Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore พ.ย.62 ตำบลคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี

พ.ย.62 ตำบลคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี

Published by kl_1270010001, 2020-09-30 21:32:12

Description: พ.ย.62 ตำบลคูบัว อ.เมือง จ.ราชบุรี

Search

Read the Text Version

ทาเนียบภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น เดือนพฤศจิกายน 2562 กศน.ตาบลคบู ัว ศูนยก์ ารศกึ ษานอกระบบและการศกึ ษาตามอัธยาศัยอาเภอเมืองราชบรุ ี สานกั งานส่งเสริมการศกึ ษานอกระบบและการศึกษาตามอธั ยาศัยจงั หวดั ราชบุรี สานักงานปลดั กระทรวงศกึ ษาธกิ าร กระทรวงศึกษาธกิ าร

คานา ด้วย กศน.ตาบลคูบัว ได้ดาเนินการจัดทาภูมิปัญญาในท้องถิ่น ให้กับประชาชนในพื้นท่ีตาบลคูบัว เพื่อเพิ่มพูนความรู้และทักษะในการดาเนินชีวิตแบบพอเพียง สามารถเรียนรู้และฝึกฝน ได้ท้ังจากการศึกษา ด้วยตนเอง และได้รับการถ่ายทอดจากผู้อ่ืน การนาภูมิปัญญามาเผยแพร่เพ่ือให้ประชาชนในพ้ืนที่ได้นาไปใช้ และเรียนรู้เพอ่ื เพิ่มอาชพี และประสบการณ์ให้กบั ตนเองและครอบครัว ให้มีการเจริญเติบโตอย่างต่อเนื่องและ เก้ือกูลในการผลิตซึ่งกันและกัน โดยการใช้ทรัพยากรท่ีมีอยู่ให้เกิดประโยชน์และไม่มีสารพิษ เช่น ดิน น้า แสงแดดอย่างเหมาะสม เกดิ ประโยชน์สูงสุด มคี วามสมดลุ ของสภาพแวดลอ้ มอยา่ งต่อเนอ่ื ง และเกิดผลในการ เพิ่มพนู ความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติด้วย กศน.ตาบลคุบัว หวังว่าเอกสารเล่มน้ีคงมีประโยชน์ต่อ ผูอ้ า่ นและผู้ปฏิบตั งิ านต่อไป กศน.ตาบลคูบวั พฤศจกิ ายน 2562

สารบัญ คานา : นายจวน แหวนเครอื หนา้ : นางพวน ปลม้ื บาเรอ สารบญั : นายอานาจ บญุ เปร้ียว 1 3 กศน.ตาบลคบู วั 5 - ภมู ิปัญญา การทาขลุ่ย - ภมู ปิ ัญญา การทาไมเ้ กาหลัง - ภูมิปัญญา การทาครกจาไม้มะพรา้ ว คณะผู้จดั ทา

แบบบันทกึ ชุดขอ้ มูลคลงั ปญั ญา-ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ตาบลคูบัว อาเภอเมอื งราชบรุ ี จงั หวดั ราชบุรี ชือ่ ภมู ปิ ัญญา : การทาขลุ่ย ชอ่ื นายจวน นามสกุล แหวนเครอื ท่ีอยู่ปัจจุบัน (ท่ีสามารถติดต่อได้) : บ้านเลขท่ี 119 หมู่ที่ 13 ตาบล/แขวงคูบัว อาเภอเมืองราชบุรี จังหวัด ราชบรุ ี รหัสไปรษณยี ์ 70000 โทรศัพท์ : - ความเป็นมาของบคุ คลคลังปญั ญา ขลุ่ยนับได้ว่าเป็นเครื่องดนตรีไทยอีกชนิดหนึ่ง ท่ีมีความใกล้ชิดกับชีวิตความเป็นอยู่ของคน สมัยก่อน ในสมัยนั้นยังไม่มีเคร่ืองดนตรีมากเหมือนในสมัยนี้ ในตอนน้ันเป็นเคร่ืองดนตรีไทยท่ีสะดวกอย่างย่ิง ในการต่อการพกพาไปยังท่ีต่าง ๆ ขลุ่ยมีวิธีเล่นไม่ยาก ไม่ซับซ้อน เมื่อเปรียบเทียบกับเครื่องดนตรีชนิดอ่ืน ใน การทาขล่ยุ นัน้ จาเป็นใช้ความละเอยี ด ประณีต และความชานาญอย่างยิ่งในทุกข้ันตอน ในสมัยนั้นทาขลุ่ยด้วย ท่อนไม้ธรรมดา จนกระท่ังมาถึงช่วงท่ีมีการปลูกไม้ไผ่ ในช่วงน้ันเป็นแค่การลองทาเฉย ๆ แต่เป็นเสียงที่ออก มาแลว้ เพราะ ๆ มากกว่ากบั ทกี่ ารทาขลุ่ยจากท่อนไม้ธรรม ในตอนน้ันก็ประสบความสาเร็จที่ทาแล้วมันมีเสียง ออกมาอย่างไพเราะมาก ถึงแม้ว่าจะเป็นเพียงชาวบ้านท่ีขลุ่ยขาย แต่มันคือความภาพภูมิใจ และเป็นจุดที่ เปล่ียนชวี ติ จนมาถึงทุกวันนี้ที่ยังเป็นภูมิปัญญาที่ทาให้ผู้คนในตาบลคูบัวยังมีไห้พบเห็นและเป็นมรดกชุมชนใน ทอ้ งถน่ิ อกี ดว้ ย จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน ในการทาขลุ่ยของท่ีน่ีเป็นการทาแบบภูมิปัญญาแบบดั่งเดิม และมีที่เดียวในตาบลคูบัวที่ยังมีการ อนุรักษ์ภูมิปัญญาน้ีไว้ให้ผู้คนได้มาเรียนรู้ได้เรื่อย ๆ ท่ีสามารถแสดงภูมิหลังของชุมชนในอดีตจนถึงปัจจุบันได้ เป็นอยา่ งดี วัตถดุ ิบทใ่ี ช้ประโยชน์ในผลิตภณั ฑท์ ีเ่ กดิ จากภูมิปัญญา ซ่งึ พ้ืนที่อืน่ ไมม่ ไี ด้แก่ ในสมัยนั้นใช้ท่อนไม้ในการทาขลุ่ย เร่ิมมาหลัง ๆ นี้ใช้ไม้ไผ่ท่ีมีอยู่ในพื้นที่ โดยเรารู้รายละเอียด ใน การปลูกไผ่ ที่จะต้องมาทาขลุ่ย เพราะต้องเป็นไม้ไผ่ท่ีมีความละเอียดมากพอท่ีจะทาให้เกิดเป็นเสียงเพราะ ๆ ได้

รายละเอียดของภูมิปัญญาท้องถิ่น (ลักษณะภูมิปัญญา / รูปแบบ / วิธีการ / เทคนิคท่ีใช้ / ภาพถ่ายหรือ ภาพวาดประกอบ / พัฒนาการของผลิตภัณฑ์หรือผลงาน / กระบวนการสร้างภูมิปัญญา / ลักษณะการใช้ ประโยชน์จากภมู ิปญั ญาท่เี กดิ ข้ึน ฯลฯ ) รูปแบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสัมพนั ธ์ เผยแพรภ่ ูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน ( ท่ีสะท้อนความน่าเช่ือถือ การยอมรับผ่านบุคคล / ชุมชน / องค์กร / รางวัล / ใบประกาศ / การจด ทะเบียนลิขสิทธิ์ สอ่ื ดจิ ทิ ัล / เอกสารเผยแพร่ แผ่นพบั คลิป (VDO) ฯลฯ )  ยังไม่เคยมีการเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชมุ ชน  มกี ารเผยแพร่ผา่ นสอ่ื มวลชนและสือ่ อื่นอย่างแพรห่ ลาย  มีการดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน 3 – 5 ครง้ั จานวน 150 คน  มกี ารนาไปใช้ ในพ้ืนที่ 20 – 50 คน นอกพ้นื ท่ี.......-.......คน  อื่น ๆ (ระบุ) .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. ................................................. ...................... ลักษณะของภูมิปัญญาท้องถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมิปัญญาให้เป็นนวัตกรรม คุณค่า (มูลค่า) และความภาคภูมใิ จ  ภูมปิ ัญญาท้องถิน่ /นวัตกรรมที่คิดคน้ ขึ้นมาใหม่  ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ดั้งเดิมไดร้ ับการถ่ายทอดมาจาก แต่เดมิ นัน้ เปน็ แคก่ ารทาขลุ่ยโดยใชภ้ ูมปิ ัญญาที่คนอ่ืนทาไมไ่ ด้ หลังจากทีไ่ ด้เผยแพร่ตามหน่วยงานต่าง ๆ ทาให้ครอบครัวสามารถเลี้ยงชีพในครอบครัวได้ จากท่ีทาไปแล้วขายได้ไม่เยอะ แต่ปัจจุบันนี้สามารถเพิ่ม มูลค่าใหก้ บั ผลิตภัณฑเ์ หลา่ นีม้ มี ูลค่ามากเพ่ิมขน้ึ และมีการส่ังทาเพ่อื นาไปขายตอ่ อกี ด้วย  ภมู ปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ ทไ่ี ดพ้ ัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คือ จากเดมิ เป็นการทาจากท่อนไม้ธรรมดา ไม้ลวก หรือไม้ผากตามป่า ท่ตี ้องมาตากแดดจนไดท้ ่ี

การพฒั นาตอ่ ยอด คอื จากเดิมที่ใช้ไม้ธรรมดา จนมาถึงจุด ๆ หน่ึงที่ค้นพบว่าการทาขลุ่ยจากไม้ไผ่เสียงจะไพเราะ มากกว่าท่อนไมธ้ รรมดา รายละเอียดเพิ่มเตมิ (สามารถใส่ข้อมลู ลงิ ค์วีดโี อ หรอื เวบ็ ไซตท์ เี่ กย่ี วข้อง).......................-.......................... ถา่ ยภาพบุคคลและอุปกรณ/์ เครือ่ งมือ / สิง่ ประดษิ ฐ์ (ช้ินงานหรือผลงาน)

แบบบันทึกชุดขอ้ มูลคลังปัญญา-ภมู ิปญั ญาทอ้ งถนิ่ ตาบลคูบัว อาเภอเมอื งราชบุรี จงั หวัดราชบุรี ชอื่ ภูมิปัญญา : การทาไมเ้ กาหลัง ชอื่ นางพวน นามสกุล ปล้ืมบาเรอ ที่อยู่ปัจจุบัน (ท่ีสามารถติดต่อได้) : บ้านเลขท่ี 18/1 หมู่ท่ี 12 ตาบล/แขวงคูบัว อาเภอเมืองราชบุรี จังหวดั ราชบุรี รหัสไปรษณยี ์ 70000 โทรศพั ท์ : 062 – 5466113 ความเป็นมาของบุคคลคลงั ปัญญา เมอ่ื คันก็ต้องเกาด้วย \"ไม้เกาหลัง\"การคันเป็นธรรมชาติของมนุษย์ ไม่ว่าใครก็เคยต้องรู้สึกคันตามเน้ือ ตัว และเม่ือคันก็ต้องอยากเกาให้หายคัน แต่ถ้าเกิดรู้สึกคันในจุดอับที่ยากต่อการเอ้ือมมือไปเกาได้สะดวก ก็ ต้องพึ่งสิ่งที่เรียกว่า \"ไม้เกาหลัง\" ซึ่งเป็นเครื่องมืออย่างหน่ึงท่ีสร้างข้ึนเพื่อใช้ในการเกาในบริเวณท่ียากต่อการ เอือ้ มมือไปเกา เชน่ แผ่นหลัง ลักษณะของไม้เกาหลังก็จะเป็นไม้ยาว ที่ปลายด้านหน่ึงจะมีลักษณะคล้ายคราด สาหรับใช้ในการเกาไม้เกาหลังเป็นสิ่งของที่เกิดมานานแล้ว ซึ่งก็คงไม่ใช่เร่ืองแปลก เพราะมันไม่ได้มีความ ซบั ซ้อนอะไรเลย ลงิ หลายชนิดในป่ากร็ ู้จักการหากง่ิ ไมห้ รอื ทอ่ นกระดูกอันยาว ๆ มาใช้เป็นเคร่ืองมือในการเกา เวลาคันเหมือนกัน เพียงแต่เม่ือมนุษย์เร่ิมมีวิวัฒนาการรู้จักประดิษฐ์เคร่ืองมือให้ดูสวยงามข้ึน จะให้ใช้กิ่งไม้ หรอื ท่อนกระดูกมาเกาหลงั หรือก็เชยเกินไป จงึ เริม่ มกี ารทาอปุ กรณส์ าหรบั เกาหลงั โดยเฉพาะกนั ข้ึนมา จุดเด่นของภูมิปัญญาท้องถิ่น เปน็ การประดิษฐป์ ระดอยให้มีความสวยงามกันขนึ้ มา โดยเฉพาะสาหรับบุคคลผู้สูงศักดิ์ที่ต้องใช้ของท่ี ดูอลงั การกว่าคนทั่วไปไม่เว้นแม้แต่ไม้เกาหลัง แต่ก็ยังมีส่วนไม้เกาหลังธรรมดาน้ันก็คงทามาจากไม้ชนิดต่าง ๆ ท้ังไม้ท่ีหาง่ายราคาถกู และไมเ้ น้ือดีราคาแพ แต่ของเราใช้ไมไ้ ผ่ในพื้นที่ วตั ถดุ บิ ทีใ่ ชป้ ระโยชน์ในผลิตภัณฑท์ เ่ี กิดจากภมู ปิ ัญญา ซึ่งพื้นท่อี ่นื ไม่มีไดแ้ ก่ ไมไ้ ผ่ รายละเอียดของภูมปิ ัญญาท้องถ่นิ (ลกั ษณะภูมิปญั ญา / รูปแบบ / วธิ ีการ / เทคนคิ ทใ่ี ช้ / ภาพถา่ ยหรอื ภาพวาดประกอบ / พัฒนาการของผลิตภณั ฑห์ รือผลงาน / กระบวนการสรา้ งภูมิปัญญา / ลักษณะการใช้ ประโยชนจ์ ากภมู ปิ ญั ญาท่เี กิดข้ึน ฯลฯ ) รูปแบบและลกั ษณะการถ่ายทอด การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพรภ่ ูมิปญั ญาทอ้ งถน่ิ ( ท่ีสะท้อนความ น่าเช่ือถอื การยอมรับผ่านบุคคล / ชุมชน / องคก์ ร / รางวัล / ใบประกาศ / การจดทะเบียนลขิ สิทธิ์ สอ่ื ดจิ ิทัล / เอกสารเผยแพร่ แผน่ พับ คลปิ (VDO) ฯลฯ )  ยงั ไม่เคยมีการเผยแพร่/ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพร่เฉพาะในชุมชน

 มีการเผยแพร่ผ่านสื่อมวลชนและสือ่ อืน่ อย่างแพร่หลาย  มกี ารดงู านจากบุคคลภายนอก จานวน 4 – 5 คร้งั จานวน 100 คน  มีการนาไปใช้ ในพืน้ ท่ี.........-..........คน นอกพ้ืนท.ี่ .........-......คน  อนื่ ๆ (ระบุ) ............................................................................................................................. ................................................. .............................................................................................................................................................................. ............................................................................................................................. .................................. ลักษณะของภูมิปญั ญาทอ้ งถ่ิน การพัฒนาต่อยอดภูมปิ ัญญาให้เปน็ นวตั กรรม คุณค่า (มูลค่า) และความภาคภมู ใิ จ  ภูมปิ ญั ญาทอ้ งถน่ิ /นวตั กรรมทค่ี ิดค้นข้นึ มาใหม่  ภมู ิปัญญาท้องถิ่นด้งั เดมิ ไดร้ ับการถ่ายทอดมาจาก เป็นอาชพี ที่มีความภาคภูมิใจเป็นอยา่ งมากที่ทาให้ชวี ิตครอบครัวอย่ไู ด้มาเกือบ 15 ปี ในการทาสงิ่ น้ที ี่ มรี ายได้ในการเล้ียงชีพ  ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นท่ไี ด้พัฒนาและตอ่ ยอด แบบเดมิ คือ - การพัฒนาต่อยอด คือ - รายละเอยี ดเพิ่มเตมิ (สามารถใสข่ อ้ มูล ลงิ คว์ ีดโี อ หรอื เวบ็ ไซตท์ ่ี เกีย่ วข้อง).......................................................................................-.................................................................

ถา่ ยภาพบุคคลและอุปกรณ/์ เคร่อื งมือ / ส่งิ ประดษิ ฐ์ (ชิ้นงานหรือผลงาน)

แบบบันทกึ ชดุ ขอ้ มลู คลังปญั ญา-ภมู ปิ ญั ญาท้องถนิ่ ตาบลคูบวั อาเภอเมอื งราชบรุ ี จังหวดั ราชบุรี ชอื่ ภูมิปัญญา : การทาครกจาไมม้ ะพร้าว ชอ่ื นายอานาจ นามสกลุ บุญเปรี้ยว ทอ่ี ยปู่ ัจจบุ นั (ท่ีสามารถติดตอ่ ได)้ : บ้านเลขที่ 64 หม่ทู ่ี 7 ตาบล/แขวงคูบัว อาเภอเมอื งราชบุรี จังหวัด ราชบรุ ี รหัสไปรษณีย์ 70000 โทรศพั ท์ : 087 – 7561303 สาขาคลังปญั ญา (23 สาขา) ดา้ นอตุ สาหกรรมและหัตถกรรม ได้แก่สาขา ด้านการศึกษา ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ด้านการเกษตร ด้านทรัพยากรธรรมชาติ และส่ิงแวดล้อม ด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ด้านวิศวกรรม ด้านสถาปัตยกรรม ด้านการพัฒนาสังคม พัฒนาชุมชน การจัดสวัสดิการชุมชน การสังคมสังเคราะห์ ด้านกฎหมาย ด้านการเมืองการปกครอง ด้าน ศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณี ด้านศาสนา จริยธรรม ด้านพาณิชย์และบริการ ด้านความมั่นคง ด้านบริหาร จัดการและบริหารธุรกิจ ด้านการประชาสัมพันธ์ ด้านการคมนาคมและการสื่อสาร ด้านพลังงาน ด้าน ต่างประเทศด้านอตุ สาหกรรมและหตั ถกรรม ด้านวาทศิลป์ สาขาของภูมิปัญญาทอ้ งถ่ิน (10 ประเภท) สาขาอุตสาหกรรมและหตั กรรม สาขาภูมิปัญญาท้องถิ่น 10 สาขา ได้แก่ สาขาเกษตรกรรม /สาขาอุตสาหกรรมและหัตกรรม / สาขาการแพทย์แผนไทย / สาขาการจัดการ / สาขาทรัพยากรธรรมชาติและท้องถ่ิน / สาขากองทุนและธุรกิจ ชุมชน / สาขาสวัสดิการ / สาขาศิลปกรรม / สาขาการจัดการองค์กร / สาขาภาษาและวรรณกรรม/สาขา ศาสนาและประเพณี ขอ้ มูลพื้นฐาน รายบคุ คลเจ้าของภูมิปัญญาทอ้ งถิ่น /บุคคลคลังปญั ญา ชอื่ นายอานาจ นามสกลุ บญุ เปรย้ี ว วันเดือนปเี กดิ 14 เมษายน 2535 ท่ีอยปู่ ัจจบุ นั (ท่ีสามารถติดต่อได้) บา้ นเลขท่ี 64 หมู่ที่ 7 ตาบล/แขวง คูบวั อาเภอ/เขต เมอื งราชบรุ ี จังหวัด ราชบรุ ี รหสั ไปรษณยี ์ 70000 โทรศัพท์ 087 – 7561303 โทรสาร..............-................Line ID…………………-………………………………..

ความเป็นมาของบคุ คลคลังปญั ญา เป็นอาชีพที่พ่อ แม่ ได้มอบให้ข้าพเจ้าได้สืบทอดมาเป็นเวลา 10 กว่าปี เดิมนั้นครอบครัวทาอาชีพ รับเหมาก่อสร้าง ในช่วงหน่ึงโดนโกงมาหลายครั้งด้วยกัน ซ่ึงที่บ้านก็พอมีความรู้ในด้านการแปรรูปไม้อยู่แล้ว จงึ เร่มิ ต้นด้วยการมองเห็นไม้มะพรา้ วทีไ่ ม่สามรถใช้งานได้ เลยลองแรรูปให้เป็นครก จากน้ันก็ทามาเร่ือย ๆ จน มีความชานาญในการทาเลยหันกลบั มาประกอบอาชีพนีใ้ ช้เลย้ี งครอบครอบมาจนถึงวันน้ี จุดเดน่ ของภูมปิ ัญญาท้องถ่ิน เป็นความสามารถท่ีไม่มีใครมาเลียนแบบได้ เพราะเรามีที่เดียวในตาบลคูบัวโดยได้รับการยกย่องให้ เป็นภมู ปญั ญาของตาบลคบู วั วตั ถุดบิ ทีใ่ ช้ประโยชน์ในผลติ ภณั ฑท์ ี่เกิดจากภูมิปัญญา ซึ่งพื้นทอ่ี ื่นไม่มไี ดแ้ ก่ เป็นไม้มะพร้าวที่ไม่มีใครใช้แล้ว เศษไม้มะพร้าวท่ีเหลือสามารถนามาเผ่าถ่านต่อได้ ส่วนขี้เล่ือยก็ สามารถขายต่อได้อกี รายละเอยี ดของภูมิปัญญาท้องถนิ่ (ลักษณะภูมิปัญญา / รปู แบบ / วิธกี าร / เทคนคิ ท่ใี ช้ / ภาพถา่ ยหรือ ภาพวาดประกอบ / พฒั นาการของผลติ ภัณฑห์ รือผลงาน / กระบวนการสรา้ งภมู ปิ ัญญา / ลกั ษณะการใช้ ประโยชนจ์ ากภูมิปญั ญาท่ีเกดิ ข้นึ ฯลฯ ) รปู แบบและลกั ษณะการถา่ ยทอด การประชาสมั พนั ธ์ เผยแพร่ภมู ิปญั ญาทอ้ งถ่นิ ( ที่สะทอ้ นความ น่าเชอื่ ถือการยอมรบั ผ่านบุคคล / ชมุ ชน / องคก์ ร / รางวลั / ใบประกาศ / การจดทะเบียนลขิ สิทธ์ิ สอื่ ดจิ ิทัล / เอกสารเผยแพร่ แผ่นพบั คลิป (VDO) ฯลฯ )  ยังไม่เคยมีการเผยแพร/่ ใช้เฉพาะบุคคล  เคยเผยแพรเ่ ฉพาะในชุมชน  มีการเผยแพร่ผา่ นสอ่ื มวลชนและสอื่ อ่ืนอย่างแพรห่ ลาย  มกี ารดูงานจากบุคคลภายนอก จานวน........-............ครงั้ จานวน..........-.............คน  มีการนาไปใช้ ในพื้นท่.ี .......-.............คน นอกพื้นที่.......-...........คน  อ่ืน ๆ (ระบ)ุ ............................................................................................................................. ................................................. ................................................................................................................................................................ ....

ลกั ษณะของภูมปิ ัญญาทอ้ งถิ่น การพัฒนาตอ่ ยอดภูมปิ ัญญาใหเ้ ปน็ นวัตกรรม คณุ ค่า (มูลค่า) และความภาคภมู ิใจ  ภมู ิปัญญาทอ้ งถ่ิน/นวตั กรรมท่คี ดิ คน้ ขึ้นมาใหม่  ภมู ิปญั ญาท้องถิ่นดั้งเดมิ ไดร้ ับการถา่ ยทอดมาจาก จากเดมิ ท่เี คยทาแค่นาไปขายเองไมก่ ใี่ นแตล่ ะวัน แตป่ ัจจบุ ันเราสามารถสง่ ออกไปตา่ งจังหวัดไดเ้ ปน็ อาชีพหลักเลยทีเดยี ว  ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ ท่ีไดพ้ ัฒนาและต่อยอด แบบเดิม คือ จากเดมิ เราต้องออกไปหาไม้ในการมาทาครก หาอปุ กรณต์ ่าง ๆ เองทุกอย่าง การพฒั นาต่อยอด คือ จากเดมิ ทาครกเป็นลกู เล็ก ๆ แตป่ จั จบุ ันสามารถทาครกลูกใหต้ ามขนาดท่ีลกู ค้าตอ้ งการไดแ้ ล้ว รายละเอียดเพิ่มเติม (สามารถใสข่ ้อมูล ลิงค์วีดีโอ หรอื เวบ็ ไซตท์ ่ี เกยี่ วข้อง)....................................................................-……………

ถา่ ยภาพบุคคลและอุปกรณ/์ เคร่อื งมือ / ส่งิ ประดษิ ฐ์ (ชิ้นงานหรือผลงาน)

คณะผู้จัดทา ทปี่ รึกษา ผอ.กศน.อาเภอเมอื งราชบุรี หัวหนา้ กลุ่มอานวยการ นางศริ เิ พญ็ สังขบูรณ์ หัวหน้ากลมุ่ งานแผน นางวไิ ลวรรณ สนุ ทรีประสทิ ธ์ิ หัวหน้างานการศกึ ษาต่อเน่อื ง นางสาวอัญชลี ภูวพานชิ หัวหน้ากล่มุ สง่ เสริมปฏิบัติการ นางจีรนันท์ คงมน่ั นางสาวธนพร อยู่เย็น รา่ ง/เรียบเรียงและจัดพมิ พ์ ครู กศน.ตาบลคูบัว วา่ ที่ ร..ต.อาลยี ะ วาเตะ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook