ผ้าไหมบ้านเขว้า ๖๐ - หม�่ำและไส้กรอกชัยภูมิ - ตะโกดดั ประวัตหิ ลวงพอ่ สายทอง - ประวัตกิ ารสร้างคณุ ประโยชน์แก่ชาวจงั หวดั ชยั ภูมิ

สารบัญ (ต่อ) เรอ่ื ง หนา้ ตน้ ไม้ทที่ รงปลูก ๖๒ - ต้นราชพฤกษ์ ๖๒ ภาคผนวก - หนังสอื พระราชดำ� เนินไปเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จังหวดั ชยั ภมู ิ - โครงการจดั ตง้ั ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวัดชยั ภูมิ - หนงั สอื ขอพระราชทานพระราชวโรกาสเข้าเฝ้าฯ - หนังสอื ขอพระราชทานพระราชานุญาต - กำ� หนดการพธิ ีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จังหวดั ชัยภูมิ - รายนามผู้บรจิ าค และสนับสนุน บรรณานกุ รม คณะผูจ้ ดั ทำ�

สารบญั ภาพ เรอื่ ง หนา้ - ภาพท่ี ๑ ทรงพระสุหร่ายและทรงเจมิ แผ่นศิลาฤกษ์ ๓๒ - ภาพท่ี ๒ พธิ ีวางศลิ าฤกษ์ห้องสมุดประชาชน“เฉลมิ ราชกุมาร”ี ๓๓ - ภาพท่ี ๓ พิธีวางศลิ าฤกษ์ห้องสมุดประชาชน“เฉลมิ ราชกมุ ารี” ๓๓ - ภาพท่ี ๔ ตอกเสาเขม็ ในการก่อสร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จังหวัดชัยภมู ิ ๓๔ - ภาพท่ี ๕ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๓๔ - ภาพท่ี ๖ การก่อสร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” ๓๕ - ภาพท่ี ๗ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี ๓๕ - ภาพท่ี ๘ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี ๓๖ - ภาพท่ี ๙ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี ๓๖ - ภาพท่ี ๑๐ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี ๓๗ - ภาพท่ี ๑๑ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” ๓๗ - ภาพท่ี ๑๒ ภาพห้องเฉลมิ พระเกียรติ ๓๘ - ภาพท่ี ๑๓ ภาพฉายภาพยนตร์เฉลมิ พระเกียรติ ๓๘ - ภาพท่ี ๑๔ ภาพห้องชยั ภูมิ ๓๙ - ภาพท่ี ๑๕ ภาพห้องชยั ภูมิ ๓๙ - ภาพท่ี ๑๖ ภาพห้องพุทธศาสตร์ ๔๐ - ภาพท่ี ๑๗ ภาพมมุ สอื่ เทคโนโลยที ท่ี ันสมยั ๔๐ - ภาพท่ี ๑๘ ภาพมุมสร้างสรรค์การเรยี นรู้เด็กเยาวชน ๔๑ - ภาพท่ี ๑๙ ภาพมุมหนงั สอื ทว่ั ไป ๔๑

พระราชประวัติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารที รงเปน็ พระราช ธิดาองค์ทีส่ องในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภมู พิ ลอดุลยเดช และสมเดจ็ พระนางเจ้าสิริกิต์ิ พระบรมราชินีนาถ พระนามเดิมว่า “สมเด็จพระเจ้า ลูกเธอเจ้าฟ้าสิรินธรเทพรัตนราชสุดากิติวัฒนาดุลโสภาคย์” ประสูติ เมอ่ื วันเสาร์ท่ี ๒ เมษายน ๒๔๙๘ ณ พระทนี่ ่ังอัมพรสถานพระราชวังดสุ ติ โดยศาสตราจารย์ นายแพทย์หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ เป็นผู้ถวาย การประสูติและทรงมีพระนามท่ีบรรดาข้าราชบริพารเรียกกันทั่วไปว่า “ทลู กระหม่อมน้อย” สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเริม่ การศกึ ษา ระดบั อนบุ าลในเดอื นกรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๐๒ ท่โี รงเรยี นจิตรลดาในบรเิ วณ พระตำ� หนักจติ รลดารโหฐาน ขณะนน้ั พระชนมายไุ ด้ ๓ พระชันษาเศษทรงมี พระสหายร่วมชน้ั เรยี นอกี ๒๐ คน ซ่ึงมาจากบตุ รหลานของพระบรมวงศานุ วงศข์ า้ ราชการตลอดจนมหาดเลก็ ผไู้ ดร้ บั พระมหากรณุ าธคิ ณุ ใหม้ ารว่ มเรยี น ด้วยโดยปราศจากช้นั วรรณะวชิ าที่ทรงศกึ ษาในช้นั อนบุ าลคอื วิชาภาษาไทย 8 พิธีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จงั หวดั ชยั ภูมิ

วชิ าภาษาองั กฤษ วชิ าเลขคณติ และวชิ าขบั รอ้ งพระอาจารยท์ ถ่ี วายพระอกั ษร ขณะนัน้ ได้แก่ อาจารย์ท่านผู้หญงิ ทศั นีย์ บุณยคปุ ต์อาจารย์คุณหญงิ องั กาบ บุณยัษฐิติ และอาจารย์คุณหญงิ สุนามัน ประนชิ ทั้งนีป้ รากฏว่า สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดโรงเรียน พระอาจารย์ และพระสหายเป็นอนั ดี เมอ่ื ทรงเรยี นจบชน้ั ประถมศกึ ษาตอนปลายได้ทรงสอบร่วมกบั นกั เรยี น ทั่วประเทศโดยใช้ข้อสอบกระทรวงศึกษาธิการ และสมเด็จพระเทพรัตน ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารที รงสอบไดท้ หี่ นง่ึ ไดค้ ะแนนรวมรอ้ ยละ ๙๖.๖๐ อันเป็นคะแนนสูงสุด ส�ำหรับระดับชั้นประถมศึกษาปีที่เจ็ดจึงทรงได้รับ พระราชทานรางวลั เรยี นดจี ากพระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ในงานแสดงศลิ ป หัตถกรรมนกั เรยี น ครั้งท่ี ๓๑ ณ กรฑี าสถานแห่งชาติ เม่ือวันท่ี ๑ ธนั วาคม ๒๕๑๑ ระหว่างทีท่ รงศึกษาอยู่น้ี เปน็ ท่ีทราบกนั โดยทั่วไปว่าสมเดจ็ พระเทพ รตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระปรชี าสามารถในวชิ าแทบทกุ ดา้ น เช่น ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ ภูมิศาสตร์ ประวัติศาสตร์ ร�ำไทย ดนตรี ไทยและวาดเขยี น เป็นต้น ซึ่งมกั จะทรงได้คะแนนมากกว่า พระสหายในชนั้ เดยี วกนั อยู่เสมอ พิธีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จงั หวดั ชัยภูมิ 9

นอกจากนยี้ งั ทรงโปรดหนงั สอื มาตงั้ แตท่ รงพระเยาว์ และทรงพระปรชี า สามารถในทางร้อยแก้วและร้อยกรองอย่างย่ิงทรงเร่ิมบทพระนิพนธ์ต่าง ๆ ตงั้ แตเ่ มอื่ ทรงพระชนมายไุ ดเ้ พยี ง ๑๒ พระชนั ษาเปน็ ตน้ มา บทพระราชนพิ นธ์ เหล่านี้ได้รับการตีพิมพ์แพร่หลายในหนังสือหลายเล่ม ตัวอย่างเช่น อยุธยา เจ้าครอกวดั โพธศ์ิ าสนาเกดิ ขนึ้ ได้อย่างไร เปน็ ต้นบทพระราชนพิ นธ์ทร่ี ้จู กั กนั ดใี นปจั จบุ นั คอื พทุ ธศาสนสภุ าษติ คำ� โคลง ซงึ่ ทรงถอดมาจากภาษาบาลี และ กษตั รยิ านสุ รณ์ ซงึ่ ทรงทลู เกลา้ ฯถวายสมเดจ็ พระนางเจา้ พระบรมราชนิ นี าถ เนื่องในวนั เฉลมิ พระชนมพรรษา ประจำ� ปี ๒๕๑๖ (ขณะนนั้ สมเด็จพระเทพ รัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงมพี ระชนมายุเพยี ง ๑๘ พระชันษา) สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นที่รักของพระ สหายเพราะทรงไว้ซึ่งความเห็นอกเห็นใจผู้อ่ืน ความเสียสละความมีน้�ำใจ นักกีฬาและความอดทน เคยมีตัวอย่างว่าทรงว่ิงเล่นกับพระสหายและทรง ล้มลงจนได้รับบาดเจบ็ มีพระโลหติ ออกบางคราวถงึ กบั พระทนต์บิน่ แต่กไ็ ม่ กนั แสงและไม่ทรงบ่นรำ� พันถงึ ความเจ็บปวดเลย 10 พธิ ีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จังหวัดชัยภูมิ

ทรงศกึ ษาทโ่ี รงเรยี นจติ รลดาจนจบชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ี่ ๕ โดยทรงสอบไล่ ได้เป็นทีห่ น่งึ ของประเทศแผนกศิลปะ ประจำ� ปีการศกึ ษา ๒๕๑๕ ได้คะแนน ร้อยละ ๘๙.๓๐ ยังความภาคภมู ิแก่คณะพระอาจารย์ผู้ถวายการสอน และ ยงั ความปีตยิ นิ ดแี ก่ประชาชนทง้ั ประเทศผู้เฝ้ามองการเจรญิ พระชนมายุของ พระองค์เป็นอย่างยง่ิ นอกจากพระสตปิ ญั ญายอดเยย่ี มทก่ี ลา่ วมาแลว้ ยงั ทรงมอี ตุ สาหะวริ ยิ ะ อนั ยอดเยยี่ มอกี ดว้ ย เนอ่ื งจากระหวา่ งทท่ี รงศกึ ษาอยนู่ นั้ ทรงมพี ระราชภาระ ท่ีจะต้องติดตามพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชนิ นี าถไปในการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ทรงเยย่ี มราษฎรตา่ งจงั หวดั อยเู่ ปน็ ประจำ� ทำ� ใหไ้ มส่ ะดวกตอ่ การศกึ ษาเลา่ เรยี นแตก่ ท็ รงตดิ ตามการเรยี น อยู่ตลอดเวลา โดยทรงอาศัยเวลาว่างจากการปฏิบัติพระราชกิจประจ�ำวัน เสร็จส้ินแล้วซ่ึงเรื่องน้ีเป็นท่ีทราบกันท่ัวไปในบรรดาพระสหายร่วมช้ันเรียน ของพระองค์และในยามที่ทรงมีโอกาสได้เข้าศึกษาด้วยพระองค์เองแล้ว บรรดานสิ ติ อกั ษรศาสตรจ์ ะไดเ้ หน็ ภาพทเ่ี จนตาคอื ภาพทสี่ มเดจ็ พระเทพรตั น ราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงถือหนังสือเต็มพระหัตถ์และทรงห้ิวพระ กระเปา๋ ใบโตบรรจสุ รรพตำ� ราเปน็ จำ� นวนมาก ทรงพระดำ� เนนิ ไปยงั หอ้ งเรยี น ต่าง ๆ อยู่เป็นประจำ� เปน็ ท่ีสะดดุ ตาพเิ ศษเน่อื งจากนิสิตทว่ั ๆ ไปมกั ถอื สมดุ หนงั สือกันคนละ ๓-๔ เล่มเท่านนั้ พิธีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จังหวดั ชัยภมู ิ 11

ต่อจากชัน้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ ๕ สมเด็จพระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรม ราชกุมารีทรงสอบเข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษา โดยทรงเลือกคณะอักษร ศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเป็นอันดับท่ีหน่ึง ผลการสอบปรากฏว่า ทรงได้ท่ี ๔ แต่เมอ่ื ได้ทรงเข้าศกึ ษาเรยี บร้อยแล้วก็ทรงเลอื กเฉพาะวชิ าทีส่ น พระทัย เช่น ภาษาไทย ภาษาต่างประเทศ และประวตั ศิ าสตร์ เป็นต้น ในภาค การศึกษาแรกน้ันเองก็ทรงสอบได้เป็นที่หนึ่งของนิสิตช้ันปีที่ ๑ คณะอักษร ศาสตร์ด้วยคะแนนเฉล่ยี ๓.๙๔ และทรงสอบได้เปน็ ท่หี นง่ึ เช่นน้ที ุกปีจนถงึ ปี สดุ ทา้ ยทรงสอบไลไ่ ดค้ ะแนนเฉลย่ี ๓.๙๘ นบั เปน็ ทหี่ นง่ึ ของคณะอกั ษรศาสตร์ เช่นเคย จึงทรงได้รับพระราชทานปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิตเกียรตินิยม อันดับหนึ่งจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวในวันท่ี ๑๕ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ และในวันรุ่งข้ึนยังทรงได้รับพระราชทานรางวัลเหรียญทองในฐานะ ทท่ี รงสอบได้ท่หี น่ึงมาทุกปีอกี ด้วย   12 พธิ เี ปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จงั หวดั ชยั ภมู ิ

แม้จะทรงครำ�่ เคร่งต่อการศกึ ษาเลา่ เรยี นเชน่ นแี้ ตส่ มเดจ็ พระเทพรตั น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี กย็ ังทรงปลกี เวลาส่วนหน่ึงเข้าร่วมกจิ กรรม ของคณะอยู่เสมอเช่นเม่อื ทรงศึกษาอยู่ชนั้ ปีที่ ๑ กท็ รงเข้าร่วมซ้อมร้องเพลง เชยี ร์เช่นเดยี วกบั นสิ ติ น้องใหม่อนื่ ๆ ซงึ่ การซ้อมร้องเพลงเชยี ร์นมี้ กั เรม่ิ ขนึ้ ใน เวลาเที่ยงตรงอันเป็นเวลารับประทานอาหารกลางวัน ดังน้ันนิสิตน้องใหม่ที่ จะเขา้ ซอ้ มรอ้ งเพลงเชยี รจ์ ะตอ้ งรบี กระวกี ระวาดรบั ประทานอาหารกลางวนั เสียตงั้ แต่ในช่วงเวลา ๑๐.๕๐ น. ถึง ๑๑.๑๐ น. ซึ่งเป็นเวลาหยดุ ให้นสิ ติ ได้ พักผ่อนหรอื ดมื่ น้�ำ (ประมาณ ๒๐ นาท)ี หากอาจารย์ผู้สอน สอนเกินเวลา เวลารับประทานอาหารของนิสิตน้องใหม่ในช่วงนี้ก็จะสั้นลงไปอีกแต่ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ก็ทรงสามารถเสวยพ ระกระยาหารกลางวันในช่วงเวลาสั้นเพียงสิบกว่านาทีแล้วทรงเข้าร่วมร้อง เพลงเชียร์ในฐานะนิสิตน้องใหม่ได้เสมอ กิจกรรมอื่นท่ีสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเข้าร่วมคือทรงสมัครเรียนเป็นสมาชิก ชมรมดนตรไี ทย และชมรมวรรณศลิ ป์สโมสรนสิ ติ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ซึ่งประชาชนทั่วไปมกั จะได้พบเห็นภาพท่ที รงดนตรีไทยในโอกาสต่าง ๆ ของ มหาวิทยาลยั อยู่เนอื ง ๆ โดยโปรดทรงซอด้วงเปน็ พิเศษ แม้ว่าจะทรงเครอ่ื ง ดนตรีได้หลายชนิดก็ตามส่วนทางด้านกิจกรรมของชมรมวรรณศิลป์นั้น เคยทรงร่วมกับพระสหายอีกกลุ่มหนึ่งเป็นผู้แทนคณะอักษรศาสตร์ แข่งขัน กลอนสดระหว่างคณะในมหาวิทยาลัยได้รับรางวัลชนะเลิศมาแล้วโดยก่อน การแข่งขันนั้นต้องทรงสละเวลาในช่ัวโมงที่ว่างเรียนมาทรงซ้อมกลอนและ ทรงแสดงความเป็นปฏิภาณกวีให้บรรดาพระสหายเห็นประจักษ์ในการซ้อม อยู่บ่อยครั้งทั้งนี้สืบเน่ืองมาจากท่ีพระองค์สนพระทัยฝักใฝ่ในวรรณกรรม ต่าง ๆ ตงั้ แต่ทรงพระเยาว์นัน่ เอง พธิ เี ปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวัดชยั ภูมิ 13

นอกจากกิจกรรมของทางสโมสรนิสิตจุฬาฯ แล้วยังทรงเป็นสมาชิก ชมรมภาษาไทย ชมรมภาษาตะวนั ออกและชมรมประวตั ศิ าสตรใ์ นคณะอกั ษร ศาสตร์ และยงั ทรงเปน็ กรรมการจัดหาเรอ่ื งลงพมิ พ์ในหนังสืออกั ษรศาสตร์ พจิ ารณข์ องชมุ นมุ วชิ าการคณะอกั ษรศาสตรอ์ กี ดว้ ยในบางครงั้ กพ็ ระราชทาน บทพระนิพนธ์ลงพมิ พ์ด้วย เช่น เรอ่ื งการเดนิ ทางไปร่วมพธิ พี ระบรมศพพระ เจ้ากุ๊สตาฟท่ี ๖ อดอล์ฟแห่งประเทศสวเี ดนและร้อยกรองต่างๆ กล่าวได้ว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี พระราชทานความร่วม มอื แกท่ างคณะและมหาวทิ ยาลยั มากวา่ นสิ ติ บางคนดว้ ยซำ�้ ไปและทรงปฏบิ ตั ิ พระองค์ตามระเบียบประเพณีของทางมหาวิทยาลัยอย่างเคร่งครัดทรงเข้า ร่วมพิธตี ่างๆทุกพิธีท่ที างมหาวิทยาลัยและคณะอกั ษรศาสตร์จดั ข้นึ เช่น พิธี รบั นอ้ งใหม่ พธิ ไี หวค้ รู พธิ ปี ฏญิ าณตนเปน็ นสิ ติ ใหมค่ ณะอกั ษรศาสตร์ เปน็ ตน้ ในพิธีรับร้องใหม่น้ันเน่ืองจากสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กุมารี ทรงเป็นน้องใหม่ท่ีพ่ีๆ มีความตื่นเต้นสนใจเป็นพิเศษจึงทรงถูกรับจน เหนด็ เหนอื่ ยอยา่ งยง่ิ พระเสโทหลงั่ ไหลตลอดเวลาแมก้ ระนน้ั พระองคก์ แ็ ยม้ พ ระสรวลเสมอ ไม่เคยทรงแสดงว่าเบ่อื หน่ายหรือร�ำคาญใครๆเลย นอกจาก นใ้ี นคราวท่คี ณะอักษรศาสตร์จดั การพฒั นาคณะ เกณฑ์นิสิตมาช่วยกันเก็บ 14 พธิ ีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จังหวดั ชัยภูมิ

เศษกระดาษทำ� ความสะอาด ตลอดจนปลกู ตน้ ไมป้ ระดบั คณะเพม่ิ เตมิ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ก็ทรงเข้าร่วมอย่างขยนั ขันแข็ง โดยทรงจับจอบฟันดนิ ด้วยพระองค์เองด้วยซ้�ำ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงได้รับฉายาว่า เป็นหนอนหนังสือพระองค์หน่ึง นอกจากจะสนพระทัยในการอ่านหนังสือ อย่างจริงจังแล้วยังทรงเป็นนักสะสมหนังสือด้วย หนังสือท่ีมีคุณค่าบางเล่ม ซ่ึงไม่ทรงมีแต่พระสหายมีก็จะทรงยืมหนังสือเหล่านั้นจากพระสหายไปอ่าน เพ่ือมิให้พลาดหนังสือเล่มนั้นไป จากการอ่านหนังสือเป็นจ�ำนวนมากน่ีเอง ทำ� ใหท้ รงรอบรใู้ นวชิ าการตา่ งๆ เชน่ ประวตั ศิ าสตรโ์ บราณคดี ภาษาไทยและ ภาษาตะวันออก เปน็ อย่างดี สง่ิ ซง่ึ สนบั สนนุ การศกึ ษาประการหนงึ่ ของพระองค์กค็ อื พระพลานามยั อันสมบูรณ์ทรงโปรดกีฬา และการออกก�ำลังกายต่างๆ ระหว่างทรงศึกษา อยู่นั้น หามีการแข่งขันกีฬาก็จะทรงเข้าร่วมด้วยอย่างเต็มพระทัยเคยทรง ร่วมการแข่งขันฟุตบอลในคณะอักษรศาสตร์และทรงร่วมทีมนิสิตน้องใหม่ ชักคะเย่อกับทีมอาจารย์คณะอักษรศาสตร์ เป็นต้น ซึ่งท้ังหมดน้ีทรงปฏิบัติ ด้วยความร่าเริงแจ่มใสเป็นท่ีประทับใจแก่บรรดาพระสหายรุ่นพี่และรุ่นน้อง พิธีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จังหวดั ชัยภมู ิ 15

อย่างยิ่ง หลังจากทรงได้รับพระราชทานปริญญาบัตรอักษรศาสตรบัณฑิต แลว้ ไดท้ รงสมคั รเขา้ ศกึ ษาตอ่ ระดบั ปรญิ ญาโทในบณั ฑติ วทิ ยาลยั ทง้ั ทค่ี ณะ อักษรศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย และคณะโบราณคดี มหาวิทาลัย ศิลปากร ท่คี ณะอกั ษรศาสตร์ทรงเลอื กศึกษาวชิ าบาลแี ละสนั สกฤต ส่วนท่ี คณะโบราณคดที รงศึกษาวชิ าจารกึ ภาษาตะวนั ออก การที่นิสิตผู้ใดจะศึกษาต่อระดับปริญญาโทน้ันมิใช่เร่ืองง่ายและ การ ศึกษาระดับปริญญาโทท้ังสองมหาวิทยาลัยพร้อมกันยิ่งเป็นเร่ืองยากกว่า หลายเท่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงมีพระ ราชกิจมากเกินกว่าจะทรงท�ำวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาโทของทั้งสอง มหาวิทยาลัยได้พร้อมกัน จึงตัดสินพระทัยเลือกท�ำวิทยานิพนธ์เรื่องจารึก พบท่ีปราสาทพนมรุ้ง เพ่ือรับพระราชทานปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต ของมหาวิทยาลัยศิลปากรก่อน ซึ่งวิทยานิพนธ์นี้ได้ผ่านการตรวจสอบของ คณะกรรมการไปดว้ ยดที ำ� ใหท้ รงสำ� เรจ็ การศกึ ษาไดร้ บั พระราชทานปรญิ ญา ศิลปศาสตรมหาบัณฑิตของมหาวิทยาลัยศิลปากรจากพระบาทสมเด็จ พระเจา้ อยหู่ วั เมอื่ วนั ท่ี ๑๑ตลุ าคม ๒๕๒๒ หลงั จากนนั้ กท็ รงขะมกั เขมน้ ศกึ ษา 16 พิธีเปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จังหวัดชยั ภูมิ

ต่อทบี่ ัณฑติ วทิ ยาลยั คณะอักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ในสาขา วิชาภาษาบาลี-สันสกฤตได้ทรงท�ำวิทยานิพนธ์เรื่องทศบารมีในพุทธศาสนา เถรวาท จนทรงได้รับพระราชทานปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต จาก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั เมอ่ื วนั ท่ี ๙ กรกฎาคม ๒๕๒๔ และพระองคม์ ไิ ด้ ทรงหยุดย้ังการใฝ่หาวิชาความรู้ได้ทรงศึกษาต่อระดับดุษฎีบัณฑิตในสาขา วชิ าพฒั นศึกษาศาสตร์มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ ต่อไปอกี ทีก่ ล่าวมา ทง้ั หมดนี้ ล้วนเน้นหนักทางด้านพระปรชี าสามารถในการศกึ ษาและการวาง พระองคใ์ นหมพู่ ระสหาย นอกเหนอื จากนสี้ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยาม บรมราชกุมารี ยังทรงปฏิบัติพระภารกิจส�ำคัญที่ทรงได้รับมอบหมายจาก พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยหู่ วั ใหล้ ลุ ว่ งไปดว้ ยดี เชน่ การเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปรว่ มพธิ พี ระบรมศพพระเจา้ กสุ๊ ตาฟท่ี ๖ อดอลฟ์ ณ กรงุ สตอ็ คโฮม ประเทศ สวเี ดน ในปี ๒๕๑๖ (ซง่ึ ไดท้ รงพระนพิ นธเ์ รอ่ื งการเดนิ ทางนไ้ี วด้ ว้ ยตามทกี่ ลา่ ว มาแลว้ )และการเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปยงั ประเทศอสิ ราเอลและอหิ รา่ นพรอ้ ม ด้วยสมเด็จพระเจ้าลกู เธอ เจ้าฟ้าจฬุ าภรณ์วลัยลักษณ์ ตามค�ำกราบบงั คม ทลู เชิญของรฐั บาลอสิ ราเอล และเจ้าชายเรซา ปาห์เลวแี ละเจ้าหญงิ ฟาราห์ นาซปาห์เลวี แห่งอิหร่านเพื่อทอดพระเนตรการพัฒนาของประเทศทั้งสอง และน�ำมาใช้ประโยชน์ในประเทศไทยในเดอื นเมษายน พ.ศ.๒๕๒๐ พิธีเปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จงั หวัดชยั ภมู ิ 17

ตอ่ จากนนั้ ระหวา่ งวนั ที่ ๒๘ เมษายน ถงึ วนั ที่ ๒ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๒๓ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จพระราชด�ำเนิน พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟ้าจุฬาภรณ์วลัยลักษณ์ ไปทรงร่วม พิธีสถาปนาเจ้าฟ้าหญิงเบียทริกซ์ขึ้นเป็นพระราชินีแห่งประเทศเนเธอแลนด์ ในปีเดียวกัน ระหว่างวันท่ี ๑๙ พฤษภาคม ถึงวันท่ี ๓ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๒๓ ได้เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ พร้อมด้วยสมเดจ็ พระเจ้าลกู เธอเจ้าฟ้าหญงิ จฬุ าภรณว์ ลยั ลกั ษณ์ ไปทรงเยอื นประเทศฝรง่ั เศสตามคำ� กราบบงั คมทลู เชญิ ของรฐั บาลฝรง่ั เศส และเยอื นประเทศองั กฤษ ระหว่างวนั ท่ี ๘-๑๔ มถิ นุ ายน พ.ศ. ๒๕๒๓ ตามคำ� กราบบงั คมทลู เชญิ ของรฐั บาลองั กฤษเพอื่ ทอดพระเนตร กิจการด้านการศึกษาและวัฒนธรรม กิจกรรมด้านกาชาด ตลอดจนการ พัฒนาในด้านต่าง ๆ ของประเทศทั้งสอง และยังเสด็จฯประเทศเบลเย่ียม เปน็ การส่วนพระองค์ในฐานะราชอาคนั ตกุ ะของสมเดจ็ พระราชาธบิ ดโี บดวง และพระราชินฟี าบิโอลาระหว่างวนั ท่ี ๓-๕ มถิ ุนายน พ.ศ. ๒๕๒๓ ปี พ.ศ. ๒๕๒๔ ระหว่างวันท่ี ๑๑-๒๐ พฤษภาคม สมเดจ็ พระเทพรัตน ราชสดุ าฯสยามบรมราชกมุ ารี ไดเ้ สดจ็ ฯเยอื นประเทศจนี ตามคำ� กราบบงั คม ทูลเชิญของรัฐบาลสาธารณรัฐประชาชนจีนโดยทรงเป็นอาคันตุกะของนาย จ้าวจื่อหยาง นายกรัฐมนตรีในโอกาสน้ีได้ทรงพระนิพนธ์หนังสือช่ือย�่ำแดน 18 พธิ ีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี จังหวัดชยั ภูมิ

มังกรบรรยายเร่ืองการเดินทาง และบุคคลตลอดจนสิ่งท่ีพระองค์ได้ทรง พบปะไวอ้ ยา่ งละเอยี ดและสนกุ สนานชวนอา่ นยง่ิ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๔ กรกฎาคม ศก เดยี วกนั ทรงเปน็ ผแู้ ทนพระองคเ์ สดจ็ ฯไปทรงรว่ มในพธิ อี ภเิ ษกสมรส ระหวา่ ง เจา้ ฟา้ ชายชารล์ สม์ กฎุ ราชกมุ ารขององั กฤษ และเลด้ี ไดอานา่ ตามคำ� ทลู เชญิ ของสมเดจ็ พระบรมราชนิ ีนาถแห่งประเทศอังกฤษด้วย ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๕ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราช กุมารไี ด้เสดจ็ ฯเยอื นประเทศต่าง ๆ ในทวปี ยุโรป ดงั นี้ ระหว่างวนั ท่ี ๒๙-๓๑ พฤษภาคมพ.ศ.๒๕๒๕เสด็จฯเยือนประเทศสวิสเซอร์แลนด์ เป็นการส่วน พระองค์ ทรงเยี่ยมองค์การกาชาดสากลและห้องสมุดสหประชาชาติ แล้ว เสดจ็ ฯ เมอื งโลซานน์ เพอ่ื เฝา้ ฯสมเดจ็ พระศรนี ครนิ ทราบรมราชชนนี ระหวา่ ง วันท่ี ๑-๙ มถิ ุนายน พ.ศ.๒๕๒๕ เสด็จฯเยอื นสาธารณรฐั ออสเตรยี ตามคำ� กราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลออสเตรีย และโดยเฉพาะท่ีออสเตรียน้ี สภา มหาวทิ าลัยอนั น์สบรุกได้ถวายสมาชกิ กิตติมศักดิ์ (Honorary Senator) แห่ง มหาวิทยาลัยอินน์สบรุก เน่ืองจากทางมหาวิทยาลัยทราบดีถึงพระปรีชา สามารถดา้ นตา่ ง ๆ และไดร้ บั การทลู เกลา้ ฯ ถวายสายสรอ้ ยทอง (Gold Chain) ซง่ึ นบั เปน็ สตรเี อเชยี คนแรกและเปน็ ผทู้ อี่ ายนุ อ้ ยทสี่ ดุ ทไี่ ดร้ บั เกยี รตนิ ต้ี อ่ จาก นั้นระหว่างวันที่ ๙-๒๓ มิถุนายน พ.ศ.๒๕๒๕ จึงได้เสด็จฯเยือนสหพันธ์ สาธารณรัฐเยอรมัน ตามค�ำกราบบังคมทูลเชิญของรัฐบาลเยอรมัน ซ่ึงทุก สถานที่ท่ีพระองค์เสด็จฯ ไป สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราช กมุ ารที รงเปน็ ทปี่ ระทบั ใจ ทง้ั ของชาวไทยทพี่ ำ� นกั ในประเทศนนั้ ๆและชาวตา่ ง ชาติเปน็ อย่างย่งิ ในวันท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๕๑๘ อนั เปน็ วนั คล้ายพระราช สมภพในสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีสมเด็จพระนาง เจ้าพระบรมราชินีนาถ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯพระราชทานเล้ียงทหาร และต�ำรวจพิการจากโรงพยาบาลต่าง ๆ ณ ศาลาดุสิดาลัย และในโอกาส นี้ได้ทรงริเร่ิมก่อต้ังมูลนิธิสายใจไทยข้ึนโดยพระราชทานให้สมเด็จพระเทพ พธิ เี ปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จังหวดั ชยั ภูมิ 19

รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีเป็นองค์ประธานมูลนิธิ เนื่องจากทรง ตระหนักดีว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็น ผู้มีพระทัยอ่อนโยนทรงพระเมตตา และทรงเอาพระทัยใส่ในทุกข์สุขของผู้ อ่นื อยู่เสมอเหมาะสมกบั ตำ� แหน่งนเ้ี ปน็ อย่างย่งิ ในวนั น้ันสมเด็จพระนางเจ้า พระบรมราชินีนาถ ได้พระราชทานเงินส่วนพระองค์จ�ำนวนหนึ่งเป็นทุนเร่ิม แรกและได้มีผู้มีจิตศรัทธาทูลเกล้าฯถวายเงินสมทบ โดยเสด็จพระราชกุศล อีกเป็นจ�ำนวนมาก ซ่ึงมูลนิธินี้มีวัตถุประสงค์ในการช่วยเหลือทหารต�ำรวจ พลเรือน ตลอดจนอาสาสมัครที่บาดเจ็บทุพพลภาพ หรือเสียชีวิตจากการ ปฏิบัติหน้าที่เพื่อป้องกันประเทศชาติโดยให้ความช่วยเหลือด้านการเงินหรือ ส่งเสริมอาชีพแก่ครอบครัวหรือตัวผู้ประสบเคราะห์ร้ายนั้น เพ่ือให้เขาเหล่า น้ันตระหนักว่าแม้จะพิการหรือเสียชีวิตเขาหรือครอบครัวของเขาก็มิได้ถูก ทอดทงิ้ ปัจจุบนั มูลนิธสิ ายใจไทยฯ ได้มที ี่ทำ� การถาวรแล้ว ท่ีถนนศรอี ออยธุ ยา ข้างสถานตี ำ� รวจพญาไท ทีต่ กึ นม้ี ีการเปิดจำ� หน่ายสนิ ค้าจากผลติ ภณั ฑ์ของ มลู นธิ สิ ายใจไทยฯและมลู นธิ สิ ง่ เสรมิ ศลิ ปาชพี พเิ ศษฯ ในวนั และเวลาราชการ ดว้ ย นบั วนั มลู นธิ สิ ายใจไทยฯกจ็ ะเตบิ โตและทวรี ายจา่ ยสงู ขน้ึ เรอื่ ย ๆ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในฐานะองค์ประทานมลู นธิ ฯิ จงึ ได้ทรงพระวิตกและทรงพยายามหารายได้ ทุกวิถีทางให้แก่มูลนิธิฯอยู่เสมอ 20 พิธีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี จังหวดั ชัยภมู ิ

ท้ังที่ก�ำลังทรงศึกษาอยู่น้ันไม่ว่าใครจะจัดงานหาเงินเพ่ือมูลนิธิสายใจไทยฯ ถ้าเชญิ เสด็จพระราชดำ� เนนิ แล้วถ้าทรงว่างพอกม็ กั ไม่ทรงขัดข้อง จากพระปรชี าสามารถ และพระกรณยี กจิ อนั ดเี ลศิ เช่นน้ีเอง จึงทรงได้ รับการสถาปนาพระอิสริยยศและพระอิสริยศักดิ์ เป็นสมเด็จพระเทพรัตน ราชสดุ าฯ เจ้าฟ้ามหาจกั รสี ริ นิ ธรรฐั สมี าคณากรปยิ ชาตสิ ยามบรมราชกมุ ารี ในวโรกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเมื่อวันที่ ๕ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ดงั ท่ปี ระชาชนได้ทราบอยู่แล้ว สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงมพี ระราชภาระ มากย่ิงข้ึน ตามวันและเวลาที่ล่วงไป แต่ก็ทรงต้ังพระทัยปฏิบัติพระราชกิจ อย่างเข้มแข็ง นอกจากจะทรงด�ำรงต�ำแหน่งองค์ประธานมูลนิธิสายใจไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระกรุณา โปรดเกล้าฯ ให้สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงดำ� รง ตำ� แหน่งองค์อุปนายกิ าผู้อ�ำนวยการสภากาชาดไทย เม่ือวนั ที่ ๑๓ ธนั วาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ด้วย สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงบริหารงาน ของสภากาชาดไทยด้วยความเอาพระทัยใส่เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงร่วม ประชุมคณะกรรมการของสภากาชาดอยู่เสมอและมีพระราชด�ำริเพ่ิมเติมใน กิจการของสภากาชาดอยู่เนือง ๆ ทรงชักน�ำให้สภากาชาดมีบทบาทในการ ชว่ ยเหลอื ประชาชนมากขน้ึ และได้เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ ออกไปทรงช่วยเหลอื ประชาชนดว้ ยพระองคเ์ อง เชน่ เมอ่ื วนั ท่ี ๒๑ สงิ หาคม ๒๕๒๒ ไดเ้ กดิ อบุ ตั เิ หตุ รถไฟชนกันที่บริเวณสถานีรถไฟตลิ่งชัน กรุงเทพมหานคร มีประชาชนเสีย ชวี ติ และไดร้ บั บาดเจบ็ จากอบุ ตั เิ หตคุ รง้ั นเี้ ปน็ จำ� นวนมาก สมเดจ็ พระเทพรตั น ราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงห่วงใยราษฎรเหล่านี้อย่างยง่ิ จงึ ทรงน�ำ เจ้าหน้าท่ีกองบรรเทาทุกข์สภากาชาดไทยไปเย่ียมผู้ได้รับบาดเจ็บซึ่งก�ำลัง รับการรักษาในโรงพยาบาลรถไฟ โรงพยาบาลต�ำรวจ โรงพยาบาลตากสิน พธิ ีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จงั หวัดชัยภูมิ 21

โรงพยาบาลศิริราชและโรงพยาบาลวชิระ จ�ำนวน ๔๑ รายในวันที่ ๒๒ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ และเมือ่ วนั ท่ี ๑๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ ได้เสดจ็ พระราชด�ำเนินทรงเย่ียมทหารและราษฎรอ�ำเภอวัฒนานครและอ�ำเภอ อรัญประเทศ จังหวัดปราจีนบุรี ที่อพยพหลบหนีมาจากชายแดน ซึ่งก�ำลัง มีภัยจากการปะทะกันระหว่างทหารกัมพูชาสองฝ่าย ราษฎรเหล่าน้ีเสีย ขวัญและหวาดผวาไม่กล้าประกอบอาชีพยังภูมิล�ำเนาเดิมเพราะบางคร้ังก็มี กระสนุ ปืนตกเข้ามาถงึ เขตไทย บางครงั้ กม็ ที หารกมั พชู าออกลาดตระเวนหา เสบียงอาหารตามชายแดนราษฎรจ�ำต้องโยกย้ายถ่ินฐานเข้ามาอยู่ห่างจาก ชายแดนพอสมควรเพราะไมแ่ นว่ า่ การปะทะกนั นน้ั จะลำ้� เขา้ มาในเขตไทยเมอื่ ใดสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ าฯ สยามบรมราชกมุ ารี ไดเ้ สดจ็ พระราชดำ� เนนิ ไปพระราชทานก�ำลังใจและพระราชทานเคร่ืองอุปโภคบริโภคที่จ�ำเป็นแก่ ราษฎรผู้เดือดร้อนเหล่านั้น นอกจากน้ันยังทรงห่วงใยในสวัสดิภาพของเจ้า หนา้ ทท่ี กุ ฝา่ ยทง้ั เจา้ หนา้ ทขี่ องกาชาดทไ่ี ปปฏบิ ตั งิ านชว่ ยเหลอื ราษฎรผอู้ พยพ กับชาวกัมพูชาผู้ล้ีภัยรวมท้ังทหาร ต�ำรวจ และผู้ปฏิบัติหน้าท่ีอยู่ชายแดน จึงได้เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเยี่ยมสถานีกาชาด หน่วยทหารและต�ำรวจ ในพนื้ ท่จี งั หวัดนครราชสมี า และจังหวัดสรุ นิ ทร์ 22 พธิ ีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จังหวัดชัยภมู ิ

เม่ือวันที่ ๑๕ กันยายน พ.ศ.๒๕๕๗ เสดจ็ เปิดอาคารเฉลมิ พระเกียรติ โรงพยาบาลลัยภูมิ และตอนบ่ายในวันเดียวกันทรงพระกรุณาเสด็จ เปิดศูนย์เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบบ้านหนองแก อ�ำเภอแก้งคร้อ จงั หวัดชัยภมู ิ พิธีเปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จงั หวดั ชยั ภูมิ 23

เม่ือวันที่ ๓๐ มีนาคม ๒๕๖๐ ประเทศอินเดียทูลเกล้าฯ ถวายรางวัล “ปัทมาภูษัณ” แด่สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นบุคคลต่างชาติเพียงคนเดียวท่ีได้รับรางวัลนี้ ท้ังนี้ นายปรานับ มูเคอร์ จีประธานาธิบดีอินเดีย เป็นผู้ถวายรางวัลดังกล่าว เป็นรางวัลใน สาขาวรรณกรรมและการศึกษา เพื่อเป็นการเทิดพระเกียรติในการท่ีทรง เป็นองค์อุปถัมภ์การศึกษาภาษาสันสกฤตและบาลี ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตน ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงเป็นองค์อุปถัมภ์ด้านนี้ ช่วยให้เกิดการ อนุรักษ์และการส่งเสรมิ มรดกทางวฒั นธรรมร่วมกนั ระหว่างสองประเทศ ตลอดเวลาที่ได้โดยเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จ พระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ ไปทรงเย่ียมราษฎรท่ัวประเทศนั้นสมเด็จ พระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารีจะทรงบันทึกข้อมูลต่างๆ ถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวประดุจราชเลขานุการในพระองค์เพ่ือ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะได้ทรงใช้ประกอบพระวิจารณญาณในการ ช่วยเหลือประชาชนโดยเฉพาะอย่างย่ิงทางด้านการชลประทาน และแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาติในประเทศไทยด้วยเหตุนี้สมเด็จพระเทพรัตนราชสุ 24 พิธเี ปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จังหวัดชยั ภมู ิ

ดาฯสยามบรมราชกุมารี จึงทรงตัดสินพระทัย เข้าร่วมการอบรมวิทยาการ สมยั ใหม่ด้านการศึกษาข้อมูลระยะไกลทีศ่ ูนย์ศึกษาข้อมลู ระยะไกล (ASIAN INSTITUTE OF TECHNOLOGY CENTER ) สถาบนั เทคโนโลยแี หง่ เอเชยี (ASIAN INSTITUTE OF TECHNOLOGY) หรือท่ีเรียกกันท่ัวไปว่า สถาบัน เอ.ไอ.ที (A.I.T.) เมอื่ เดอื นมถิ นุ ายนพ.ศ.๒๕๒๗ หลกั สตู รทที่ รงศกึ ษานน้ั ประกอบไปดว้ ย ภาคทฤษฎมี กี ารศกึ ษาข้อมลู จากระยะไกลเกย่ี วกบั ระบบคลนื่ แม่เหลก็ ไฟฟา้ ระบบเครื่องมือบันทึกข้อมูลระบบเคร่ืองมือวิเคราะห์ข้อมูลทฤษฎีการ วเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยสายตาและคอมพวิ เตอรภ์ าคปฏบิ ตั มิ กี ารวเิ คราะหข์ อ้ มลู ดว้ ยสายตาในหอ้ งปฏบิ ตั กิ ารและวเิ คราะหด์ ว้ ยคอมพวิ เตอรน์ อกจากนน้ั ยงั มี ภาคสนาม คอื อาการออกไปสนามเพอ่ื รวบรวมขอ้ มลู และศกึ ษาความสมั พนั ธ์ ระหว่างข้อมูลภาพถ่าย ข้อมูลคอมพิวเตอร์และสิ่งท่ีปรากฏจริงบนภาค พื้นดิน พธิ ีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จงั หวดั ชัยภมู ิ 25

ห้องสมุดในทัศนะของขา้ พเจ้า ในมิ่งมงคลสมัยท่ีสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงเจริญพระชนมายุ ๓๖ พรรษาเม่ือปีพุทธศักราช ๒๕๓๔ กระทรวง ศึกษาธิการได้รับพระราชทานพระราชานุญาตให้ด�ำเนินโครงการจัดต้ังห้อง สมดุ ประชาชน“เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตแิ ละเพอ่ื สนองแนวทาง พระราชด�ำริในการส่งเสริมการศึกษาส�ำหรับประชาชนที่ได้ทรงแสดงใน โอกาสต่าง ๆ ในโอกาสที่ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จเป็นองค์ประธานในการ ประชุมสมัชชาสากลว่าด้วยการศึกษาผู้ใหญ่เม่ือวันที่๑๒ มกราคม ๒๕๓๓ ได้ทรงพระราชทานลายพระหัตถ์ เชญิ ชวน และในบทพระราชนพิ นธ์เรอ่ื ง “ห้องสมุดในทศั นะของข้าพเจ้า” ได้ทรง กล่าวว่า “...ความรู้ของมนุษย์เป็นมรดกท่ีตกทอดกันมาแต่โบราณ เม่ือมีการ ประดิษฐ์คิดค้นอักษรข้ึนผู้มีความรู้ก็ได้บันทึกความรู้ของตน สิ่งท่ีตนค้นพบ เป็นการจารึกหรือเป็นหนังสือท�ำให้บุคคลอื่นในสมัยเดียวกัน หรืออนุชน รนุ่ หลงั ไดม้ โี อกาสศกึ ษาทราบถงึ เรอื่ งนนั้ และได้ ใชค้ วามรเู้ กา่ ๆ เปน็ พนื้ ฐาน ท่ีจะหาประสบการณ์คิดค้นสิ่งใหม่ ๆ ท่ีเป็นความก้าวหน้า เป็นความเจริญ สบื ต่อไป...” 26 พธิ เี ปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จังหวดั ชยั ภมู ิ

ภาพเต็มหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวัดชยั ภูมิ พธิ เี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จงั หวัดชยั ภมู ิ 27

ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จังหวัดชยั ภูมิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวัดชยั ภูมิ ได้รับพระราชทาน พระราชานุญาตให้ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดชัยภูมิ เข้าร่วมโครงการจัดต้ังห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เพ่ิมเติมเป็น ล�ำดับที่ ๑๐๗ ตั้งอยู่บนท่ีดิน ณ บริเวณส�ำนักงาน กศน. จังหวัดชัยภูมิ ถนนองค์การบริหารส่วนจังหวัดฯ สาย ๑ ต�ำบลในเมือง อ�ำเภอเมือง จังหวัดชัยภูมิ ได้รับเมตตาจากหลวงพ่อสายทอง เตชะธัมโม เจ้าอาวาส วดั เฉลมิ พระเกยี รติ (วดั ปา่ หว้ ยกมุ่ ) ตำ� บลหนองโพนงาม อำ� เภอเกษตรสมบรู ณ์ จงั หวัดชัยภมู ิ รับเป็นเจ้าภาพทอดผ้าป่าการกุศลเพื่อหางบประมาณก่อสร้างอาคาร ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จังหวัดชัยภูมิ รวมทั้งได้มีเมตตา น�ำพน่ี ้องผู้มจี ิตศรัทธาก่อสร้างอาคารห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จงั หวดั ชยั ภมู ิ จนสำ� เรจ็ เรียบร้อย ในวันท่ี ๒๗ ตุลาคม ๒๕๕๘ คณะกรรมการด�ำเนนิ การก่อสร้างได้เข้า เฝ้าสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ขอพระราชทาน พระราชวโรกาสเข้าเฝ้าทูลละอองพระบาท ทูลเกล้าฯ ถวายแผ่นศิลาฤกษ์ เพ่ือทรงทรงเจิมและทรงพระสุหร่าย เพ่ือเป็นสิริมงคลในการก่อสร้าง ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวัดชัยภมู ิ วันที่ ๑๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๘ จัดพิธีวางศิลาฤกษ์ โดยคุณส�ำเริง เอี่ยมสะอาด รองราชเลขานุการในพระองค์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกมุ ารี และได้รบั พระมหากรุณาธคิ ณุ จากสมเดจ็ พระเทพรตั น ราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี โปรดเกล้าโปรดกระหม่อมเสด็จเปิดอย่าง เปน็ ทางการในวันท่ี ๔ พฤษภาคม ๒๕๖๐ 28 พิธเี ปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จงั หวดั ชยั ภูมิ

สมเด็จพระเทพรตั นราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงพระสุหร่ายและทรงเจมิ แผ่นศลิ าฤกษ์ ในวนั ท่ี ๒๗ ตลุ าคม ๒๕๕๘ เวลา ๐๙.๐๐ น. ณ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี อ�ำเภอหนองก่ี จังหวัดบรุ ีรัมย์ ภาพที่ ๑ ทรงพระสหุ ร่ายและทรงเจมิ แผน่ ศลิ าฤกษ์ พิธีเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี จังหวัดชัยภมู ิ 29

พธิ ีวางศิลาฤกษ์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวดั ชัยภมู ิ วันที่ ๑๙ เดอื น พฤศจกิ ายน พ.ศ. ๒๕๕๘ ภาพท่ี ๒ พธิ ีวางศิลาฤกษห์ ้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จงั หวัดชยั ภมู ิ ภาพท่ี ๓ พธิ วี างศิลาฤกษ์ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จังหวดั ชัยภมู ิ 30 พธิ เี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จังหวัดชัยภมู ิ

ประมวลภาพการกอ่ สร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวดั ชยั ภมู ิ ภาพที่ ๔ ตอกเสาเขม็ ในการก่อสรา้ งห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จังหวัดชยั ภมู ิ ภาพท่ี ๕ การก่อสร้างหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวดั ชัยภมู ิ พธิ เี ปิดหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จงั หวดั ชยั ภมู ิ 31

ประมวลภาพการก่อสรา้ งหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จังหวดั ชยั ภูมิ ภาพที่ ๖ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จงั หวัดชยั ภมู ิ ภาพที่ ๗ การก่อสร้างหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จังหวดั ชัยภมู ิ 32 พธิ เี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี จงั หวัดชัยภูมิ

ประมวลภาพการกอ่ สรา้ งห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จังหวัดชยั ภูมิ ภาพท่ี ๘ การก่อสรา้ งห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จงั หวัดชัยภมู ิ ภาพที่ ๙ การก่อสรา้ งหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จังหวัดชยั ภมู ิ พธิ ีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จังหวัดชยั ภูมิ 33

ประมวลภาพการกอ่ สร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จงั หวดั ชยั ภมู ิ ภาพท่ี ๑๐ การก่อสร้างห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จังหวดั ชยั ภมู ิ ภาพที่ ๑๑ ภาพห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวัดชัยภูมิ ท่เี สรจ็ สมบูรณ์ 34 พิธเี ปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวดั ชยั ภูมิ

การแบ่งสว่ นตา่ ง ๆ ภายใน หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จังหวดั ชยั ภูมิ ภาพที่ ๑๒ ภาพหอ้ งเฉลมิ พระเกยี รติ ภาพท่ี ๑๓ ภาพห้องฉายภาพยนตร์เฉลมิ พระเกยี รติ พิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จังหวดั ชยั ภูมิ 35

การแบง่ ส่วนตา่ ง ๆ ภายใน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวดั ชยั ภมู ิ ภาพท่ี ๑๔ ภาพหอ้ งชัยภูมิ ภาพท่ี ๑๕ ภาพห้องชยั ภมู ิ 36 พิธเี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จงั หวัดชยั ภมู ิ

การแบ่งส่วนต่าง ๆ ภายใน หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จังหวัดชัยภมู ิ ภาพท่ี ๑๖ ภาพห้องพุทธศาสตร์ ภาพที่ ๑๗ ภาพมุมสอ่ื เทคโนโลยที ่ีทันสมัย พธิ ีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จงั หวดั ชยั ภมู ิ 37

การแบง่ ส่วนต่าง ๆ ภายใน ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวดั ชัยภูมิ ภาพท่ี ๑๘ ภาพมุมสร้างสรรค์การเรยี นรเู้ ด็กเยาวชน ภาพท่ี ๑๙ ภาพมุมหนงั สอื ท่วั ไป 38 พธิ เี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” จงั หวดั ชยั ภมู ิ

ชัยภมู ิ เมอื งผกู้ ล้า พญาแล พิธเี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวดั ชยั ภมู ิ 39

ประวัตแิ ละความเป็นมาจงั หวดั ชยั ภมู ิ สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมืองชัยภูมิปรากฏในท�ำเนียบแผ่นดิน สมเด็จพระนารายณ์มหาราชว่าเป็นเมืองขึ้นกับเมืองนครราชสีมา แต่ต่อมา ผู้คนได้อพยพออกไปต้ังหลักแหล่งท�ำมาหากินท่ีอื่น ปีพุทธศักราช ๒๓๖๐ “นายแล”ข้าราชการส�ำนักเจ้าอนุวงศ์เมืองเวียงจันทร์ได้อพยพครอบครัว และบริวารเดินทางข้ามล�ำน้�ำโขงมาต้ังถ่ินฐานอยู่ที่บ้านหนองน้�ำขุ่น (หนอง อีจาน) ซ่ึงอยู่ในบริเวณท้องท่ีอ�ำเภอสูงเนิน จังหวัดนครราชสีมา ปัจจุบัน ปพี ทุ ธศกั ราช ๒๓๖๒ เมอื่ มคี นอพยพเขา้ มาอยมู่ ากขน้ึ นายแลจงึ ไดย้ า้ ยชมุ ชน มาตั้งใหม่ท่บี ้านโนนนำ�้ อ้อม บ้านชลี อง ห่างจากตัวเมอื งชัยภูมิ ๖ กโิ ลเมตร นายแลได้เก็บส่วยผ้าขาวส่งไปบรรณาการเจ้าอนุวงศ์จนได้รับบ�ำเหน็จ ความชอบแต่งตั้งเป็น “ขุนภักดีชุมพล” ปีพุทธศักราช ๒๓๖๕ นายแลได้ ย้ายชุมชนอีกคร้ังหนึ่ง เน่ืองจากท่ีกันดารน�้ำ มาต้ังใหม่ท่ีบริเวณบ้านหลวง ซง่ึ ตง้ั อยรู่ ะหวา่ งหนองปลาเฒา่ กบั หนองหลอด เขตอำ� เภอเมอื งจงั หวดั ชยั ภมู ิ ปจั จุบัน และได้หันมาข้ึนตรงต่อเมอื งนครราชสมี า และส่งส่วยทองคำ� ถวาย แดพ่ ระบาทสมเดจ็ พระนง่ั เกลา้ เจา้ อยหู่ วั ไมย่ อมขน้ึ ตอ่ เจา้ อนวุ งศเ์ วยี งจนั ทร์ อีกต่อไป จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้ายกบ้านหลวงเป็นเมืองชัยภูมิและแต่ง ตง้ั ขุนภักดชี มุ พล (แล) เปน็ “พระยาภักดี ชุมพล” เจ้าเมืองคนแรกต่อมาเจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์ได้ก่อการกบฏยก ทพั เข้ามาหมายจะตกี รงุ เทพมหานคร โดยหลอกหัวเมอื งต่าง ๆ ทเี่ ดินทพั มา ว่าจะมาช่วยกรุงเทพมหานคร รบกับอังกฤษ จนกระทั้งเจ้าอนุวงศ์สามารถ ยดึ เมอื งนครราชสมี าไดเ้ มอื่ ปี พทุ ธศกั ราช ๒๓๖๙ ซง่ึ ตรงกบั รชั สมยั พระบาท สมเด็จพระน่งั เกล้าเจ้าอยู่หัว ครงั้ ต่อมาเมื่อความแตกเจ้าอนุวงศ์เวยี งจันทร์ ได้กวาดต้อนชาวเมืองนครราชสีมาเพื่อน�ำไปยังเมืองเวียงจันทร์เมื่อไปถึงทุ่ง สมั ฤทธ์ิ หญงิ ชายชาวเมอื งทถ่ี กู จบั โดยการนำ� ของคณุ หญงิ โม ภรรยาเจา้ เมอื ง นครราชสมี า ได้ลกุ ฮือขนึ้ ต่อสู่ พระยาภักดชี ุมพล (แล) เจ้าเมอื งชยั ภูมพิ ร้อม 40 พิธเี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จงั หวดั ชยั ภูมิ

ด้วยเจ้าเมอื งใกล้เคยี งได้ยกทัพออกไปสมทบกับคณุ หญงิ โม ตีกระหนาบทัพ เจ้าอนุวงศ์เวียงจันทร์จนแตกพ่ายไป ฝ่ายกองทัพลาวส่วนหนึ่งล่าถอยจาก เมอื งนครราชสมี า เขา้ ยดึ เมอื งชยั ภมู ไิ ว้ และเกลยี้ กล่อมให้พระยาภกั ดชี มุ พล (แล) เข้าร่วมเป็นกบฏด้วย แต่พระยาภักดีชุมพลไม่ยอม เจ้าอนุวงศ์เวียง จันทร์เกิดความแค้น จึงจับตัวพระยาภักดีชุมพลมาประหารชีวิต ที่บริเวณ ใต้ต้นมะขามใหญ่ริมหนองปลาเฒ่า ซ่ึงต่อมาชาวจังหวัดชัยภูมิ ได้ระลึกถึง คุณความดีท่ีท่านมีความซื่อสัตย์และเสียสละต่อแผ่นดิน จึงได้พร้อมใจกัน สรา้ งศาลขนึ้ ณ บรเิ วณนน้ั ปจั จบุ นั ทางราชการไดส้ รา้ งศาลขนึ้ ใหมเ่ ปน็ ศาลา ทรงไทย ชอ่ื ว่า “ศาลาพระยาภกั ดชี ุมพล(แล)” มีรปู หล่อของท่านอยู่ภายใน เป็นท่เี คารพกราบไหว้ และถอื เปน็ ปชู นียสถานศกั ด์สิ ิทธแิ์ ห่งหนง่ึ ของจังหวัด ต้งั ห่างจากศาลากลางจังหวดั ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร ที่ตงั้ และอาณาเขต จังหวัดชัยภูมิตั้งอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือบริเวณใจกลาง ของประเทศ เส้นรุ้งที่ ๑๕องศา๐๕ ลิปดา – ๑๖ องศา ๔๕ ลิปดาเหนือ เส้นแวงท่ี ๑๐๑ ๒๕ ลิปดา – ๑๐๒ องศา ๓๐ ลปิ ดาตะวันออก สูงจากระดบั นำ�้ ทะเล ๖๓๑ ฟตุ ห่างจากกรงุ เทพมหานครโดยทางรถยนต์ ๓๔๒ กโิ ลเมตร พื้นท่ีของจังหวัดรวมทั้งส้ิน ประมาณ ๑๒,๗๗๘.๒๘๗ ตารางกิโลเมตร หรือ ๗,๙๘๖,๔๒๙.๓๗๕ ไร่ คิดเป็นร้อยละ ๗.๖ ของพื้นท่ีทั้งหมดของ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และร้อยละ ๒.๕ ของพ้ืนที่ท้ังประเทศ มีเนื้อท่ี ใหญ่เปน็ อันดบั ๓ ของภาค และใหญ่เป็นอนั ดับ ๘ ของประเทศ มอี าณาเขต ตดิ ต่อกบั จงั หวัดใกล้เคยี ง ดังน้ี ทศิ เหนือ ติดต่อกบั จังหวัดขอนแก่น และเพชรบรู ณ์ ทศิ ตะวนั ออก ติดต่อกบั จังหวดั ขอนแก่น และนครราชสมี า ทศิ ใต้ ตดิ ต่อกบั จงั หวดั นครราชสมี า ทิศตะวันตก ตดิ ต่อกบั จังหวัดลพบุรี และเพชรบูรณ์ พธิ ีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี จงั หวดั ชัยภูมิ 41

ลักษณะภมู ปิ ระเทศ จังหวดั ชัยภมู ิมลี กั ษณะภูมปิ ระเทศเปน็ ทร่ี าบสงู บริเวณตอนกลางของ จังหวดั เป็นพ้นื ทรี่ าบ พื้นทีค่ รง่ึ หนึ่งของจังหวดั เป็นป่าไม้และภูเขา นอกจาก นั้นเป็นที่ราบสูง มีพ้ืนที่ป่าไม้และเทือกเขาตั้งเรียงรายจากทิศตะวันออก สู่ทิศตะวันตก ประกอบด้วย เทือกเขาส�ำคัญคือ ภูเขียว ภูแลนคา และ เทือกเขาพังเหย ด้วยลกั ษณะดงั กล่าว จึงทำ� ให้พ้ืนทจ่ี งั หวดั ถูกแบ่งเปน็ ๒ ส่วน คอื ส่วนเหนอื มอี ำ� เภอหนองบัวแดง อำ� เภอแก้งคร้อ อ�ำเภอบ้านแท่น อ�ำเภอเกษตรสมบูรณ์ อ�ำเภอภูเขียว อ�ำเภอคอนสาร และอ�ำเภอ ภักดีชุมพล ส่วนใต้มีอ�ำเภอเมืองชัยภูมิ อ�ำเภอบ้านเขว้า อ�ำเภอจัตุรัส อ�ำเภอบ�ำเหน็จณรงค์อ�ำเภอเทพสถิต อ�ำเภอหนองบัวระเหว อ�ำเภอ คอนสวรรค์ อ�ำเภอเนนิ สง่า และอ�ำเภอซับใหญ่ 42 พธิ ีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี จังหวัดชยั ภูมิ

“สถานท่เี คารพศรัทธาชาวชัยภูม”ิ อนุสาวรีย์พระยาภักดีชุมพล (แล) ชาวบ้านเรียกว่าอนุสาวรีย์เจ้า พ่อพญาแล ต้ังโดดเด่นเป็นสง่าอยู่ กลางวงเวียนศูนย์ราชการในตัวเมือง ชาวชัยภูมิได้ร่วมกันสร้างข้ึนเพื่อเป็น อนุสรณ์แด่เจ้าพ่อพญาแล เจ้าเมือง คนแรกของจงั หวัดชยั ภมู ิ ศาลเจา้ พอ่ พญาแล ศาลเจ้าพ่อพญาแล ห่างจากตวั เมอื ง ประมาณ ๓ กโิ ลเมตร ตามเส้น ทางสาย ชัยภูมิ – บ้านเขว้า มีแยกขวาเข้าสู่หนองปลาเฒ่า เป็นท่ีสถิตดวง วญิ ญาณของพระยาภกั ดชี มุ พล (แล) และเปน็ ศนู ยก์ ลางทยี่ ดึ เหนยี่ วจติ ใจชาว เมอื งชยั ภมู ิ ทกุ ปจี ะมงี านสกั การะศาลเจา้ พอ่ ในชว่ งเดอื น ๖ กอ่ นวนั วสิ าขบชู า และมีพิธเี ซ่นไหว้ร�ำผฟี ้าถวายเจ้าพ่อเปน็ ประจ�ำ พธิ ีเปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมาร”ี จงั หวัดชยั ภมู ิ 43

แหล่งท่องเทย่ี วจังหวดั ชยั ภมู ิ ปรางคก์ ู่ อำ� เภอเมอื ง จังหวัดชัยภมู ิ “ปรางค์กู่” ตั้งอยู่ท่ี บ้านหนองบัว ต�ำบลใน เมือง “ปรางค์กู่” เป็น ปราสาทหินสมัยขอม ที่มี แผนผังและลักษณะเช่น เดยี วกบั ปราสาทอน่ื ทเี่ ปน็ อโรคยาศาล หรือสถาน พยาบาลทสี่ รา้ งขน้ึ ในพทุ ธ ศตวรรษที่ ๑๘ นั่นคือ มีปรางค์ประธานอยู่ตรง กลาง ๑ องค์ วิหารหรือ บรรณาลยั ดา้ นหนา้ ๑ หลงั ล้อมรอบด้วยก�ำแพงศิลาแลง นอกก�ำแพงตรงมุมทิศตะวันออกเฉียงเหนือ มีสระน�ำ้ ๑ สระ ปรางค์ประธานมีผังเปน็ รูปส่เี หลี่ยมจัตรุ ัส ขนาด ๕ เมตร ย่อมุมไม้สิบสอง ด้านหน้ามีประตู่เข้าออกท�ำเป็นมุขย่ืนออกมา ผนังปรางค์ อกี ๓ดา้ นเปน็ ประตหู ลอกเหนอื ประตหู ลอกดา้ นทศิ เหนอื ยงั คงมที บั หลงั ตดิ อยู่ จำ� หลกั ภาพตรงกลางเปน็ พระพทุ ธรปู ประทบั นงั่ ปางสมาธเิ หนอื หนา้ กาล ซง่ึ จบั ทอ่ นพวงมาลยั ไวด้ ว้ ยมอื ทง้ั สองขา้ ง ดา้ นหนา้ มที บั หลงั เชน่ กนั แตล่ บเลอื น ไปมาก ทช่ี อ่ งประตหู ลอก ดา้ นทศิ เหนอื มพี ระพทุ ธรปู ศลิ าปางสมาธิศลิ ปะแบบ ทวารวดี สูง ๑.๗๕ เมตร ประดิษฐานอยู่โดยเคลื่อนย้ายมาจากท่ีอ่ืน ชาวชัยภูมิให้การเคารพสักการะ มีการจัดงานประจ�ำปีในช่วงกลางเดือน ๕ ของทุกปี 44 พธิ เี ปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมาร”ี จงั หวดั ชัยภูมิ

ใบเสมาบ้านกดุ โง้งอ�ำเภอเมอื ง จังหวดั ชัยภูมิ ใบเสมาบ้านกุดโง้ง เก็บรักษา อยู่ภายในบริเวณโรงเรียนวัดกุดโง้ง ต�ำบลกุดตุ้ม ใบเสมาหินทรายศิลปะ ทวารวดอี ายุราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๒- ๑๕ ท่ีพบเป็นจ�ำนวนมากในบริเวณ รอบ ๆ หมู่บ้าน ได้ถูกน�ำมารวบรวม ไว้ในอาคารอย่างเป็นระเบียบ ส่วน มากมีลักษณะเป็นแผ่นใหญ่ ด้านหน้าจ�ำหลักลายและบางแผ่นมีจารึกอยู่ ที่ด้านหลังด้วย ลวดลายที่ปรากฏเป็นเรื่องราวทางพุทธศาสนา เล่มเรื่อง ชาดก ตอนต่าง ๆ หรอื เปน็ ภาพรปู เคารพ เช่น ภาพพระโพธิสัตว์ประทับยนื บนดอกบวั ภาพพระพทุ ธเจา้ ประทบั นงั่ บนบลั ลงั กใ์ ตต้ น้ โพธิ์ นบั เปน็ กลมุ่ เสมา ท่ีสวยงามแห่งหนง่ึ ในอสี าน พระธาตุหนองสามหมน่ื พระธาตุหนองสามหมน่ื เป็นโบราณสถานทมี่ คี วามส�ำคัญและน่าสนใจ มากแห่งหน่ึงของชัยภูมิ ต้ังอยู่ที่บ้าน แกง้ จากตวั เมอื งชยั ภมู เิ ดนิ ทางไปตาม ทางหลวงหมายเลข ๒๐๑ ผ่านอ�ำเภอ ภูเขียวไปจนถึงบ้านหนองสองห้อง ระยะทางประมาณ ๘๐ กโิ ลเมตร เลย้ี ว ซ้ายเข้าทางหลวงหมายเลข ๒๐๕๕ อีก ๙ กิโลเมตรถึงบ้านแก้งและแยก ซ้าย ไปวัดพระธาตุหนองสามหม่ืน อีกประมาณ ๕ กิโลเมตร พระธาตุ พธิ ีเปิดหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จังหวดั ชัยภูมิ 45

หนองสามหมื่น เรียกชื่อตามหนองน�้ำ ซึ่งอยู่ออกไปทางทิศตะวันตกเฉียง เหนือของวัด เป็นพระธาตุท่ีมีลักษณะสวยงาม และสมบูรณ์ที่สุดองค์หน่ึง ไมป่ รากฏหลกั ฐานวา่ สร้างขนึ้ เมอื่ ใด แตจ่ ากลกั ษณะทางดา้ นสถาปตั ยกรรม และศิลปกรรมท่ีปรากฏเกิดจากการผสมผสานกันระหว่างศิลปะล้านนา ล้านช้าง และอยธุ ยา สันนษิ ฐานว่าสร้างข้นึ ราวพทุ ธศตวรรษท่ี ๒๑-๒๒ ใน สมยั พระไชยเชษฐาธริ าชแห่งราชอาณาจกั ร ถ�ำ้ แก้ว “ถ้�ำแก้ว” ตั้งอยู่ภายในบริเวณวัดถ้�ำแก้ว ลักษณะของถ้�ำคล้ายห้อง โถงลึกเข้าไปในภเู ขา บรรยากาศเยน็ และช้นื ตลอดเวลา มีไฟฟ้าให้แสงสว่าง ภายในถ้�ำ จากปากถ�้ำมีทางเดินลงลึกไปถึงด้านล่าง ซึ่งมีพระพุทธรูป ประดษิ ฐานอยู่ และมหี ินย้อยอยู่ตามผนังถ้�ำ เมอ่ื ต้องแสดงเกดิ เป็นประกาย แวววาวสายงาม การเดินทาจากอ�ำเภอภักดีชุมพล ไปทางทิศเหนือ ๙ กโิ ลเมตร ตามทางหลวง ๒๓๕๙ ถงึ บ้านซับเจริญ มที างเลี้ยงซ้ายไปอีก ๕ กโิ ลเมตร 46 พิธเี ปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลมิ ราชกุมารี” จังหวัดชยั ภมู ิ

วัดศิลาอาสน์ ภพู ระ วดั ศลิ าอาสน์ ภพู ระ ตงั้ อย่ทู บี่ า้ นนาไกเ่ ซา ตำ� บลนาเสยี ว ภายในบรเิ วณ วัดมีเพิงผาหนิ ซ่ึงมภี าพจำ� หลักกลุ่มพระพุทธรปู อันเป็นทม่ี าของช่อื ภพู ระ และเป็นที่เคารพสักการะของชาวบ้านมาช้านานปัจจุบันมีการสร้างหลังคา ครอบไว้ ประกอบดว้ ยพระพทุ ธรปู องคใ์ หญป่ ระทบั นง่ั ขดั สมาธิ หนา้ ตกั กวา้ ง ๕ ฟุต สูง ๗ ฟุต พระหัตถ์ขวาวางอยู่ท่ีพระเพลา พระหัตถ์ซ้ายพาดอยู่ที่ พระชงฆ์(พระหัตถ์อยู่ในท่าตรงข้ามกับปางมารวชิ ัย) เรียกกันว่า พระเจ้าตอ้ื มพี ระพทุ ธรปู หนิ ทราย ขนาดเลก็ สงู ๗ นว้ิ ลกั ษณะเดยี วกนั อกี ๑ องค์ ตง้ั วาง อยดู่ า้ นหนา้ ใกลก้ นั มพี ระพทุ ธรปู อกี ๗ องค์ จำ� หลกั รอบเสาหนิ ทราย ประทบั น่ังเรียงแถว ปางสมาธิ ๕ องค์ ปางเดียวกับพระเจ้าต้ือ ๒ องค์ พระพุทธ รูปเหล่านี้ มพี ทุ ธลกั ษณะเป็นแบบพระพุทธรปู อู่ทอง มีอายอุ ยู่ระหว่างพุทธ ศตวรรษท่ี ๑๘-๑๙ ร่วมสมัยอยุธยาตอนต้น ทุกปีมีงานนมัสการพระพุทธ รปู ทภ่ี ูพระปีละ ๒ คร้ัง ๆ ละ ๓ วัน ในช่วงวนั ข้นึ ๑ คำ�่ เดอื น ๓ และวันข้นึ ๑๓ ค่ำ� เดอื น ๕ ซึ่งมีประเพณกี ารร�ำผฟี ้า เพื่อบวงสรวงในงานเทศกาลช่วง เดอื นเมษายนของทกุ ปี พิธีเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” จังหวัดชัยภมู ิ 47

พระธาตุกุดจอก พระธาตุกุดจอก ตั้งอยู่ที่บ้าน ยางน้อย ต�ำบลบ้านยาง อ�ำเภอ เกษตรสมบูรณ์ประกอบด้วยเจดีย์ก่อ อฐิ ๒ องค์ องค์แรกมีเรอื นธาตุกลวง ภายในมีพระพุทธรูปหินปูนขนาด ใหญ่ และพระพุทธรูปหินทรายปาง มารวิชัย องค์ท่ีสอง เป็นธาตุรูปสอบ ปลายแหลมคล้ายพระธาตุพนม ธาตุเจดีย์องค์น้ี มีฐานสูงประมาณ ๕ ชั้น เปน็ มขุ ยน่ื และเปน็ มมุ สวยงาม ลกั ษณะของธาตทุ งั้ สององคเ์ ปน็ สถาปตั ยกรรม แบบลาว มอี ายุอยู่ในราวพุทธศตวรรษท่ี ๑๙ – ๒๐ ปจั จุบนั มสี �ำนกั สงฆ์อยู่ บรเิ วณพระธาตุ พระธาตกุ ดุ จอก อยหู่ า่ งจากอำ� เภอเกษตรสมบรู ณป์ ระมาณ ๓ กโิ ลเมตร และอยู่ห่างจากเมอื งชัยภมู ปิ ระมาณ ๗๘ กโิ ลเมตร พระพุทธรูปใหญส่ มัยทวารวดี พระพุทธรูปใหญ่สมัยทวารวดี อยทู่ ว่ี ดั คอนสวรรค์ หา่ งจากตวั อำ� เภอ คอนสวรรค์ไปทางทิศตะวันออก ๕ กโิ ลเมตร เปน็ พระพทุ ธรปู หนิ แกะสลกั องค์ใหญ่ศลิ ปทวารวดี สงู ประมาณ ๓ เมตร ชาวบา้ นเรยี กวา่ “หลวงพอ่ ใหญ”่ ประดษิ ฐานในวหิ ารหลงั เลก็ ๆ ใหผ้ คู้ น ได้สักการะ มีใบเสมาหินทรายขนาดใหญ่ จ�ำหลักภาพชาดก เก็บรักษาอยู่ ด้วยหลายชน้ิ รวมทง้ั จารึกอกั ษรมอญ ศตวรรษที่ ๑๔ ด้านนอกยงั มเี สมาทั้ง ทีม่ ีและไม่มลี วดลายวางเรยี งรายอยู่อกี จ�ำนวนมาก 48 พิธเี ปดิ ห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” จงั หวดั ชยั ภูมิ

อุทยานแห่งชาตติ าดโตน น้�ำตกตาดโตน เป็นแหล่งท่อง เ ที่ ย ว ที่ ส� ำ คั ญ ข อ ง จั ง ห วั ด ชั ย ภู มิ ตั้งอยู่ในอุทยานแห่งชาติตาดโตน มีน้�ำไหลตลอดปี เหมาะท่ีจะน่ังพัก ผ่อนชมธรรมชาติและเล่นน้�ำ อยู่ห่าง จากตัวเมืองจังหวัดชัยภูมิไปทางทิศ เหนอื ๒๑ กโิ ลเมตร อทุ ยานแห่งชาตไิ ทรทอง อุทยานแห่งชาติไทรทอง อยู่ใน ท้องท่ีครอบคลมุ ๔ อ�ำเภอ ประกอบ ด้วย หนองบัวระเหว อ�ำเภอเทพสถิต อ�ำเภอภักดีชุมพล และอ�ำเภอ หนองบัวแดง มีอาณาเขตติดต่อกับ อทุ ยานแหง่ ชาตปิ า่ หนิ งามและอทุ ยาน แห่งชาติภูแลนคา เป็นฝืนป่าบนเทือก เขาพังเหย ในช่วงต้นฤดูฝน นอกจาก ผนื ป่าจะเขยี วชอ่มุ ช่มุ ชน้ื ไปด้วยพรรณ ไม้น้อยใหญ่แล้ว ท่นี ่ียังงดงามโดดเด่น ด้วยดอกกระเจียวท่ีผลิบานอยู่เต็ม ท้องทุ่ง เรียกช่ือว่า “ทุ่งบัวสวรรค์” มีน�้ำตกไทรทองที่สวยงาม และมีหน้า ผาให้ทุกคนท้าพสิ จู น์ความเสยี ว เรยี ก ชอ่ื ว่า “ผาหำ� หด” พิธีเปดิ หอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ าร”ี จังหวดั ชัยภมู ิ 49