Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ธ.ค.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.สามเรือน อ.เมือง จ.ราชบุรี

ธ.ค.62 ภูมิปัญญาท้องถิ่น ต.สามเรือน อ.เมือง จ.ราชบุรี

Published by kl_1270010001, 2020-11-02 05:27:52

Description: แบบข้อมูลคลังปัญญาเดือน ธ.ค.62 แก้ไข

Search

Read the Text Version

กศน.ตาบลสามเรอื น ศูนยก์ ารศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยอาเภอเมืองราชบุรี สานักงานส่งเสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศัยจังหวัดราชบรุ ี สานกั งานสง่ เสรมิ การศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอธั ยาศยั สานักปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธิการ

คานา ด้วย กศน.ตาบลสามเรือน ได้ดาเนินการจัดทาภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชนในพ้ืนที่ตาบลสาม เรือน เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และฝึกฝนได้ท้ังจาก การศึกษาด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อื่น การนาภูมิปัญญามาเผยแพร่เพ่ือให้ประชาชนในพ้ืนที่ได้ นาไปใช้และเรียนรู้เพื่อเพ่ิมอาชีพ และประสบการณ์ให้กับตนเองและครอบครัว ให้มีการเจริญเติบโตอย่าง ตอ่ เนื่องและเกื้อกลู ในการผลิตซง่ึ กนั และกัน โดยการใช้ทรัพยากรทม่ี อี ยใู่ ห้เกิดประโยชนแ์ ละไมม่ ีสารพิษ เช่น ดิน น้า แสงแดดอย่างเหมาะสม เกิดประโยชน์สูงสุด มีความสมดุล ของสภาพแวดล้อมอย่างต่อเนื่อง และเกิดผลใน การเพ่ิมพูนความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตาบลสามเรือน หวังว่าเอกสารเล่มนี้คงมี ประโยชน์ต่อผู้อา่ นและผปู้ ฏบิ ตั งิ านต่อไป กศน.ตาบลสามเรือน ธนั วาคม 2562

สารบัญ คานา : นางปราณี จันทร์หอม หนา้ สารบญั : นายประสงค์ รอดพนั ธ์ ภมู ปิ ญั ญา กศน.ตาบลสามเรอื น : นางเยาวภา ทัศพงษ์ 1 5 - ภมู ปิ ัญญา ข้าวหลาม 8 - ภมู ปิ ัญญา แตรวงมติ รสัมพันธ์ - ภมู ปิ ญั ญา การแปรรูปผลไม้ คณะผูจ้ ัดทา

แบบบนั ทึกชดุ ข้อมูลคลงั ปญั ญา-ภูมปิ ญั ญาท้องถนิ่ ตาบลสามเรือน อาเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี ชือ่ ภมู ปิ ัญญา : ขา้ วหลาม ชอ่ื นางปราณี นามสกลุ จันทร์หอม วันเดอื นปีเกิด 21 พฤษภาคม 2499 ทอ่ี ยู่ปจั จบุ ัน (ทสี่ ามารถติดต่อได้) บ้านเลขที่ 12 หมทู่ ี่ 4 ตาบลสามเรือน อาเภอเมือง จังหวดั ราชบุรี รหสั ไปรษณีย์ 70000 โทรศพั ท์ 099-9288831 Line ID : 0999288831 E-mail address: - Facebook : - ความเป็นมาของบคุ คลคลงั ปัญญา นางปราณี จันทร์หอม มีอาชีพเป็นเกษตรกร พ้ืนเพอยู่บ้านโคกคราม หมู่ 4 ตาบลสามเรือน ด้วย ประสบการณก์ ารทาอาชพี เผาข้าวหลามทไ่ี ดร้ บั การถ่ายทอดจากรนุ่ พอ่ รุ่นแม่ โดยจะเริ่มแช่ข้าวเหนียวไว้ข้ามคืน และผสมตามอัตราส่วน จากน้นั จงึ จะทาการเผา เม่อื เสรจ็ แล้วจะนาไปขายบริเวณหน้าโดมตลาดศรีเมือง และจะ มีพ่อค้าคนกลางมารับซ้ือถึงที่บ้าน สถานท่ีประกอบการทาข้าวหลาม คือบ้านเลขท่ี 12 หมู่ 4 ตาบลสามเรือน อาเภอเมอื ง จังหวัดราชบรุ ี แต่ก่อนสืบทอดมาจากแม่แล้วค่อยๆ เรียนรู้ปรับแต่งสูตรเพ่ือให้ตรงกับความต้องการ ของลูกค้า ปัจจุบันได้นาความรู้ความชานาญมาประอาชีพอาชีพเผาข้าวหลามในครัวเรือนเอง และได้มีการ ถ่ายทอดส่งสืบต่อรุ่นลูกและหลาน โดยขณะนี้มีปริมาณการผลิตต่อวันอยู่ที่ประมาณ 600 กระบอก คิดราคา ขายกระบอกละ 15-20-25 ตามแต่ขนาดของข้าวหลาม วัตถุดิบที่สาคัญคือไม้ไผ่ ซ่ึงหากใช้ไม้ไผ่ 40 ลาจะ สามารถบรรจุขา้ วหลามเผาได้ 15 กระบอก ราคาต้นทุนไม้ลาละ 55 บาท เบอร์โทรศัพท์ของนางปราณี จันทร์ หอม ทสี่ ามารถตดิ ต่อได้คือ 099-9288831 จดุ เดน่ ของภมู ิปัญญาท้องถ่ิน ดั้งเดิมเป็นคนทางานประกอบอาชีพเกษตรกร และพ่อแม่มีความรู้ ความชานาญด้านการเผาข้าวหลาม จนได้มกี ารถ่ายทอดมาสู่รนุ่ ของตน ทาใหส้ ามารถเผาขา้ วหลามได้ ในอดีตใชว้ ธิ กี ารเผาจากการฝังฐานกระบอกใน หลมุ ดินเป็นแถว ๆ แต่เน่ืองจากมีการผลิตเป็นจานวนมากข้ึน จึงได้ออกแบบเตาเผาเป็นลักษณะการก่ออิฐและ ใชถ้ า่ นและกงิ่ ไมจ้ ากไร่มาเป็นวัตถุให้ความร้อน ข้าวหลาวท่ีเผาแบบปลอดสารเจือปน สามารถเก็บไว้ได้ 2-3 วัน โดยไม่ตอ้ งแชต่ ้เู ย็น วัตถดุ ิบที่ใชป้ ระโยชนใ์ นผลติ ภัณฑท์ ่ีเกดิ จากภูมปิ ัญญา ซึ่งพน้ื ที่อ่นื ไม่มีได้แก่ ไม้ไผ่ ข้าวเหนยี ว กะทิ ถั่วดา และ ถั่วลิสง รายละเอียดของภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ รูปแบบในการถา่ ยทอดความรู้ ดา้ นการศึกษาดงู าน ด้านการอบรมให้ความรู้ ฝกึ ปฏบิ ัติในพนื้ ที่จรงิ ประโยชน์ทไ่ี ดจ้ ากภมู ิปญั ญาคือสามารถนาไปปฏบิ ัติได้จริง

รูปแบบและลักษณะการถ่ายทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ภมู ิปัญญาทอ้ งถิน่  ยงั ไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบุคคล  เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน  มีการเผยแพรผ่ า่ นสอ่ื มวลชนและส่อื อ่นื อย่างแพร่หลาย  มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน.....................ครงั้ จานวน.......................คน  มีการนาไปใช้  อืน่ ๆ (ระบุ) ลักษณะของภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมปิ ัญญาใหเ้ ปน็ นวัตกรรม คณุ ค่า (มลู ค่า) และความภาคภมู ใิ จ  ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ /นวตั กรรมที่คิดคน้ ขน้ึ มาใหม่  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถ่ินด้ังเดมิ ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก  ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถิ่นที่ได้พัฒนาและต่อยอด แบบเดิม คือ การเผาในอดตี ใชว้ ิธีการเผาจากการฝังฐานกระบอกในหลมุ ดินเป็นแถว ๆ การพัฒนาต่อยอด คือ เน่ืองจากปัจจบุ ันมกี ารผลิตเป็นจานวนมากขึน้ จงึ ไดอ้ อกแบบเตาเผาเป็น ลกั ษณะการก่ออิฐและใชถ้ ่านและกิ่งไมจ้ ากไร่มาเป็นวตั ถุให้ความรอ้ น ขา้ วหลาวทเ่ี ผาแบบปลอดสารเจอื ปน สามารถเกบ็ ไวไ้ ด้ 2-3 วนั โดยไม่ต้องแชต่ เู้ ย็น

รูปภาพเจา้ ของภูมปิ ัญญา ชื่อ นางปราณี จนั ทร์หอม รูปภาพภูมิปญั ญา กระบวนการผลิตการเผาขา้ วหลามของนางปราณี จนั ทรห์ อม ใชก้ ารเผาแบบเตาก่ออฐิ

รูปภาพภูมิปญั ญา ผลผลติ ทเ่ี ผาเสร็จแลว้ รอแม่ค้ามารบั ไปจาหนา่ ย และขา้ วหลามท่ีปรุงเสรจ็ แล้วรอเผาตอ่ ไป

แบบบันทึกชดุ ข้อมลู คลงั ปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ตาบลสามเรือน อาเภอเมือง จังหวัดราชบุรี ชือ่ ภูมิปัญญา แตรวงมติ รสัมพันธ์ ชื่อ นายประสงค์ นามสกุล รอดพนั ธ์ วันเดือนปีเกิด - - 2497 ทอ่ี ยปู่ จั จุบนั (ทส่ี ามารถติดต่อได้) บ้านเลขท่ี 50 หมู่ 3 ตาบลสามเรือน อาเภอเมอื ง จงั หวดั ราชบุรี รหสั ไปรษณีย์70000 โทรศพั ท์ 085-7036199 โทรสาร - Line ID : 0857036199 ความเปน็ มาของบุคคลคลงั ปัญญา แตรวงมิตรสัมพันธ์ ของตาบลสามเรือน จัดตั้งขึ้นมาโดย นายประสงค์ รอดพันธ์ุ (เจ้าของวง) หรือที่ ชาวบ้านเรียกกันว่าลุงสงค์ เหตุที่ก่อตั้งแตรวงข้ึนมาเพราะในสมัยก่อนเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2513 ตอนนั้นลุง สงค์อายุ 17 ปี มีอาชีพทานาทาไร่ แล้วมักจะมีช่วงเวลาที่ว่างจากงานบ่อย ด้วยความที่มีใจรักและชอบ ทางดา้ นดนตรีอยูแ่ ล้ว จึงเกิดความคิดที่อยากจะจัดตั้งแตรวงข้ึนมาเป็นของตัวเอง เพ่ือเพ่ิมรายได้ให้กับตัวเอง อีกทางหนึ่ง จึงได้เก็บสะสมเงินจากการทานาทาไร่ มาเพ่ือซื้อเคร่ืองดนตรี โดยเริ่มต้นซ้ือปี่ดา (คลาริเน็ต) บารโิ ทน ยโู ฟเนยี ม ทรมั เป็ต อยา่ งละ 1 ชิน้ (ซ่ึงลุงสงค์บอกวา่ ในสมัยกอ่ นราคาเคร่ืองดนตรียังไม่แพง ช้ินละ ประมาณ 1,000 กว่าบาท ซ่ึงสมัยน้ีตกชิ้นละหลายหมื่นบาท หลังจากน้ันลุงสงค์ก็เริ่มชักชวนเพ่ือนท่ีสนิทกัน ในหมบู่ า้ นท่ีพอจะมเี วลาว่างจากงาน ไปซ้อมเล่นดนตรีกันท่ีวงของครู พันธ์ บุจนะ ซ่ึงเป็นเจ้าของแตรวงและ เปน็ พ่ีภรรยาของลงุ สงค์ในสมยั นั้น ลุงสงคแ์ ละเพ่อื นๆ เล่าเรียนและฝึกซ้อมในช่วงเวลาประมาณ 18.00-23.00 นาฬิกา ในช่วงวันท่ีว่างจากการทางานเป็นเวลาประมาณ 3 เดือนก็สามารถร่วมออกงานในวงของครูพันธ์ได้ เร่ือยมา หลังจากน้ันเป็นเวลาประมาณ 2 ปี เพ่ือนๆของลุงสงค์ที่ฝึกซ้อมมาด้วยกัน ต่างก็พากันเลิกราไป เนอื่ งด้วยความรับผิดชอบและหนา้ ที่การงาน จึงเหลือเพียงลุงสงค์คนเดียว ในตอนน้ันหรือเม่ือประมาณปี พ.ศ. 2515 ลุงสงค์จึงตัดสินใจต้ังแตรวงข้ึนมาเป็นของตัวเอง และทาการตั้งชื่อแตรวงของตัวเอง โดยนาช่ือของครู พันธ์ บุจนะ มารวมไว้ด้วยจึงเป็นท่ีมาของชื่อวง “มิตรสัมพันธ์” โดยมีการหาเด็กใหม่มาหัดเล่นเคร่ืองดนตรี ประมาณ 10 คน และมกี ารสับเปลยี่ นตัวเขา้ ออกบา้ ง จนในปัจจุบันนี้ปี พ.ศ. 2553 สมาชิกในวงของลุงสงค์ มจี านวนทง้ั หมด 13 คน และแตรวงมติ รสัมพันธ์กอ็ ย่มู าโดยประมาณถงึ 48 ปแี ล้ว จุดเด่นของภมู ปิ ัญญาท้องถ่ิน สมาชิกในวงมติ รสมั พันธ์ทส่ี มัครใจมาเล่นดนตรแี ตรวงจะถูกคดั เลอื ก โดยมกี ารทดสอบดทู กั ษะในการ เล่นเครื่องดนตรี ถา้ ทดสอบวา่ มที ักษะดแี ล้วกจ็ ะเป็นผู้สอนการเล่นเคร่ืองดนตรตี ่อไป และทาการฝกึ ซ้อมจน เลน่ เคร่ืองดนตรีชนดิ นนั้ จนชานาญ วัตถุดิบทใ่ี ช้ประโยชน์ในผลติ ภณั ฑท์ เ่ี กดิ จากภูมิปญั ญา ซึ่งพืน้ ท่อี ่นื ไม่มีไดแ้ ก่ ดนตรีสากล เช่น ปี่ดา (คลาริเนต็ ) บาริโทน ยโู ฟเนยี ม ทรัมเป็ต กลองชุด ฉง่ิ ฉาบ กรบั

รูปแบบและลักษณะการถา่ ยทอด การประชาสัมพันธ์ เผยแพรภ่ มู ิปัญญาท้องถน่ิ  ยงั ไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน  มกี ารเผยแพร่ผ่านส่อื มวลชนและสื่ออืน่ อย่างแพรห่ ลาย  มีการดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน.....................ครั้ง จานวน.......................คน  มีการนาไปใช้  อน่ื ๆ (ระบุ) ลกั ษณะของภูมิปญั ญาท้องถิ่น การพัฒนาต่อยอดภูมิปญั ญาใหเ้ ปน็ นวตั กรรม คณุ ค่า (มลู คา่ ) และความภาคภูมใิ จ  ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน/นวตั กรรมท่ีคิดค้นขนึ้ มาใหม่  ภูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ดั้งเดมิ ไดร้ ับการถ่ายทอดมาจาก  ภูมิปญั ญาท้องถ่นิ ท่ีไดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดิม คือ แตรวง เป็นเคร่อื งดนตรที ี่อยใู่ นวงดนตรีทผ่ี สมด้วยเคร่อื งดนตรี (เป่า,ตี) ชนิดต่างๆเพียงสองตระกลู เท่านน้ั วงดนตรีในลักษณะนีเ้ หมาะสาหรบั ใชบ้ รรเลงนาในการเดนิ แถวในทุกสภาพท้องถ่นิ เพราะแตรเป็น เครือ่ งดนตรีท่ีสรา้ งขึ้นดว้ ยโลหะ และไม่มสี ่วนประกอบท่กี ระจกุ กระจกิ เหมอื นเครือ่ งดนตรีอืน่ ๆ ทนต่อการ โยกย้ายหรอื หอบหิว้ ไปได้โดยสะดวก การพัฒนาต่อยอด คือ ปัจจุบนั แตรวงไดม้ ีการพัฒนาการแตรวงพื้นบา้ นทใี่ ชใ้ นกจิ กรรมชาวบ้านในการ แห่ประกอบงานรน่ื เริง งานบวช งานสมโภช งานบญุ ตา่ ง ๆ โดยบรรเลงแบบวงปีพ่ าทย์ คือใช้บทเพลงท่ใี ช้ กับวงดนตรีท่ัวไป โดยเน้นความสนกุ สนานแตรวงพื้นบ้านจะมเี ครื่องดนตรีไม่มากนัก เครือ่ งดนตรที ี่ใชจ้ ะเปน็ จาพวกแตร การฝึกหดั กจ็ ะใช้การถ่ายทอดสบื ตอ่ กนั มาไม่มกี ารดูโนต้ เพลงในเวลาการบรรเลงต้องอาศยั การ จดจา นัง่ ล้อมวงกันบรรเลงแตรวงจงึ เปน็ การละเลน่ พ้นื บ้านในการดารงชวี ติ ของชาวบ้านผู้ทเ่ี ล่นทง้ั ชายและ หญิงทุกวัย ตงั้ แต่เด็กหน่มุ สาวผูใ้ หญ่ไปจนถงึ ผู้สงู อายุตามโอกาส

รูปภาพเจ้าของภูมปิ ัญญา นายประสงค์ รอดพนั เจา้ ของภูมิปัญญาแตรวงมติ รสัมพนั ธ์ รูปภาพภมู ปิ ัญญา

แบบบนั ทกึ ชุดข้อมลู คลงั ปญั ญา-ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถนิ่ ตาบลสามเรือน อาเภอเมือง จังหวัดราชบรุ ี ชอ่ื ภูมิปัญญา การแปรรูปผลไม้ ชื่อ นางเยาวภา นามสกลุ ทศั พงษ์ วันเดอื นปเี กดิ 26 มีนาคม 2511 ท่อี ยู่ปัจจุบัน (ท่ีสามารถติดตอ่ ได้) บา้ นเลขท่ี 23 หมทู่ ่ี 2 ตาบลสามเรอื น อาเภอเมือง จงั หวดั ราชบุรี รหสั ไปรษณยี ์ 70000 โทรศัพท์ 082-5782454 โทรสาร - Line ID 0825782454 E-mail address: - Facebook - ความเป็นมาของบคุ คลคลงั ปัญญา นางเยาวภา ทศั พงษ์ เรม่ิ ต้นจากความคดิ ที่ต้องการชว่ ยเหลือครอบครัว ซ่ึงมักจะประสบปัญหารายได้ไม่ เพยี งพอกับรายข่าย ก็เลยคิดกันว่าเราน่าจะประกอบอาชีพเสริมเพ่ิมรายได้ให้กับครอบครัว และเป็นการใช้เวลา วา่ งให้เกิดประโยชน์ จึงได้คิดค้นสูตรการแปรรูปผลไม้เช่น ฝรั่งข้ึนมา และเห็นว่าพื้นที่ตาบลสามเรือนและตาบล ใกล้เคียงมีสวนฝร่ังอยู่หลายสวน และฝรั่งก็มีคุณภาพดี จึงได้ไปดูงานและเข้ารับการอบรมฝึกหัดการทาท็อฟฟี่ จากผลไม้ โดยใช้พื้นท่ีบ้านของตนเองเป็นสถานท่ีปฏิบัติงาน เร่ิมจากการผลิตผลไม้แปรรูป ฝร่ังแก้ว ฝร่ังหยี และท็อฟฟีฝ่ รัง่ ออกจาหนา่ ยตามร้านคา้ ทว่ั ไปในจงั หวัดราชบุรี จดุ เด่นของภูมิปัญญาท้องถิ่น เปน็ การนาผลไม้ในพื้นที่มาแปรรปู เพือ่ เพมิ่ มลู คา่ และเปน็ การสร้างงาน สรา้ งอาชีพในชุมชน ชาวบ้านได้ ปลูกฝร่ังเพ่ือสง่ ผลติ ให้กับทางกล่มุ ได้นามาทาสินค้า และแม่บา้ นท่ีวา่ งงานได้มาทางานเพื่อสรา้ งอาชีพเสรมิ เพมิ่ รายได้ วตั ถุดบิ ทีใ่ ช้ประโยชนใ์ นผลิตภณั ฑท์ ่ีเกิดจากภมู ิปญั ญา ซ่ึงพื้นที่อ่นื ไม่มไี ดแ้ ก่ ฝร่งั ตามฤดูกาลจากพ้ืนที่ตาบลสามเรอื น (ฝรั่งแป้นและกิมจู) รปู แบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พันธ์ เผยแพร่ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่  ยงั ไมเ่ คยมีการเผยแพร/่ ใชเ้ ฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน  มีการเผยแพร่ผา่ นสือ่ มวลชนและสื่ออ่นื อยา่ งแพรห่ ลาย  มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน.....................คร้งั จานวน.......................คน  มกี ารนาไปใช้  อ่นื ๆ (ระบ)ุ ลักษณะของภมู ิปัญญาท้องถ่ิน การพัฒนาตอ่ ยอดภูมปิ ัญญาให้เปน็ นวตั กรรม คณุ ค่า (มูลค่า)และความภาคภมู ใิ จ  ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน/นวตั กรรมทคี่ ดิ คน้ ขน้ึ มาใหม่  ภูมิปัญญาทอ้ งถ่ินด้งั เดิมได้รบั การถ่ายทอดมาจาก  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ที่ได้พัฒนาและต่อยอด

แบบเดิม คอื นาฝร่ังสดมาขายสู่ตลาด และทานา้ ฝร่ังขาย มีอายกุ ารเกบ็ รักษาผลผลติ ส้นั วัตถุดิบมีความเสียหายมาก และชว่ งระยะเวลาจาหนา่ ยไม่ตลอดทัง้ ปี การพฒั นาต่อยอด คอื ปัจจุบันได้นาฝรั่งมาแปรรูปเป็นสินค้าท่ีหลากหลาย มีอายุการเก็บรักษาเพ่ือรอจาหน่ายได้นานข้ึน พร้อมทั้งมีหน่วยงานราชการเข้ามาสนับสนุน ให้ความรู้ด้านการตลาด การบรรจุภัณฑ์ และสอนการแปรรูปที่ หลากหลายข้ึน จนสามารถมีผลติ ภัณฑ์ทจ่ี าหนา่ ยได้ตลอดปี กระท่ังในปัจจุบันได้พัฒนาต่อยอดเพ่ิมช่องทางการ ขายผ่านออนไลน์ และตัวแทนจาหน่ายที่สามารถครอบคลุมลูกค้าได้กว้างขวางขึ้นกว่าเดิม สินค้าของชุมชน สามารถเก็บรักษาได้ยาวนานข้ึน และเอื้ออานวยต่อการขนส่งได้สะดวกข้ึน ก็มีส่วนช่วยเพิ่มยอดขายได้มากข้ึน ดว้ ย รสชาติของฝร่ังหยียงั ทรงคณุ ค่าดว้ ยวัตถดุ ิบคุณภาพ เดมิ ทีปรุงรสด้วยมือและใสใ่ จทกุ ขน้ั ตอนการทา การคัด สรรวัตถุดิบจากแหล่งปลูกโดยตรง แต่เนื่องจากยอดขายที่พัฒนาข้ึนอย่างต่อเน่ือง ด้วยช่องทางการขายท่ีขยาย เพ่มิ เติม ทาใหก้ ารผลิตดว้ ยมือไม่ทนั การ ภายหลงั จงึ ขยบั ขยายกิจการต่อยอดโดยการส่ังเครื่องจักรเข้ามาช่วยอีก หนง่ึ แรง รองรับอัตราการผลติ ที่เติบโตขนึ้

รูปภาพเจา้ ของภูมิปัญญา นางเยาวภา ทัศพงษ์ เจ้าของภมู ปิ ัญญาการแปรรูปผลไม้ รปู ภาพภมู ิปญั ญา การเขา้ รบั การฝึกอบรมจากหน่วยงานต่าง ๆ เพ่ือเพ่ิมพูนความร้จู ากประสบการณ์เดมิ

รปู ภาพภมู ปิ ญั ญา ฝร่ังหยี ผลผลติ จากการนาฝร่งั ในพ้ืนท่ีตาบลสามเรือนมาแปรรูปเพอ่ื เพม่ิ มลู คา่ การบรรจุภณั ฑ์ท่ีทันสมัย พร้อมวางจาหนา่ ยตามร้านค้าของฝาก ของท่รี ะลึกและตามป๊ัมนา้ มนั ช้นั นา

ทปี่ รึกษา คณะผจู้ ดั ทา นางศิริเพ็ญ สงั ขบูรณ์ นางสาวจรี นันท์ คงมั่น ผอ.กศน.อาเภอเมอื งราชบรุ ี ครู รา่ ง/เรียบเรียงและจดั พมิ พ์ นางณิชากร วงศใ์ หญ่ ครู กศน.ตาบลสามเรือน


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook