Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore หนังสือที่ระลึกในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม

หนังสือที่ระลึกในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม

Published by chonthioha_bum, 2020-04-10 04:04:51

Description: หนังสือที่ระลึกในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน“เฉลิมราชกุมารี” อำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม

Search

Read the Text Version

ค�ำนำ� หนงั สอื ทร่ี ะลกึ พธิ เี ปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำ� เภอเมอื งสมทุ รสงคราม จังหวัดสมุทรสงครามเล่มนี้ จัดท�ำข้ึนเพ่ือเป็นท่ีระลึกเนื่องในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ซึ่งได้รับพระราชทาน พระราชานุญาตให้ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัด สมทุ รสงคราม เขา้ รว่ มโครงการจดั ตง้ั หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เพม่ิ เตมิ เปน็ ลำ� ดบั ที่ ๑๐๘ ในโอกาสทสี่ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงพระกรณุ าเสดจ็ พระราชดำ� เนนิ เป็นประธานในพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัด สมทุ รสงคราม ในวนั ศกุ รท์ ่ี ๓ สงิ หาคม ๒๕๖๑ ซงึ่ เปน็ การสนองพระปณธิ านของพระองคท์ สี่ ง่ เสรมิ ใหห้ อ้ งสมดุ เปน็ ศนู ยเ์ รยี นรใู้ นการพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และดำ� รงตนอยใู่ นสงั คมอยา่ งมคี วามสขุ นบั เปน็ พระมหากรุณาธิคุณต่อพสกนิกรชาวจังหวัดสมุทรสงครามเป็นอย่างย่ิง ท่ีพระองค์พระราชทาน โอกาสทางการศึกษาจากแหลง่ เรยี นร้ทู ที่ รงคณุ ค่าแห่งนี้ เน้ือหาในเล่ม ประกอบด้วย พระราชประวัติ พระอัจฉริยภาพ พระราชกรณียกิจ ของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ความเป็นมาของห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม ประวัติวัดช่องลม ประวัติ เจา้ อาวาสวดั ชอ่ งลม และพระเกจอิ าจารย์ แหง่ ลมุ่ แมน่ ำ�้ แมก่ ลอง รวมทงั้ ขอ้ มลู จงั หวดั สมทุ รสงคราม โดยสังเขป ความส�ำเร็จของการก่อตั้งห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมือง สมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม เกิดจากความน้อมส�ำนึกในพระมหากรุณาธิคุณของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และความเมตตาอนุเคราะห์ของบุคคลต่างๆ โดยเฉพาะพระครูสมุทรกิตติวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดช่องลม ต�ำบลบ้านปรก อ�ำเภอเมืองฯ จังหวัด สมุทรสงคราม ที่ได้ให้ความอนุเคราะห์สถานที่และงบประมาณในการก่อสร้าง รวมทั้งหน่วยงาน องค์กร บริษัท ห้างร้านและประชาชน ที่ได้ให้การสนับสนุนในด�ำเนินงาน จึงขอขอบคุณทุกท่าน มา ณ โอกาสนี้ สำ� นักงาน กศน.จังหวัดสมุทรสงคราม

สารบัญ เรอ่ื ง หนา้ ๔ v พระราชประวตั ิ สมเดจ็ พระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมาร ี ๑๔ ๑๘ v พระอัจฉริยภาพ ดา้ นการศึกษา ๒๒ v พระอัจฉริยภาพ ด้านดนตร ี ๒๖ v พระอจั ฉรยิ ภาพ ดา้ นพระราชนิพนธ ์ ๒๘ ๓๖ v ประวัติการเสด็จจงั หวดั สมทุ รสงคราม ๔๐ v หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ ารี” อำ� เภอเมอื งสมุทรสงคราม ๔๒ v ประวตั ิ วดั ช่องลม ๔๕ v ประวตั ิ เจา้ อาวาสวัดชอ่ งลม ๔๖ v ประวตั ิพระเกจอิ าจารย์ลุม่ น้�ำแมก่ ลอง ๔๗ v ขอ้ มลู ทว่ั ไปจังหวดั สมทุ รสงคราม ๔๙ v เทศกาล ประเพณที ่สี �ำคญั ๕๐ v แหล่งท่องเทีย่ วทีส่ �ำคัญ ๕๘ v บรรณานุกรม v ภาคผนวก ๖๓ v รายนามผบู้ รจิ าคทรพั ยส์ ร้างหอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ� เภอเมอื งสมุทรสงคราม จังหวัดสมทุ รสงคราม v คณะผูจ้ ดั ท�ำ

พระราชประวตั ิ

ส มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เสด็จพระราชสมภพเมื่อวันเสาร์ท่ี ๒ เมษายน พ.ศ. ๒๔๙๘ ณ พระท่ีน่ังอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต เป็นสมเด็จพระเจ้าลูกเธอพระองค์ท่ี ๓ ในพระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และสมเด็จพระนางเจ้า สิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ โดยศาสตราจารย์นายแพทย์ หม่อมหลวงเกษตร สนิทวงศ์ เป็นผู้ถวายพระประสตู กิ าล และได้รับการถวายพระนามจากสมเด็จพระสังฆราชเจ้า กรมหลวงวชริ ญาณวงศ์ วา่ สมเดจ็ พระเจา้ ลกู เธอเจา้ ฟา้ สริ นิ ธร เทพรัตนสุดากิติวัฒนาดุลโสภาคย์ พร้อมท้ังประทานค�ำแปล ว่า นางแก้ว อันหมายถึง หญิงผู้ประเสริฐ และมีพระนามที่ ขา้ ราชบริพาร เรยี กท่ัวไปวา่ ทูลกระหมอ่ มนอ้ ย ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 5 อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

เม่ือปี พ.ศ. ๒๕๐๑ พระองค์ทรงเริ่มเข้ารับ การศึกษาระดบั อนุบาลทโี่ รงเรียนจิตรลดา ซึ่งต้งั อยู่ภายใน พระตำ� หนกั จติ รลดารโหฐาน พระราชวงั ดสุ ติ และทรงศกึ ษา ต่อในโรงเรียนจิตรลดาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และ ในปี พ.ศ. ๒๕๑๕ ก็ทรงสอบไล่จบช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลาย ในแผนกศิลปะ ดว้ ยคะแนนสงู สดุ ของประเทศ        หลงั จากน้ัน พระองค์ทรงสอบเขา้ ศึกษาต่อในระดบั อุดมศึกษา ณ คณะอกั ษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณ์มหาวิทยาลยั โดยสามารถท�ำคะแนนสอบเอนทรานซ์เป็นอันดับ ๔ ของประเทศ ซึ่งถือเป็นสมเด็จเจ้าฟ้าพระองค์แรกที่ทรง เข้าศึกษาต่อระดับอุดมศึกษาในประเทศ จนกระท่ัง ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ พระองค์ทรงส�ำเรจ็ การศกึ ษาได้รบั ปริญญา อักษรศาสตรบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ เกียรตินิยม อนั ดบั หน่ึงเหรียญทอง ด้วยคะแนนเฉลย่ี ๓.๙๘ 6 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำ�เภอเมืองสมุทรสงคราม

ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 7 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

พระองค์ทรงเข้าศึกษาต่อในระดับปริญญาโท ด้านจารึกภาษาตะวันออก (ภาษา สันสกฤต และภาษาเขมร) ณ คณะโบราณคดี มหาวิทยาลัยศิลปากร และสาขาภาษาบาลี และ สันสกฤต จาก ภาควิชาภาษาตะวนั ออก คณะอกั ษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวทิ ยาลยั ในระหวา่ งน้ัน มพี ระราชกจิ มากจนทำ� ใหไ้ มส่ ามารถทำ� วทิ ยานพิ นธใ์ นระดบั ปรญิ ญาโทไดพ้ รอ้ มกนั ทง้ั ๒ มหาวทิ ยาลยั พระองค์จึงตัดสินพระทัยเลือกท�ำวิทยานิพนธ์เพ่ือให้ส�ำเร็จการศึกษาท่ีคณะโบราณคดี มหาวิทยาลัย ศิลปากรก่อน โดยทรงท�ำวิทยานิพนธ์หัวข้อเร่ือง “จารึกพบท่ีปราสาทพนมรุ้ง” ทรงส�ำเร็จการศึกษา ได้รับปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต และเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรเม่ือวันที่ ๑๑ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๒๒ หลงั จากนนั้ พระองคท์ รงทำ� วทิ ยานพิ นธ์ หัวข้อเรื่อง “ทศบารมีในพุทธศาสนาเถรวาท” ทรงส�ำเร็จการศึกษาได้รับปริญญาอักษรศาสตร มหาบัณฑิต จากคณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์ มหาวทิ ยาลยั และไดเ้ ขา้ รบั พระราชทานปรญิ ญาบตั ร เมอ่ื วันที่ ๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ 8 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

พระองคท์ รงเขา้ ศกึ ษาตอ่ ในระดบั ปรญิ ญาเอก 9 ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ โดยพระองค์ผ่านการสอบคัดเลือกอย่างยอดเย่ียมด้วย คะแนนเป็นอันดับหน่ึงในบรรดาผู้เข้าสอบทั้งหมด และทรงเป็นนิสิตปริญญาการศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขา พฒั นศึกษาศาสตร์ ร่นุ ที่ ๔ พระองคท์ รงท�ำวิทยานพิ นธ์ ในหวั ขอ้ เรอ่ื ง “การพฒั นานวตั กรรมเสรมิ ทกั ษะการเรยี น การสอนภาษาไทยส�ำหรับนักเรียนช้ันมัธยมศึกษา ตอนปลาย” เน่ืองจากพระองค์ทรงตระหนักว่าสภาพ การเรียนการสอนภาษาไทยน้ันมีปัญหา เพราะนักเรียน ไม่ค่อยสนใจเรียนภาษาไทย มีความรู้ ความสามารถ ทักษะในการเข้าใจ และใช้ภาษาไม่เพียงพอ พระองค์จึง ทรงน�ำเสนอวิธีการสอนภาษาไทยในลักษณะนวัตกรรม เสริมทักษะการเรียนการสอน เพื่อส่งเสริมความสนใจ ในการเรียนภาษาไทยของนักเรียน และเป็นส่ือที่จะ ช่วยให้ครูสอนภาษาไทยได้ง่ายขึ้นพระองค์ทรงสอบ ผ่านวทิ ยานพิ นธ์ อย่างยอดเยี่ยม สภามหาวิทยาลัยอนุมัติ ให้ทรงส�ำเร็จการศึกษาในระดับปริญญาเอก เม่ือวันที่ ๑๗ ตลุ าคม พ.ศ. ๒๕๒๙ ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ อยูห่ วั ภูมิพลอดุลยเดช มพี ระราชดำ� ริว่า สมเดจ็ พระเจ้าลูกเธอ เจ้าฟา้ สริ นิ ธรเทพรตั นสดุ า กติ วิ ฒั นาดลุ โสภาคย์ ทรงไดร้ บั ความสำ� เรจ็ ในการศกึ ษาอยา่ งงดงาม และทรงไดบ้ ำ� เพญ็ พระองค์ให้เป็นประโยชน์แก่ชาติบ้านเมืองเป็นอเนกปริยาย โดยเสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงเย่ียมเยียน ราษฎรในภูมิภาคต่างๆ อยู่เสมอ ในด้านการพัฒนาบ้านเมือง เสด็จพระราชด�ำเนินไปทรงศึกษา และ ชว่ ยเหลอื กิจการโครงการตามพระราชด�ำรทิ ุกโครงการ พรอ้ มทรงรับพระบรมราโชบายมาทรงด�ำเนนิ การ สนองพระเดชพระคุณในด้านต่างๆ นับเป็นการดูแลสอดส่องพระราชกรณียกิจส่วนหน่ึงต่างพระเนตร พระกรรณ ในดา้ นการพระศาสนา มพี ระหฤทยั มน่ั คงในพระรตั นตรยั และสนพระหฤทยั ศกึ ษาหาความรู้ ด้านพระพุทธศาสนา และศาสนาอ่ืนอย่างแตกฉาน ในส่วนราชการในพระองค์น้ัน ก็ได้สนองพระเดช พระคุณในพระราชภารกจิ ทีท่ รงมอบหมายให้ส�ำเรจ็ ลลุ ่วงไปด้วยดี 10 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

สมเด็จพระเจ้าลูกเธอ พระองค์น้ี กอปรด้วยพระจรรยามารยาท เพียบพร้อมด้วยคุณสมบัติ แหง่ ขัตติยราชกมุ ารที กุ ประการ เป็นทีร่ กั ใครน่ บั ถือ ยกยอ่ งสรรเสริญพระเกยี รติคุณกันอยโู่ ดยทวั่ จงึ ทรง พระกรุณาโปรดเกล้าฯ สถาปนาพระอิสริยยศ และพระอิสริยศักด์ิให้สูงข้ึน ให้ทรงรับพระราชบัญชา และสัปตปฎลเศวตฉัตร (เศวตฉัตร ๗ ชั้น) พร้อมทั้ง เฉลิมพระนามตามท่ีจารึกในพระสุพรรณบัฏว่า สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา เจ้าฟ้ามหาจักรีสิรินธร รัฐสีมาคุณากรปิยชาติ สยามบรมราชกุมารี เมือ่ วนั ท่ี ๕ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๒๐ ในการสถาปนาพระอิสริยยศส�ำหรับพระบรมวงศานุวงศ์ฝ่ายใน ตั้งแต่เริ่มต้ังกรุงรัตนโกสินทร์ จนถึงปัจจุบัน การสถาปนาพระยศ “สมเด็จพระ” น้ัน ส่วนใหญ่จะเป็นการสถาปนาพระยศของสมเด็จ พระบรมราชชนนี พระพันปีหลวง สมเด็จพระบรมอัยยิกาเธอ พระวิมาดาเธอ สมเด็จพระเจ้าพี่นางเธอ ในรัชกาลต่างๆ แต่การสถาปนาในคร้ังน้ีถือเป็นครั้งแรกท่ีมีการสถาปนาสมเด็จพระเจ้าลูกเธอเจ้าฟ้า ข้นึ เป็น “สมเดจ็ พระ” จึงเปน็ พระเกยี รติยศทีส่ ูงยิ่ง ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 11 อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงมีพระราชกิจมากมาย ทั้งพระราชกิจที่ทรงสืบสานฯ ต่อจากพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช และ สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิต์พระบรมราชินีนาถ, พระราช กรณยี กจิ เยอื นตา่ งประเทศ, พระราชกรณยี กจิ ประจำ� วนั และ พระราชกรณียกิจทางด้านการศึกษา, ด้านพัฒนา, ด้านศิลป วัฒนธรรม และศาสนา, ด้านสาธารณกุศล, ด้านสาธารณสุข และโภชนาการ, ดา้ นการตา่ งประเทศ, ดา้ นวทิ ยาศาสตร์ และ เทคโนโลย,ี ดา้ นอนุรักษ์สงิ่ แวดลอ้ ม และดา้ นเกษตรกรรม พระราชกร ณียกิจท่ีส�ำคัญของพระองค์ คือ การพัฒนาด้านการศึกษา เนื่องด้วยพระองค์ทรงเป็นนักการศึกษา และโปรดที่จะศึกษาหาความรู้ต่างๆ อย่างจริงจัง ดังนั้น พระราชกรณียกิจเกี่ยวกับการพัฒนาการศึกษาจึงก�ำเนิดข้ึน โดยจัดท�ำเป็นโครงการตามพระราชด�ำริของ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี ดงั น้ี โครงการในประเทศไทย : การพัฒนาเด็ก และเยาวชนในถ่ินทุรกันดาร, การพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ, การพัฒนาก�ำลังคนทางด้านวิทยาศาสตร์ และ เทคโนโลยี, การพัฒนาการศึกษาในชุมชนเมือง, การศึกษาพิเศษเพื่อผู้พิการ, การพฒั นาศูนย์ขอ้ มูล และห้องสมดุ , มูลนธิ ิสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ 12 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

         โครงการระหวา่ งประเทศ : วทิ ยาลยั กำ� ปงเฌอเตยี ล จงั หวดั กำ� ปงธม ราชอาณาจกั รกมั พชู า, ความรว่ มมอื ระหวา่ งราชอาณาจกั รไทย และสาธารณรฐั ประชาธปิ ไตยประชาชนลาว, ความรว่ มมอื ระหว่างราชอาณาจกั รไทย และสหภาพพมา่ ในการพัฒนาเดก็ และเยาวชน, ความรว่ มมือระหว่าง ราชอาณาจกั รไทย และสาธารณรฐั สงั คมนยิ มเวยี ดนามในการพฒั นาเดก็ และเยาวชน, ความรว่ มมอื ระหวา่ งราชอาณาจักรไทย และสาธารณรฐั ประชาชนจนี , ความร่วมมอื ระหว่างราชอาณาจักรไทย และมองโกเลีย, การพัฒนาคุณภาพชีวิตส�ำหรับเด็ก และเยาวชนในภูมิภาคเอเชีย และแปซิฟิก, ทุนการศึกษาพระราชทานส�ำหรับนักเรียนไทยศึกษาต่อในต่างประเทศ, ความร่วมมือกับองค์การ ระหว่างประเทศ ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 13 อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

ด้านพระกอัจาฉรริยศภาึกพ ษา 14 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

พ ระองค์ทรงมีความรู้ทางด้านภาษา บาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ทรงสามารถรับสั่งเป็นภาษาอังกฤษ ภาษาฝร่ังเศส และภาษาจีน และทรงศึกษา ภาษาเยอรมัน และ ภาษาลาตินอีกด้วย ขณะที่ทรงพระเยาว์น้ัน สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงสอน ภาษาไทยแก่พระราชโอรส และพระราชธิดา โดย ทรงอ่านวรรณคดีเรื่องต่างๆ พระราชทาน และ ทรงให้พระองค์ทรงคัดบทกลอนต่างๆ หลาย ตอน ท�ำให้พระองค์โปรดวิชาภาษาไทยต้ังแต่ น้ันมา นอกจากนี้ ยังทรงสนพระทัยในภาษา อังกฤษ และภาษาบาลีด้วย เมื่อพระองค์ทรง เขา้ เรยี นทโ่ี รงเรยี นจติ รลดานน้ั ทรงไดร้ บั การถา่ ยทอด ความร้ทู างดา้ นภาษาท้ังภาษาไทย ภาษาบาลี ภาษาเขมร ภาษาองั กฤษ และภาษา ฝร่ังเศส โดยภาษาไทยนั้น พระองค์ทรงเช่ียวชาญท้ังด้านหลักภาษา วรรณคดี และศิลปะไทย เม่ือทรงจบช้ันมัธยมศึกษาตอนต้น พระองค์พอรู้แน่ว่าอย่างไร ก็คงไม่ได้เรียนแผนกวิทยาศาสตร์ จึงพยายามหัดเรียนภาษาบาลี อ่านเขียน อักษรขอม ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 15 อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

16 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองสมุทรสงคราม

เนื่องจากในสมัยน้ัน ผู้ท่ีจะเรียนภาษาไทยให้กว้างขวาง ลึกซ้ึง จะต้องเรียนท้ังภาษาบาลี สันสกฤต และเขมร ซ่ึงภาษาบาลีน้ัน เป็นภาษาที่พระองค์สนพระทัยตั้งแต่ทรงพระเยาว์ แต่ได้เร่ิมเรียนอย่าง จริงจังในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จนสามารถจ�ำการแยกวิภัตติเบื้อง ตน้ ที่สำ� คญั ได้ และเขา้ พระทัยโครงสรา้ ง และลกั ษณะท่ัวไปของภาษาบาลี ได้ นอกจากน้ี ยงั ทรงเลอื กเรยี นภาษาฝรงั่ เศสแทนการเรยี นเปยี โน เนอื่ งจาก มพี ระราชประสงคท์ จี่ ะอา่ นหนงั สอื ภาษาฝรงั่ เศสทมี่ อี ยใู่ นตหู้ นงั สอื มากกวา่ การซอ้ มเปยี โน ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 17 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

ดพา้ ระนอจั ดฉรนิยภตาพรี 18 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

พ ระองค์ทรงเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านดนตรีไทยผู้หนึ่ง โดยทรงเครื่องดนตรีไทย ได้ทุกชนิด แต่ที่โปรดทรงอยู่ประจ�ำ คือ ระนาด ซอ และฆ้องวง โดยเฉพาะ ระนาดเอก พระองค์ทรงเร่ิมหัดดนตรีไทย ในขณะท่ีทรงศึกษาอยู่ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๒ โรงเรียนจิตรลดา โดยทรงเลือกหัดซอด้วงเป็นเคร่ืองดนตรีชิ้นแรก และได้ทรงดนตรีไทย ในงานปิดภาคเรียนของโรงเรียน รวมท้ังงานวันคืนสู่เหย้าร่วมกับวงดนตรีจิตรลดาของ โรงเรียนจิตรลดาด้วย หลังจากที่ทรงเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ณ คณะอักษรศาสตร์ จฬุ าลงกรณม์ หาวทิ ยาลยั พระองคท์ รงเขา้ รว่ มชมรมดนตรไี ทยของสโมรสรนสิ ติ จฬุ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย และคณะอักษรศาสตร์ โดยทรงเล่นซอด้วงเป็นหลัก และทรงเริ่มหัดเล่น เครอ่ื งดนตรไี ทยชิน้ อ่นื ๆ ดว้ ย ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 19 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

ในขณะทที่ รงพระเยาว์ เครอื่ งดนตรที ท่ี รงสนพระทยั นนั้ ไดแ้ ก่ ระนาดเอก และซอสามสาย ซึ่งพระองค์ทรงเริ่มเรียนระนาดเอกอย่างจริงจังเมื่อปี พ.ศ.๒๕๒๘ หลังจากการเสด็จทรงดนตรีไทย ณ บ้านปลายเนิน ซึ่งเป็นวังของ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอเจ้าฟ้าจิตรเจริญกรมพระยานริศรานุวัดติวงศ์ โดยมี ครูสิริชัยชาญ พักจ�ำรูญ เป็นพระอาจารย์ พระองค์ทรงเร่ิมเรียนตั้งแต่ การจับไม้ระนาดการตีระนาดแบบต่างๆ และท่าทีประทับขณะทรงระนาด และ ทรงเริ่มเรียนการตีระนาดตามแบบแผนโบราณ กล่าวคือ เริ่มต้นด้วยเพลงต้น เพลงฉงิ่ สามชนั้ แลว้ จงึ ทรงตอ่ เพลงอน่ื ๆ ตามมา ทรงทำ� การบา้ นดว้ ยการไลร่ ะนาด ทุกเช้าหลังจากบรรทมต่ืนภายในห้องพระบรรทม จนกระท่ัง พ.ศ. ๒๕๒๙ 20 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

พระองค์จึงทรงบรรเลงระนาดเอกร่วมกับครูอาวุโสของวงการดนตรีไทย หลายทา่ นตอ่ หนา้ สาธารณชนเปน็ ครงั้ แรก ในงานดนตรไี ทยอดุ มศกึ ษา ครงั้ ท่ี ๑๗ ณ มหาวทิ ยาลยั เชียงใหม่ โดยเพลงทท่ี รงบรรเลง คือ เพลงนกขมนิ้ (เถา) ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 21 อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

ดา้ นพพรระะอัจรฉาริยชภานพ พิ นธ์ 22 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

พ ระองค์โปรดการอ่านหนังสือ และการเขียนมาต้ังแต่ทรงพระเยาว์ รวมกับพระปรีชา สามารถทางด้านภาษาทั้งภาษาไทย และต่างประเทศ ร้อยแก้ว และร้อยกรอง ดังนั้น จึงทรงพระราชนิพนธ์หนังสือประเภทต่างๆ ออกมามากกว่า ๑๐๐ เล่ม ซ่ึงมีหลายหลาก ประเภทท้ังสารคดีท่องเท่ียวเมื่อเสด็จพระราชด�ำเนินเยือนต่างประเทศ เช่น เกล็ดหิมะ ในสายหมอก ทศั นะจากอนิ เดยี มนตร์ กั ทะเลใต้ ประเภทวชิ าการ และประวตั ศิ าสตร์ เชน่ บนั ทกึ เรอื่ ง การปกครองของไทยสมยั อยุธยา และตน้ รัตนโกสนิ ทร์ กษตั รยิ านุสรณ์ หนงั สอื ส�ำหรบั เยาวชน เช่น แกว้ จอมแกน่ แกว้ จอมซน หนงั สอื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั พระบรมวงศานวุ งศไ์ ทย เชน่ สมเดจ็ แมก่ บั การศกึ ษา สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีกับพระราชกรณียกิจ พระราชจริยาวัตรด้านการศึกษา ประเภทพระราชนิพนธ์แปล เช่น หยกใสร่ายค�ำ ความคิดค�ำนึง เก็จแก้วประกายกวี และ หนังสือท่ัวไป เช่น นิทานเรื่องเกาะ (เรื่องนี้ไม่มีคติ) เร่ืองของคนแขนหัก เป็นต้น และมีลักษณะ การเขียนท่ีคล้ายคลึงกับ พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว กล่าวคือ ในพระราชนพิ นธเ์ รอื่ งตา่ งๆ นอกจากจะแสดงพระอารมณข์ นั แลว้ ยงั ทรงแสดงการวพิ ากษ์ วจิ ารณ์ ในแงต่ า่ งๆ เป็นการแสดงพระมตสิ ว่ นพระองค์ นอกจากพระนาม “สิรินธร” แล้ว พระองค์ยังทรงใช้นามปากกาในการพระราชนิพนธ์ หนงั สอื อกี ๔ พระนามได้แก่ “กอ้ นหนิ ก้อนกรวด” เป็นพระนามแฝง ท่ีทรงหมายถึง พระองค์ และพระสหาย สามารถ แยกได้เป็น ก้อนหิน หมายถึง พระองค์เอง ส่วน ก้อนกรวด หมายถึง กุณฑิกา ไกรฤกษ์ พระองค์ มีรับสั่งถึงพระนามแฝงนี้ว่า “เราตัวโตเลยใช้ว่า ก้อนหิน หวานตัวเล็ก เลยใช้ว่า ก้อนกรวด รวม กันจึงเป็น “ก้อนหิน-ก้อนกรวด” นามปากกานี้ ทรงใช้คร้ังเดียวตอนประพันธ์บทความ “เร่ืองจาก เมืองอสิ ราเอล” เมือ่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๐ ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 23 อำ�เภอเมืองสมุทรสงคราม

“แว่นแก้ว” เป็นชื่อที่พระองค์ทรงตั้งข้ึนเอง ซึ่งพระองค์มีรับส่ังถึงพระนามแฝงน้ีว่า ช่ือแว่นแก้ว น้ีต้ังเอง เพราะตอนเด็กๆ ชื่อลูกแก้ว ตัวเองอยากชื่อแก้ว ท�ำไมถึงเปลี่ยนไป ไม่รู้เหมือนกัน แล้วก็ชอบเพลงน้อยใจยา นางเอกช่ือ แว่นแก้ว พระนามแฝง แว่นแก้วน้ี พระองค์เร่ิมใช้ เมื่อปีพ.ศ. ๒๕๒๑ เม่ือทรงพระราชนิพนธ์ และทรงแปลเรื่องส�ำหรับเด็ก ได้แก่ แก้วจอมซน แก้วจอมแกน่ และขบวนการนกกางเขน “หนูน้อย” พระองค์มีรับสั่งถึงพระนามแฝงน้ีว่า “เรามีช่ือเล่นท่ีเรียกกันในครอบครัว วา่ น้อย เลยใชน้ ามแฝงวา่ หนนู ้อย” โดยพระองค์ทรงใช้เพียงครง้ั เดียวในบทความเรือ่ ง “ปอ๋ งท่รี ัก” ตพี ิมพใ์ นหนงั สือ ๒๕ ปีจิตรลดา เม่อื ปีพ.ศ. ๒๕๒๓ “บันดาล” พระองค์มีรับส่ังถึงพระนามแฝงน้ีว่า “ใช้ว่า บันดาล เพราะค�ำนี้ ผุดขึ้น มาในสมอง เลยใช้เป็นนามแฝง ไม่มีเหตุผลอะไรในการใช้ชื่อน้ีเลย” ซ่ึงพระองค์ทรงใช้ในงาน แปลภาษาอังกฤษเป็นภาษาไทยที่ทรงท�ำให้ส�ำนักเลขาธิการคณะกรรมการแห่งชาติ ว่าด้วย การศึกษาวทิ ยาศาสตร์ และวัฒนธรรมแหง่ สหประชาชาติ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร เม่อื ปพี .ศ. ๒๕๒๖ นอกจากนี้ ยังทรงพระราชนิพนธ์เพลงเป็นจ�ำนวนมาก โดยบทเพลงที่ดัง และน�ำมา ขับร้องบ่อยครั้ง ได้แก่ เพลง ส้มต�ำ รวมทั้ง ยังทรงประพันธ์ค�ำร้องในบทเพลงพระราชนิพนธ์ ในพระบาทสมเดจ็ พระเจ้าอยหู่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดช ได้แก่ เพลงรกั และ เพลงเมนูไข่ 24 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 25 อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

เสดจ็ พระราชดำ� เนินมาทรงศกึ ษาเกี่ยวกบั วงจรชวี ติ สตั วน์ ้ำ� ทะเล และพรรณพืช ดอนหอยหลอด ตำ� บลบางจะเกรง็ ประวตั กิ ารเสด็จจงั หวดั สมทุ รสงคราม วันที่ ๒๔ กมุ ภาพนั ธ์ ๒๕๒๑ เสด็จพระราชด�ำเนินมาวัดอัมพวันเจติยาราม และเสด็จเป็นองค์ประธานงาน เฉลิมพระเกียรติ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ณ อุทยาน พระบรมราชานุสรณ์พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (อุทยาน ร.๒) อ�ำเภออัมพวา จังหวัดสมทุ รสงคราม และเสด็จตอ่ เนอ่ื งมาทุกปีจนถึงปจั จบุ ัน วนั ท่ี ๑๘ มีนาคม ๒๕๒๔ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงยกชอ่ ฟา้ พระอโุ บสถ วดั เพชรสมทุ รวรวหิ ารอำ� เภอเมอื ง สมุทรสงคราม จังหวดั สมทุ รสงคราม วนั ท่ี ๖ มิถุนายน ๒๕๒๙ เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงศึกษาเก่ียวกับวงจรชีวิตสัตว์น�้ำทะเล และพรรณพืช ทบี่ รเิ วณดอนหอยหลอด ต�ำบลบางจะเกร็ง อำ� เภอเมือง จังหวดั สมทุ รสงคราม วันท่ี ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๕ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาเปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำ� เภอบางคนที จังหวัดสมทุ รสงคราม วนั ที่ ๑๘ มถิ นุ ายน ๒๕๓๙ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงเปดิ อาคารเฉลมิ พระเกยี รตอิ าคารทที่ ำ� การเหลา่ กาชาด จังหวัดสมทุ รสงคราม อำ� เภอเมืองสมทุ รสงคราม จงั หวัดสมุทรสงคราม วนั ท่ี ๑๘ มถิ ุนายน ๒๕๓๙ เสด็จทรงเปดิ อาคารเฉลิมพระเกยี รตโิ รงพยาบาลนภาลยั อ�ำเภอบางคนที จังหวดั สมุทรสงคราม วันที่ ๓ กันยายน ๒๕๔๐ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงปลูกป่าโครงการปลูกปา่ ชายเลนบนพ้ืนทนี่ อกชายฝัง่ ทะเล ณ คลองโคน อำ� เภอเมอื งสมทุ รสงคราม จังหวัดสมทุ รสงคราม วันท่ี ๘ กันยายน ๒๕๔๐ เสด็จพระราชดำ� เนนิ เป็นการส่วนพระองค์ มางานพระราชทานเพลิงศพ นายวงษ์ รวมสขุ ณ วดั บางเกาะเทพศกั ด์ิ ตำ� บลแควออ้ ม อ�ำเภออมั พวา จังหวดั สมุทรสงคราม 26 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

ปการระวเสัตดิ ็จ เสด็จเปดิ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำเภอบางคนที เสด็จพระราชดำ� เนนิ เปดิ ห้องสมุดประชาชน“เฉลมิ ราชกมุ าร”ี เม่ือวันที่ ๒๒ กุมภาพนั ธ์ ๒๕๓๕ อำ� เภออัมพวา เมอื่ วันท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ วนั ที่ ๓๑ มกราคม ๒๕๔๑ เสด็จพระราชด�ำเนินมาทรงเปิดอาคารกาญจนาภิเษก อาคารในโครงการ เฉลมิ พระเกยี รติ เนื่องในโอกาสทพี่ ระบาทสมเด็จพระเจา้ อย่หู วั ภูมพิ ลอดลุ ยเดช ทรงครองราชยค์ รบ ๔๐ ปี ณ โรงพยาบาลสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้า วนั ท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๕ เสด็จมาทรงเป็นประธานพิธีเปิดอาคารศาลหลังใหม่ ศาลกรมหลวงชุมพร เขตอุดมศักด์ิ สมุทรสงคราม ณ ดอนหอยหลอด บ้านฉู่ฉ่ี ๓/๑๖ หมู่ที่ ๔ ตำ� บล บางจะเกร็ง อำ� เภอเมืองสมทุ รสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม วนั ท่ี ๑๙ กรกฎาคม ๒๕๔๕ เสดจ็ มาทรงเปิดพิพธิ ภัณฑบ์ า้ นเขาย่ีสาร อ�ำเภออมั พวา จังหวัดสมุทรสงคราม วันท่ี ๕ ตุลาคม ๒๕๔๕ เสดจ็ เปน็ การสว่ นพระองค์ ณ บา้ นเขายส่ี าร อำ� เภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม วันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๔๙ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงตดิ ตามความคบื หนา้ โครงการอมั พวาชยั พฒั นานรุ กั ษ์ อ�ำเภออมั พวา จงั หวัดสมุทรสงคราม วนั ท่ี ๒๑ ธนั วาคม ๒๕๕๑ เสด็จพระราชด�ำเนินทรงเปิดโครงการอัมพวาชัยพัฒนานุรักษ์ อ�ำเภออัมพวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม วันท่ี ๑๙ มิถนุ ายน ๒๕๕๒ เสด็จพระราชด�ำเนินมายังเรือนจ�ำกลางสมุทรสงคราม ทรงเปิดห้องสมุด พร้อมปัญญา เรือนจ�ำกลางสมุทรสงคราม อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัด สมุทรสงคราม วนั ท่ี ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ เสดจ็ เปดิ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำ� เภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม วันที่ ๑๔ สงิ หาคม ๒๕๕๕ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงเปิด อาคารอิศรสุนทร โรงพยาบาลสมเด็จพระพทุ ธเลศิ หล้า และทรงปลกู ต้นจิกทะเล จำ� นวน ๑ ต้น วันที่ ๑๔ สิงหาคม ๒๕๕๕ เสดจ็ พระราชดำ� เนนิ มาทรงเปดิ อาคารศาลากลางจงั หวัดสมุทรสงคราม วันท่ี ๒๒ พฤษภาคม ๒๕๕๙ เสด็จพระราชด�ำเนินเป็นการสว่ นพระองค์ มางานพระราชทานเพลงิ ศพ นายณรงค์ แกว้ อ่อน ณ วัดบางเกาะเทพศกั ดิ์ ตำ� บลแควออ้ ม อ�ำเภออัมพวา จงั หวัดสมทุ รสงคราม วนั ที่ ๒๘ มนี าคม ๒๕๖๐ ทรงน�ำคณะทูตานุทูต พร้อมคู่สมรส จาก ๓๐ ประเทศ เยี่ยมชมโครงการ ของมลู นิธิชยั พัฒนา ณ โครงการอมั พวาชัยพัฒนานุรักษ์ ตลาดนำ้� อัมพวา ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 27 อำ�เภอเมืองสมุทรสงคราม

ห้องสอม�ำุดเปภรอะเชมาอื ชงนสม“ทุเฉรสลงิมครราาชมกุมาร”ี เ ม่ือวนั ท่ี ๒๙ มกราคม ๒๕๓๔ คณะรัฐมนตรไี ด้มีมติให้กระทรวงศกึ ษาธกิ ารโดย กรมการศึกษานอกโรงเรียนจัดสร้างห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เพอื่ เฉลมิ พระเกยี รตสิ มเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ทรงเจรญิ พระชนมายุ ๓๖ พรรษาในปี พ.ศ. ๒๕๓๔ เพ่ือสนองพระราชปณิธาน และแนวทางพระราชด�ำริในการ ส่งเสริมการศึกษาส�ำหรับประชาชนตามที่ทรงแสดงไว้ในโอกาสต่างๆ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เม่ือวันที่ ๑๒ มกราคม ๒๕๓๓ ไดเ้ สด็จเป็นองค์ประธานในการประชุมสมัชชาโลกสภาสากล ว่าด้วยการศึกษาผู้ใหญ่ครั้งที่ ๔ ณ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชได้ทรงพระราชทาน ลายพระหัตถไ์ ว้ 28 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

“หเอ้ฉงลสิมมรุดาชปกรุมะชาารชี” น ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม เป็น ห้องสมุดท่ีกระทรวงศึกษาธิการได้รับพระราชทานพระราชานุญาตจาก สมเด็จ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ใหจ้ ัดต้ังขนึ้ ตามโครงการจดั ตั้งห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” เพื่อเฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกมุ ารี ในวโรกาสทท่ี รงมพี ระชนมายุ ๓ รอบพระนกั ษตั ร ในปพี .ศ. ๒๕๓๔ โดยสำ� นกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั ไดป้ ระกาศจดั ตงั้ หอ้ งสมดุ ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำ� เภอเมอื งสมทุ รสงคราม จงั หวดั สมทุ รสงคราม เป็นล�ำดับที่ ๑๐๘ ของประเทศตามประกาศส�ำนักงาน กศน. ลงวันที่ ๑๑ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๕๘ ต้ังอยู่บนท่ีดินธรณีสงฆ์ของวัดช่องลม ต�ำบลบ้านปรก อ�ำเภอเมือง สมทุ รสงคราม จงั หวดั สมทุ รสงคราม จำ� นวนเน้ือที่ ๓ งาน โดยพระครสู มุทรกิตติวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดช่องลม เป็นผู้มอบท่ีดิน และค่าใช้จ่ายจ�ำนวน ๑๗ ล้านบาทเศษ จัดสร้างห้องสมุดให้เป็นประโยชน์ต่อเด็ก เยาวชน ประชาชน พระภิกษุ สามเณร ชาวจงั หวดั สมทุ รสงคราม เมอื่ วนั พธุ ท่ี ๖ มกราคม ๒๕๕๙ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี พระราชทาน พระราชวโรกาสใหน้ างสาวจิตรา พรหมชุตมิ า ผู้วา่ ราชการจังหวัดสมุทรสงคราม พร้อมด้วยคณะ ประกอบด้วย พระครูสมุทรกิตติวัฒน์ เจา้ อาวาสวดั ชอ่ งลม นายพสิ ฐิ เสอื สมงิ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สมทุ รสงคราม นายชนะ อินทรโชติ นายกองค์การบริหารส่วนต�ำบลบ้านปรก และนางสาวกษมา โรจนนิล ผู้อ�ำนวยการส�ำนักงาน กศน. จังหวัดสมุทรสงคราม เข้าเฝ้าทูลละออง พระบาททูลเกล้าทูลกระหม่อม ถวายแผ่นศิลาฤกษ์เพ่ือทรงเจิม และทรงพระสุหร่าย ส�ำหรับน�ำไปประกอบพิธีวางศิลาฤกษ์ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอ เมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม เวลา ๑๕.๐๐ น. ณ ศาลาดุสิดาลัย สวนจติ รดา กรุงเทพมหานคร ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 29 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

ห“เ้อฉงลสมิ มรุดาชปกรุมะชาารชี”น “เฉลพมิ ิธรวี าาชงกศุมิลาารฤ”ี กอษำ�์ เหภ้อองเสมมอื ดุงปสรมะทุ ชราสชงนคราม วันท่ี ๖ มกราคม ๒๕๕๙ เวลา ๑๗.๐๙ น. จังหวัดสมุทรสงคราม ได้ประกอบพิธี วางศิลาฤกษ์ ห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัด สมทุ รสงคราม โดยมี นางสาวจติ รา พรหมชตุ มิ า ผวู้ า่ ราชการจงั หวดั สมทุ รสงคราม เปน็ ประธาน ประกอบพธิ ี พรอ้ มด้วยนายอ�ำพล อังคภากรณ์กลุ และนางกานต์เปรมปรดี ์ ชติ านนท์ รองผู้ว่า ราชการจงั หวดั สมทุ รสงคราม นายพสิ ฐิ เสอื สมงิ นายกองคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั สมทุ รสงคราม และหวั หนา้ สว่ นราชการ รวมทง้ั ผบู้ รหิ าร และบคุ ลากรของสำ� นกั งาน กศน. จงั หวดั สมทุ รสงคราม เขา้ ร่วมพิธี 30 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

ห“เ้อฉงลสิมมรดุ าชปกรมุ ะชาารชี” น ชั้นบน ๑.แบง่ เปน็ ๔ ห้อง และ ๑ มุม คอื หอ้ งเฉลิมพระเกียรติสมเดจ็ พระเทพรัตนราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี เปน็ หอ้ งทร่ี วบรวมพระราชนพิ นธข์ องสมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี รวมทง้ั ผลงานดา้ นฝพี ระหัตถ์ เปน็ ห้องสว่ นพระองค์ส�ำหรับทรงงาน ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 31 อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

“หเ้อฉงลสิมมรุดาชปกรุมะชาารช”ี น ๒. ห้องเกจิอาจารย์ลุ่มแม่นำ้� แม่กลอง เป็นห้องที่บ่งบอกถึงความศรัทธาใน “บวรพุทธศาสนา” ของคน สมุทรสงครามที่ด�ำรง และสืบทอด มาเป็นระยะเวลาอันยาวนานโดยได้รวบรวม พระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงในลุ่มแม่น้�ำแม่กลอง ซ่ึงปั้นจากเรซินให้เป็นรูปหุ่น เสมือนจริง จำ� นวน ๙ องค์ ไดแ้ ก่ หลวงพอ่ แกว้ หลวงพอ่ บา่ ย หลวงพ่อคง หลวงปใู่ จ หลวงพอ่ เนอื่ ง หลวงพ่อคล่ี หลวงพอ่ รักษ์ หลวงปู่หยอด และพระครสู มุทรทิวากรคุณ ๓. ห( อ้บงญุ พชรอะคบรสสู มุขทุวณรกโฺ ติณตวิ)ฒั น์ เป็นหอ้ งท่ีแสดงประวัติ และ ผลงานของ พระครูสมุทรกิตติวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดช่องลม ซึ่งเป็นผู้มอบที่ดิน และค่าใช้จ่ายในการจัดสร้างห้องสมุด ประชาชน “เฉลมิ ราชกมุ าร”ี อำ� เภอเมอื ง สมุทรสงคราม จงั หวดั สมุทรสงคราม 32 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

“หเอ้ฉงลสิมมรดุาชปกรุมะชาารช”ี น ๔. ห้องเล่าเรื่องเมืองปลาทู เป็นห้องที่จัดแสดงนิทรรศการเรื่องราวเกี่ยวกับ ปลาทูซ่ึงเป็นหนึ่งในของดีเมืองแม่กลอง เป็นท่ีมาของค�ำว่า “หนา้ งอ คอหัก” สญั ลักษณป์ ลาทูแมก่ ลอง มุมแมก่ ลอง เมืองแหง่ สายน้ำ� เปน็ สว่ นทีอ่ ยดู่ ้านหนา้ หอ้ งเฉลมิ พระเกียรติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกุมารี เปน็ ส่วนที่จัดแสดงวถิ ชี ีวิตของคนแมก่ ลองท่ผี กู พนั กับสายนำ้� โดยเฉพาะในเร่ืองของการใช้เรอื สัญจร และประกอบอาชพี ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 33 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

ห“เ้อฉงลสิมมรดุาชปกรุมะชาารช”ี น การแบง่ ส่วนชน้ั ล่าง พน้ื ที่ช้นั ลา่ งของหอ้ งสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำ� เภอเมอื งสมทุ รสงคราม จังหวัดสมุทรสงครามได้จัดสัดส่วนของมุมต่างๆ เพ่ืออ�ำนวยความสะดวกของผู้มาใช้ บริการ ประกอบด้วย พื้นที่ส�ำหรับอ่านหนังสือท่ัวไป มุมเด็ก และเยาวชน มุมบริการ คอมพวิ เตอรเ์ พ่อื การเรียนรู้ เคาน์เตอร์ให้บรกิ าร ๑. พน้ื ทส่ี ำ� หรบั การอ่าน ได้จัดให้มีพ้ืนที่มากท่ีสุดเหมาะสมกับ กลุ่มเป้าหมายท่ีมาใช้บริการท้ังส่วนตัว กลุ่มเล็ก และกลุ่มใหญ่ เน้นความสะดวกสบายในการอ่าน การศึกษาค้นคว้า การบริการหนังสือทุกประเภท แบ่งตามหมวดหมู่การจัดเก็บระบบทศนิยมของ ดิวอ้ี ๑๐ หมวดหมู่ นอกจากน้ียังมีบริการหนังสือ อา้ งอิง หนังสอื พระราชนพิ นธ์ บริการนิตยสาร และ หนังสือพมิ พ์ 34 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” ๒. มมุ เดก็ และเยาวชน เป็นอีกมุมหนึ่งท่ีเน้นความหลากหลาย อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม ของส่ือการเรียนรู้ทั้งหนังสือ และสื่อเทคโนโลยี อุปกรณ์การเรียนรู้ที่สร้างสรรค์ส�ำหรับเด็กวัยต่างๆ ตามความสนใจ เพอื่ สง่ เสรมิ พื้นฐานนสิ ยั รักการอา่ น ความคิดสร้างสรรค์ และทันต่อเทคโนโลยีเข้าใจวิถี ชีวติ ของสังคมไทย

ห“เอ้ฉงลสิมมรดุ าชปกรมุ ะชาารชี” น ๓. . มมุ คอมพวิ เตอรเ์ พื่อการเรียนรู้ เปน็ มมุ ทจี่ ดั ไวเ้ พอื่ บรกิ ารเครอื่ งคอมพวิ เตอร์ ในการค้นคว้าหาความรูแ้ ก่ผู้ใชบ้ รกิ ารห้องสมดุ ๔. เคานเ์ ตอร์ใหบ้ รกิ าร เปน็ สว่ นในการทำ� งาน และใหบ้ รกิ ารของ บรรณารกั ษ์ เพอ่ื อำ� นวยความสะดวกในการใหบ้ รกิ าร การยืม-คืนหนังสือ และการให้ค�ำแนะน�ำท่ีรวดเร็ว โดยใชเ้ ทคโนโลยมี าใช้ในการบริหารจัดการ ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 35 อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

ประวตั วิ ัดชอ่ งลม วดั ช่องลม ต้ังอยู่ริมฝั่งแม่น�้ำแม่กลองทางด้านซ้าย เลขท่ี ๑๘ หมู่ท่ี ๖ ต�ำบลบ้านปรก อ�ำเภอเมืองสมุทรสงคราม จังหวัดสมุทรสงคราม สงั กัดมหานิกาย คณะสงฆภ์ าค ๑๕ 36 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

วปดั รชะว่อัตงิ ลม v ก�ำหนดเขตอุปจารของวดั วดั ช่องลม มอี าณาเขต และอุปจารย์ของวดั ดังนี้ ด้านทิศเหนือวดั สงู ข้นึ ไปยาว ๘ เสน้ ดา้ นทศิ ใต้ วดั สงู ข้ึนไปยาว ๔ เส้น ทิศตะวนั ออกยาว ๙ เส้น ทศิ ตะวันตก ยาว ๙ เส้น รวมเน้ือทีต่ ้งั วดั จำ� นวน ๓๓ ไร่ ๒ งาน ๔ ตารางวา v ผู้สรา้ งวดั แต่เดิม วัดช่องลม มีนายปาน นายสังข์ ก�ำนันตุ่ม (ไม่ทราบนามสกุล) เป็นผู้ร่วมกันสร้าง โดยไม่ปรากฎว่า สร้างเมื่อ พ.ศ. ใด แตจ่ ากหลักฐานหนงั สอื รับรองสภาพวดั ตั้งวัดเมื่อ พ.ศ. ๒๓๗๓ มพี ระครูพว่ ง เปน็ ผปู้ กครอง ตอ่ มาพระวินัยธรรมแกว้ สมัยนัน้ วัดได้ทรดุ โทรมมาก นายพ่วง นางลยั จงึ ได้ร่วมกบั พระวนิ ัยธรรมแก้ว และสัสดี อ�ำเภอ ชว่ ยกนั บูรณะปฏิสังขรณใ์ หด้ ีขึ้น ต่อมาได้ยา้ ยไปเป็นเจา้ อาวาส วัดพวงมาลัย พระครูบา่ ย เป็นเจา้ อาวาส องค์ต่อมา ได้ร่วมกับประชาชนผู้มีศรัทธาบูรณะปฏิสังขรณ์วัด โดยการสร้างอุโบสถหลังที่ ๒ ซึ่งหลังแรกท่ีดิน พังลงแม่น�้ำอุโบสถก็พังลงไปด้วย สร้างวิหาร ศาลาการเปรียญ และกุฏิสงฆ์ พระปรางค์ และเจดีย์ไห ข้ึนอย่าง มนั่ คงถาวรสืบมาจนทกุ วันน้ี พ.ศ. ๒๔๘๔ จดั งานปิดทองลกู นิมิตแล้วท่านกม็ รณภาพ v ผูป้ ฏสิ ังขรณว์ ดั ต่อมา พระครใู บฎกี าถนอม ไดจ้ ดั การปฏสิ งั ขรณก์ ฏุ สิ งฆ์ และศาลาการเปรยี ญ ซงึ่ ชำ� รดุ ทรดุ โทรม ไดร้ ว่ มมอื กับประชาชนผู้มีศรัทธาในต�ำบลนี้ สร้างโรงเรียนประชาบาลขึ้นแต่ยังไม่ทันเสร็จเรียบร้อย พระครูใบฎีกาถนอม ก็มรณภาพลง ต่อมาพระอธิการพวง สํวโร ได้ด�ำเนินการสร้างต่อจนส�ำเร็จเรียบร้อย และได้สร้างโรงเรียน พระปริยัติธรรมอีกหนึ่งหลัง เป็นท่ีเล่าเรียนศึกษาพระธรรมวินัยของพระภิกษุสามเณร ต่อมา พ.ศ. ๒๕๑๔ พระครูสมทุ รธีรคณุ (พณิ สวุ ณฺโณ ป. ธ. ๖) เป็นเจ้าอาวาส ได้ดำ� เนินการซอ้ื ทด่ี ินเพ่มิ เตมิ อกี ประมาณ ๑๒ ไร่เศษ แลว้ ยา้ ยหมกู่ ฏุ สิ งฆท์ ง้ั หมด มาสรา้ งในทด่ี นิ แหง่ ใหมท่ งั้ หมดดงั ทเ่ี หน็ ในปจั จบุ นั น้ี และดำ� เนนิ การบรู ณะปฏสิ งั ขรณ์ ศาลาการเปรยี ญทรงไทย ปรบั ลานวดั สรา้ งเขอื่ นกนั นำ�้ เซาะตลงิ่ ตอ่ มา พระครสู มทุ รกติ ตวิ ฒั น์ ไดท้ ำ� การกอ่ สรา้ ง ศาลาเอนกประสงค์ เมรุ โรงครัว ห้องน้�ำ-สขุ า และ พ.ศ. ๒๕๔๔ กอ่ สรา้ งอโุ บสถหลังใหม่ ทดแทนหลงั เกา่ ท่ชี �ำรดุ ทรุดโทรมน้�ำท่วมขัง เพราะอุโบสถหลังเก่าอยู่ต�่ำกว่าระดับถนน ย้ายโรงฝึกงาน โรงอาหาร โรงเรียนวัดช่องลม สร้างศาลาทรงไทย บรู ณะกฏุ ิสงฆ์ สรา้ งก�ำแพงแก้วหน้าวัด ขา้ งวัด หน้าโรงเรียนวดั ชอ่ งลม ปรบั ภูมทิ ศั น์ รอบๆ วัด สรา้ งอาคารปฏิบัตธิ รรม และบูรณะสง่ิ ตา่ งๆ ภายในวัดเรือ่ ยมา มีความเปน็ ระเบียบ เขา้ แถว เขา้ แนววดั เจรญิ สวยงามขึ้นตามล�ำดับ ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 37 อำ�เภอเมืองสมุทรสงคราม

ปวดัรชะวอ่ ัตงิลม v ถาวรวตั ถุสำ� หรบั วดั อโุ บสถ ๑ หลงั วิหาร ๑ หลงั ศาลาการเปรยี ญ ๑ หลงั ศาลาอเนกประสงค์ ๓ หลัง กฏุ สิ งฆ์ ๙ หลงั ศาลาฌาปนสถาน-เมรุ ๑ หลงั หอกลอง-ระฆัง ๒ หลัง โรงเรียนพระปรยิ ตั ธิ รรม ๑ หลงั และมี พระพุทธรปู หล่อ ธรรมาสน์เทศน์ เครือ่ งลายครามต่างๆ ได้มีประชาชนผู้มีจติ ศรัทธาร่วมสรา้ ง v ที่ธรณสี งฆข์ องวดั มอี ยู่ ๕ แห่ง มเี น้ือที่ ๒๔ ไร่ ๓ งาน ๗๓ ตารางวา โดยสร้างเปน็ สถานท่ีปฏิบัติธรรม จำ� นวน ๒ แหง่ และให้ประชาชนเช่าปลูกเป็นท่ีอย่อู าศยั v ความเจรญิ และความเสอ่ื มของวดั วัดช่องลมต้ังแต่เร่ิมสร้างมา ก็มีการบูรณะซ่อมแซม และปรับปรุงกันอยู่เสมอ จึงเจริญข้ึนไป ตามลำ� ดับ ประกอบกบั วดั อยู่ติดกับท่โี คจรคาม คือ ติดกบั ริมฝง่ั แม่น้�ำแมก่ ลอง ด้านหน้าติดกบั ถนนใหญ่ มีผู้คนสัญจรไปมาผ่านเสมอ ปัจจุบันนี้ในด้านการศึกษาทางวัดได้มีทั้งโรงเรียนประชาบาล และโรงเรียน พระปริยัตธิ รรม จึงนบั วา่ วดั ชอ่ งลมเจรญิ ขึน้ ตามล�ำดับเรือ่ ยๆ มา v การศกึ ษาของวดั ชอ่ งลม ในด้านการศึกษาพระปริยัติธรรม ทางวัดได้ท�ำการเรียนการสอนพระนวกะในพรรษา และ ได้ส่งเสริมสนับสนุนให้ศึกษาสูงๆ ข้ึนทางด้านบาลี ในด้านการเรียนหนังสือไทย มีโรงเรียนประชาบาล ชื่อโรงเรียนธรรมโชติยานุสรณ์ ต้ังอยู่ในวัด แต่ปัจจุบันได้เปล่ียน ช่ือเป็น โรงเรียนวัดช่องลม (ธรรมโชติ) ได้ท�ำการเรียนการสอนให้แก่กุลบุตรกุลธิดาในท้องถ่ิน ตั้งแต่ชั้นเด็กเล็ก เด็กอนุบาล ช้ันประถมศึกษา ปีที่ ๔-๖ และทางวัดได้สนับสนุนแจกทุนการศึกษา เรียนดีแต่ยากจนเป็นประจ�ำทุกๆ ปี เสมอมา ตั้งแต่ ในอดีตจนถึงปัจจุบัน 38 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม

วปัดรชะวอ่ ัตงิลม v รายนามอดีตเจ้าอาวาสวดั ชอ่ งลม ๑. พระครพู ว่ ง ไมท่ ราบฉายา เปน็ เจา้ อาวาสเรอื่ ยมาถงึ พ.ศ. ๒๔๒๔ ๒. พระครวู ินยั ธรรมแกว้ พรหมสโร พ.ศ. ๒๔๒๔ - ๒๔๓๐ ต่อมายา้ ยไปเปน็ เจา้ อาวาสวดั พวงมาลยั ตำ� บลแม่กลอง อ�ำเภอเมอื ง จังหวดั สมทุ รสงคราม ๓. พระครูบา่ ย ธมมฺ โชโต พ.ศ. ๒๔๓๐ - ๒๔๘๕ ๔. พระครใู บฎีกาถนอม ฐติ ธมโฺ ม พ.ศ. ๒๔๘๕ - ๒๔๙๘ ๕. พระครพู วง สวํ โร พ.ศ. ๒๔๙๘ - ๒๕๑๔ ๖. พระครสู มุทรธรี คุณ (พิณ สวุ ณฺโณ ป.ธ.๖) พ.ศ. ๒๕๑๔ - ๒๕๔๐ ๗. พระครสู มุทรกิตติวฒั น์ (บญุ ชอบ สุขวณโฺ ณ) พ.ศ. ๒๕๔๐ - ปัจจบุ ัน v ระเบยี บ และขนบธรรมเนียมของวดั วัดช่องลม ได้มีการท�ำวัตรสวดมนต์ไหว้พระเช้าเย็นตลอดท้ังปี วันธรรมสวนะขึ้นแรม ๑๔-๑๕ ค่�ำ มีการท�ำสังฆกรรม สวดพระปาติโมกข์ตลอดปี และวันธรรมสวนะ ๘ ค�่ำ ๑๔-๑๕ ค่�ำ มีการท�ำบุญใส่บาตร ถวายสังฆทาน ฟังพระธรรมเทศนา รักษาศีลอโุ บสถตลอดทงั้ ปี v ไวยาวจั กรของวัด นายยู้ สุขไพบลู ย์ ตำ� บลบ้านปรก อ�ำเภอเมืองสมทุ รสงคราม จงั หวัดสมุทรสงคราม ส่วนผลประโยชน์ ของวดั ในอดตี เปน็ หนา้ ท่ีของคณะกรรมการอำ� เภอ เปน็ ผู้จดั ทำ� แตใ่ นปจั จบุ นั คณะกรรมการวดั เปน็ ผู้จดั ทำ� เอง v เกยี รติประวัติวดั พ.ศ. ๒๕๒๔ เป็นวัดพฒั นาตัวอยา่ ง (สมยั พระครสู มทุ รธรี คณุ ) พ.ศ. ๒๕๓๙ เป็นวัดพฒั นาท่มี ีผลงานดเี ด่น (วัดพฒั นาดีเดน่ ) (สมยั พระครสู มทุ รธรี คุณ) พ.ศ. ๒๕๕๒ เปน็ วดั พัฒนาท่ีมผี ลงานดีเดน่ (วัดพฒั นาดีเดน่ ) (สมัยพระครสู มุทรกิตติวัฒน)์ ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 39 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

ประวตั ิเจา้ อาวาสวัดช่องลม ช่ือ พระครูสมทุ รกิตติวฒั น์ ฉายา สุขวณฺโณ อายุ ๕๘ พรรษา ๓๖ วทิ ยฐานะ นกั ธรรมชั้นเอก วดั ชอ่ งลม ต�ำบลบา้ นปรก อ�ำเภอเมอื งสมทุ รสงคราม จังหวัดสมทุ รสงคราม ต�ำแหน่ง เจา้ อาวาสวัดช่องลม เจ้าสำ� นักปฏบิ ัติธรรมประจ�ำจังหวดั สมุทรสงคราม แหง่ ที่ ๕ สถานะเดิม ชื่อ บุญชอบ นามสกุล วรรณยิ่ง เกดิ วนั ศกุ ร์ ขึ้น ๑๒ ค่ำ� เดือน ๕ ปีกนุ วันที่ ๘ เมษายน พ.ศ. ๒๕๐๒ บดิ า นายกวย วรรณยิง่ มารดา นางกมิ เฮยี ะ วรรณยิ่ง บา้ นเลขท่ี ๑๘ หมทู่ ี่ ๖ ตำ� บลบา้ นปรก อำ� เภอเมอื งสมทุ รสงคราม จงั หวดั สมทุ รสงคราม อุปสมบท วนั จนั ทร์ แรม ๕ ค่ำ� เดือน ๘ ปรี ะกา วันที่ ๖ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๒๔ ณ วดั ศรทั ธาธรรม ตำ� บลบางจะเกรง็ อำ� เภอเมอื งสมทุ รสงคราม จงั หวดั สมทุ รสงคราม พระอุปัชฌาย์ พระครสู มทุ รวัฒนากร วัดบางจะเกร็ง ตำ� บลบางจะเกรง็ อ�ำเภอเมอื งสมุทรสงคราม จังหวัดสมทุ รสงคราม พระกรรมวาจาจารย์ พระครูสมทุ รวสิ ุทธวิ งศ์ วัดศรัทธาธรรม ตำ� บลบางจะเกรง็ อำ� เภอเมืองสมุทรสงคราม จงั หวดั สมทุ รสงคราม พระอนุสาวนาจารย์ พระครสู มทุ รทวิ ากรคณุ วัดปากน้�ำ ตำ� บลแควอ้อม อ�ำเภออมั พวา จงั หวัดสมทุ รสงคราม 40 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองสมุทรสงคราม

วปัดรชะวอ่ ัตงิลม วทิ ยฐานะ (๑) พ.ศ. ๒๕๒๖ สอบได้ น. ธ. เอก ส�ำนักเรียนวดั ปากน้�ำ อำ� เภออมั พวา จังหวัดสมทุ รสงคราม (๒) พ.ศ. ๒๕๔๙ สำ� เร็จการศกึ ษามัธยมชั้นปีที่ ๖ ศูนยก์ ารศึกษานอกโรงเรียนจงั หวัดราชบุรี (๓) ความช�ำนาญการ ดา้ นการกอ่ สร้าง/แสดงธรรม/ปาฐกถาธรรม งานปกครอง พ.ศ. ๒๕๓๗ เป็นผู้ชว่ ยเจ้าอาวาสวัดช่องลม พ.ศ. ๒๕๓๗ เปน็ พระกรรมวาจาจารย์ พ.ศ. ๒๕๔๐ เปน็ ผู้รักษาการแทนเจ้าอาวาสวดั ช่องลม พ.ศ. ๒๕๔๐ เปน็ เจ้าอาวาสวดั ชอ่ งลม พ.ศ. ๒๕๔๔ เป็นพระครูสัญญาบัตรเจา้ อาวาสวดั ราษฎร์ชัน้ โท ราชทินนามท่ี พระครสู มทุ รกิตตวิ ฒั น์ พ.ศ. ๒๕๕๕ เป็นพระอุปัชฌาย์ กฎระเบียบกติกาของวดั ๑. ต้องไหวพ้ ระสวดมนต์ ทำ� วตั ร เชา้ -เยน็ นั่งกัมมัฎฐานเจรญิ จิตภาวนา และท�ำกิจวตั ร ๑๐ ประการ ๒. ถ้ามีกิจจ�ำเป็นในการขาดท�ำวตั รเชา้ -เยน็ ต้องแจง้ ให้ทราบดว้ ย ๓. ช่วยกันรักษาความสะอาดภายในบริเวณวัด เสนาสนะตา่ งๆ และท่อี ยู่อาศัยของตน ๔. เมื่อมีความจ�ำเปน็ ที่จะต้องออกนอกวัด และกลบั มาจากกจิ ธรุ ะต้องแจง้ ใหเ้ จา้ อาวาส ทราบทุกๆ ครัง้ ๕. เมื่อเจ้าอาวาสไมอ่ ยู่ ต้องบอกลาพระภิกษทุ ่เี จ้าอาวาสมอบหมาย ๖. เม่ือมีกจิ กรรมในวัดเกดิ ขนึ้ ตอ้ งชว่ ยกันรบั ผิดชอบตามทไ่ี ดร้ ับมอบหมาย ๗. มีการประชมุ พระสงฆ์ภายในวัดทกุ เดือนๆ ละ ๑ คร้งั งานการศึกษา พ.ศ. ๒๕๒๖–๒๕๒๙ เป็นครูสอนพระปริยัติธรรมส�ำนักเรียนวดั ปากนำ้� พ.ศ. ๒๕๓๐ เป็นกรรมการคุมหอ้ งสอบธรรมสนามหลวงจนถงึ ปัจจบุ นั พ.ศ. ๒๕๓๔ เป็นกรรรมการตรวจขอ้ สอบธรรมสนามหลวงจนถึงปัจจุบัน พ.ศ. ๒๕๓๐-๒๕๓๕ เปน็ ครสู อนพระปรยิ ัติธรรมส�ำนักเรยี นวดั บางขนั แตก พ.ศ. ๒๕๓๖ เป็นครูสอนพระปรยิ ัติธรรมสำ� นกั เรยี นวดั ชอ่ งลม พ.ศ. ๒๕๔๐ เปน็ เจา้ สำ� นกั เรียนวัดช่องลม พ.ศ. ๒๕๔๐ เปน็ ผอู้ ุปการะโรงเรียนวัดช่องลม (ธรรมโชต)ิ พ.ศ. ๒๕๕๒ เป็นเจา้ สำ� นกั ปฏิบตั ธิ รรมประจำ� จงั หวดั สมุทรสงคราม แหง่ ที่ ๕ ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” 41 อำ�เภอเมืองสมุทรสงคราม

~ ~ !2ป6ร~ะวตั ิพระเกจอิ าจารยล์ ุ่มแม่นำ้� แม่กลอง v หลวงพอ่ แก้ว วัดพวงมาลยั พระครวู นิ ยั ธรรม (หลวงพอ่ แกว้ พรหมสโร) เปน็ เจา้ อาวาสรปู แรกวดั พวงมาลยั มคี วามเชย่ี วชาญสมถวปิ สั สนากมั มฏั ฐาน มคี นนบั ถอื เปน็ จำ� นวนมากเชอ่ื กนั วา่ ทา่ นสำ� เรจ็ ญาณวิเศษสามารถล่วงรูเ้ หตกุ ารณ์ตา่ งๆ ไดท้ ั้งอดีต ปัจจุบัน และอนาคต ดพวงมาลยั ชื่อเสียงของหลวงพ่อแก้วเป็นที่เล่ืองลือมากในสมัยนั้นในเร่ืองอาคมขลัง เปน็ เจ้าอาวาสรูปแรกวดั พวงมาลยั มีความเชีย่ วชาญ เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกที่ได้ปูพื้นฐานของวัดให้เจริญรุ่งเรืองตกทอดกันต่อมากลายเป็น ชื่อกันว่าท่านสำเร็จญาณวิเศษสามารถล่วงรู้เหตุการณ์ วัดพวงมาลัยท่ีงดงามมั่นคงมาจนทุกวันน้ี เม่ือปี พุทธศักราช ๒๔๑๖ เกิดอหิวาตกโรค สมยั นน้ั ในเร่อื งอาคมขลัง เปน็ เจ้าอาวาสรปู แรกท่ีไดป้ ู ระบาด ชาวบ้านไปขอน�้ำมนต์จากท่านมาอาบ และดื่มกินแล้วหายจากโรคกันมาก ป็นวัดพวงมาลัยที่งดงามมั่นคงมาจนทุกวันนี้ เม่ือปี ชื่อเสียงของท่านก็โด่งดังเลื่องลือไปถึงเจ้าฟ้าเจ้าแผ่นดินในกรุงเทพมหานคร มีเจ้านาย นไปขอนำ้ มนตจ์ ากท่านมาอาบและดื่มกินแล้วหายจาก หลายพระองค์มาเยี่ยมหลวงพ่อแก้ว เช่น พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว าเจา้ แผน่ ดนิ ในกรุงเทพมหานคร มเี จา้ นายหลาย สมเดจ็ พระมหาสมณเจ้ากรมพระยาวชิรญาณวโรรส สมเดจ็ กรมพระยาดำ� รงราชานภุ าพ จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระมหา สมเด็จเจ้าฟ้ากรมพระยาภาณุพันธว์ุ งศว์ รเดช เปน็ ตน้ ดำรงราชานุภาพ สมเดจ็ เจ้าฟา้ กรมพระยาภาณพุ นั ธว์ุ งศ์ สมเดจ็ เจา้ ฟา้ กรมพระยาภาณพุ นั ธว์ุ งศว์ รเดชนนั้ ทรงคนุ้ เคยกบั หลวงพอ่ แกว้ ดชนั้น ทรงคุ้นเคยกบั หลวงพ่อแกว้ เป็นพเิ ศษทรงสร้าง เป็นพิเศษทรงสร้างต�ำหนักไว้ท่ีข้างวัดพวงมาลัย ๑ หลัง เพ่ือเป็นที่พักผ่อนเวลาเสด็จมา ประทบั แตป่ จั จบุ นั ไดถ้ กู รอื้ ไปแลว้ ตามความทรดุ โทรมของกาลเวลาเหลอื แตท่ ดี่ นิ เปน็ มรดก ทนาเวยลาาทเสในดตจ็ รมะากปลู รหภะลาทณับวพุแงตันพป่ธุ์จั ่อจปบุแจั ันจกุบได้วัน้ถไวูกดัดร้กอ้ื รพไะปทวแำลงเว้ปตมน็ามาคลวายัม ตกทอดแกท่ ายาทในตระกลู ภาณพุ นั ธ์ุ ปจั จบุ นั ไดก้ ระทำ� เปน็ พนิ ยั กรรมถวายใหเ้ ปน็ ทธี่ รณี สงฆข์ องวัดพวงมาลัยแล้ว (หลวงพ่อแก้ว พรหมสโร) เป็นเจ้าอาวาสรูปแรกวดั พวงมาลัย มคี วามเชี่ยวชาญ คนนับถือเป็นจำนวนมากเช่ือกันว่าท่านสำเร็จvญหาลณววงิเพศ่อษบสา่ ายมวาัดรถชล่อ่วงลงรมู้เหตุการณ์ นหพงาิวตอ่คากแตตทกก้วอโรเดปคกน็รันะทบต่เี ลา่อดอื่ มงาลกชอื ลามาวายบใเนา้ ปนส็นมไปวยั ัดขนอพนั้ นวในำ้งมมเรนา่อื ลตงัยจ์อาทา เแชเจกมค่ีม่อืงา้ือทดมดน่อง่าังำ�้งขาทนแวาสลี่มมามมมงั สวีก่ ุทมาิทลอวรั่นเยอหัดสปาางคลพงบคน็ วคงหวแมเงมรงลจเพลามขาวา้ม่ะอา้มงจอลบดพขนจายั่า่อล่มื ัวงทยังบกหใาในุก่านินสวธยปวัดมยรแไีพันสคุูปฺมดล.มน้เโนศแว้ปชุท้ัน.รห้ีโ็นร๒ตกาเไสจ๔ทเดยงอม้าร้๔จี่ไคอด่ืับอด๕ราาีตนปป้ากวเมมิหจาีู สน้ลาเวอวตปดังา์เ็นขพชว้าพา่ออ่ รสรงบ่วลวะา่มัดมเยพกชจแิธถ่อิพีอทืองาทุนลไดจมหธาว้าลรา่ภตวยเเิ�ำปง์ษชบปน็ ื่อกลแู่พดวกบรัตังว้้าะรถนเูปซมุกปหึ่งงจยรคนิคกา้ลึ่ณงยแอไใาหปนจ�ำ่งเเงาปภลารนน็ุ่อมย์ ก็โด่งดงั เล่อื งลอื ไปถงึ เจ้าฟา้ เจ้าแผ่นดินในกรหงุ ลเอ่ทพพรมะรหปู าสนมคเดรจ็ พระสงั ฆมรเีาจชา้เจนา้ าวยดั หราลชาบยพธิ เมอ่ื ปพี .ศ. ๒๔๘๑ และงานพทุ ธาภเิ ษกใหญ่ กว้วโรรสเช่นสมเพดรจ็ ะกบรมาทพสระมยเาดด็จำพรรงะราจชุลาจนอุภมาเพกแพ ลทร้าสะบเเจมทก้าเุกจดอิชงจ็าื่อยนเดู่หจวงั า้ตัอัวใฟนถีกมุยท้างุคกั้งคเยรดลังมียทเปพวท่ีสก็นรา่ มันนสะเหจยดดัธา็จสรภรพรามา้ณรงิกะลพุ ทนว้มั ี่สนธหวน์แุ งาิทตศม่์สพีนทุมกธคันณุมาโดกดกเับดหน่ ลเปวน็งพท่ปี่อครางรถวันดบาขาองกงบะรพร้อดมา นักสะสมนิยมพระเครื่อง ท้ังประเภทเคร่ืองรางของขลัง เหรียญหล่อโบราณ พระพิมพ์ รมพระยาภาณพุ ันธุว์ งศว์ รเดชนนั้ ทรงคนุ้ เคพยรกะับผหง ลโดวยงเพฉอ่พแาะกเว้หเรปีย็นญพปิเั๊มศรษูปเทหรมงือสนรห้าลงวงพ่อบ่ายรุ่นแรก ปีพุทธศักราช ๒๔๖๑ ท่ีมี ๑ หลัง เพ่อื เปน็ ทีพ่ ักผอ่ นเวลาเสดจ็ มาประพททุ บัธคแุณตเป่ ดจั่นจในุบดัน้าไนดค้ถงกูกรระ้อื พไันปรแ่ำ� ลลว้ ือตไาปมทค่วัวาลมมุ่ แมน่ �้ำแม่กลอง และภาคกลาง ท่ดี นิ เปน็ มรดกตกทอดแก่ทายาทในตระกลู ภาณุพันธุ์ ปัจจบุ ันไดก้ ระทำเป็น สงฆข์ องวดั พวงม4า2ลัยแอทล�ำีร่ เว้ะภลอึกเพมือิธีเงปสิดมหุท้อรงสสงมคุดราปมระชาชน “เฉลิมราชกุมารี” วงพ่อบา่ ย วัดช่องลม

นเปน็ ท่ีปรารถนา ปวดัรชะว่อตั งิลม ของขลงั เหรยี ญหล่อโบราณ พระพิมพ์ พระผง โดย ราช ๒๔๖๑ ท่มี พี ทุ ธคณุ เดน่ ในด้านคงกระพนั ร่ำลอื รสงคราม v หลวงพ่อคง วัดบางกะพอ้ ม “หลวงพ่อคง ธัมมโชโต” แห่งวัดบางกะพ้อม จังหวัดสมุทรสงคราม ~ เป็นพระเกจิอาคมขลังอีกรูปหน่ึงที่มีวัตรปฏิบัติดีปฏิบัติชอบ ท�ำให้เป็นท่ีเลื่อมใสศรัทธา จากสาธชุ น หลวงพอ่ คงไดร้ บั แตง่ ตงั้ ใหเ้ ปน็ เจา้ คณะตำ� บลบางกะพอ้ ม และแตง่ ตง้ั เปน็ พระ มงคลวุฒาจารย์ อุปชั ฌาย์ ในปพี .ศ. ๒๔๖๔ และทา่ นไดส้ รา้ งวัตถุมงคลหลายชนดิ ดว้ ยกนั เชน่ เหรยี ญรปู บ ทำใหเ้ ปน็ ท่เี ล่อื มใสศรัทธาจากสาธชุ นและคณะ เหมือน หลวงพ่อคงรุ่นแรก สร้างในปี ๒๔๘๔ และเหรียญรุ่น ๒ สร้างในปีพ.ศ. ๒๔๘๖ และแตง่ ตั้งเปน็ พระอปุ ัชฌาย์ ในปพี ุทธศกั ราช และเหรยี ญหลอ่ อรณุ เทพบตุ ร เหรยี ญหลอ่ หนมุ านแบกพระสาวก เหรยี ญรนุ่ แรกของทา่ น เหรยี ญรปู เหมือน หลวงพอ่ คงรนุ่ แรก สร้างในปี สร้างประมาณ ๓,๐๐๐ เหรียญเท่าน้ัน ส่วนเหรียญที่ออกปีพ.ศ. ๒๔๘๖ เรียกว่า ล่อ เหรยี ญปาดตาล มีทั้งเน้ือเงนิ ฉลุลงยา และเนื้อทองแดง รวมทงั้ เหรยี ญอรณุ เทพบุตรเป็น นแรกของทา่ น เนอ้ื โลหะผสม หลอ่ ดา้ นหลงั เรยี บสวย และหนมุ านแบกพระสาวก เปน็ เหรยี ญหลอ่ ในสว่ น อวเม๒สท๔ียง้ัง๘เโห๖ดร่งียเดรญังยี เกปวน็ ่าทรี่ ู้จัก ของพทุ ธคณุ ของเหรยี ญหลวงพอ่ คงนนั้ มคี วามเชอ่ื สบื ตอ่ กนั มาวา่ มพี ทุ ธคณุ ดา้ นคงกระพนั โดยเฉพาะเหรียญรุน่ ปาดตาล ยลขง์ทะอน่าหงัน้ นกนมใาุมดีคราใวพนนาัฒแมอบดนเชกีตา่อื วพสแัดรืบมวะต้แาสอ่อตากา่ใวนรันกาปมมัจาวจตาุ่บลันอมดพี ดถุท้วึงธยสคทถุณ่าานนดเ้าศปนกึ น็ ษพาระ v หลวงปใู่ จ วดั เสด็จ นกเ็ ป็นท่เี ล่ืองลอื กล่าวขาน พระอาจารยจ์ ้ยุ ผเู้ ปน็ หลวงปู่ใจ อินฺทสุวณฺโณ สมณศักดิ์ที่ พระราชมงคลวุฒาจารย์ แห่งวัดเสด็จ มายใหท้ า่ นไป เป็นอมตะเถราจารย์ท่านหนึ่ง ซึ่งเกียรติคุณชื่อเสียงโด่งดังเป็นที่รู้จัก และเคารพศรัทธา จา้ อาวาส จากบรรดาศิษย์ ไม่แพ้อมตะเถราจารย์ท่านใดในอดีต แม้แต่ในปัจจุบัน ด้วยท่านเป็น สรา้ งและพัฒนา พระเถระนกั พฒั นาทมี่ ผี ลงานเปน็ ประจกั ษม์ ากมาย ทง้ั ในสว่ นของการพฒั นาวดั วาอาราม งจงั หวดั สมุทรสงคราม ทม่ี คี วามใหญโ่ ต สวยงาม ตลอดถึงสถานศึกษาต่างๆ อิทธิคุณความเข้มขลังศักด์ิสิทธิ์ด้านพุทธาคมของท่านก็เป็นที่ เลื่องลอื กลา่ วขาน พระอาจารยจ์ ยุ้ ผูเ้ ปน็ พระอปุ ัชฌาย์ เห็นว่า ท่านเป็นผ้มู ีความสามารถ นท่ีร้จู กัพระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชิรญาณโรรส ภูมิปัญญาความรอบรู้ จึงมอบหมายให้ท่านไปดูแลปกครองวัดใหม่ยายอ่ิม ซึ่งเป็นวัด สงฆ์ตามหัวเมอื งใหญ่ ๆ ได้เสด็จมายงั วัดนไ้ี ด้ สรา้ งใหม่ ในฐานะเจา้ อาวาส เมอ่ื หลวงปใู่ จ มาอยไู่ ดท้ มุ่ เทสตปิ ญั ญา กำ� ลงั กาย กำ� ลงั ใจ สรา้ ง และพฒั นาวดั แหง่ น้ี ใหเ้ จรญิ รงุ่ เรอื งตามลำ� ดบั จนเปน็ วดั แหง่ หนง่ึ ของจงั หวดั สมทุ รสงคราม ท่ีมีความใหญ่โต สวยงาม เป็นหน้าเป็นตาของจังหวัด ไม่แพ้ วัดใด ครั้งหนึ่ง สมเด็จ พระมหาสมณเจา้ กรมพระยาวชริ ญาณวโรรส สมเดจ็ พระสงั ฆราชเจ้าฯ วดั บวรนิเวศ เสดจ็ ตรวจการคณะสงฆต์ ามหวั เมอื งใหญๆ่ ไดเ้ สดจ็ มายงั วดั นไ้ี ดป้ ระทานนามวดั เสยี ใหมว่ า่ วดั เสด็จ ดพแจรุฬะมเากม้แจณิตี ่ในปัจจบุ ัน ด้วยทา่ นเป็นพระ v หลวงพอ่ เนอ่ื ง วัดจุฬามณี ววอกกัดงปขกวอู่ใจลงา่าอวาขราานม ตลอดถงึ สถานศกึ ษา หลวงพ่อเน่ือง โกวิโท (พระครูโกวิทสมุทรคุณ) วัดจุฬามณี ต�ำบลบางช้าง พระอาจารย์จุย้ ผู้เปน็ อำ� เภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม เปน็ พระเกจิ อาจารยท์ โ่ี ดง่ ดงั มาก เมอื่ กวา่ ๒๐ ปกี อ่ น ท่านเป็นศิษย์เอก ของหลวงพ่อคง วัดบางกะพ้อม หลวงพ่อแช่ม วัดจุฬามณี จ ผู้สรา้ ง หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ หลวงพ่อเนื่อง ท่านยังได้เรียนวิชาอาคมต่างๆ จากหลวงพ่อแช่ม อง เจ้าอาวาสวัดจุฬามณี และหลวงปู่ใจ วัดเสด็จ ผู้สร้างต�ำนาน ตะกรุดลูกอม อันลือล่ัน ารถ และ ไลเ่ รยี งรายนามอาจารยข์ องหลวงพ่อเนือ่ งแลว้ จงึ ไมต่ อ้ งแปลกใจในความรู้ ความสามารถ อดมาจาก และความเข้มขลังในสายพุทธาคมท่ีหลวงพ่อเน่ืองท่านได้สืบทอดมาจากพระเกจิอาจารย์ า ผูแ้ ก่กลา้ สามารถหลายท่านด้วยกัน งคราม ทมี่ คี วามใหญ่โต สวยงาม ากรมพระยาวชริ ญาณโรรส ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 43 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม องใหญ่ ๆ ไดเ้ สดจ็ มายังวดั นีไ้ ด้

~ !29 ~ ~ !29 ~ พปรระะเวกตั จิ ิ ดว้ ยกนั าราม v หลวงพ่อคล่ี วดั ประชาโฆสิตาราม วชจิ าาโฆโรส)ิตนาราามมเดิม พระครสู มทุ รวิจารณ์ (หลวงพอ่ คล่ี ฐานวิจาโร) นามเดมิ วจิ ารณ์ นามสกุล ค๒ล่ี ฐคาำ่นวเจิดาอื โรน) น๙ามเดมิ ศิริสวัสดิ์ ชาตะเมื่อวันพุธ แรม ๑๒ ค�่ำ เดือน ๙ ปีมะโรง ตรงกับวันที่ ๗ กันยายน ๔แ๗รม ๑๒ ค่ำ เดอื น ๙ ปีพ.ศ. ๒๔๔๗ บิดาชื่อ นายคล้�ำ มารดาชื่อ นางหลง ศิริสวัสด์ิ บ้านปลายโพงพาง รปาลชา๒ย๔โพ๔๗งพาง หม่ทู ี่ ๖ ต�ำบลปลายโพงพาง อำ� เภออัมพวา จังหวดั สมทุ รสงคราม ทา่ นเปน็ เจ้าอาวาส สาหเสนนงดจรมกดลรคังยีาลทุิ์หะมววาบ้ารวกยงถ้าดเัดสพับปนะา้าสงหน็นปเอ่อวมคลรคลาเลทุนะรวาาคารยงายถื่อมสพะมโาง๔พงมเออ่ วคง๓าเาลนรพคกาาอ่ืมาปมงง๔มี ๓ากปี ปกครองวัดประชาโฆสิตาราม เป็นระยะเวลา ๔๓ ปี เป็นพระเกจิเมืองแม่กลอง ปะวน็ ่าเพสรมาัยะวทา่ ี่ทสม่านัยท่ีทา่ น อายุรุ่นราวคราวเดียวกับหลวงพ่อเน่ือง วัดจุฬามณี หลวงพ่อคลี่ เป็นพระที่มี กอ่งดๆีตหในลอาดยตี ๆหลราูปยๆ รปู ความเก่งกลา้ ดา้ นคาถาอาคมมากรูปหนง่ึ แตไ่ ม่คอ่ ยมีคนเขียนประวตั ิลง อาจเปน็ เพราะ ว่าสมัยท่ที ่านมชี ีวิตอยูค่ งไม่อยากเปิดเผยเหมอื นกบั พระเก่งๆ ในอดีตหลายๆ รปู อนยทแรส์งจันทร์ v หลวงพอ่ รกั ษ์ วดั นอ้ ยแสงจนั ทร์ ปน็ เจ้าอาวาส ในปพี ทุ ธศกั ราช พระครูสุธรรมธาดา หลวงพ่อรักษ์ ฐิตธมฺโม ได้รับการแต่งตั้งให้เป็น เจ้าอาวาส ในปีพ.ศ. ๒๔๙๔ ในสมัยที่ท่านมีชีวิตอยู่น้ันท่านจะเน้นงานเผยแผ่ าวาส ในปพี ุทธศักราช พุทธศาสนาอย่างย่ิงมีการฝึกอบรมพระภิกษุ สามเฌรทุกก่ึงเดือน ท�ำวัตรเช้า-เย็น 30 ~ ~ !30 ~ รวมท้ังมีการอบรมศีลธรรมแก่เด็กวัด และนักเรียนโรงเรียนของรัฐ ประชาชน ตามหลักเบญจศีลเบญจธรรม และปีพ.ศ. ๒๕๑๖ ท่านได้ช่วยสอนประชาชน นงานเผยแผ่พทุ ธศาสนาอย่างยิง่ มีการฝึกอบรมพระภิกษุ สามเฌร ในจังหวัดสมุทรสงคราม และจังหวัดใกล้เคียงให้รู้จัก “หลักการนั่งกรรมฐาน” หลวงพอ่ รกั ษ์ ฐติ ธมฺโม เปน็ พระนักพฒั นา และมคี วามรูท้ างดา้ นเวทวทิ ยาอาคม อกี ทั้ง ยแไกดกแ้วช้เ่เผดจ่วพ่ก็รยิญวสุทดัอธแนศลปาะรสนะนักชเาารชอียนนยใโา่นรงงจยเังร่งิหียมวนัดกี ขสาอมรงทุรฝฐัรกึ สปองรบคะรรชามามชพแนลรตะะาจภมังกิหหษลวดักั ุ ใเบกสลญา้เจคมศยี เีลงฌร ปฏิบัติดีปฏิบัติชอบพร้อมด้วยศีลจริยาวัตร ผู้คนเลื่อมใสศรัทธา ปัจจุบันร่างของท่าน ดลแะมลคีะวนาักมรเร้ทู ยี านงดโา้รนงเรียนของรฐั ประชาชนตามหลกั เบญจศลี ยงั คงเก็บรักษาไวใ้ หพ้ ทุ ธศาสนิกชนไดม้ าสักการะอยู่ท่วี ัดนอ้ ยแสงจนั ทร์ รอ้อนมปดรว้ ยะศชลี าจชรนิยใานวัตจรังหผ้คูวนดั สมุทรสงครามและจังหวดั ใกลเ้ คียง v หลวงปหู่ ยอด วดั แกว้ เจริญ พระครสู นุ ทรธรรมกจิ (หลวงปหู่ ยอด ชนิ วโส) ทา่ นไดร้ บั การแตง่ ตง้ั ใหร้ กั ษา บรักษาไวใ้ ห้พุทธศาสนกิ ชน การเจา้ อาวาสวดั แกว้ เจรญิ ตำ� บลเหมอื งใหม่ อำ� เภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม ตง้ั แต่ ปพี .ศ. ๒๔๘๔ เปน็ ตน้ มา จนถงึ แกม่ รณภาพ เมอ่ื พฤหสั บดที ่ี ๑๒ มนี าคม ปพี .ศ. ๒๕๔๑ มรทู้ างด้าน ศีลจรยิ าวตั ร ผู้คน ว้ใหพ้ ุทธศาสนกิ ชน โส) ทา่ นไดร้ ับการแตง่ ต้งั ใหร้ ักษาการเจ้าอาวาสวัดแก้วเจรญิ ตำบล ทธศักราช ๒๔๘๔ เป็นต้นมา จนถึงแกม่ รณภาพ เมือ่ พฤหัสบดที ่ี ๑๒ ผลงานด้านการศึกษา ท่านเป็นเจ้าส�ำนักนักเรียนธรรมช้ันตรี โท เอก วัตถุมงคลของ การศึกษา ทา่ นเป็นเจ้าสำนกั นกั เรียนธรรมชนั้ ตรี โท เอก วัตถมุ งคล หลวงปูห่ ยอดท่ีไดร้ ับความนยิ มอย่างมาก คอื ตะกรุดลูกอมหัวใจโลกธาตุ ไหมเบญจรงค์ าก คือตะกรดุ ลกู อมหัวใจโลกธาตุ ไหมเบญจรงค์ ๕ สี ท่ีไดร้ บั การ ๕ สี ท่ีได้รับการถ่ายทอดวิชามาจาก หลวงปู่ใจ วัดเสด็จ มีอานุภาพทางเมตตา และ วงปใู่ จ วัดเสด็จ มอี านุภาพทางเมตตาและแคล้วคลาดจาก แคลว้ คลาดจากภยนั ตราย เป่ยี มดว้ ยพุทธคุณอนั เขม้ ขลัง เปน็ ท่เี ล่อื งลอื จนถึงทกุ วนั น้ ี รลับือจกนาถรงึ แทุกตว่งนั ตนง้ั้ี ให้รักษาการเจา้ อาวาสวัดแก้วเจริญ ตำบล ๘๔ เป็นต้นมา จนถึงแก่มรณภาพ เมอ่ื พฤหสั บดที ่ี ๑๒ านเปน็ เจ้าสำนักนักเรยี นธรรมชัน้ ตรี โท เอก วัตถุมงคล v พระครูสมทุ รทิวากรคุณ เจ้าอาวาสวดั ปากนำ้� รอุดาวลากูสวอัดมปหากวั นใจ้ำ โลกธาตุ ไหมเบญจรงค์ ๕ สี ทไ่ี ดร้ ับการ พระครสู มุทรทิวากรคณุ ปจั จบุ ัน (พ.ศ. ๒๕๖๑) ดำ� รงตำ� แหนง่ เจา้ อาวาส สนด(พ็จ.ศ.ม๒๕อี ๖า๑น)ุภดาำรพงตทำาแงหเนม่งตตาและแคลว้ คลาดจาก วดั ปากน้ำ� ตำ� บลแควอ้อม อ�ำเภออมั พวา จงั หวดั สมุทรสงคราม และทป่ี รกึ ษาเจ้าคณะ วนั นี้ จงั หวดั สถานะเดมิ ชอื่ วรี ศกั ดิ์ นามสกลุ นม่ิ อยู่เกดิ วนั เสาร์ ขนึ้ ๙ คำ่� เดอื น ๑๐ ปขี าล ตรงกบั วนั ท่ี ๓ กันยายน พ.ศ. ๒๔๘๑ บิดาชอื่ นายบด มารดาชอ่ื นางพร้งิ ที่บ้านเลขที่ ๕๕ หมทู่ ี่๕ตำ� บลแควออ้ มอำ� เภออมั พวาจงั หวดั สมทุ รสงครามบรรพชาเมอื่ วนั ที่๒๔กรกฎาคม พ.ศ. ๒๔๙๖ ทว่ี ดั ปากนำ้� ตำ� บลแควออ้ ม อำ� เภออมั พวา จงั หวดั สมทุ รสงคราม อปุ สมบท เมอื่ วนั ที่ ๔ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๐๑ ทว่ี ัดปากนำ�้ ต�ำบลแควอ้อม อำ� เภออัมพวา จงั หวัด สมทุ รสงคราม พระครสู มุทรทวิ ากรคุณ ทา่ นเปน็ พระอนุสาวนาจารย์ ของพระครสู มทุ ร ากนำ้ กิตติวัฒน์ เจ้าอาวาสวัดช่องลม เป็นพระรูปเดียวในห้องพระเกจิอาจารย์แห่งลุ่มแม่น้�ำ ๑) ดำรงตำแหน่ง แม่กลองทยี่ งั มชี วี ิตอยู่ 44 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกมุ ารี” อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

ขอ้ มลู ท่วั ไปจงั หวัดสมทุ รสงคราม ค วามส�ำคัญของจังหวัดสมุทรสงครามนั้น มีหลายประการ ท้ังในเรื่องประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรม สถานที่ ~ !32 ~ ท่องเท่ียวตามธรรมชาติ การด�ำรงชีวิตไว้ซึ่งวิถีชีวิตแบบไทยๆ และท่ีส�ำคัญเหนืออื่นใด คือ ความส�ำคัญ ตอ่ ประวัติศาสตร์พระราชวงศ์ของไทย   จงั หวดั สมทุ รสงครามเปน็ เมอื งพระราชสมภพของพระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั รชั กาลที่ ๒ และ เปน็ เมอื งของพระราชนิ ขี องไทยถงึ สองพระองค์ คอื สมเดจ็ พระอมั รนิ ทรามาตยใ์ นรชั กาลที่ ๑ และสมเดจ็ พระศรสี รุ เิ ยนทราบ รมราชนิ ี ในรัชกาลท่ี ๒   เมอื งเก่าทเ่ี คยชอ่ื วา่ เมืองแม่กลองนนั้ มีมาตั้งแตอ่ ดีต นานเทา่ ใดไม่ปรากฏหลกั ฐาน~แ!32ต~่เปน็ ชมุ ชนท่มี ีมากอ่ น สมยั สมเดจ็ พระนารายณม์ หาราช เดมิ เปน็ แขวงหนง่ึ ของจงั หวดั ราชบรุ ี เรยี กวา่ สวนนอก ครนั้ ตอ่ มาชว่ งปลายกรงุ ศร]อี ยธุ ยา ตอ่ กับสมยั กรุงธนบุรี จึงแยกออกมาจากราชบุรี เรียกวา่ “เมอื งแม่กลอง” คำขวัญประจำจงั หวดั : มสมี ๓ทุ รอส�ำงเคภรอาสมมคไุทือหรลอสผ�งำา่คเภนรอจามงัเมหเปือวน็งดั จกองัา�ำหญเวภจดั อนเอลบัม็กรุ พีๆรวาทาชอ่ีบแยรุ ลู่หี แะ่าลองะ�ำจสเาภมกอทุกบรรงุาสเงงทคคพนรฯาทคมำีขเมวพเญัปีแยีปน็มรงะแจ่นำ๖มจ้�ำัง๓น่แหวมำ�้ ดั กท่ก: โิย่ีลลงัอเมมงสีเต] ปภร็นานพเี้ สมดมีพมี ือาืน้ นเกมทเือแสี่ งห๔ห้นอง่๑ชยหีว๖หนิตลงึ่อขตใดอานยรงปอาชดรงาละกนิ้วเโิจทจลี่ ังมศเหีอมไทุทวตยัดยราน ร.๒ แมก่ ลองไห อาณาเขตทศิ เหนอื ตดิ ตอ่ กบั จงั หวดั ราชบรุ ี ทศิ ใต้ ตดิ ตอ่ กบั จเมงั ือหงหวอยดั หเลพอดชยรอดบล้ินรุ จี่ี แมอี ลขุทยอะางอนดา่รีป.๒วรไแะทมจก่ ำยลจอังงทไหหศิลวผดัตา่ นะนวมนััสกตารกหลตวงพดิ ่อตบา้อ่ นแกหบัลม จvvงั หคตวำ�รดั าขเปวพรัญชะรปจบรำ� ุร~ะจี จ3!แงั 2ำ�หล~จะวังรดั หาชรวูปบัดกุรเีลมทอือิศงงตลหะออวยยันนหอำ้� ลออกดตยดิ อตดอ่ ลก้ินบั จจี่ มงั อีหทุ วดัยสานมุทรร.๒ขสอางดแ•คีปมรลรเเะ้นิปนก่ จจอ้ืลำลี่สือจขีกงัลอาแหน้ิวขวงหจง็ ดัพี่ไรตอืันหมุ่ ขธคา์คุล่อว่อนนผมวขเล่าปา้ ง็นนเแมผหลลล็ดไนมมเลท้ มเ็กปี่ไดลสับช้ือา่ ่อืกกข•วดอ่าา้างนผลรรเเเาลใน้ิลปนนชหก็กนิจจ้ือลวละผีา้นี่สือมงล้อีขวสกีสไลมวชีายแงยข้ิน้มวขเพอพกปหจง็งู็นล่ีพส่อรมตรมมอืีกนัปูบุทุ่มลกขหธร่ินคลวัาา้สค์ุหใอ่วงอ่จนอ่อคนนมมมรรแวขาสพหเมชลปา้หวอางเาน็ตมดเนแลมิเอื่ผขีหเสมๆล้มลนกุลจด็อ้ืไเัดมมตแเล็มหอท้หเท้ง็กวปอีไ่รีจ่าด่อกละนบน้ชมนผือ่าไีสอื่ำมลกขแีเ่ตวปใดดอิดน่ารงา้งเ้ยีเมชขนผรวลม้่วตาลใด็ างนชกมเนิจดวะีผ้าอื มงลนสสีไมมวีชีนยข้ม เล็กน้อย กลมกล่อมพอดี ๆ ออกผลในช่วงเดอื นมีนาคมถึงเมษายน ของดีประจ�ำจังหวัด !! คำขวัญประจำจงั หวดั : ] • สม้ โอ สม้ โอพนั ธ์ุขาวใหญ่ มีลกั ษณะเด่น คือ ลูกใหญ่ รส! หวานอมเปร้ียวเล็กนอ้ ย มกี ล่ินหอม มีเมลด็ ! น้อย แกะงา่ ย มีนำ้ มาก แต่ไมแ่ ฉะ รับ•ปรสะทม้ าโนอแลสว้ ้มชมุ่โอคอพถนั กู ธใจ์ขุ นากั วชใิมหผญลผ่ มลิตีลมกั ีขษายณตละอเดดท่นัง้ ปคี อื ลูกใหญ่ ร เมืองหอยหลอด ยอดลvนิ้ จ่ี มลอี ุทิ้นยจาน่ี ลร.ิ้น๒จแ่พีม่กันลอธงุค์ ไห่อลมผา่เนปน็นมผสั ลกาไรมหท้ลวไ่ี งดพ่อช้ บอ่ื า้ วนแ่าหรลมาชนิ ีผลไมข้ องสมทุ รสงคราม เมอื่ สกุ เตม็ ทจ่ี ะมสี ีแดน้องยเขแ้มกะงา่ ย มีน้ำมาก แต่ไมแ่ ฉะ รบั ประทานแลว้ ช เปลือกแข็ง ต่มุ คอ่ นขา้ งแหลม เปลือกด้านในจะมสี ีชมพู มกี ล่นิ หอม หวาน เนอ้ื แห้งร่อนไม่ติดเมลด็ ของด•ีปรลเเะิ้นปนจจื้อลำ่ีสอื จขีกงัลาแหิ้นวขวหจ็งัดพี่รตือันมุ่ ขธคาุค์ อ่วอ่ นนมวขเลป้าง vน็ เแมผหลล ล็ดไมมสเตมเลน้ทเา้มเี็กป่ไีมอ้ื มดโลบลช้สออืเ่าื่อลกด็ขีขวดอสก็านา่ า้งนว้มนผร้อาลให้อโยนชกอรนิจยวะพีผือ้าแกมงลกขสันลสีไมวาะชี มธยข้มวงเอ์ขุกพปน่างู็นลาสยมวรมว่อีกูปลทุมลใมหริ่นหีนัวเสพหมใงญ�้ำจออคลมมรรด่ ็ดาสามหมๆีชเกวลีาลเาตมอนกัก็แิเอ่ื ขอษเสต้มนบุกกจณอ้ืไ่ เดั่ามตแผะ็มหขหแ่ลทง้เอวฉใรดีจ่า่อนงะนะน่ นผมนชไีสำลรมว่คีแเต่บัปกงดอื ดิรงเปวเยี้ดเมขลา้วรลม้อืตงูกะด็ าสนทใมวหมายีนญนเาปแ่ ครลน็ สมว้รหถชูปวงึุม่ หเาคมัวนอษใอจา•มถยรเูกปนสใหนชจรมำ้ ยี้าุนต! นาเตววลียกัมเิเนะลขรชพะ็ก้มรหมิ า้ วนจว่างผัดอ้ นเนล้ำยจอื่หผดืงจมวแลาลกากี ติะพนนล้ืนม้ำทนเิน่ คเี่ขี มม็ำ�หอืาเทงยแอปำมใตหมก่รม้ลล้ียะอพงอวเรป~า้ด็นว!3เททม3่นี ือ~้ังม่ีง!ีรปปสาชกี าแตมิหน่ อำ้ มแหลวะา~ตนดิ 3!ผท3ละผเ~ลลิตจจงึ ามกกี มระะพแสร้านว้ำถกู เลก็ น้อย กลมกล่อมพอvดี ๆ นอ้�ำอตกผาลลในมชะว่ งพเดรอื น้ามวีนาเคนม่ือถงึงเจมษาากยพน ้ืนท่ีเมืองแมก่ ลองเปน็ เมืองปากแม่นำ้� และติดทะเล จงึ มกี ระแสน�้ำนำมาผลติ เป็นนำ้ ตาลมะพร้าว เป็นภมู ิปญั ญาพื้นบ้านทถ่ี ่ายทอดกันมานานหลายร้อยปี และได้ สรา้ ง ! หมนุ เวียนระหว่างนำ�้ จดื และน�้ำเคม็ ท�ำใหม้ ะพร้าวท่นี ่มี รี สชาติหอมหชวอ่ื เาสียนงในผด้าลนคผวาลมอิตรจ่อยาโดกง่ ดมังไ!•ะปทพวั่ ร้านวำ้ ตาลมะพร้าว เนอ่ื งจากพืน้ ท่เี มอื งแม่กลองเป ถกู นำ� มาผลติ เป็นนำ้� ตาลมะพร้าว เป็นภูมปิ ัญญาพืน้ บ้านทถี่ า่ ยทอดกนั ม•านปลาานทู ห\"ปลลาาทยแู มรก่ อ้ ลอยง\"ปจ.ีสแมุทลรหสะงมคไรนุดาเม้วียเปน็นรปะลาหทวูร่าสเงลนิศำ้ เนจื้อดื แนแ่นลแะลนะมำ้ คีเความ็มมทนั ำใสใ่เหข่ง้มมะาพในรา้ สร้างชอ่ื เสียงในด้านความอร่อยโด่งดงั ไปทว่ั เนือ้ แน่น และมีความมนั ใส่เข่งมาทรกูปาั้งรปแยบลกาบยท่อ“ูสงหดในแหลา้้เปงะอน็นคส่ึงอุดห•ยอกั ด”รปูแปทหแลร่ี ่งบาสปบทชลูา“าตสทห\"จิ ูเรนปะมชน้า้าลแอื งงือ่ตาำงอทไกมเทคตแูสายอ่ามียผหง่กมจงักลลีชาใ”ออ่ืกตินเงปทสเด\"! ลปร่ีียจา้สางน็ท.ชในสนทูานมคดตอ่ี ทุ้ำา้จิวื่นรนตะาสคจแามงนวตคลาอกกรมมลตารอา่ามะ่อรยงพอ่จเยเปยาปรโ็นกน็ดเ้าปขนปวง่อลอ้ื ลดงานาเดทังมุ่ปทีปทูไูรรรน็อี่ปสสะ่ืนภเจทหลำวจูมิศัว่จานิปังนเกนหญัลม้ือวาดัีจแญยำทนเหปีไ่่นาดน็นพ้รแา่ ขบัลยืน้อะงบม ปลาทู “ปลาทแู มก่ ลอง” จังหวัดสมทุ รสงคราม เปน็ ปลาทูรสเลศิ v • สม้ โอ แสก้มะโอ!งา่พยนั ธมุข์ีนา้ำวมใาหกญ แ่ มตีลไ่ มักทใแ่นษีไ่ฉณรดะะปู้รรเดับับแ่นปบกรคาะบือทรลาย“! นูกกหแใหลยนญ้ว่อช้า่ รมุ่งงสคใอหอหวคถาเ้ ปนูกออใน็จหมนสเกัปักดุชร”ีย้ิมยวทผอเลลีร่ดก็ ผสนแลอ้ิตชหยมาง่ขีมตาปกี ยิจลลต่ินะลาหแอทอดตมูเทมก้ังมปอืตีเมี งา่ลไงด็ ทจยากมปชี ล่ือาเทสูทยี ี่องใ่นื นดจ้านนกคลวาายมเปอน็ร่อขยองเดนีปอ้ื กทรนาง้ั ะรปมุ่ยลจกายท�ำรอู่สจงสดใแหงัหลเ้ ปหะว็นนวสง่ึาุดดันยอดแหง่ ปลาทเู มืองไทย มชี ่อื เสียงในดา้ นความอรอ่ ย เนอ้ื น น้อย มจี ำ� หนา่ ยท้งั ปลาทูสด และนง่ึ นอกจากน้ยี ังมีอาหาร และของกนิ ทีข่ ึ้นชอื่ อีกหลายอยา่ ง เช่น กาละแมรามญั ขนมจาก กะปคิ ลองโคน ขนมจ่ามงกุฎ สูตรชาววงั เปน็ ตน้ l l นอกจากนยี้ ังมอี าหารและของกินที่ขนึ้ ช่อื อกี หลายอย่าง เช่น กะละแมรามญั ขนมจาก ทีร่ ะลึกพกิธะปีเปคิ ลิดองหโค้อนงขสนมมจดุ ่ามปงกรอฎุ ะำ�สชูตเภราชชอาวนเวมนงัl อ“ือกเเปจงฉน็าสตกลน้นมิมีย้ ุทงัรมราีอสาชหงกาครุมแรลาะารขมี”องกนิ ทีข่4ึน้ ช5ื่ออีกหลlายอย่าง เชน่ กะละแมรา กะปคิ ลองโคน ขนมจ่ามงกฎุ สตู รชาววัง เปน็ ต้น !! • นำ้ ตาลมะพร้าว เน่ืองจากพ้นื ทเี่ มืองแม่กลองเปน็ เมืองปากแมน่ ้ำ และติดทะเล จงึ มีกระแสนำ้

สขมอ้ ุทมรูลสจงงั คหรวาดั ม เทศกาลประเพณีทส่ี �ำคญั v ประเพณลี อยกระทงกาบกลว้ ยเมืองแม่กลอง จังหวัดสมุทรสงคราม ได้ฟื้นฟูประเพณีลอยกระทงกาบกล้วยข้ึนมา อกี คร้ัง กลายเปน็ ประเพณลี อยกระทงท่ียิ่งใหญ่ เป็นภมู ปิ ัญญาไทยในท้องถิ่น ที่แฝงซึ่งนัยส�ำคัญแห่งภูมิปัญญาของความประหยัดเรียบง่าย ไม่ท�ำลาย ธรรมชาติ เม่ือกระทงกาบกล้วยนับแสน ท่ีจุดธูป และปล่อยลอยเป็นสาย ให้เป็นระยะตามแนวล�ำน�้ำจากอัมพวา ตามล�ำน�้ำแม่กลอง ท่ีไหลลงสู่ ปากอ่าวไทยแสงไฟของธูป จะลุกให้ความสว่างไสวอย่างสวยงามอย่างช้าๆ ตามล�ำน�้ำ ยิ่งปล่อยกระทงกาบกล้วยมากเท่าใด กระทงสายกาบกล้วย จะลอยเปน็ แถว เปน็ เสน้ สายในแมน่ ำ�้ สวยงามตระการตาอยา่ งหาทเี่ ปรยี บมไิ ด้ v ประเพณตี ักบาตรขนมครก-น้�ำตาลทราย วัดแก่นจันทร์เจริญ ได้จัดต่อเน่ืองกันมาเป็นระยะเวลากว่า ๘๐ ปี ตั้งแต่ปี พ.ศ. ๒๔๗๓ เป็นประเพณีเก่าแก่ท่ียังสืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน โดยมีชาวบ้าน พุทธศาสนิกชน ร่วมแรงร่วมใจกันสืบทอดประเพณีที่ดีงาม ดว้ ยความศรทั ธา และความเชื่อทห่ี ลากหลาย จนกระทงั่ ถึงปจั จบุ นั จัดข้นึ ใน วันขึ้น ๘ คำ่� เดอื น ๑๐ หรือประมาณเดอื นกันยายนของทกุ ปี v งานเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหลา้ นภาลยั จดั ในช่วงเดือนกมุ ภาพันธ์ ณ อุทยานพระบรมราชานสุ รณ์ พระบาทสมเดจ็ พระพทุ ธเลศิ หลา้ นภาลยั v ประเพณงี านแข่งเรือยาว ประจำ� ปี จัดขน้ึ ช่วงเดือนพฤศจิกายน ณ วดั ลาดเปง้ อำ� เภอเมืองสมุทรสงคราม ในชว่ งวันลอยกระทง v งานส้มโอพันธขุ์ าวใหญ่ / งานวันลน้ิ จ่ี งานส้มโอจัดขึ้นช่วงเดือนสิงหาคม บริเวณหน้าศาลากลางจังหวัด สมุทรสงคราม งานวันลิ้นจ่ี จัดขึ้นช่วงเดือนเมษายน บริเวณหน้าศาลากลาง จังหวัดสมุทรสงคราม วัดอินทาราม ต�ำบลเหมืองใหม่ ค่ายบางกุ้ง อ�ำเภอ บางคนที ทั้งนข้ี ึ้นอยู่กับผลผลิตซึง่ บางปลี ิ้นจก่ี ไ็ มอ่ อกผลเลย v ประเพณีนมสั การ และสรงน�้ำหลวงพอ่ บา้ นแหลม จัดข้ึนช่วงเทศกาลสงกรานต์ ณ วัดเพชรสมุทรวรวิหาร ประเพณีน้ี จัดขึ้นเพ่ือนมัสการ และสรงน้ำ� หลวงพ่อบา้ นแหลม v เทศกาลกนิ ปลาทู และของดีเมอื งแมก่ ลอง จดั ขน้ึ ในชว่ งเดอื นธนั วาคม ของทกุ ปี ณ บรเิ วณหนา้ ศาลากลางจงั หวดั สมทุ รสงคราม อำ� เภอเมือง จังหวัดสมทุ รสงคราม 46 ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

สขม้อทุ มรูลสจงังคหรวาดั ม แหล่งทอ่ งเทย่ี วที่สำ� คญั v วัดเพชรสมุทรวรวิหาร เป็นท่ีประดิษฐานหลวงพ่อบ้านแหลม หรือ หลวงพ่อวัดบ้านแหลม เปน็ พระพุทธรปู ยืน ปางอุม้ บาตร สงู ประมาณ ๒ เมตร ๘๐ เซนตเิ มตร หล่อ ด้วยทองเหลอื งปิดทอง “หลวงพอ่ บ้านแหลม” ประดิษฐานอยู่ในพระอโุ บสถ เป็นพระพุทธรูปส�ำคัญของชาวสมุทรสงคราม มีลักษณะงดงาม หล่อด้วย สัมฤทธิ์ผสมด้วยทอง เงิน นาค สงู เทา่ คนจริง บริเวณฐานพระบาท มีดอกบวั รองรบั พระบาทอยบู่ นแทน่ ฐานแขง้ สงิ ห์ ซง่ึ กอ่ สงู ขนึ้ ประมาณ ๔๕ เซนตเิ มตร ส่วนองค์พระสูง ๑๖๗ เซนติเมตร เป็นพระพุทธรูปที่สร้างข้ึนในสมัย กรุงศรีอยธุ ยา  v ตลาดรม่ หบุ หรืออีกช่ือหนึ่งว่า ตลาดแม่กลอง แต่ชาวบ้านมักจะเรียกว่า “ตลาด เส่ียงตาย” เป็นตลาดที่ติดอยู่กับสถานีรถไฟแม่กลอง และก็เป็นส่วน หนึ่งของตลาดเทศบาลจังหวัดสมุทรสงคราม มีเอกลักษณ์ท่ีแปลก ไม่เหมือนกับตลาดแห่งไหนคือ จะมีรถไฟว่ิงผ่ากลางตลาด เวลารถไฟ มา เหล่าพ่อค้า-แม่ค้าจะรู้กันว่าถึงเวลาที่จะต้องยกของ แบกสัมภาระ หลบ หบุ รม่ เกบ็ กนั สาด พอรถไฟผา่ นไป หนั กลบั มาอกี ทเี หมอื นกบั เลน่ มายากล ร่มกาง กันสาดบาน กระจาดผัดสด เข่งปลาทู ฯลฯ ออกมาต้ังอยู่ท่ีเดิม เหมอื นไมม่ อี ะไรเกิดขน้ึ ตลาดรม่ หบุ เรมิ่ มาตง้ั ขายบรเิ วณรมิ ทางรถไฟ ประมาณปี พ.ศ. ๒๕๒๗ เป็นตลาดท่ีอยู่บนทางรถไฟ สายแม่กลอง-บ้านแหลม พ่อค้า-แม่ค้า ตั้งแผง สองขา้ งทางรถไฟ สว่ นลกู คา้ กอ็ าศยั ทางรถไฟเปน็ ถนน สำ� หรบั จบั จา่ ยซอ้ื ของ นักท่องเที่ยวหลายคนใช้วิธีท่องเท่ียว โดยการมาขึ้นรถไฟที่สถานีรถไฟ บา้ นแหลม มายังสถานีรถไฟแม่กลอง v ดอนหอยหลอด เปน็ สนั ดอนทเ่ี กดิ ขนึ้ บรเิ วณปากแมน่ ำ�้ แมก่ ลองชายฝง่ั ทะเลของจงั หวดั สมุทรสงคราม มีลักษณะเป็นสันดอนใหญ่ตลอดชายฝั่งทะเล มีเน้ือที่ท้ังหมด ประมาณ ๒๒,๐๐๐ ไร่ จ�ำนวนดอนที่เกิดข้ึนขณะนี้มีท้ังหมด ๗ ดอน แต่ละดอนแยกจากกันด้วยร่องน�้ำเล็กๆ ลึกบ้าง ต้ืนบ้างดอนที่มีหอยหลอด ชุกชุมมากมีจ�ำนวน ๕ ดอน ซ่ึงเป็นดอนท่ีเกิดขึ้นนานแล้ว ลักษณะพื้นท่ีของ ดอนหอยหลอดเป็น ลักษณะดินปนทราย ชาวบ้านเรียกว่า “ทรายขี้เป็ด” ซึ่งอาจน�ำไปใช้ถมที่ได้ แต่ใช้ประโยชน์ในการก่อสร้างไม่ได้ หอยหลอดจะอยู่ หนาแน่นบริเวณที่มีทรายประมาณ ๖ เปอร์เซ็นต์ข้ึนไป ความหนาแน่นของ หอยหลอดขนึ้ อยูก่ ับ สภาพแวดล้อมในแตล่ ะปีท่ีเปลีย่ นแปลงไป ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 47 อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

สขม้อทุ มรูลสจงงั คหรวาัดม v วัดศรัทธาธรรม หรอื ท่ีชาวบ้านเรยี กกันว่า “วัดมอญ” สร้างขึ้นเมื่อปีพุทธศักราช ๒๓๔๑ ด้วยแรงศรัทธาในพุทธ ศาสนาของชาวมอญประมาณ ๑๒ ครอบครวั ทหี่ นสี งครามกลางเมอื ง ในพม่าเข้ามาพ่ึงความร่มเย็นของแผ่นดินไทย โดยมาอาศัยใน ที่ดินว่างเปล่าในพื้นที่ต�ำบลบางจะเกร็งในปัจจุบัน ต่อมาถูกทาง ราชการเวนคืนที่ดิน แต่ชาวมอญไม่ยอมจึงได้ต่อสู้คดีในช้ันศาล ซึ่งก็ชนะคดีตรงกับรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจา้ อยหู่ วั หลงั จากนน้ั ชาวมอญจงึ ไดพ้ รอ้ มใจกนั สรา้ งวดั ขน้ึ เพอื่ เปน็ ศูนย์รวมจิตใจ อุโบสถไม้หลังเก่าซึ่งเป็นแพลอยน�้ำ ได้กลายเป็น สถานทป่ี ระกอบพธิ กี รรมทางศาสนา นบั ตง้ั แตน่ นั้ ในปี พ.ศ. ๒๕๓๕ อุโบสถไม้สักทองฝังมุกหลังใหม่ถูกสร้างขึ้น กว่าสองร้อยปีแห่งการ ด�ำรงอยู่ วดั ศรทั ธาธรรม (วัดมอญ) ได้กลายเปน็ ศูนย์รวมจติ ใจ และ ศนู ยก์ ลางทางดา้ นการศกึ ษา และสงั คมของชมุ ชนชาวมอญ ณ ตำ� บล บางจะเกร็ง เช่นเดียวกับที่อุโบสถไม้สักทองฝังมุกแท้รูปเรือส�ำเภา หนง่ึ เดยี วของเมอื งไทย เปน็ สถาปตั ยกรรมทางศาสนาทมี เี่ อกลกั ษณ์ สวยงามทสี่ ดุ v ค่ายบางกุง้ โบสถ์ปกโพธิ์ เป็นอุโบสถหลังเดิมที่สร้างต้ังแต่สมัย กรงุ ศรอี ยธุ ยาเปน็ ราชธานี มลี กั ษณะเปน็ อาคารทรงไทยกอ่ อฐิ ถอื ปนู หลงั คาเครอื่ งไมม้ งุ กระเบอ้ื ง ดนิ เผา ไมม่ ชี อ่ ฟา้ ใบระกา หนา้ บนั ประดบั ปูนปน้ั ลวดลายพนั ธ์พุ ฤกษา ตกแต่งดว้ ยเคร่ืองถว้ ยท้งั ๒ ด้าน ผนงั สกัดด้านหน้ามีประตูทางเข้าตรงกลาง ๑ ประตู ผนังด้านหลังทึบ ผนังด้านข้างมีซุ้มหนา้ ตา่ งด้านละ ๔ ช่อง ซงึ่ ตัวโบสถถ์ กู ปกคลุมดว้ ย รากไมข้ องพชื ๔ ชนดิ คอื โพธิ์ ไทร ไกร และกรา่ ง ชว่ ยใหโ้ บสถค์ งรปู อยูไ่ ด้ ภายในมพี ระพุทธรูปประดษิ ฐานคือ หลวงพอ่ นลิ มณี 48 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อ�ำ เภอเมืองสมุทรสงคราม

บรรณานกุ รม ตรี ธรรม. 9 พระเกจิอาจารย์ลุ่มน�ำ้ แม่กลอง. กรุงเทพฯ : ปราชญ,์ 2558. สำ� นักงานจังหวดั สมทุ รสงคราม. ทอ่ งเที่ยวสมทุ รสงคราม เวนิสสยาม. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., ม.ป.ป.. สำ� นักงานวฒั นธรรมจงั หวดั สมุทรสงคราม. พระบารมปี กเกล้าชาวสมุทรสงคราม. ม.ป.ท. : ม.ป.พ., ม.ป.ป.. สุรจิต ชริ เวทย์. ฅนแม่กลอง. พิมพค์ รั้งท่ี 6. กรงุ เทพฯ : บรษิ ัท ส เอเชยี เพรส (1989), 2551. “พระราชประวัติ สมเดจ็ พระเทพรตั นราชสดุ า ฯ สยามบรมราชกมุ ารี.” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://sirindhorn.net/hrh_new/index_0.php. สบื คน้ 2 มนี าคม 2561. “แหล่งท่องเท่ยี ว จงั หวัดสมทุ รสงคราม.” [ออนไลน์]. เขา้ ถงึ ไดจ้ าก : http://www.samutsongkhram.go.th/tourism/. สบื ค้น 2 มีนาคม 2561. “ไหวพ้ ระวัดดังสมทุ รสงคราม ขอพรเสรมิ มงคลใกลก้ รงุ เทพฯ.” [ออนไลน]์ . เข้าถึงไดจ้ าก : https://www.edtguide.com/article/456520/%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8% B8%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%87% E0%B8%84% E0% B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%A1. สืบคน้ 2 มนี าคม 2561. ที่ระลึกพิธีเปิดห้องสมุดประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” 49 อ�ำ เภอเมืองสมทุ รสงคราม

ภาคผนวก 50 ทีร่ ะลึกพิธีเปิดห้องสมดุ ประชาชน “เฉลิมราชกุมารี” อำ�เภอเมืองสมทุ รสงคราม