Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธ.ค.62 ต.ดอนตะโก อ.เมือง จ.ราชบุรี

ธ.ค.62 ต.ดอนตะโก อ.เมือง จ.ราชบุรี

Published by kl_1270010001, 2020-10-29 09:06:12

Description: ภูมปัญญาเดือนะันวาคม62-

Search

Read the Text Version

1 1 แบบบนั ทึกชุดขอ้ มลู คลังปญั ญา-ภมู ิปญั ญาท้องถนิ่ ตาบลดอนตะโก อาเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี ชือ่ ภมู ปิ ัญญา: การทาปลารา้ ช่อื นางสด นามสกลุ พชิ ัย วันเดือนปกี ิด 14 มนี าคม 2487 ที่อยู่ปัจจุบัน (ท่ีสามารถติดต่อได้) บ้านเลขที่ 5 หมู่ 7ตาบลดอนตะโก อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี รหสั ไปรษณีย7์ 00000 โทรศัพท์ 0895135188 โทรสาร- Line ID supon E-mail addres: -: Facebook supon ความเป็นมาของบคุ คลคลงั ปญั ญา นางสด พิชยั เปน็ ภูมปิ ัญญาในเรือ่ งการทาปลาร้า เป็นการถนอมอาหารของคนในทุกภูมิภาคท่ีมีมาแต่ อดีตนางสดได้เรียนรู้การทาปลาร้าจากบรรพบุรุษ และพัฒนาการทาและได้ถ่ายทอดความรู้ให้กับลูกหลาน ในชุมชน เพ่ือท่ีจะเก็บปลาที่มาตามธรรมชาติในช่วงต้นฤดูฝนไว้กินนานๆ วิธีการทาปลาร้าคล้ายคลึงกันแต่ จะแตกต่างกันที่ส่วนผสมและระยะเวลาในการหมัก การหมักปลาร้าต้องหมักในไห ภาคอีสานจึงเรียกว่า ปลาแดก ตามลกั ษณะของการบรรจุปลาลงในโอง่ คือ การยัดปลาใหแ้ นน่ ทส่ี ุดแลว้ ปิดฝาไหให้สนิท จดุ เดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถน่ิ นางสด พิชัย เป็นผู้สูงอายุท่ีมีความรู้ความสามารถในการแปรรูปอาหาร และสามารถถ่ายทอดความรู้ให้กับ ลูกหลานไดเ้ รยี นรู้และปฎบิ ตั ไิ ด้ วัตถุดิบที่ใช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑ์ที่เกิดจากภูมิปัญญา ซึ่งพื้นที่ อ่นื ไม่มี ได้แก่ มีบ่อปลานิลท่เี ล้ียงเองในกลมุ่ การแปรรปู อาหารจากปลา รายละเอยี ดของภูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ 1. ปลาร้าข้าวคั่ว ได้จากการหมักปลาขนาดกลางและขนาดใหญ่ ร่วมกับเกลือและข้าวคั่ว ปลาร้าที่ได้จะมี ลักษณะแฉะ เน้อื อ่อนนุ่ม สเี หลอื งเขม้ และมกี ล่นิ หอม ปลาสดที่นิยมใช้ คอื ปลานิลท่มี บี ่อเล้ียงเอง เลี้ยงด้วย อาหารธรรมชาติ 2. ปลาร้ารา ได้จากการหมักปลานิลตัวเล็ก หมักร่วมกับเกลือและรา หรือราผสมข้าวคั่ว ปลาร้าที่ได้จะมีสี คล้า ปลายังมีลักษณะเป็นตัว เนื้อไม่น่ิมมาก มีกล่ินรุนแรงกว่าปลาร้าข้าวค่ัว นิยมนาไปปรุงอาหารเพื่อเพ่ิม รสชาติ เชน่ ปรงุ น้าแกง ปรงุ ในส้มตา ปรงุ ในลาบ กอ้ ย ควั่ ไก่ คว่ั เนื้อ รส กล่นิ สีของปลาร้าขึ้นอยู่กับสัดส่วน ท่ีเหมาะสมระหว่างปลา เกลือและอุณหภูมิ ส่วนกล่ินท่ีหอมและรสท่ีไม่เค็มเกินไปข้ึนอยู่กับการใช้ข้าวค่ัว และราใหม่ท่ีมีคุณภาพ ปลาร้าที่หมักนานประมาณแปดเดือนขึ้นไปถึงหน่ึงปีจะให้รสชาติท่ีดี และนา ออกจาหน่าย มีการบริหารจัดการ ขายผลิตภัณฑ์ทางอนนไลน์และ Facebook มีการต่อยอดความรู้การทา ผลติ ภัณฑอ์ ืน่ ๆเพม่ิ ขนึ้ โดยการเรยี นรู้นอกชุมชนและนากลบั มาพฒั นาผลติ ภัณฑ์ของชุมชน รูปแบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพรภ่ ูมปิ ัญญาท้องถิ่น ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ ใช้เฉพาะบคุ คล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน  มีการเผยแพร่ผา่ นส่ือมวลชนและสอื่ อื่นอยา่ งแพรห่ ลาย

2  มีการดูงานจากบุคคลภายนอก  มกี ารนาาไปใช้ ในพืน้ ท่ี ................ คน นอกพ้นื ท่ี ............... คน อื่นๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาให้เป็นนวัตกรรม คุณค่า (มูลค่า) และความภาคภูมิใจ ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ /นวัตกรรมทค่ี ดิ ค้นขึ้นมาใหม่ ภมู ิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ดัง้ เดมิ ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินท่ีได้พฒั นาและตอ่ ยอด แบบเดิมคือ แบบเดมิ คือ การทาแบบดังเดิม การพัฒนาต่อยอดคือ ออกแบบบรรจุภณฑ์ในการจาหนา่ ย เพ่อื สะดวกในการเกบ็ อาหาร รูปภาพเจา้ ของภมู ปิ ัญญา

3 นาง สด พิชัย (เจ้าของภมู ิปัญญาการทาปลาร้า ภมู ิ รูปภาพ ปญั ญา ทาปลา สู ต ร การ โบราณ ร้ า

4 แบบบันทึกชดุ ขอ้ มลู คลงั ปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ตาบลดอนตะโก อาเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี ช่อื ภมู ิปญั ญา: ผลติ ภัณฑ์เครื่องทองเหลือง ชื่อ นางโสภี นามสกุล จันทร์สมุทร วันเดือนปีเกิด 15 มกราคม 2521 ท่ีอยู่ปัจจุบัน (ท่ีสามารถติดต่อได้) บ้านเลขท่ี 40 หมู่ 7ตาบลดอนตะโก อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัดราชบุรี รหัสไปรษณีย์700000 โทรศัพท์ 0926956453 โทรสาร- Line ID 0926956453 E-mail addres: : sopee [email protected] Facebook sopee junsamut

5 ความเป็นมาของบคุ คลคลงั ปญั ญา นางโสภี จันทร์สมุทร ประกอบอาชีพการทาผลิตภัณฑ์จากทองเหลือง ตามบรรพบุรุษ ซึ่งมีอาชีพการทา ทองเหลืองเป็นอาชีพหลัก และทาเป็นธุระกิจในครอบครัว เคร่ืองทองเหลืองผลิตข้ึนโดยอาศัยวัสดุอุปกรณ์ อย่างงา่ ยๆ ซ่ึงส่วนใหญ่หาไดใ้ นทอ้ งถ่นิ ประกอบไปด้วยดิน เปน็ วสั ดสุ าคญั ในการป้ันหุ่น ได้มาจากดินท้องนา บรเิ วณรอบ ๆ หม่บู า้ นน้นั เอง มลี ักษณะเป็นดินร่วนปนทรายละเอียดสีเทาดา กล่าวกันว่า ดินที่หมู่บ้านเขา ลอยมูลโคท่ีมีในชุมชน มีลักษณะและคุณสมบัติพิเศษที่เหมาะแก่การทาเคร่ืองทองเหลืองกว่าดินจากแหล่ง อื่น จุดเดน่ ของภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ นางโสภี จนั ทรส์ มทุ ร เปน็ คนรุน่ ใหมท่ ใี่ หค้ วามสนใจด้านการทาทองเหลือง วัตถดุ ิบทใ่ี ช้ประโยชน์ในผลิตภัณฑท์ ่เี กดิ จากภมู ปิ ญั ญา ซงึ่ พนื้ ทอี่ ่ืนไม่มี ดินทอ้ งนาบรเิ วณรอบ ๆ หมู่บา้ น มลี กั ษณะเป็นดนิ รว่ นปนทรายละเอียดสีเทาดา ดินท่ีหมู่บ้านเขาลอยมูลโค ท่มี ใี นชมุ ชน มีลักษณะและคุณสมบัติพิเศษท่ีเหมาะแกก่ ารทาเครื่องทองเหลืองกวา่ ดนิ จากแหลง่ อนื่ ๆ รายละเอียดของภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น เคร่ืองทองเหลือง ผลิตขึ้นโดยอาศัยวัสดุอุปกรณ์อย่างง่ายๆ ซ่ึงส่วนใหญ่หาได้ในท้องถ่ินประกอบ ไปด้วยดิน เป็นวัสดุสาคัญในการป้ันหุ่น ได้มาจากดินท้องนาบริเวณรอบ ๆ หมู่บ้านลดต้นทุนในการขนส่ง วัสดุ เพราะมีอยู่ในชุมชน มีลักษณะเป็นดินร่วนปนทรายละเอียดสีเทาดา ดินที่หมู่บ้านเขาลอยมูลโค มี ลักษณะและคุณสมบัติพิเศษท่เี หมาะแก่การทาเครื่องทองเหลืองกว่าดนิ จากแหล่งอื่น มูลววั ใช้ผสมดินใหเ้ กาะตัวแน่นและ มีความแกร่งสามารถกลึงและตกแต่งลวดลายลงบนหุน่ ดินได้ แกลบ ใช้ผสมดินเหนยี วทาเบ้าหลอมเพ่อื ใหเ้ บา้ มีความยดึ เกาะไม่แตกหกั งา่ ยเวลาเขา้ เตา เผา น้า ชว่ ยในการขนึ้ รูปและแต่งลาย ข้ผี งึ้ เดิมทาจากชนั ท่ใี ช้ยาเรือผสมกบั ไขวัว แตป่ ัจจุบันซื้อข้ผี ้งึ สาเรจ็ รูปจากกรุงเทพฯ เน่อื งจาก สะดวกและสามารถนาไปใช้งานไดท้ นั ที ทองเหลือง ใชท้ องเหลอื งสาเรจ็ รปู โดยซือ้ ในราคากิโลกรมั ละ 50 บาท เคร่ืองมือสาหรับ ข้ึนรูปและตกแต่งลวดลาย เรียกว่า “พะหมอน” ประกอบด้วยชิ้นส่วนง่ายๆ ท่ี สามารถผลิตขึ้นใช้เอง ส่ิว ตะไบ และเหล็กกลึง สาหรับขัดแต่งหุ่นดิน เตาหลอมและฟืนไม้เบญจพรรณ ลักษณะเตาเป็นเตาตะกรับคล้ายกับที่ใช้ตามบ้านท่ัวไป แต่มีขนาดใหญ่กว่า เส้นผ่าศูนย์กลางของตัวเตา ประมาณ 65 เซนตเิ มตร รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพรภ่ มู ิปัญญาทอ้ งถ่นิ มีการเผยแพรผ่ า่ นสอื่ มวลชนและสอื่ อนื่ อย่างแพร่หลาย  มีการดูงานจากบคุ คลภายนอก จานวน 15 คร้ัง จานวน 780 คน  มกี ารนาไปใช้ ในพนื้ ที่ ................ คน นอกพ้นื ท่ี ............... คน อ่ืนๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาให้เป็นนวัตกรรม คุณค่า (มูลค่า) และ ความภาคภมู ใิ จ  ภูมิปญั ญาท้องถิ่น/นวัตกรรมทีค่ ิดค้นขน้ึ มาใหม่

6  ภูมิปัญญาท้องถิ่นดง้ั เดมิ ได้รับการถ่ายทอดมาจาก  ภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ ทีไ่ ดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดิมคือ มีแบบไม่หลากหลาย การพัฒนาต่อยอด คือ มีแบบให้เลอื กตามความตอ้ งการของตลาด รปู ภาพภมู ปิ ญั ญาภมู ิปญั ญา นาง โสภี จนั ทร์ สมุทร

7 (เจ้าของภมู ิปัญญาการทาเคร่ืองทองเหลือง) รปู ภาพผลติ ภัณฑท์ องเหลือง

8 แบบบันทึกชดุ ขอ้ มลู คลังปญั ญา-ภูมิปญั ญาท้องถน่ิ ตาบลดอนตะโก อาเภอเมอื ง จงั หวัดราชบรุ ี ชอื่ ภูมปิ ัญญา การปลกู ผักไฮโดรโปรนคิ ส์ ช่อื นางสาว ชอ่ ผกา นามสกลุ แกว้ ยอด วันเดือนปีเกดิ 27 ก.ย.. 2539 ที่อย่ปู จั จบุ ัน (ทส่ี ามารถตดิ ต่อได้) บ้านเลขท่ี 14 หมู่ 7ตาบลดอนตะโก อาเภอเมืองราชบุรี จงั หวดั ราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์700000 โทรศัพท์ 0871570907 โทรสาร- Line ID 0871570907 E-mail addres: : [email protected] Facebook chorphakar kaewyod เพจ ฮมิ ดอยไฮโดรโปรนิคส์ ความเป็นมาของบุคคลคลงั ปัญญา นางสาวช่อผกา แก้วยอด เป็นเด็กรุ่นใหม่ท่ีจบการศึกษาระดับปริญญาตรี ครอบครัวประกอบอาชีพ เกษตรกรตามบรรพบุรุษ ซึ่งมีอาชีพการปลูกผักเป็นอาชีพหลัก เรียนจบก็ศึกษาเรียนรู้ในด้านการปลูกผัก ไฮโดรโปรนิคส์ เป็นอีกอาชีพหลักและเป็นธุรกิจของครอบครัว ซ่ึงได้พัฒนาที่ดินที่อยู่รอบๆ บริเวณบ้าน เป็นโรงเรือนการปลูกผกั ไฮโดรโปรนิคส์ โดยการทาเปน็ ธุระกจิ ครอบครัว จาหนา่ ยใหก้ ับคนในชมุ ชน และส่ง ขายให้บรษิ ทั ทมี่ ารับซื้อ จุดเด่นของภมู ิปัญญาท้องถิน่ นางสาวช่อผกา แก้วยอด เป็นเด็กรุ่นใหม่ที่ให้ความสนใจด้านการทาเกษตรพัฒนาของตนเองจนเป็นศูนย์ เรียนรู้เศรษฐกิจพอเพียงการเกษตรการปลูกผักไฮโดรโปรนิคส์ และถ่ายทอดความรู้ ให้คาปรึกษา ให้กับพ่ี น้องเกษตรกรทั้งในและนอกพ้ืนที่ วตั ถุดบิ ทใ่ี ชป้ ระโยชนใ์ นผลิตภัณฑท์ เี่ กดิ จากภูมปิ ญั ญา ซึง่ พ้ืนที่อ่นื ไม่มี ได้แก่ ปยุ๋ ทใ่ี ชเ้ ปน็ ป๋ยู ท่ไี ดจ้ ากธรรมชาติปลอดสารเคมี รายละเอียดของภูมปิ ญั ญาท้องถิ่น(ลกั ษณะภูมปิ ัญญา

9 นาฟองนา้ สาเรจ็ รปู ทีจ่ ะเป็นส่เี หล่ียมลูกเต๋าตรงกลางฟองน้าจะถูกกรีดเป็นกากบาทเพ่ือนาเมล็ดมาวางใส่ลง ไป ปลูกวางเรยี งบนถาดรอง รดนา้ ฟองนา้ ปลกู ใหช้ มุ่ พรอ้ มกับใชม้ อื กดฟองน้าให้ซับน้าให้อิ่มตัว นาไม้ปลาย แหลมหรอื ไม้จมิ้ ฟนั จุ่มนา้ แลว้ แต้มแตะไปท่ีเมล็ดพันธ์ุผักสลัด แล้วนาเมล็ดสลัดที่ติดที่ปลายไม้มาใส่ลงไปใน กลางฟองน้าท่ีผ่าไว้ 1 เมล็ด ต่อฟองน้า 1 อัน นาแผ่นโฟมเพาะเมล็ดไปไว้ในโต๊ะอนุบาลที่ 1 ประมาณ 2 สปั ดาห์ หรอื กล้าผกั สลัดมี 2 ใบ ช่วงน้ีต้องหม่ันฉีดน้าด้วยฟ็อกก้ีหรือกระบอกฉีดน้าเพ่ือลดความร้อนให้ต้น กล้าทุกๆ วัน วันละ 2-5 คร้ัง ตามสภาพอากาศช่วงเพาะเมล็ด (สัปดาห์ท่ี 1) ใช้เวลา 7 วัน นาเมล็ดใส่ลง ไปในวัสดุยึดราก เช่น ฟองน้า เพอร์ไลท์ โฟม ความลึกประมาณ 5 มิลลิเมตร ใส่ไว้ในถาดเพาะท่ีมีน้าอยู่ ด้านล่าง พรมน้าให้ชุ่ม เช้า-เย็น ควรเลือกพ้ืนท่ีร่มในการวางถาดเพาะ เพื่อรักษาความชื้น ถ้าเมล็ดสมบูรณ์ แข็งแรง จะงอกเป็นใบให้เห็นใน 3-4 วัน เม่ือเร่ิมเห็นใบให้ย้ายไปเจอแดด (ใช้ซาแรนช่วยกรองแสงด้วย) เพราะถ้าอยู่ในที่ร่มไม่เจอแสง ผักจะยืดหาแสง ทาให้ผักโตช้า ลาต้นไม่แข็งแรง ฯลฯ (ช่วง 7 วันแรก ไม่ จาเปน็ ต้องใสป่ ยุ๋ ก็ได้ เพราะพชื จะใช้สารอาหารในเมลด็ ) รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพร่ภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น ยังไม่เคยมกี ารเผยแพร่/ใช้ เฉพาะบคุ คล  เคยเผยแพร่เฉพาะในชมุ ชน  มกี ารเผยแพรผ่ ่านสอ่ื มวลชนและสือ่ อ่นื อย่างแพร่หลาย  มีการดงู านจากบคุ คลภายนอก จานวน - ครั้ง จานวน - คน  มีการนาาไปใช้ ในพ้นื ท่ี ................ คน นอกพืน้ ท่ี ............... คน อ่ืนๆ (ระบ)ุ ลกั ษณะของภมู ิปัญญาท้องถิ่น การพัฒนาต่อยอดภูมปิ ญั ญาใหเ้ ปน็ นวัตกรรม คุณคา่ (มลู คา่ ) และ ความภาคภมู ิใจ  ภมู ปิ ัญญาท้องถิ่น/นวตั กรรมที่คดิ ค้นขนึ ้ มาใหม่  ภมู ปิ ัญญาท้องถ่ินดงั้ เดมิ ได้รับการถา่ ยทอดมาจาก  ภมู ิปัญญาท้องถิ่นที่ได้พฒั นาและตอ่ ยอด

10 รูปภาพภมู ิปัญญา นางสาว ช่อผกา นามสกุล แก้วยอด (เจ้าของภมู ิปัญญาการปลกู ผักไฮโดรโปรนคิ ส์)

11

12 รูปภาพการปลกู ผกั ไฮโดรโปรนคิ ส์ คณะผจู้ ัดทา

ทปี่ รกึ ษา 12 นางศิริเพ็ญ สงั ขบูรณ์ ผอ.กศน. อาเภอเมอื งราชบุรี นางสาวจีรนนั ท์ คงมนั่ หวั หน้ากลุม่ งานภาคีเครอื ขา่ ย ครู กศน.ตาบลดอนตะโก ร่าง/เรยี บเรียงและจัดพมิ พ์ นางสาวเรณู ทรัพยแ์ จ่ม

12


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook