Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธ.ค.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.น้ำพุ อ.เมือง จ.ราชบุรี

ธ.ค.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.น้ำพุ อ.เมือง จ.ราชบุรี

Published by kl_1270010001, 2020-11-02 05:28:39

Description: แบบสำรวจภูมิปัญญาท้องถิ่นตำบลน้ำพุ ธ.ย.62

Search

Read the Text Version

ทำเนียบภูมิปัญญาทอ้ งถนิ่ ตำบล นำ้ พุ ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศยั อำเภอเมืองราชบรุ ี สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบรุ ี สำนักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัย สำนกั งานปลดั กระทรวงศกึ ษาธิการ กระทรวงศกึ ษาธิการ

คำนำ การจดั ทำขอ้ มูลภูมิปญั ญาในท้องถ่นิ ของชุมชน เพือ่ ใช้เปน็ แหล่งเรียนรู้ เป็นแบบอยา่ งที่ดี และเผยแพร่ ให้ประชาชนในพื้นท่ีไดน้ ำไปใชเ้ พิ่มพูนความรู้และ สามารถเรยี นรูแ้ ละฝึกฝนได้ด้วยตนเองจากแหลง่ เรียนรู้ที่อยูใ่ กล้ ตวั ใหเ้ กดิ ความรแู้ ละประสบการณ์จริง มีเจตคตทิ ่ดี ตี อ่ ชุมชน เห็นคณุ คา่ ของแหล่งเรียนรู้ ภูมิปัญญาท้องถ่ิน เกดิ ความ รักท้องถิ่นและความรู้ในการอนุรักษ์สิ่งที่มีคุณค่าในท้องถิ่น ที่เกิดจากการสั่งสมหรือสืบทอดกันมา ใช้ดำเนินวิถีชีวิต ทป่ี ระสบผลสำเรจ็ มาในอดีต สง่ เสรมิ มิตรภาพความสมั พนั ธร์ ะหว่าคนในชมุ ชน อยู่รว่ มกับธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดลอ้ มได้ อย่างผสมกลมกลืน สร้างความคิดเกิดอาชีพใหม่สู่ความเป็นสากล หวังว่าเอกสารนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้อ่านและ ผู้ปฏิบัตงิ านตอ่ ไป กศน.ตำบลนำ้ พุ พฤศจิกายน 2563

สารบญั หนา้ คำนำ 1-2 สารบญั 3-4 ทำเนยี บภมู ปิ ญั ญา กศน.ตำบลนำ้ พุ - ภูมปิ ัญญา การทำนำ้ ตาลงบออ้ ย - ภูมิปัญญา เกษตรอินทรยี ์ คณะผู้จดั ทำ

1 แบบสำรวจทำเนยี บภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน ตำบลบลนำ้ พุ อำเภอเมอื ง จงั หวัดราชบุรี ชือ่ ภมู ปิ ญั ญา การทำน้ำตาลงบออ้ ย สาขาคลงั ปัญญา (23 สาขา) ดา้ นการเกษตร สาขาของภูมิปญั ญาท้องถ่ิน (10 ประเภท) สาขาเกษตรกรรม ข้อมลู พ้นื ฐาน รายบุคคลเจา้ ของภมู ปิ ญั ญาท้องถ่นิ /บคุ คลคลังปัญญา ชอื่ นายลำพอง ทองประทีป วันเดอื นปีเกิด 30 พฤศจกิ ายน 2503 ทอี่ ยู่ปัจจุบัน (ทีส่ ามารถตดิ ต่อได้) บ้านเลขท่ี 67 หมู่ 6 ตำบลน้ำพุ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70000 โทรศพั ท์ 086-1665299 ความเป็นมาของบุคคลคลังปญั ญา ศูนย์เรียนรเู้ ศรษฐกจิ พอเพียงซ่ึงจดั ตงั้ ขึ้นโดย การร่วมมอื กศน.อำเภอเมือง กศน.ตำบลน้ำพุ ในปีงบประมาณ2553เข้าไปจัดกิจกรรมกระบวนการเรียนรู้ในเรื่องการดำเนินชีวิตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ความพอเพียงระดับครอบครัว จำนวน 10 ครอบครัว มีสมาชิกทั้งหมด 25 คน และดำเนินการจัดกิจกรรมสาน ต่อ ในปงี บประมาณ 2554 ไดด้ ำเนนิ การในรปู แบบการจดั การศึกษาตอ่ เน่ืองในเรื่องการ การทำการเกษตรแบบผสมผสาน การเรยี นร้เู รือ่ งการผลติ ปยุ๋ ชีวภาพ การเรยี นร้กู ารทำสารควบคุมศตั รูพืช รูปแบบในการจัดกิจกรรมของกลุ่ม โดยมีการนำปุ๋ยชีวภาพที่ทำขึ้นเองไปใช้ประโยชน์กับพืชผักทางการเกษตรของ ตนเองและสามารถลดรายจ่ายและทำรายได้ให้มากขึ้น เพื่อการบริหารจดั การกลุ่มพฒั นาให้กลุม่ มคี วามเขม้ แข็ง และ เป็นศูนย์การเรียนรู้ในเร่อื งเศรษฐกิจพอเพียงระดบั ตำบล จุดเดน่ ของภมู ปิ ญั ญาท้องถน่ิ ปัจจุบันจากที่ได้การทำการเกษตรแบบผสมผสานแล้วก็ได้ศึกษาหาความรู้เพิ่มขึ้นเลื่อยๆจนได้สูตรการทำ น้ำตาลจากอ้อยมาแปรรูปเพื่อเป็นรายได้เพิ่มขึ้นจากการทำการเกษตรแบบผสมผสาน จนเป็นที่รู้จักและเป็นหมู่บ้าน นววิถีของตำบลนำ้ พุ รายละเอยี ดของภูมิปัญญาท้องถ่นิ เนื่องจากได้มีโอกาสได้ไปศกึ ษาเรียนรู้และหาความรู้จากสถานทีต่ ่างๆ มากมายจึงได้หยิบเอาประสบการณท์ ่ี ได้ศึกษานำกลับมาลองผิดลองถูกจนได้ข้อสรุปที่จะนำผลทางการเกษตรจากอ้อยมาแปรรูปในการทำน้ำตาลงบอ้อย ข้นึ มา รปู แบบและลักษณะการถา่ ยทอด  มกี ารเผยแพรผ่ ่านสื่อมวลชนและสอ่ื อ่นื อยา่ งแพร่หลาย  มกี ารดงู านจากบุคคลภายนอก จำนวน 30 ครงั้ จำนวน 400 คน ลักษณะของภมู ิปัญญาทอ้ งถิ่น การพัฒนาต่อยอดภูมิปญั ญาให้เป็นนวัตกรรม คุณค่า (มูลค่า) และความภาคภูมิใจ  ภมู ิปญั ญาท้องถิน่ /นวัตกรรมท่คี ิดคน้ ข้ึนมาใหม่ ภมู ปิ ัญญาทอ้ งถน่ิ ด้งั เดมิ ได้รับการถ่ายทอดมาจาก

2  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ท่ไี ดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คอื การทำการเกษตรแบบผสมผสาน การพฒั นาตอ่ ยอด คอื การนำผลทางการเกษตรจากออ้ ยมาแปรรูปในการทำนำ้ ตาลงบออ้ ย รูปภาพภมู ปิ ญั ญา นายลำพอง ทองประทีป ผลติ ภัณฑ์น้ำตาลงบอ้อย

3 แบบสำรวจทำเนียบภูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ ตำบลน้ำพุ อำเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ช่ือภมู ิปัญญา เกษตรอินทรีย์ สาขาคลังปัญญา (23 สาขา) ด้านการเกษตร สาขาของภูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น (10 ประเภท) สาขาเกษตรกรรม สาขาภมู ิปัญญาท้องถิ่น 10 สาขา ไดแ้ ก่ สาขาเกษตรกรรม ข้อมูลพ้ืนฐาน รายบคุ คลเจา้ ของภมู ิปัญญาท้องถน่ิ /บคุ คลคลังปญั ญา ชอ่ื นายภญิ ญา นามสกลุ ศรีสาหรา่ ย วนั เดอื นปเี กิด 13 ตุลาคม 2524 ทอ่ี ยู่ปัจจุบัน (ทีส่ ามารถติดตอ่ ได้) บา้ นเลขท่ี 93 หมทู่ ี่ 4 ตำบลนำ้ พุ อำเภอเมอื ง จังหวัดราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70000 โทรศัพท์ 093 - 9651459 ,090 - 9241861 E-mail address : m.me/motherdreamfarm Facebook ฟารม์ ฝนั แม่ เกษตรอินทรยี ์ พกิ ดั ทางภูมศิ าสตร์ ค่า X : 13.545338 คา่ Y : 99.636221 ความเป็นมาของบุคคลคลังปัญญา นายภญิ ญา ศรสี าหร่าย หรอื “เล่” เจา้ ของไร่ เดิมเป็นวิศวกรโยธา เขาผนั ตวั มาทำเกษตรอินทรียต์ ามรอยพ่อ หลวง เพราะเช่ือว่าอาชพี นี้เป็นอาชีพบญุ ได้ผลติ อาหารทดี่ ใี หค้ นกนิ ถอื เปน็ บุญ มคี วามสุขใจท้ังผูใ้ ห้และผู้รบั โดยมีคณุ แม่ลำพึง ศรีสาหร่าย ช่วยทำด้วยอีกแรงหนึ่ง เหตุท่ีภิญญาเลือกปลูกผักปลอดสารพิษ เพราะคุณแม่ของเขาซึ่งเป็น เกษตรกรอยู่แต่เดิม มีความสนใจในเรื่องน้ำหมักและเกษตรอินทรีย์มากว่า 10 ปี เมื่อเกษตรอำเภอชักชวนให้เข้ามา ปลูกผักปลอดสารพิษที่มหาวิทยาลัยมหิดล เขาและแม่จึงเริ่มทำในปี 2551 กระทั่งมีร้านขายผักปลอดสารใน มหาวิทยาลัยฯ จากนั้นก็เข้าร่วมกับกลุ่มสามพรานโมเดล ซึ่งเป็นการรวมกลุ่มของเกษตรกรที่ทำเกษตรอินทรีย์ โดยเฉพาะ ในปี 2557 นายภิญญาได้ซื้อที่ดินจำนวน 15 ไร่ใน ต. น้ำพุ อ. เมือง จ. ราชบุรี เพื่อขยับขยายการทำเกษตร อินทรีย์ของตน จนมีผลผลติ จำหนา่ ยให้กบั กล่มุ โรงแรมใน อ. สามพราน โรงพยาบาลราชบุรี โรงเรยี นรงุ่ อรณุ และร้าน บ้านคัดสรรในกรุงเทพฯ ทั้งนี้ทางไร่ฯ มีกระบวนการผลิตที่ใส่ใจคุณภาพ เริ่มตั้งแต่การบำรุงดินโดยใช้ปุ๋ยคอกปุ๋ยหมักที่ผลิตขึ้นเอง การใชน้ ้ำส้มควันไม้ นำ้ อีเอ็ม สมุนไพรตา่ งๆ ไลแ่ มลง รวมถงึ การหาเมล็ดพันธุ์ท่ปี ลอดสารมาปลกู และคดั เมล็ดพันธุ์ ท้ัง แปลงปลูกผักยังอยูใ่ นโรงเรอื นเพ่ือปอ้ งกันศตั รูพืชรบกวนด้วย ผลผลิตของไร่น้ี จึงมีคุณภาพ บริโภคได้อย่างปลอดภัย ผลผลิตจะหมุนเวียนไปตามฤดูกาล ไม่ว่าจะเป็นคะน้า กวางตุ้ง ผักกาดขาว ผักสลัด ผักกาดหอม ขึ้นฉ่าย ผักชี จิงจู ฉ่าย หรือวอเตอร์เครส ในช่วงหน้าหนาวก็มีหัวไชเท้า กะหล่ำปลี แครอต บร็อกโคลี เพิ่มเติมเข้ามา ในอนาคตจะมี ผลไมป้ ลอดสาร เชน่ มะม่วง ส้ม อะโวคาโด จำหน่ายด้วย จุดเดน่ ของภูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ ใสใ่ จคณุ ภาพกระบวนการผลติ เร่มิ ต้ังแตก่ ารบำรุงดนิ โดยใช้ปุ๋ยคอกปุย๋ หมักท่ผี ลิตขน้ึ เอง การใช้น้ำส้มควันไม้ นำ้ อีเอ็ม สมุนไพรต่างๆ ไล่แมลง รวมถงึ การหาเมลด็ พนั ธ์ุที่ปลอดสารมาปลูกและคัดเมล็ดพันธุ์ วัตถดุ บิ ทใ่ี ชป้ ระโยชน์ในผลติ ภัณฑ์ท่ีเกิดจากภูมปิ ญั ญา ซง่ึ พื้นท่ีอ่นื ไม่มีได้แก่

4 การบำรงุ ดนิ โดยใช้ปยุ๋ คอกปุ๋ยหมักทผี่ ลิตข้ึนเอง การใช้น้ำส้มควนั ไม้ น้ำอเี อ็ม สมุนไพรต่างๆ ไลแ่ มลง รวมถึง การหาเมลด็ พนั ธ์ทุ ่ีปลอดสารมาปลกู และคดั เมล็ดพันธ์ุ ทงั้ แปลงปลกู ผกั ยังอยใู่ นโรงเรือนเพ่อื ป้องกันศตั รูพืชรบกวน รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด  มีการเผยแพรผ่ ่านสื่อมวลชนและสื่ออน่ื อย่างแพร่หลาย  มีการดูงานจากบุคคลภายนอกจำนวน 15 ครั้ง จำนวน 300 คน  มีการนำไปใชใ้ นพื้นที่ 30 คน นอกพ้นื ที่ 50 คน ลักษณะของภูมิปญั ญาทอ้ งถิ่น การพัฒนาต่อยอดภูมิปญั ญาให้เปน็ นวัตกรรม คณุ ค่า (มลู ค่า) และความภาคภูมิใจ  ภมู ิปัญญาท้องถ่ิน/นวตั กรรมที่คิดค้นข้นึ มาใหม่ การทำเกษตรผสมผสาน ใหค้ วามรูก้ บั ทุกทา่ นที่สนใจได้ศึกษาเรยี นรูเ้ พื่อนำรปู แบบกลบั ไปใชก้ บั ตนเอง แบบเดมิ คือการทำการเกษตรแบบผสมผสาน โดยไม่ใชส้ ารเคมี การพัฒนาต่อยอด คือการทำการเกษตรแบบออร์แกนิก และเปิดโอกาสให้ประชาชนได้มาศึกษาเรียนรู้เรื่อง ผกั ปลอดสารพิษ รายละเอียดเพ่มิ เติม(สามารถใสข่ ้อมูล ลิงค์วดี โี อ หรอื เวบ็ ไซต์ที่เกย่ี วข้อง - Facebook ฟาร์มฝันแม่ เกษตรอินทรยี ์ รปู ภาพเจ้าของภมู ปิ ัญญา นายภญิ ญา ศรสี าหร่าย

ที่ปรึกษา คณะผู้จัดทำ นางศิรเิ พ็ญ สังขบูรณ์ ผูอ้ ำนวยการ กศน.อำเภอเมอื งราชบรุ ี นางวิไลวรรณ สนุ ทรปี ระสทิ ธิ์ ครูชำนาญการพิเศษ นางสาวอัญชลี ภวู พานชิ ครูชำนาญการพเิ ศษ นางสาวจรี นนั ท์ คงมน่ั ครูชำนาญการ นางสาวธนพร อยู่เยน็ ครูชำนาญการ นางสาวสุมารี พลจันทร์ บรรณารักษป์ ฏิบัติการ นางงามตา แสงอไุ ร ครอู าสาสมัครนอกโรงเรียน ผพู้ ิมพ์และเรยี บเรยี งข้อมูล ครู กศน.ตำบลนำ้ พุ นายประชา ยงค์อำนวย


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook