Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ราชอาณาจักรไทย-thailand

ราชอาณาจักรไทย-thailand

Description: ราชอาณาจักรไทย-thailand

Search

Read the Text Version

3.1 ระบบราชการยคุ กอ่ นปฏริ ูป 3.1.1 ความเป็นมาของระบบราชการไทย ระบบราชการไทยไดม้ กี ารปฏริ ปู ส�ำ คญั ๆ มาหลายครง้ั ตง้ั แตย่ คุ รชั กาล ท่ี 5 พระบาทสมเดจ็ พระจลุ จอมเกลา้ เจา้ อยหู่ วั ทรงปฏริ ปู ระบบราชการ แผ่นดินอีกครั้งในปี พ.ศ. 2435 โดยได้ปฏิรูปโครงสร้างระบบราชการ และจดั ระเบยี บบรหิ ารราชการแผน่ ดนิ ขน้ึ ใหม่ ซง่ึ ประกอบดว้ ยสว่ นส�ำ คญั 3 ส่วน คอื [47] 1) การปฏริ ปู การบรหิ ารราชการสว่ นกลาง เชน่ การยกเลกิ จตสุ ดมภ์ และการจดั การปกครองแบบมณฑล 2) การปฏริ ปู การบรหิ ารราชการสว่ นภมู ภิ าค เชน่ การจดั การปกครอง แบบมณฑล 3) การปฏิรูประบบบริหารราชการส่วนท้องถิ่น เช่น การจัดการ ปกครองแบบเทศาภบิ าล (เทศบาล) ยุครัชกาลท่ี 7 แม้การปกครองประเทศจะมีความพลิกผันมากมาย และเป็นช่วงเปล่ียนแปลงการปกครอง แต่ก็ได้มีการนำ�ระบบคุณธรรม (Merit System) ซึง่ ประกอบด้วย หลกั ความสามารถ (Competence) หลักความเสมอภาค (Equity) หลักความมั่นคง (Security) หลักความ เปน็ กลางทางการเมอื ง (Political Neutrality) เขา้ มาเปน็ กรอบแนวทาง การวางระบบขา้ ราชการพลเรอื นสมยั ใหมใ่ นระเบยี บขา้ ราชการพลเรอื น พ.ศ. 2471 50

จากยุค พ.ศ. 2475 จนถึง พ.ศ. 2540 มีการพูดถึงการปฏิรูปหลาย คร้ัง แต่ในทางปฏบิ ตั ิยงั ติดอยใู่ นกรอบดังน้ี 1. เน้นการแบง่ ส่วนราชการ และการจดั อตั รากำ�ลังข้าราชการ 2. ปฏริ ปู ระบบราชการด้วยการปรบั ปรุงการใหบ้ ริการประชาชน 3. สง่ เสรมิ การมอบอ�ำ นาจ และแบง่ อำ�นาจการบริหารราชการไปยัง สว่ นภูมิภาค 4. การกำ�หนดชื่อ และความหมายของหน่วยงานระดับต่างๆ โดยเฉพาะหน่วยงานท่ีมีช่ือเรียกเป็นอย่างอื่น เช่น สำ�นัก สำ�นักงาน ส�ำ นกั เลขาธกิ าร สถาบัน ศนู ย์ ศนู ย์บรกิ าร สถานี สถานที ดลอง เปน็ ตน้ เพือ่ ใหก้ ระทรวง กรมตา่ งๆ ถือเป็นแบบปฏิบตั ิเดยี วกัน 5. มกี ารตัง้ หนว่ ยงานใหม่ เช่น การจัดต้ังศาลปกครอง 6. การเสนอกฎหมายใหม่ และการปรบั ปรุงกฎหมาย เชน่ กฎหมาย วา่ ดว้ ยขอ้ มลู และขา่ วสารของทางราชการ การปรบั ปรงุ กฎหมายวา่ ดว้ ย การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบในวงราชการ ระเบยี บส�ำ นกั รฐั มนตรวี า่ ดว้ ยการพฒั นาความรว่ มมอื ระหวา่ งภาครฐั และ ภาคเอกชนเพอื่ แกป้ ญั หาทางเศรษฐกจิ การพฒั นาการบรกิ ารสาธารณะ การปรับปรุงประสิทธิภาพกรมตำ�รวจ การปรับปรุงโครงสร้างคณะ กรรมการข้าราชการอัยการ ฯลฯ ใน พ.ศ. 2540 มีการออกระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ ปฏริ ปู ระบบราชการเปน็ ครง้ั แรก มกี ารจดั ท�ำ แผนแมบ่ ทการปฏริ ปู ราชการ (พ.ศ. 2540-2544) ซง่ึ นบั วา่ เปน็ แผนแมบ่ ทการปฏริ ปู ระบบราชการฉบบั แรก โดยก�ำ หนดหลกั การ 2 หลกั การ คือ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรไทย 51

หลักการท่ี 1 การปรับบทบาท ภารกจิ และขนาดของหน่วยงานรัฐ หลกั การท่ี 2 การปรบั ปรุงระบบการทำ�งานของหน่วยงานรฐั สว่ นในดา้ นการปฏบิ ัติท่ตี ามมามีดงั น้ี 1. การจัดกลุ่มภารกิจงานต่างๆ การจัดโครงสร้างส่วนราชการให้ สอดคลอ้ งกับการจดั กลมุ่ ภารกิจ 2. การมอบอ�ำ นาจการปกครองสูอ่ งค์กรปกครองสว่ นท้องถน่ิ 3. การแปรสภาพกจิ กรรมของรฐั เป็นกิจกรรมของเอกชน 4. การลดขนาดก�ำ ลงั ของหนว่ ยงานรฐั โดยปดิ หรอื ยบุ รวมส�ำ นกั งาน ในต่างประเทศของกระทรวง ทบวง กรม และยุบเลิกลูกจ้างประจำ�บาง ต�ำ แหน่ง 5. การสง่ เสรมิ สนบั สนนุ การใหร้ างวลั หนว่ ยงานดเี ดน่ และเจา้ หนา้ ท่ี ดเี ดน่ ของหนว่ ยงานรฐั 6. การจัดต้ัง และกำ�หนดภารกิจองค์การมหาชน (Public Organization) เพอื่ ใหก้ ารบรหิ ารภาครฐั มคี วามคลอ่ งตวั และมอี สิ ระมาก ข้ึน โดยการตราพระราชบัญญัตอิ งค์การมหาชน พ.ศ. 2542 7. การออกระเบียบสำ�นักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการบริหารกิจการ บา้ นเมืองและสังคมทดี่ ี พ.ศ. 2542 8. การออกระเบียบสำ�นักนายกรัฐมตรีว่าด้วยการรับรองมาตรฐาน ดา้ นการจัดการและสมั ฤทธผ์ิ ลของงานภาครัฐ พ.ศ. 2543 52

3.2 การปฏิรปู ระบบราชการ 3.2.1 การปฏริ ปู ระบบราชการ พ.ศ. 2545 การพฒั นาดา้ นเทคโนโลยสี ารสนเทศและการสอื่ สารไดท้ �ำ ใหโ้ ลกกา้ ว สยู่ คุ โลกาภวิ ตั น์ ซง่ึ ท�ำ ใหป้ ระเทศตา่ งๆ ไดร้ บั ผลกระทบจากกระแสส�ำ คญั เช่น เศรษฐกิจเสรีไร้พรมแดน (Global Market Economy) สังคมบน ฐานแหง่ ความรู้ (Knowledge-based Society) และกระแสประชาธปิ ไตย และธรรมาภิบาล (Democratic Governance) ประเทศท่ีเรียนรู้และ ปรับตัวได้ทันโลก ก็จะอยู่รอดและก้าวหน้าไปได้ในโลกของการแข่งขัน สว่ นประเทศทไ่ี มส่ ามารถเรยี นรแู้ ละปรบั ตวั ใหท้ นั กบั โลกยคุ โลกาภวิ ตั น์ น้ีได้ ก็จะประสบปัญหาต่างๆ มากมาย อย่างประเทศไทยเมื่อคร้ังที่ได้ เชอื่ มตอ่ เศรษฐกจิ ของไทยเขา้ กบั เศรษฐกจิ โลกในการเปดิ เสรที างการเงนิ ด้วย Bangkok International Banking Facilities (BIBF) ในเวลา ไม่นานธุรกิจอุตสาหกรรมของไทยก็ล้มละลายต้องขายกิจการกันอย่าง มโหฬาร ซึ่งความเสียหายทางด้านเศรษฐกิจน้ัน ภาครัฐไม่อาจปฏิเสธ ความรับผิดชอบได้ ประกอบกับการเรียกร้องของประชาชนทำ�ให้เกิด กระแสปฏริ ูปใหม่ และมกี ารเสนอรฐั ธรรมนูญปี พ.ศ. 2540 การปฏริ ปู ระบบราชการไทยไดม้ กี ารน�ำ เครอื่ งมอื ทางการบรหิ ารใหมๆ่ มาใช้อย่างแพร่หลาย และปรากฏเป็นรูปธรรมเมื่อมีการประกาศใช้ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ แ ล ะ ร ะ เ บี ย บ บ ริ ห า ร ร า ช ก า ร แ ผ่ น ดิ น เ ม่ื อ เ ดื อ น ตุลาคม 2545 ซ่ึงทำ�ให้มีการปรับโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการใหม่ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รไทย 53

จาก 14 กระทรวง 1 ทบวง มาเป็น 20 กระทรวง และได้กำ�หนดให้มี คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ (ก.พ.ร.) โดยให้เป็นหน่วยงาน ขับเคล่ือนการปฏิรูประบบราชการ การปฏิรูประบบราชการในยุคนี้ จงึ เรียกวา่ “การพฒั นาระบบราชการ” เครือ่ งมอื ท่สี �ำ คัญคอื 1. แผนยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2546 – 2550) 2. พระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑแ์ ละวธิ กี ารบรหิ ารกจิ การบา้ น เมอื งทดี่ ี พ.ศ. 2546 ซง่ึ ออกตามมาตรา 3/1 และมาตรา 71/10 (5) แหง่ พระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 ซ่ึงแก้ไข เพ่ิมเติมโดยพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2545 3. ระเบียบสำ�นักนายกรฐั มนตรวี ่าด้วยการมอบอ�ำ นาจ พ.ศ. 2546 4. โครงการพฒั นาผนู้ �ำ การบรหิ ารการเปลยี่ นแปลง ซงึ่ เปน็ การจดั การ เรียนรู้จากการปฏิบัติ (Action Learning Program) เพื่อพัฒนาผู้ว่า ราชการจังหวัด และผู้บริหารของกระทรวงนำ�ร่องในการบริหารการ เปลีย่ นแปลง ตามหลกั การ และแนวทางในการพฒั นาระบบราชการ *ปัจจุบันดำ�เนินการภายใต้ “แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบ ราชการไทย (พ.ศ. 2556-2561)” 54

3.2.2 ขอบเขตการปฏิรปู ระบบราชการ ใน พ.ศ. 2545 รฐั บาลในขณะนั้นทำ�การปฏิรูประบบราชการโดยมุ่ง เน้นการปรับโครงสร้างส่วนราชการใหม่ท่ียึดหลัก Agenda Based ให้ เกิดการบริหารงานเชิงยุทธศาสตร์ สร้างระบบการประเมินผลโดยใช้คำ� รับรองการปฏิบัติงาน ปรับการบริหารงานในภูมิภาคให้เป็นระบบการ บรหิ ารงานจงั หวดั แบบบรู ณาการ การออกพระราชกฤษฎกี าวา่ ดว้ ยหลกั เกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี พ.ศ. 2546 เพื่อใช้เป็น แนวทางในการปฏิบัติราชการให้เกิดประโยชน์สุขแก่ประชาชน รวมทั้ง การนำ�ระบบเทคโนโลยีสมัยใหม่มาใช้ในการบริหารภาครัฐ การพัฒนา ระบบราชการไปส ู่ e-Government การใชร้ ะบบ GFMIS มาชว่ ยพฒั นา ระบบการเงินการคลังของรัฐ และการปรับปรุงคุณภาพการบริการด้วย การลดขั้นตอนการปฏิบัติราชการ หรือการจัดศูนย์บริการร่วมเพ่ือให้ บริการประชาชน ซึ่งในช่วงนี้การเมืองในประเทศไทยมีเสถียรภาพมาก ส่งผลให้การปฏิรูประบบราชการไทยดำ�เนินการเป็นรูปธรรมมาก ยง่ิ ขึ้น[8] ขอบเขตการปฏริ ูประบบราชการมดี ังน้ี 1) มีการปรับบทบาท ภารกิจ และโครงสร้างส่วนราชการ โดยการ ทบทวนภารกิจของภาครัฐ และเน้นให้ภาครัฐทำ�เฉพาะภารกิจ ท่ีจำ�เป็นและทำ�ได้ดีเท่านั้น เน้นการกระจายอำ�นาจ และสร้าง ความร่วมมอื กับประชาชน องคก์ รเอกชน ภาคธรุ กิจเอกชนต่างๆ เพอ่ื แกไ้ ขปญั หา และสนองตอบตอ่ ความต้องการของประชาชน ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรไทย 55

2) การปรับปรุงแบบ และวิธีการบริหารงานใหม่ มุ่งเน้นการปฏิรูป ระบบบรหิ ารภายในสว่ นราชการใหเ้ กดิ ประสทิ ธภิ าพ ประสทิ ธผิ ล การบริการมีคุณภาพสนองตอบต่อความต้องการของลูกค้าและ ประชาชน 3) การปฏิรูปวิธีการบริหารงบประมาณ เพื่อให้ระบบ และวิธีการ บริหารงบประมาณเป็นเคร่ืองมือในการบริหารท่ีสอดคล้องกับ นโยบาย และยทุ ธศาสตรใ์ นการพฒั นาประเทศ สง่ ผลใหป้ ระชาชน ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริง และเป็นระบบงบประมาณท่ีเน้น ผลลพั ธ์ (Result-based Budgeting) ในการปรบั งบประมาณครง้ั นี้ กระทรวง ทบวง กรม จะมบี ทบาทในการตดั สนิ ใจมากขน้ึ พรอ้ ม ทง้ั จดั ใหม้ รี ะบบการควบคมุ ตรวจสอบทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพและโปรง่ ใส 4) การปฏิรูประบบบริหารบคุ ลากร ให้มกี ารจดั ระบบการบรหิ าร บุคลากรใหม่ให้สอดคล้องกับหลักการและยุติธรรม ระบบค่า ตอบแทนทดั เทยี มกบั ราคาตลาด มรี ะบบนกั บรหิ ารระดบั สงู การ บริหารทรพั ยากรมนุษย์อย่างมปี ระสทิ ธิภาพ เป็นต้น 5) การปรับเปล่ียนวัฒนธรรม และค่านิยมของข้าราชการ และ เจ้าหน้าท่ีของรัฐ ให้มีความเข้าใจและปรับตัวให้เข้ากับวิธีการ ทำ�งานแนวใหม่ ท่ีเน้นระบบความรับผิดชอบต่อสาธารณะ เน้น การมีจริยธรรม คุณธรรม มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ ขจัดการ ทจุ รติ และประพฤตมิ ิชอบ เพ่อื ใหข้ า้ ราชการมีศกั ดิ์ศรี และเปน็ ท่ี เชอ่ื ถอื ของประชาชน 56

3.2.3 วิสัยทัศนใ์ หม่ของการพัฒนาระบบราชการไทย “การพฒั นาระบบราชการไทยใหม้ ีความเปน็ เลิศ สามารถรองรบั กบั การพัฒนาประเทศในยุคโลกาภวิ ฒั นโ์ ดยยึดหลักการบรหิ ารกจิ การบ้าน เมอื งทีด่ แี ละประโยชนส์ ขุ ของประชาชน” [34a] ขอ้ ความข้างต้นเป็น วสิ ัยทัศน์ใหม่ของการพฒั นาระบบราชการไทย ของส�ำ นกั งาน ก.พ.ร. ทไ่ี ดม้ กี ารยกระดบั จากค�ำ ขวญั สกู่ ารปฏบิ ตั ิ มกี าร ยกระดบั สกู่ ารเปน็ รฐั ทม่ี ธี รรมาภบิ าล มคี วามรบั ผดิ ชอบและมขี ดี สมรรถนะ ทน่ี �ำ ไปสคู่ วามเปน็ เลศิ อยา่ งบรู ณาการและเพม่ิ ประสทิ ธภิ าพงานภาครฐั ทรี่ ะบบราชการไทยตอ้ งใหค้ ณุ คา่ ความส�ำ คญั และยดึ มน่ั ในปรชั ญา หลกั การ แนวทางและน�ำ นโยบายไปสู่การปฏบิ ตั ิ เพ่ือใหบ้ รรลุวสิ ัยทัศนด์ ังนี้ 1. ระบบราชการต้องยึดประชาชนเป็นศูนย์กลาง ผลักดันให้หน่วย งานของรัฐกำ�หนดทิศทางการทำ�งาน โดยคำ�นึงถึงประโยชน์สุข ของประชาชน เปิดโอกาสให้มีส่วนร่วม และรับฟังความคิดเห็น เพื่อนำ�ไปปรับปรุงบริการ ท้ังวางระบบแก้ไขปัญหาจากการ ร้องเรียน และความเดือดร้อนของประชาชน รวมทั้งมีระบบ การบรหิ ารในภาวะฉกุ เฉินเพื่อช่วยประชาชนในภาวะวิกฤต 2. การลดบทบาทภารกิจของภาครัฐ โดยลดความซ้ําซ้อน ปรับปรุง พฒั นารปู แบบการบรหิ ารกระบวนการท�ำ งานใหม่ เพมิ่ ขดี สมรรถนะ 3. การสรา้ งคา่ นยิ มและวฒั นธรรมองคก์ าร ใชเ้ ทคโนโลยสี ารสนเทศ มาสนับสนุนการทำ�งานด้วยความรวดเร็ว และพร้อมรับความ เปล่ยี นแปลง ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 57

4. การบูรณาการทำ�งานของภาครัฐ และในระดับต่างๆ ให้มีความ สอดคลอ้ ง เชอื่ มโยงกัน เพื่อรองรับการด�ำ เนินงานนโยบายสำ�คญั ของประเทศ และระดมสรรพก�ำ ลงั บคุ ลากรทมี่ คี วามเชย่ี วชาญใน แต่ละสาขาเพื่อผลักดันการนำ�นโยบายสู่การปฏิบัติ โดยร่วมงาน กบั ภาคสว่ นอน่ื ๆ 5. การเสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันระดับพื้นที่ให้เป็น ศนู ยก์ ลางความเจรญิ ในระดบั ภมู ภิ าคเชอื่ มโยงอาเซยี น เพอ่ื ใหเ้ กดิ ความร่วมมือในการทำ�งาน การใช้ทรัพยากรให้มีประสิทธิภาพ คุ้มคา่ ไปในทศิ ทางเดียวกัน 6. การลดการควบคุมท่ีก่อให้เกิดภาระ อุปสรรค หรือความยุ่งยาก ต่อการประกอบกิจการ หรือการดำ�เนินชีวิตของประชาชน สร้าง ความโปร่งใส และความเชื่อม่ันศรัทธา เป็นท่ีพ่ึงของประชาชน และรว่ มมอื กบั ภาคสว่ นอน่ื ๆ ในการตอ่ ตา้ นการทจุ รติ และประพฤต ิ มชิ อบ 7. การพัฒนา และสรรหาผู้ที่มีความสามารถสูงเข้ามารับราชการ สรา้ งผนู้ �ำ การเปลย่ี นแปลงในทกุ ระดบั เสรมิ สรา้ งทศั นคตทิ ด่ี ี สรา้ ง คุณธรรม จริยธรรม พัฒนาคุณภาพชีวิต จัดสวัสดิการ ทบทวน ระบบค่าตอบแทนที่เหมาะสม 8. การสร้างความพร้อม และขับเคลื่อนระบบราชการไทยเข้าสู่ ประชาคมอาเซียน และเวทีโลก 3.2.4 ยุทธศาสตรก์ ารพัฒนาระบบราชการไทย การพฒั นาระบบราชการไทยในระยะตอ่ ไป จะเนน้ การด�ำ เนนิ งาน ที่ สอดรบั กบั ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ (Country Strategy) พ.ศ. 2556 – 2561 58

ซงึ่ รฐั บาลไดก้ �ำ หนดเปา้ หมายรว่ มกนั กบั ทกุ ภาคสว่ น โดยมเี ปา้ หมายหลกั ท่ีจะเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ เพื่อการลดความ เหล่ือมลํ้าที่เน้นการพัฒนาอย่างท่ัวถึงเป็นธรรม การเติบโตท่ีเป็นมิตร กับสิ่งแวดล้อม และในการจะขับเคล่ือนนโยบายแนวทางดังกล่าวให้ เกิดประสิทธิผล และเป็นรูปธรรมได้น้ัน ต้องสร้างความสมดุล และ พัฒนาระบบบริหารจัดการภายในภาครัฐ (Internal Process) ให้มี ประสทิ ธภิ าพ โปร่งใส ดว้ ยการปรบั โครงสร้างระบบราชการ สร้าง และ ใชห้ ลกั ธรรมาภบิ าลในการบรหิ ารงานขบั เคลอื่ น โดยใหป้ ระชาชนในระดบั พ้ืนที่มีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น ความต้องการ อันจะเป็นการ ผนึกกำ�ลังเพื่อการพัฒนาให้บรรลุตามยุทธศาสตร์ระดับประเทศ ระดับกระทรวง และระดับพื้นท่ีตามที่กำ�หนดไว้ จึงมีการเสนอการ ดำ�เนินการตามตามยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบราชการในช่วงระยะ ปี พ.ศ. 2556-2561 สามารถแยกออกได้เป็น 3 หัวข้อ รวม 7 ประเด็น คือ ยกระดบั องค์การสู่ความเป็นเลศิ 1. การสร้างความเป็นเลิศในการใหบ้ รกิ ารประชาชน (Service Excellence) 2. การพฒั นาองคก์ ารใหม้ ขี ดี ความสรรถนะสงู และทนั สมยั บคุ ลากร มคี วามเปน็ มืออาชีพ (High Performance Organization) 3. การเพ่ิมประสิทธิภาพการบริหารสินทรัพย์ของภาครัฐให้เกิด ประโยชนส์ ูงสดุ (Public Values) 4. การวางระบบการบรหิ ารงานราชการแบบบรู ณาการ (Integration) ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรไทย 59

พฒั นาอยา่ งยัง่ ยืน 5. การส่งเสริมระบบการบริหารกิจการบ้านเมืองแบบร่วมมือกัน ระหวา่ งภาครฐั ภาคเอกชน และภาคประชาชน (Collaboration) 6. การยกระดบั ความโปร่งใส และสรา้ งความเชอ่ื มัน่ ศรัทธาในการ บรหิ ารราชการแผน่ ดิน (Integrity) กา้ วสู่สากล 7. การสร้างความพร้อมของระบบราชการไทย เพอื่ เขา้ สูก่ ารเป็น ประชาคมอาเซียน (Readiness for ASEAN 2558) ภาพท่ี 2 สรปุ ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาระบบราชการไทย (พ.ศ. 2556-2561) ท่มี า: ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาระบบราชการ, 2556 60

4 ภาพรวมของระบบราชการ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรไทย 61

62

4.1 รปัฐรบะาชลาคนมโอยาบเาซยียรนฐั บาล และนโยบายการเขา้ สู่ ใน พ.ศ. 2554 รัฐบาลได้กำ�หนดนโยบาย และการบริหารราชการ แผ่นดิน โดยมีจุดมุ่งหมาย “เพื่อนำ�ประเทศไทยไปสู่การเป็นประชาคม อาเซยี นในปี พ.ศ. 2558 อย่างสมบรู ณ์ โดยสรา้ งความพรอ้ ม และความ เขม้ แขง็ ทงั้ ทางดา้ นเศรษฐกจิ สงั คม วฒั นธรรม การเมอื งและความมน่ั คง” [35] สำ�หรับนโยบายการต่างประเทศ และเศรษฐกิจระหว่างประเทศที่ ปรากฏในคำ�แถลงนโยบายของรัฐบาล มีส่วนเก่ียวข้องกับประชาคม เศรษฐกิจอาเซยี นดังตอ่ ไปนี้ หวั ขอ้ รายละเอียด (ตามคำ�แถลงนโยบายของรฐั บาล) สง่ เสรมิ ความรว่ มมอื ทงั้ ภาครฐั เอกชน ประชาชน และส่ือมวลชน เพ่ือ เร่งส่งเสริมและพัฒนา เสรมิ สรา้ งความเขา้ ใจอนั ดี และความ ค ว า ม สั ม พั น ธ์ กั บ ใกล้ชิดระหว่างกัน การส่งเสริมการ ประเทศเพือ่ นบ้าน ทอ่ งเทย่ี ว การขยายการคมนาคมขนสง่ และความร่วมมือด้านอื่นๆ ภายใต้ กรอบความร่วมมืออนุภูมิภาคเพ่ือส่ง เสริมความเป็นเพอ่ื นบา้ นทีด่ ตี ่อกนั ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รไทย 63

หัวขอ้ รายละเอียด (ตามค�ำ แถลงนโยบายของรัฐบาล) เพื่อให้บรรลุเป้าหมายการจัดตั้ง ประชาคมอาเซยี น และส่งเสรมิ ความ สรา้ งความสามคั คี และ รว่ มมอื กบั ประเทศอน่ื ๆ ในเอเชยี ภาย ส่งเสริมความร่วมมือ ใต้กรอบความร่วมมือด้านต่างๆ และ ร ะ ห ว่ า ง ป ร ะ เ ท ศ เตรยี มความพรอ้ มทกุ ภาคสว่ นในการ อาเซยี น เขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี นในปี พ.ศ. 2558 ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม และ วัฒนธรรม และความม่ันคง ร่วมมือ อนุภูมิภาค เพ่ือส่งเสริมความเป็น เพือ่ นบา้ นท่ดี ีต่อกนั ใ ช้ ป ร ะ โ ย ช น์ จ า ก เพอ่ื ใหเ้ ปน็ ประโยชนต์ อ่ การขยายฐาน โครงขา่ ยคมนาคมขนสง่ เศรษฐกิจท้ังการผลิต และการลงทุน ในภมู ภิ าคอาเซยี น และ โดยใหค้ วามส�ำ คญั ในการพฒั นาจงั หวดั อนภุ ูมิภาค และกลมุ่ จงั หวดั ทอ่ี ยตู่ ามแนวระเบยี ง เศรษฐกจิ และเมืองชายแดน 64

นอกจากนโยบายรัฐบาลทแี่ ถลงต่อรัฐสภาแล้ว ภาครัฐยงั ได้ให้ความ สำ�คัญกบั การดำ�เนินงานของอาเซียน โดยใช้ ASEAN First Policy หรอื นโยบายอาเซยี นตอ้ งมากอ่ น ในฐานะทอี่ าเซยี นเปน็ กลมุ่ ภมู ภิ าคทมี่ คี วาม ใกลช้ ดิ ทงั้ ในดา้ นการเมอื ง เศรษฐกจิ สงั คม และวฒั นธรรม ASEAN First Policy ชว่ ยสง่ เสรมิ ยทุ ธศาสตรก์ ารสรา้ งพนั ธมติ รในระดบั ภมู ภิ าค สรา้ ง โอกาสและลู่ทางในด้านการค้าและการลงทุน ควบคู่ไปกับการเตรียม ความพรอ้ มใหก้ บั ผปู้ ระกอบการในประเทศใหส้ ามารถปรบั ตวั ไดอ้ ยา่ งมี ประสิทธิภาพ 4.1.1 ยุทธศาสตร์การเขา้ สูป่ ระชาคมอาเซยี น การเตรียมความพร้อม และใช้โอกาสจากการรวมตัวทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม การเมือง และความม่ันคงของอาเซียน และ การเชื่อมโยงภายในภมู ิภาค ทั้งดา้ นโครงสร้างพน้ื ฐาน กฎระเบียบ และ ประชาชน จะเป็นการเสริมสร้างขีดความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ยกระดบั คุณภาพชีวติ และสวสั ดิการของประชาชนทีด่ ขี ึน้ รวม ทง้ั สรา้ งความรว่ มมอื ในการแกไ้ ขปญั หาความขดั แยง้ และความมน่ั คงใน รูปแบบต่างๆ เป็นหลักการสำ�คัญท่ีนำ�มาซึ่งการกำ�หนดยุทธศาสตร์ การเข้าสู่ประชาคมอาเซียนปี 2558 ภายใต้แนวทางการพัฒนา 8 ยทุ ธศาสตร์ [47] วิสยั ทัศน์ “ประเทศไทยเป็นสมาชิกที่เข้มแข็ง และสนับสนุนคุณภาพชีวิตท่ีดี ของประชาชนอาเซยี นร่วมกัน” ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 65

ภาพที่ 3 ยุทธศาสตร์การเขา้ ส่ปู ระชาคมอาเซยี นปี 2558 ทม่ี า: ส�ำ นกั งานคณะกรรมการพฒั นาการเศรษฐกิจและสงั คมชาติ, 2556 ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 การเสรมิ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ของสนิ คา้ บริการ การค้า และการลงทุน มีเป้าหมายในการพัฒนาศักยภาพภาค การผลิต บริการ การค้า และการลงทุน เพ่ือรองรับการเปิดโอกาสจาก การเปน็ ตลาด และฐานการผลิตเดียว ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 การพฒั นาคณุ ภาพชวี ติ และการคมุ้ ครองทางสงั คม มีเป้าหมายให้ประชาชนได้รับการคุ้มครองทางสังคม และประชาชน ได้รับการคุ้มครองทางสังคมและประกันความเส่ียง มีสภาพแวดล้อม ความเปน็ อยทู่ ีม่ นั่ คงและปลอดภยั 66

ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐาน และโลจิสติกส์ มีเป้าหมายในการพัฒนาโครงสร้างพ้ืนฐานให้มีความเชื่อมโยง และมีขีด ความสามารถในการรองรบั พรอ้ มทงั้ มกี ฎระเบยี บทอี่ �ำ นวยความสะดวก ทง้ั การค้าและการลงทุน ยุทธศาสตร์ท่ี 4 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ มีเป้าหมายในการ พัฒนามาตรฐานการศึกษาอาเซียน รวมทั้งทักษะการฝีมือ และภาษา กลุ่มเป้าหมายท่ีสำ�คัญ ได้แก่ การศึกษาแรงงาน ผู้ประกอบการ และ เจ้าหนา้ ท่ีรฐั ยุทธศาสตร์ท่ี 6 การสร้างความรู้ ความเข้าใจ และความตระหนัก ถึงความสำ�คัญของอาเซียน มีเป้าหมายให้ประชาชนทุกกลุ่มเข้าใจ และตระหนักถึงความสำ�คัญของการเป็นประชาคมอาเซียน โดยมี กลมุ่ เปา้ หมายทส่ี �ำ คญั ไดแ้ ก่ ภาคประชาชน ภาคแรงงาน ผปู้ ระกอบการ และภาครัฐ ยุทธศาสตร์ท่ี 7 การเสริมสร้างความม่ันคง มีเป้าหมายในการสร้าง ความร่วมมือด้านการเมืองและความม่ันคง เพ่ือนำ�ไปสู่ภูมิภาคท่ีมี บรรทดั ฐาน เอกภาพ และสนั ตภิ าพร่วมกนั ยทุ ธศาสตรท์ ี่ 8 การเพมิ่ ศกั ยภาพของเมอื ง เพอื่ เชอ่ื มโยงโอกาสจาก อาเซียน มีเป้าหมายในการพัฒนาเมืองให้มีศักยภาพที่จะเช่ือมโยงกับ ประเทศสมาชกิ อาเซยี น ทงั้ ในดา้ นอตุ สาหกรรม การทอ่ งเทยี่ ว การบรกิ าร การลงทุน และการคา้ ชายแดน ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รไทย 67

4.2 จ�ำ นวน และรายชอื่ กระทรวง พรอ้ มที่ติดตอ่ กระทรวงของประเทศไทยมที งั้ หมด 20 กระทรวง ประกอบด้วย รายชอื่ กระทรวง ทีต่ ดิ ตอ่ 1. ส�ำ นกั นายกรัฐมนตรี ทำ�เนียบรฐั บาล ถนนพิษณุโลก ดุสติ กทม. 10300 โทรศพั ท์ 0 2282 4000 โทรสาร 0 2282 5131 เวบ็ ไซต ์ www.thaigov.go.th 2. กระทรวงกลาโหม ถนนสนามไชย กทม. 10200 โทรศพั ท์ 0 225 8260 โทรสาร 0 225 8261 เวบ็ ไซต ์ www.mod.go.th 3. กระทรวงการคลัง ถนนพระรามท่ี 6 แขวงสามเสนใน พญาไท กทม. 10400 โทรศพั ท์ 0 2273 9021 โทรสาร 0 2273 9397 เวบ็ ไซต์ www.mof.go.th 68

รายช่ือกระทรวง ที่ตดิ ตอ่ 4. กระทรวงการตา่ งประเทศ ถนนศรอี ยุธยา เขตราชเทวี กทม. 10400 โทรศัพท์ 0 2203 5000 โทรสาร 0 2643 5272 เวบ็ ไซต์ www.mfa.go.th 5. กระทรวงการท่องเท่ียว ถนนราชดำ�เนินนอก และกฬี า กทม. 10100 โทรศพั ท์ 0 2283 1500 6. กระทรวงการพฒั นา โทรสาร 0 2356 0683 สังคมและความมนั่ คง เวบ็ ไซต์ www.mots.go.th ของมนษุ ย์ 1034 ถนนกรงุ เกษม แขวงมหานาค ปอ้ มปราบศตั รูพ่าย กทม. 10100 โทรศัพท์ 0 2659 6399 โทรสาร 0 2356 0539 เวบ็ ไซต์ www.m-society.go.th ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 69

รายช่ือกระทรวง ทีต่ ิดตอ่ 7. กระทรวงเกษตร 3 ถนนราชดำ�เนินนอก เขตพระนคร กทม. 10200 และสหกรณ์ โทรศพั ท์ 0 2281 5955 ศูนย์บรกิ ารขอ้ มูล 1170 8. กระทรวงคมนาคม เวบ็ ไซต์ www.moac.go.th 9. กระทรวง 38 ถนนราชด�ำ เนนิ นอก ทรพั ยากรธรรมชาติ แขวงโสมนสั และส่งิ แวดล้อม เขตป้อมปราบศัตรูพา่ ย กทม. 10100 70 โทรศพั ท์ 0 2283 3000 โทรสาร 0 2281 3959 เวบ็ ไซต ์ www.mot.go.th อาคารกรมควบคมุ มลพิษ 92 ถนนพหลโยธนิ 7 แขวงสามเสนใน พญาไท กทม. 10400 โทรศพั ท์ 0 2278 8500 โทรสาร 0 2298 5735 เว็บไซต ์ www.mnre.go.th

รายชือ่ กระทรวง ทต่ี ิดตอ่ 10. กระทรวงอตุ สาหกรรม 3 ถนนราชด�ำ เนนิ นอก เขตพระนคร กทม. 10200 โทรศพั ท์ 0 2281 5955 ศนู ยบ์ รกิ ารข้อมลู 1170 เว็บไซต ์ www.moac.go.th 11. กระทรวงเทคโนโลยี 120 หมู่ 3 ชน้ั 6–9 (โซนทศิ เหนอื ) สารสนเทศและ ศนู ย์ราชการเฉลมิ พระเกยี รติ การสือ่ สาร 80 พรรษา 5 ธนั วาคม 2550 อาคาร B ถนนแจง้ วฒั นะ เขตหลกั ส่ี กทม. 10210 โทรศพั ท์ 0 2141 6747 โทรสาร 0 2143 8046 เว็บไซต์ www.mict.go.th 12. กระทรวงพลังงาน 555/2 ศนู ยเ์ อนเนอรย์ คี่ อมเพลก็ ซ์ อาคารบี ถนนวิภาวดรี ังสติ เขตจตจุ ักร กทม. 10900 โทรศัพท์ 0 2140 6000 โทรสาร 0 2140 6228 เวบ็ ไซต ์ www.energy.go.th ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รไทย 71

รายชือ่ กระทรวง ที่ตดิ ตอ่ 13. กระทรวงพาณชิ ย์ 44/100 หมู่ 1 ถนนนนทบรุ ี 1 14. กระทรวงมหาดไทย อำ�เภอเมอื ง นนทบรุ ี 11000 โทรศัพท์ 0 2507 7000 15. กระทรวงยตุ ธิ รรม โทรสาร 0 2547 5210 เว็บไซต ์ www.moc.go.th ถนนอัษฎางค์ แขวงราชบพธิ พระนคร กทม. 10200 โทรศัพท์ 0 2222 1141-55 โทรสาร 0 2223 3029 เวบ็ ไซต์ www.moi.go.th ศูนย์ราชการเฉลิมพระเกียรติ 80 พรรษา 5 ธันวาคม 2550 อาคารราชบรุ ีดิเรกฤทธิ์ ถนนแจง้ วัฒนะ เขตหลักส่ี กทม. 10210 โทรศพั ท์ 0 2141 6435 โทรสาร 0 2143 9883 เวบ็ ไซต์ www.moj.go.th 72

รายชอื่ กระทรวง ท่ตี ิดตอ่ 16. กระทรวงแรงงาน ถนนมติ รไมตรี เขตดนิ แดง กทม. 10400 โทรศพั ท์ 0 2245 5801 โทรสาร 0 2643 4457 เวบ็ ไซต ์ www.mol.go.th 17. กระทรวงวฒั นธรรม 666 ถนนบรมราชชนนี เขตบางพลดั กทม. 10700 โทรศัพท์ 0 2422 8888 ศนู ยบ์ ริการขอ้ มูล 1765 เวบ็ ไซต ์ www.m-culture.go.th 18. กระทรวงวทิ ยาศาสตร์ ถนนพระรามที่ 6 ราชเทวี และเทคโนโลยี กทม. 10400 โทรศัพท์ 0 2333 3700 โทรสาร 0 2333 3833 เวบ็ ไซต์ www.most.go.th ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 73

รายชอ่ื กระทรวง ทต่ี ดิ ต่อ 19. กระทรวงศึกษาธิการ 319 วงั จนั ทรเ์ กษม 20. กระทรวงสาธารณสขุ ถนนราชด�ำ เนนิ นอก เขตดสุ ิต กทม. 10300 โทรศัพท์ ระบบเครือข่ายกด 824 เว็บไซต์ www.moe.go.th ถนนตวิ านนท์ อ�ำ เภอเมือง นนทบรุ ี 11000 โทรศัพท์ 0 2590 1000 โทรสาร 0 2591 5816 เว็บไซต ์ www.moph.go.th 74

4 .3 จใน�ำ นกาวรนเขขา้า้ รสาูป่ ชรกะาชราทควั่ มปอราะเเซทียศนพรอ้ มคณุ ลกั ษณะหลกั 4.3.1 จำ�นวนข้าราชการทั่วประเทศ กำ�ลังคนภาครัฐในฝ่ายพลเรือน (ไม่รวมข้าราชการทหาร) ประกอบ ด้วย ข้าราชการส่วนกลาง ส่วนภูมิภาค และส่วนท้องถิ่น การบริหาร ราชการทั้ง 3 ส่วน รองรับโดยบุคลากรภาครัฐ ซึ่งเป็นทั้งข้าราชการ พลเรือนสังกัดคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน (ก.พ.) และสังกัดอ่ืนๆ ข้าราชการตำ�รวจ ข้าราชการครู เปน็ ตน้ จ�ำ นวนต�ำ แหนง่ ขา้ ราชการพลเรอื นในประเทศไทย ในปงี บประมาณ พ.ศ. 2555 มจี �ำ นวนรวมทงั้ สน้ิ 1,424,267 ตำ�แหนง่ [79] แยกเป็น ประเภทขาราชการ จำนวน สว นกลางและสว นภมู ิภาค 1,136,872 -ขา ราชการพลเรอื นสามญั 391,135 -ขาราชการครูและบคุ ลากรทางการศึกษา 466,536 -ขา ราชการพลเรอื นในสถาบันอุดมศกึ ษา 34,252 -ขา ราชการรฐั สภาสามัญ 3,004 -ขา ราชการตำรวจ 214,804 -ขาราชการอัยการ 3,361 -ขา ราชการตุลาการ 7,349 -ขา ราชการองคกรอสิ ระตามรัฐธรรมนูญ 16,431 ประเภทขาราชการ จำนวนระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 75

-ขา ราชการตลุ าการ 7,349 -ขาราชการองคกรอสิ ระตามรฐั ธรรมนญู 16,431 ประเภทขาราชการ จำนวน สวนทองถิ่น 287,395 -ขาราชการกรุงเทพมหานคร 37,893 -ขา ราชการองคก ารบรหิ ารสวนจงั หวดั 16,388 -พนกั งานสวนตำบล 101,849 -พนักงานเทศบาล 131,265 รวม 1,424,267 4.3.2 คุณลกั ษณะหลกั ของข้าราชการ ส�ำ นักงานคณะกรรมการขา้ ราชการพลเรอื น (ก.พ.) ได้กำ�หนดนิยาม ของสมรรถนะ คือ “คุณลักษณะเชิงพฤติกรรมที่เป็นผลมาจากความรู้ ทักษะ/ความสามารถ และคุณลักษณะอื่นๆ ท่ีทำ�ให้บุคคลสามารถ สร้างผลงานได้อย่างโดดเด่น” โมเดลสมรรถนะ มีวัตถุประสงค์เพ่ือสร้างแบบสมรรถนะ (Competency) ให้ภาคราชการพลเรือนโดยเฉพาะสำ�หรับใช้ในการ บริหาร และประเมินผลงาน ตลอดจนพัฒนาศักยภาพในระยะยาว ประกอบด้วยสมรรถนะ 2 ส่วน คือ[43] 1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) 2. สมรรถนะเฉพาะงาน (Functional Competency) 76

สมรรถนะหลกั คือ คุณลักษณะร่วมของข้าราชการพลเรือนไทยท้ังระบบเพ่ือ หล่อหลอม ค่านิยม และพฤติกรรมที่พึงประสงค์ร่วมกัน ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คอื 1. การมุ่งผลสมั ฤทธิ ์ (Achievement Motivation) 2. การบริการทีด่ ี (Service Mind) 3. การสัง่ สมความเชีย่ วชาญในงานอาชพี (Expertise) 4. จรยิ ธรรม (Integrity) 5. ความร่วมแรงรว่ มใจ (Teamwork) สมรรถนะประจำ�กลุม่ งาน หรืองานเฉพาะ คือ สมรรถนะท่ีกำ�หนดเฉพาะสำ�หรับกลุ่มงาน เพ่ือสนับสนุนให้ บุคลากรแสดงพฤติกรรมท่เี หมาะสม ส�ำ หรบั สมรรถนะประจ�ำ กลมุ่ งานมที ง้ั หมด 20 ดา้ น ประกอบดว้ ย[31a] 1) การคิดวเิ คราะห์ (Analytical Thinking) 2) การมองภาพองค์รวม (Conceptual Thinking) 3) การพัฒนาศักยภาพคน (Caring and Developing) 4) การสงั่ การตามอ�ำ นาจหน้าที่ (Holding People Accountable) 5) การสบื เสาะหาข้อมลู (Information Seeking) 6) ความเขา้ ใจองคก์ รและระบบราชการ (Organizational Awareness) 7) การดำ�เนินการเชงิ รกุ (Proactiveness) 8) ความถูกต้องของงาน (Concern for Order) 9) ความมนั่ ใจในตนเอง (Self Confidence) ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รไทย 77

10) ความยดื หยุ่นผ่อนปรน (Flexibility) 11) สภาวะผู้นำ� (Leadership) 12) สุนทรยี ภาพทางศิลปะ (Aesthetic Quality) 13) ความเขา้ ใจขอ้ แตกตา่ งทางวฒั นธรรม (Cultural Sensitivity) 14) ความเข้าใจผอู้ ืน่ (Interpersonal Understanding) 15) ศลิ ปะการส่อื สารจงู ใจ (Communication and Influencing) 16) วิสยั ทัศน์ (Visioning) 17) การวางกลยทุ ธ์ภาครัฐ (Strategic Orientation) 18) ศกั ยภาพเพ่ือน�ำ การเปลี่ยนแปลง (Change Leadership) 19) การควบคมุ ตนเอง (Self-Control) 20) การใหอ้ �ำ นาจแกผ่ อู้ น่ื (Empowering Others) คุณลกั ษณะท่พี งึ ประสงค์ของขา้ ราชการไทยในทศวรรษหน้า ควรประกอบดว้ ย 3 คณุ ลักษณะส�ำ คัญ ดังน้ี l คณุ ลักษณะของข้าราชการมืออาชีพ (Professionalism) l คุณลกั ษณะของข้าราชการท่ีมีจิตสาธารณะ (Public Ethos) l คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการท่ีมจี รยิ ธรรม (Ethics) คุณลักษณะหลักสำ�คัญท้ัง 3 ประการดังกล่าว มีทั้งคุณลักษณะที่ ข้าราชการไทยจำ�เป็นต้องมี ไม่ว่าจะอยู่ในภาพอนาคตท่ีน่าจะเป็นไปได้ มากท่ีสุด หรือภาพอนาคตด้านบวก หรือภาพอนาคตด้านลบ และ คณุ ลกั ษณะยอ่ ย ซงึ่ มคี วามแตกตา่ งกนั ไปเฉพาะภาพอนาคตทน่ี า่ จะเปน็ ไปได้มากที่สุด แตค่ ณุ ลักษณะท่พี ึงประสงค์ ดังภาพท่ี 4 78

ีม ิจตสาธารณะ มีจรยิ ธรรมมคี วมาือมอเาปชนพี คณุ ลักษณะ ทพี่ งึ ประสงค ของขา ราชการ ไทย ภาพที่ 4 คุณลักษณะท่ีพึงประสงคข์ องขา้ ราชการไทย โดยคุณลักษณะหรือภาพอนาคตทางบวก หรือภาพอนาคตทางลบ ซ่ึงมีรายละเอียดดังน้ี 1) คณุ ลกั ษณะทขี่ า้ ราชการไทยจ�ำ เปน็ ตอ้ งมี ส�ำ หรบั ทงั้ 2 ภาพอนาคต ทน่ี า่ จะเป็นไปได้มากท่ีสุด ภาพอนาคตด้านบวกและภาพอนาคต ดา้ นลบ ไดแ้ ก่ n คณุ ลกั ษณะของข้าราชการมืออาชพี ทีข่ ้าราชการไทย จำ�เป็นต้องมี เช่น ความสามารถแบบมืออาชีพ ความรู้ ด้านการบริหารคน ความรู้ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ความรเู้ ก่ยี วกับการพฒั นาหน่วยงานหรอื องค์กร ความรู้ เก่ียวกับยุทธศาสตร์ ทิศทางการพัฒนาประเทศ ความรู้ ภาษาต่างประเทศ ทักษะการทำ�งานเป็นทีม ทักษะ การคดิ วเิ คราะหแ์ ละสงั เคราะหเ์ ชอ่ื มโยงอยา่ งเปน็ ระบบ ฯลฯ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รไทย 79

n คุณลักษณะของขา้ ราชการที่มีจิตสาธารณะ ข้าราชการ ไทยจำ�เป็นต้องมีค่านิยม และพฤติกรรมในการรักษาผล ประโยชน์ของแผ่นดิน (รักษาและปกป้องทรัพย์สมบัติ และผลประโยชน์ของชาติ) เป็นผู้ท่ีมุ่งเอื้อประโยชน์ต่อ สาธารณชน ฯลฯ n คณุ ลักษณะของข้าราชการทม่ี จี รยิ ธรรม ข้าราชการไทย จ�ำ เปน็ ตอ้ งมจี รยิ ธรรม คุณธรรม (ประพฤติปฏิบตั ิตนอยู่ ในศลี ธรรม ไมใ่ ช้อ�ำ นาจ และไม่แสวงหาผลประโยชน์ใน ทางมชิ อบ) มคี วามโปรง่ ใส (มกี ารปฏบิ ตั หิ นา้ ทที่ เี่ ปดิ เผย สามารถติดตามตรวจสอบได้) มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรง (การยดึ ม่ันในสง่ิ ทถ่ี ูกต้องชอบธรรม) ฯลฯ 2) คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการทพี่ งึ ประสงคต์ ามภาพอนาคตทเี่ ปน็ ไป ไดม้ ากท่ีสดุ ไดแ้ ก่ n คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการมอื อาชพี ขา้ ราชการไทยจ�ำ เปน็ ต้องมีการทำ�งานอย่างมีคุณภาพ มีความสามารถในการ จัดการกับกลุ่มคนที่หลากหลาย มีความพร้อมต่อการ ทำ�งานภายใต้ภัยวิกฤตฉุกเฉิน มีความรู้ความเชี่ยวชาญ เฉพาะด้านในงานสูง มีความรู้ทั่วไปดี และพร้อมท่ีจะ เรยี นรกู้ ารเปลย่ี นแปลงใหมๆ่ ตลอดเวลา เนน้ ผลสมั ฤทธิ์ ในงาน และสามารถส่งมอบผลงานได้ มีความแม่นยำ�ใน ขอ้ กฎหมายทเ่ี กย่ี วขอ้ งกบั การท�ำ งาน และมคี วามรคู้ วาม เขา้ ใจในกระบวนการทางกฎหมาย มคี วามคลอ่ งตวั ฉบั ไว ในการท�ำ งาน ฯลฯ 80

n คุณลักษณะของขา้ ราชการที่มจี ติ สาธารณะ ข้าราชการ ไทยจำ�เป็นตอ้ งมจี ติ บรกิ าร เน้นการให้บริการประชาชน อย่างมีคุณภาพ ให้ความสำ�คัญแก่ผู้เสียเปรียบ ผู้ด้อย โอกาสในสังคม พร้อมต่อการถูกตรวจสอบจากทุกฝ่าย รกั ษาเอกลกั ษณค์ วามเปน็ ไทย ฯลฯ n คณุ ลักษณะของขา้ ราชการทม่ี ีจริยธรรม ข้าราชการไทย จำ�เป็นต้องมีความเคารพในความแตกต่างท่ีหลากหลาย มีความเป็นธรรม ซื่อสัตย์ สุจริต ตรงไปตรงมา มีมโน สุจริต (Integrity) ใช้กฎหมายอย่างเป็นธรรม และมี มาตรฐานเดยี วกนั เปน็ แบบอยา่ งของความดงี ามในสงั คม และดูแลป้องกันสิ่งแปลกปลอมปนเป้ือนที่ไม่ดีที่มาจาก เทคโนโลยีและความทันสมัยภายนอก (Cultural Surveillance) 3) คุณลักษณะของข้าราชการที่พึงประสงค์ตามภาพอนาคต ด้านบวก ไดแ้ ก่ n คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการมอื อาชพี ขา้ ราชการไทยจ�ำ เปน็ ตอ้ งมคี วามสามารถในการมองภาพรวมเชงิ นโยบาย เปน็ ผทู้ ม่ี คี วามคดิ สรา้ งสรรค์ เปน็ ขา้ ราชการทมี่ ี “ความช�ำ นาญ การเฉพาะด้าน” (Specialist) สูง สามารถทำ�งานแบบ “เฉพาะกิจ” (Ad hoc) มคี า่ นยิ มเนน้ การทำ�งานอยา่ งมี คุณภาพ มีความคล่องตัวสูง (Mobile Ability) มีความ สามารถในการท�ำ งานเปน็ ทมี มที กั ษะในการประเมนิ ผล สัมฤทธิ์โครงการ ยึดถือ/ซื่อตรงต่อหลักการและหลัก วิชาการ มีทักษะการประสานงาน และประสานความ รว่ มมอื สร้างเครอื ขา่ ยการท�ำ งาน ฯลฯ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรไทย 81

n คุณลกั ษณะของขา้ ราชการทีม่ ีจติ สาธารณะ ข้าราชการ ไทยจำ�เป็นต้องมีมีจิตบริการ (Service Mind) สามารถ ทำ�งานร่วมกบั ภาคส่วนตา่ งๆ และมีทกั ษะแบบผู้อำ�นวย ความสะดวก (Facilitator) n คุณลกั ษณะของขา้ ราชการท่ีมีจริยธรรม ขา้ ราชการไทย จำ�เป็นต้องมีความโปร่งใส ตรวจสอบได้ เป็นผู้กำ�หนด ควบคุม กำ�กับดูแลกติกา (Regulator) ท่ีดี มีความ เปน็ ธรรม และไมเ่ ลอื กปฏิบัติ 4) คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการทพี งึ ประสงคต์ ามภาพอนาคตดา้ นลบ ได้แก่ n คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการมอื อาชพี ขา้ ราชการไทยจ�ำ เปน็ ต้องมีความสามารถเรียนรู้ และปรับตัวได้ทันกับการ เปลย่ี นแปลง เปน็ ผู้เชยี่ วชาญในงาน (สามารถใหค้ วามรู้ แกฝ่ ่ายการเมอื งเพ่ือตดั สินใจไดถ้ กู ตอ้ ง) รู้จักการบรหิ าร ความเส่ียง เรียนรู้เท่าทันกับการเปลี่ยนแปลงทาง เทคโนโลยี และมีทกั ษะการบริหารเวลา n คุณลักษณะของข้าราชการท่มี จี ิตสาธารณะ ข้าราชการ ไทยจำ�เป็นต้องมีหน้าท่ีส่งเสริมช่วยเหลือให้การทำ�งาน ของราษฎรให้ได้รับความสะดวกมากขึ้น มีจิตใจบริการ มากขนึ้ ตอบสนองความตอ้ งการของผใู้ ชบ้ รกิ ารมากกวา่ ท่ีจะเป็นผู้ควบคุม และมี “จิตวิญญาณ” ของความเป็น ข้าราชการ 82

n คณุ ลกั ษณะของขา้ ราชการท่ีมีจรยิ ธรรม ขา้ ราชการไทย จ�ำ เปน็ ตอ้ งเปน็ แบบอยา่ งของคณุ ธรรม จรยิ ธรรมในสงั คม ยดึ หลกั ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง เปน็ กลางตามหลกั การ ไม่โอนเอน อ่อนไหว หรือหวั่นเกรงอำ�นาจฝ่ายการเมือง รกั ษาความถกู ต้อง และยึดหลกั การ[55] 4.3.3 คุณลักษณะหลกั ของขา้ ราชการในการเขา้ สปู่ ระชาคม อาเซยี น 4.3.3.1 การพัฒนาขา้ ราชการให้มีความพร้อมเพื่อเขา้ สู่ประชาคม อาเซยี น เพอื่ ใหป้ ระเทศไทยได้ประโยชน์สงู สุด ปัจจยั สำ�คญั คอื ตวั ข้าราชการ เองจะต้องตระหนักถึงความสำ�คัญ และภาคราชการจะต้องสร้าง การรบั รใู้ ห้ขา้ ราชการทุกคนตระหนักถึงความส�ำ คัญของการรวมตัวเป็น ประชาคมอาเซียน ดังนนั้ ส�ำ นกั งาน ก.พ. จึงก�ำ หนดแนวทางการสรา้ ง ความพร้อมให้ข้าราชการเพื่อเข้าสู่ประชาคมอาเซียนโดยสามารถสรุป เนือ้ หาได้ดงั น้ี [47] n เนน้ การสรา้ งความตระหนกั รทู้ เี่ กยี่ วกบั ประชาคมอาเซยี นในกลมุ่ ผู้บริหารระดับกลางและข้าราชการระดับปฏิบัตกิ าร n การจดั เตรยี มขอ้ มลู เพอื่ สรา้ งความพรอ้ มใหก้ บั บคุ ลากร ประกอบ ดว้ ย ความร้ทู ี่เกยี่ วกับข้อมูลประเทศ ขอ้ มลู ทเ่ี ก่ยี วข้องประชาคม อาเซยี นในเชงิ ลกึ และข้อมลู ประเทศไทยในประชาคมอาเซียน ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 83

n พฒั นาทกั ษะทจี่ �ำ เปน็ ของบคุ ลากรภาครฐั ใน 3 ดา้ น ไดแ้ ก่ ทกั ษะ ด้านการสือ่ สาร ทักษะด้านกฎหมาย และทักษะการก�ำ หนด มาตรฐานและการสรา้ งเครอ่ื งมือทางข้อตกลงระหวา่ งประเทศ n สร้างทัศนคติทจ่ี ำ�เปน็ ของบคุ ลากรภาครฐั n สร้างสมรรถนะท่จี �ำ เป็นของบุคลากรภาครัฐ 4.3.3.2 ทศั นคตทิ จ่ี �ำ เปน็ ของบคุ ลากรภาครัฐ 2 ดา้ น 1) ทัศนคตินานาชาติ เป็นการปรับทัศนคติ รวมถึงพฤติกรรมของบุคลากรภาครัฐในฐานะ ผู้แทนของประเทศ ซ่ึงถือว่าเป็นเร่ืองละเอียดอ่อนมาก เนื่องจาก ประเทศไทยไมไ่ ดเ้ ปน็ ประเทศศาสนาอสิ ลามเหมอื นมาเลเซยี อนิ โดนเี ซยี และบรไู น ในขณะเดยี วกนั สปป.ลาว เวยี ดนาม ยงั มอี ดุ มคตแิ บบสงั คมนยิ ม ดงั นน้ั ความคดิ ตา่ งกนั จงึ เปน็ รายละเอยี ดทตี่ อ้ งท�ำ ความเขา้ ใจแบบยอมรบั ความตา่ งทอี่ ยรู่ ว่ มกนั ได้ และการปรบั ทศั นคตเิ ชงิ บวกตอ่ ประเทศสมาชกิ และประชาคมอาเซยี นของกนั และกนั ทงั้ การเสรมิ สรา้ งอตั ลกั ษณอ์ าเซยี น ท่ีมคี วามกลมเกลยี วต่อกัน 2) ทัศนคติการบรกิ ารทีเ่ ปน็ มาตรฐานเดียว เนือ่ งจากบุคลากรภาครัฐยังเห็นวา่ งานในส่วนอาเซียน คอื ภารกจิ ท่ี นอกเหนอื ภารกจิ หลกั ของตนเอง รสู้ กึ เปน็ ภาระทเี่ พมิ่ ขน้ึ จากงานประจ�ำ ท�ำ ใหม้ าตรฐานการบรกิ ารของภาครฐั มคี วามแตกตา่ งกนั มหี ลายมาตรฐาน ขึน้ อยู่กับบคุ ลากรที่ใหบ้ รกิ าร ดังนน้ั จงึ ควรมกี ารปรับทศั นคติในการให้ บรกิ ารที่เปน็ มาตรฐาน 84

4.3.3.3 คณุ ลกั ษณะของบคุ ลากรภาครฐั ในการเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น (สมรรถนะทจี่ �ำ เปน็ ของบคุ ลากรภาครฐั 7 ด้านในการเข้าสู่ประชาคมอาเซยี น) 1) การมุ่งผลสัมฤทธ์ิ คอื การท�ำ งานทีเ่ นน้ เป้าหมายแบบบรู ณาการ มที ั้งบทบาทในเชิงรกุ และเชิงรับ โดยมียุทธศาสตร์ร่วมของทุกหน่วยงาน และคงไว้ซึ่งผล ประโยชน์ของภูมิภาคเชน่ กนั 2) การทำ�งานเป็นทีม เน่ืองจากส่วนใหญ่ยังมีการทำ�งานแยกส่วน และทำ�งานเฉพาะตาม โครงสร้างของระบบราชการ ไม่ก้าวก่ายกัน ทำ�ให้ขาดการทำ�งานแบบ บูรณาการ ดังน้ันการทำ�งานเป็นทีมเพื่อให้ได้ผลสัมฤทธ์ิน้ัน จึงมีความ จำ�เป็นอย่างย่ิงเพื่อให้การประสานงานระหว่างกระทรวง การรายงาน สถานการณ์ให้ทราบระหว่างกระทรวง และการกำ�หนดยุทธศาสตร์ร่วม กันสามารถทำ�ได้อย่างสมบูรณ์ รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ซ่ึงจะช่วย เพ่ิมศักยภาพในการแข่งขนั ของประเทศในเวทีอาเซยี นได้ 3) การมีองคค์ วามรู้ คือ มีองคค์ วามรูใ้ นเชงิ ลึกทคี่ รบถว้ นเกีย่ วกับประชาคมอาเซยี นและ ประเทศสมาชิกในแง่ของโครงสร้างองค์การยุทธศาสตร์ ข้อมูลพื้นฐาน ของประเทศสมาชิก วัฒนธรรม สิ่งท่ีควรทำ�และไม่ควรทำ�ในวัฒนธรรม ของประเทศเพอ่ื นบา้ น การมอี งคค์ วามรเู้ ชงิ ลกึ ในแงย่ ทุ ธศาสตรข์ องชาติ ผมู้ สี ว่ นไดส้ ว่ นเสยี ทจ่ี ะไดร้ บั ผลกระทบจากนโยบายอาเซยี นเชงิ ลกึ นอกจาก นต้ี ้องมคี วามรใู้ นดา้ นการเจรจา การประชุม รวมถึงข้อกฎหมาย ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 85

4) การมคี วามโปรง่ ใส และมมี าตรฐานในการท�ำ งาน อกี ทงั้ เขา้ ใจและสามารถปรบั ใชว้ ธิ กี ารท�ำ งานในรปู แบบทเี่ ปน็ มาตรฐาน สากลระดบั ภูมภิ าคไดจ้ ริง 5) ความเป็นนานาชาติ บุคลากรมคี วามเปิดกวา้ งทางความคดิ มที กั ษะทีย่ ืดหยนุ่ และคล่อง ตัวในบรบิ ทนานาชาติ 6) ความเป็นผสู้ นับสนุน (Facilitator) ไดแ้ ก่ บคุ ลากรทม่ี สี มรรถนะเปน็ ผอู้ �ำ นวยความสะดวกใหก้ บั ผมู้ สี ว่ น ไดส้ ว่ นเสยี จากขอ้ ตกลงประชาคมอาเซยี น ทง้ั ในและตา่ งประเทศอยา่ งรู้ เทา่ ทัน 7) การมีภาวะผู้น�ำ เชงิ รุก คือ การท่ีบุคลากรมียุทธศาสตร์ท่ีชัดเจนในการนำ�ภาคส่วนอ่ืนของ สงั คมใหเ้ กดิ ความตระหนกั และเขา้ ถงึ ผลประโยชนจ์ ากประชาคมอาเซยี น อยา่ งเทา่ เทยี มกนั เพอื่ ใหภ้ าครฐั สามารถมบี ทบาทเชงิ รกุ ในการสนบั สนนุ ใหท้ กุ ภาคสว่ นไดร้ บั ผลประโยชนส์ งู สดุ และเพมิ่ ขดี ความสามารถในการ แขง่ ขนั (Competitive Advantage) ของประเทศได[้ 48] 86

4.3.3.4 การเตรียมความพร้อมกำ�ลังคนภาครัฐสู่ประชาคมอาเซียน โดยใชผ้ ลการศกึ ษาของมหาวทิ ยาลยั ธรรมศาสตรเ์ ปน็ แนวทาง ในการพฒั นากำ�ลังคนภาครัฐ คุณลักษณะของบุคลากรภาครัฐที่พึงประสงค์สู่การรวมตัวของ ประชาคมอาเซยี น n มีความเป็นนานาชาติ n มคี วามเปน็ มอื อาชพี n มีความเป็นผู้สนับสนนุ มคี วามเป็นนานาชาติ - มีทศั นะเชิงบวกต่ออาเซยี น และประชาคมอาเซยี น - มีทัศนคติต่อประเทศสมาชิกในลักษณะ “ภูมิภาคนิยม” มองว่า “คนในประชาคมอาเซียนคือ พลเมืองของภูมิภาค มีความ เทา่ เทียมกนั และตอ้ งพง่ึ พากนั ” - มีความรู้ และเข้าใจในประเพณีและวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ ในประชาคมอาเซยี น - มีทักษะด้านภาษาอังกฤษในระดับการสนทนา เจรจาต่อรอง การเขียนข้อกฎหมาย การจัดทำ�ข้อเสนอโครงการ การเข้าใจ คำ�ศัพท์เฉพาะการเข้าใจภาษาของประเทศสมาชิก โดยเฉพาะผู้ท่ี ปฏบิ ตั งิ านในตะเขบ็ ชายแดน - มีทักษะการเจรจาต่อรองอยา่ งมีกลยุทธ์ รเู้ ปา้ หมายในการเจรจา รู้ ขอ้ มลู เชงิ ลกึ ของคเู่ จรจา รเู้ ทคนคิ การเจรจา และเขา้ ใจสถานการณ์ - มีทักษะด้านการประชมุ นานาชาตริ ะดับสากล (ประเดน็ เป้าหมาย ภาษา และการจัดทำ�บนั ทึกการประชุม) ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รไทย 87

- มีทักษะในการอ่าน และเข้าใจข้อตกลง กฎหมายระหว่างประเทศ กฎหมายของประเทศสมาชกิ รวมทงั้ การปรบั ใชก้ บั บรบิ ทของไทย มคี วามเป็นมืออาชพี - ทำ�งานมงุ่ ผลสัมฤทธิ์ โดยยดึ เป้าหมายร่วมกัน - มีการส่ังสมความรู้ ความเช่ียวชาญในงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ อาเซียน และสามารถถ่ายทอดความรู้ความเชี่ยวชาญน้ันๆ ให้แก่ เพ่อื นร่วมงาน - มีขั้นตอนการทำ�งานท่ีโปร่งใส ได้มาตรฐาน มีความเป็นธรรมต่อ ผูม้ สี ่วนได้ส่วนเสีย และไม่มีผลประโยชน์ทบั ซอ้ น - มีจิตสำ�นึกของการทำ�งานเป็นทีม มีการสร้างเครือข่ายกับทุก ภาคส่วนและประเทศสมาชิก - มคี วามเขา้ ใจ และสามารถก�ำ หนดมาตรฐานการท�ำ งานทเ่ี ปน็ สากล มีความเป็นผสู้ นบั สนุน - มีภาวะผู้นำ�เชิงรุก โดยมียุทธศาสตร์ในการนำ�ภาคส่วนต่างๆ ของ สังคมให้ตระหนัก และเข้าใจเร่ืองอาเซียนและประชาคมอาเซียน เพื่อให้ภาครัฐสามารถดำ�เนินบทบาทเชิงรุกในการนำ�ประเทศเข้า ส่ปู ระชาคมอาเซยี น และการแขง่ ขันไดต้ ามพนั ธะกรณี - เขา้ ใจความตอ้ งการของภาคเอกชนและประชาชน พรอ้ มทจ่ี ะอ�ำ นวย ความสะดวกให้กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสียจากข้อตกลงของประชาคม อาเซยี น สามารถใหบ้ รกิ ารไดอ้ ยา่ งมมี าตรฐานระดบั สากล โปรง่ ใส คลอ่ งตัว มปี ระสทิ ธิภาพ และประสิทธิผล[62] 88

5 ยุทธศาสตร์ และภารกิจ ของแตล่ ะกระทรวง และหนว่ ยงานหลกั ทรี่ ับผดิ ชอบงานทเี่ กย่ี วกบั ASEAN ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 89

5.1 ยุทธศาสตร์ และภารกิจของแต่ละกระทรวง ยทุ ธศาสตรแ์ ละภารกจิ ของแตล่ ะกระทรวงกบั การเตรยี มความพรอ้ ม เขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น ประกอบดว้ ย 3 เสาหลกั (Pillars) ไดแ้ ก่ 1) ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น 2) ประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น 3) ประชาคมสงั คมและวฒั นธรรมอาเซยี น ในแตล่ ะยทุ ธศาสตรน์ น้ั กระทรวงตา่ งๆ มภี ารกจิ ทจ่ี �ำ เปน็ ตอ้ งปฏบิ ตั ิ ตง้ั แตแ่ ผนงาน จนถงึ การปฏบิ ตั กิ ารใหล้ ลุ ว่ ง เพอ่ื ตอบประเดน็ ยทุ ธศาสตร์ นน้ั ๆ 5.1.1 การเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สปู่ ระชาคมการเมอื ง และความมน่ั คงอาเซยี น กระทรวงการตา่ งประเทศ กระทรวงการต่างประเทศ ได้รับมติจากคณะรัฐมนตรีมอบหมายให้ เปน็ ประธานคณะกรรมการอาเซยี นแหง่ ชาตแิ ละเปน็ ประธานคณะกรรมการ ดำ�เนินการเพ่ือจัดต้ังประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซียน โดย กระทรวงต่างประเทศได้ตง้ั ใหม้ หี น่วยงานรบั ผดิ ชอบคอื กรมอาเซยี น ซง่ึ กรมอาเซยี นมยี ทุ ธศาสตรด์ งั น[้ี 3] ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 ด�ำ เนนิ การเชงิ รับและรุกในมติ ิตา่ งๆ เพ่อื รักษาและ ผลกั ดนั บทบาท/จดุ แขง็ ของไทยในเวทอี าเซยี นทง้ั ในกลมุ่ ประเทศสมาชกิ 90

อาเซียน 10 ประเทศ กล่มุ ประเทศสมาชิกอาเซียนเดิม 5 ประเทศ และ กลมุ่ ประเทศสมาชกิ อาเซยี นใหม่ 4 ประเทศ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 ใชป้ ระโยชนจ์ ากศกั ยภาพของประเทศไทย เพม่ิ บทบาท ยุทธศาสตร์ของไทยในอาเซียนและระหว่างอาเซียนกับประเทศค่เู จรจา เพ่อื สร้างความก้าวหน้าในภูมิภาคเอเชียตะวันออก อาทิ ประชาธิปไตย สิทธิมนุษยชนธรรมาภิบาลการลดช่องว่างเพ่ือการพัฒนา การเช่ือมโยง ระหวา่ งกนั รวมทง้ั การสรา้ งความเขม้ แขง็ ใหก้ บั องคก์ รเพอ่ื สนบั สนนุ การ ด�ำ เนนิ งานของอาเซยี น ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 สนบั สนนุ และสง่ เสรมิ การเชอ่ื มโยงทค่ี รบวงจร ระหวา่ ง ทง้ั 3 ประชาคมอาเซยี น และในกรอบเวทตี า่ ง ๆทง้ั อาเซยี น อาเซยี นบวก หนง่ึ กบั ประเทศคเู่ จรจาเปน็ รายประเทศ อาเซยี นบวกสาม และเวทเี อเชยี ตะวนั ออก เปน็ ตน้ เพอ่ื สนบั สนนุ กระบวนการรวมตวั ในอาเซยี น ยุทธศาสตร์ท่ี 4 ผลักดันวาระของประชาชนในอาเซียน อาทิ การ บริหารจัดการภัยพิบัติ ประเด็นท่เี ก่ยี วกับความม่นั คงของมนุษย์ ปัญหา ขา้ มชาติ และผลกระทบทเ่ี กดิ จากความเชอ่ื มโยงระหวา่ งกนั ในอาเซยี น ยุทธศาสตร์ท่ี 5 ผลักดันแนวทางดำ�เนินงานภายในประเทศเพ่ือให้ บรรลเุ ปา้ หมายการเตรยี มความพรอ้ มของภาคสว่ นตา่ งๆ ในประเทศไปสู่ การเปน็ ประชาคมอาเซยี น รวมทง้ั สง่ เสรมิ การตระหนกั รเู้ กย่ี วกบั ประชาคม อาเซยี นแกส่ าธารณชน ส�ำ นกั งานสภาความมน่ั คงแหง่ ชาติ สำ�นักงานสภาความม่ันคงแห่งชาติ (สมช.) เป็นหน่วยงานในสังกัด ส�ำ นกั นายกรฐั มนตรรี บั ผดิ ชอบด�ำ เนนิ การเพอ่ื รองรบั ประชาคมการเมอื ง ระบบบริหารราชการของราชอาณาจักรไทย 91

และความมน่ั คงอาเซยี นในระดบั นโยบายของไทย ไดจ้ ดั ท�ำ รา่ งยทุ ธศาสตร์ ในการด�ำ เนนิ การดา้ นการเมอื งและความมน่ั คง เพอ่ื เตรยี มความพรอ้ มใน การเป็นประชาคมการเมืองและความม่ันคงอาเซียน ประกอบด้วย 6 ยทุ ธศาสตร[์ 80] คอื 1. ยทุ ธศาสตรก์ ารพฒั นาการเมอื ง 2. ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างบรรทัดฐานความร่วมมือด้านความ มน่ั คงในภมู ภิ าค 3. ยุทธศาสตร์การแก้ปัญหาภัยคุกคามรูปแบบใหม่ท่ีมีลักษณะ ขา้ มชาติ 4. ยทุ ธศาสตรก์ ารจดั การกบั ภยั พบิ ตั ทิ ส่ี ง่ ผลกระทบรนุ แรง 5. ยทุ ธศาสตรก์ ารปอ้ งกนั และแกป้ ญั หาความขดั แยง้ ในภมู ภิ าค 6. ยทุ ธศาสตรค์ วามสมั พนั ธก์ บั มหาอ�ำ นาจ ทง้ั นใ้ี นรา่ งยทุ ธศาสตรด์ งั กลา่ ว จะก�ำ หนดมาตรการในการด�ำ เนนิ การ แตล่ ะยทุ ธศาสตร์ ซง่ึ ปรากฏอยใู่ นรา่ งยทุ ธศาสตรแ์ หง่ ชาตขิ องส�ำ นกั งาน สภาความมน่ั คงแหง่ ชาติ กระทรวงกลาโหม กระทรวงกลาโหมได้ใช้กลไกการประชุมรัฐมนตรีกลาโหมอาเซียน (ASEAN Defence Ministers’ Meeting : ADMM) [41] เป็นส่วนเสริม สรา้ งเพอ่ื น�ำ ไปสกู่ ารจดั ตง้ั ประชาคมการเมอื งและความมน่ั คงอาเซยี น ซง่ึ จากผลของการประชมุ ADMM ทผ่ี า่ นมา ไดเ้ หน็ ชอบรว่ มกนั ใหม้ กี จิ กรรม ความรว่ มมอื ทส่ี �ำ คญั คอื 92

- ความรว่ มมอื ระหวา่ งกลาโหมอาเซยี นกบั องคก์ รภาคประชาสงั คมใน ดา้ นความมน่ั คงรปู แบบใหม่ - การใชท้ รพั ยากรและศกั ยภาพทางทหารอาเซยี นในการใหค้ วามชว่ ย เหลอื ดา้ นมนษุ ยธรรมและการบรรเทาภยั พบิ ตั ิ - ความรว่ มมอื ดา้ นอตุ สาหกรรมปอ้ งกนั ประเทศของอาเซยี น นอกจากน้ีกระทรวงกลาโหมได้มีการจัดต้ังกองอาเซียน สำ�นักงาน นโยบายและยุทธศาสตร์สำ�นักนโยบายและแผนกลาโหม[4] เม่ือเดือน ตุลาคม พ.ศ. 2553 โดยได้ปรับอัตราภายในของสำ�นักนโยบายและ แผนกลาโหมเพอ่ื รองรบั งานดงั กลา่ ว โดยมอี ตั รา คอื 1. แผนกอาเซียน 1 รับผิดชอบงานในกรอบการประชุมรัฐมนตรี กลาโหมอาเซยี น และรฐั มนตรกี ลาโหมอาเซยี นกบั รฐั มนตรกี ลาโหมประเทศ คเู่ จรจา และการด�ำ เนนิ การอน่ื ๆ ในกรอบของเสาหลกั ประชาคมการเมอื ง และความมน่ั คง 2. แผนกอาเซยี น 2 รบั ผดิ ชอบงานในกรอบของการประชมุ ASEAN Regional Forum และการด�ำ เนนิ การอน่ื ๆ ในกรอบของเสาหลกั ประชาคม เศรษฐกจิ และเสาหลกั สงั คมและวฒั นธรรม ส�ำ หรบั แผนกกจิ การชายแดน รบั ผดิ ชอบงานทเ่ี กย่ี วกบั การด�ำ เนนิ การดา้ นความมน่ั คงชายแดน เชน่ การ ประชมุ คณะกรรมการชายแดนทว่ั ไป ไทยกบั ประเทศเพอ่ื นบา้ น และการ ดำ�เนินการอ่นื ๆ ภายใต้กรอบการประชุมดังกล่าว เพ่อื ให้หน่วยข้นึ ตรง กระทรวงกลาโหม มแี นวทางในการด�ำ เนนิ การรองรบั การจดั ตง้ั ประชาคม อาเซียนในปี พ.ศ. 2558 และจะได้นำ�แนวทางดังกล่าว ไปปรับปรุงการ ดำ�เนินการด้านกำ�ลังพล การงบประมาณ และการบริหารจัดการต่าง ๆ ใหส้ อดคลอ้ งตอ่ ไป ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 93

กระทรวงยตุ ธิ รรม กระทรวงยุติธรรมได้มีการเตรียมความพร้อมในการเข้าสู่ประชาคม อาเซยี นโดยไดจ้ ดั ท�ำ ยทุ ธศาสตร[์ 21]และเตรยี มการปฏบิ ตั ดิ งั น้ี ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 1 : ขบั เคลอ่ื นการพฒั นากฎหมาย เพอ่ื สนบั สนนุ การเสรมิ สรา้ งความสามารถในการแขง่ ขนั ของประเทศ โดยปรับปรุงกฎหมายและแนวปฏิบัติในกระบวนการยุติธรรมให้มี ประสิทธิภาพท้งั ทางแพ่ง-พาณิชย์ และอาญา สร้างองค์ความร้เู ก่ยี วกับ กฎหมายและส่งเสริมการเผยแพร่ข้อมูลไทยแก่ชาวต่างประเทศ รวมท้งั สร้างเครือข่ายอาสาสมัครในการให้บริการประชาชนด้านกฎหมายจาก ทุกภาคส่วน (Probono) และร่วมมือกับภาคเอกชนในการพัฒนา องค์ความร้ทู างกฎหมายเพ่อื เสริมสร้างความสามารถในการแข่งขันของ ประเทศ ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : พฒั นากลไก และสรา้ งเสรมิ ความเชอ่ื มโยง ในระบบและกระบวนการยตุ ธิ รรม โดยเสรมิ สรา้ งความรว่ มมอื เชอ่ื มตอ่ ประสานการท�ำ งานรว่ มกนั มกี ารทบทวน และจดั ท�ำ ฐานขอ้ มลู กระบวนการ ยุติธรรมให้ตอบสนองต่อคดีใหม่ๆท่ีจะเกิดข้ึนหลังจากเข้าสู่ประชาคม อาเซียน และส่งเสริมให้มีศูนย์ประสานงานด้านกระบวนการยุติธรรมใน ทกุ ประเทศอาเซยี น (ทตู ยตุ ธิ รรม) ประเดน็ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 3 : การยกระดบั และพฒั นาระบบบรกิ ารดา้ น กระบวนการยตุ ธิ รรม เพอ่ื สรา้ งความเสมอภาค และเปน็ ธรรม โดยสง่ เสรมิ ใหม้ ลี า่ มดา้ นกฎหมายในภาษาทส่ี �ำ คญั ของชาตอิ าเซยี นในกระทรวงยตุ ธิ รรม ทง้ั ปรบั ปรงุ และพฒั นาระบบสารสนเทศใหเ้ ขา้ ถงึ ไดง้ า่ ยและเพม่ิ ชอ่ งทางการ ตดิ ตอ่ สอ่ื สารกบั ประชาชนในการใหบ้ รกิ าร และรบั เรอ่ื งรอ้ งเรยี น อกี ทง้ั เปดิ ศนู ยใ์ หบ้ รกิ าร รปู แบบ one stop service ในทกุ ภมู ภิ าคของประเทศ รวมท้ังพัฒนาแนวทางปฏิบัติกลาง (Guidelines) ในการให้บริการแก่ 94

ประชาชนและอำ�นวยความสะดวกให้แก่ผู้เสียหายท่ีรอรับการจ่ายค่า เยยี วยา ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 4 : เสริมสร้างความเช่อื ม่นั ในระบบยุติธรรม ไทย โดยสง่ เสรมิ และสรา้ งความรคู้ วามเขา้ ใจหลกั นติ ริ ฐั -นติ ธิ รรม และสทิ ธิ มนษุ ยชนใหก้ บั ประชาชน ทง้ั จดั ท�ำ ดชั นชี ว้ี ดั ประสทิ ธภิ าพ และดชั นคี วาม เชอ่ื มน่ั ตอ่ กระบวนการยตุ ธิ รรม รวมทง้ั การผลกั ดนั ใหก้ ระทรวงยตุ ธิ รรม เปน็ ศนู ยแ์ หง่ ความเปน็ เลศิ ดา้ นการวจิ ยั และพฒั นากระบวนการยตุ ธิ รรม ทจ่ี ะสง่ ผลและผลกั ดนั ใหป้ ระทศไทยเปน็ ผนู้ �ำ ในการพฒั นากระบวนการ ยตุ ธิ รรม และหลกั นติ ธิ รรมในภมู ภิ าคอาเซยี น ประเด็นยุทธศาสตร์ท่ี 5 : ยกระดับขีดสมรรถนะขององค์กร และ บุคลากรในกระทรวงยุติธรรม ให้มีความรู้เข้าใจถึงองค์ความรู้เก่ียวกับ กฎหมาย การใช้ภาษา และระบบงานยุติธรรมของประเทศอาเซียน รวมถงึ มาตรฐานและแนวปฏบิ ตั ขิ องสหประชาชาติ ทง้ั สนบั สนนุ บคุ ลากร ไดม้ โี อกาสในการปฏบิ ตั งิ านดา้ นอาเซยี น 5.1.2 ยทุ ธศาสตรก์ ารเตรยี มความพรอ้ มเขา้ สปู่ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น กระทรวงพาณชิ ย์ กระทรวงพาณิชย์มีบทบาทสำ�คัญในการขับเคล่อื นเศรษฐกิจการค้า ท้ังในประเทศและระหว่างประเทศ และได้รับมอบหมายตามมติ คณะรฐั มนตรเี มอ่ื ปี 2554 ใหเ้ ปน็ เสาหลกั ดา้ นประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ซ่ึงมีเป้าหมายท่ีจะบรรลุสู่การเป็นประชาคมในปี 2558 จึงได้กำ�หนด ยทุ ธศาสตรห์ ลกั ในการใชอ้ าเซยี นเปน็ ฐานในการบรู ณาการเขา้ กบั เศรษฐกจิ ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจกั รไทย 95

โลกภายใต้โลกาภิวตั น์ท่เี ศรษฐกจิ ของแตล่ ะประเทศมคี วามเช่อื มโยงกัน มากข้ึน และความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีเป็นปัจจัยสำ�คัญท่ีสร้างการ เปลย่ี นแปลงทร่ี วดเรว็ รวมทง้ั การแขง่ ขนั ทร่ี นุ แรงยง่ิ ขน้ึ ซง่ึ ในการด�ำ เนนิ ภารกจิ ส�ำ คญั น้ี กระทรวงพาณชิ ยต์ ระหนกั ถงึ ความจ�ำ เปน็ ทจ่ี ะตอ้ งปรบั ปรงุ แผนยทุ ธศาสตรแ์ ละจดั ท�ำ พมิ พเ์ ขยี วในการด�ำ เนนิ การ (Blueprint) เพอ่ื รองรบั การเขา้ สู่ AEC โดยมเี ปา้ หมาย และแผนปฏบิ ตั กิ ารทช่ี ดั เจนรว่ มกนั ระหว่างหน่วยงานของกระทรวงพาณิชย์ท้ังในส่วนกลาง ภูมิภาค (76 จงั หวดั ) และในตา่ งประเทศ (66 แหง่ ใน 44 ประเทศทกุ ภมู ภิ าคของโลก) รวมทง้ั บรู ณาการการด�ำ เนนิ งานรว่ มกบั ภาครฐั และภาคเอกชนทเ่ี กย่ี วขอ้ ง ในลกั ษณะทส่ี รา้ งความเปน็ พนั ธมติ รรว่ มกนั (Public-Private Partnership : PPP) ในการเตรียมความพร้อมของไทยเพ่ือเข้าร่วมประชาคมเศรษฐกิจ อาเซยี นในปี 2558 กระทรวงพาณชิ ยไ์ ดก้ �ำ หนดพมิ พเ์ ขยี วเปน็ กรอบการ ด�ำ เนนิ การรองรบั AEC ไว้ โดยมี 8 ยทุ ธศาสตร์ ดงั ตอ่ ไปน[้ี19] ยุทธศาสตร์ท่ี 1 : ขับเคล่อื นการเจรจาในเวทีเศรษฐกิจของอาเซียน และเวทเี ศรษฐกจิ การคา้ อน่ื เชน่ WTO APEC ตลอดจนเวทเี จรจาทวภิ าคี (Joint Trade Committees) ใหไ้ ดป้ ระโยชนส์ งู สดุ ตอ่ การพฒั นาเศรษฐกจิ ของประเทศ รวมทง้ั ตอ่ วสิ าหกจิ ขนาดกลางและขนาดยอ่ ม(SMEs) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 2 : พฒั นาฐานองคค์ วามรเู้ กย่ี วกบั AEC โดยกระทรวง พาณชิ ยจ์ ะจดั ตง้ั ศนู ยก์ ารเรยี นรปู้ ระชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น(AEC Learning Center) เพ่อื เป็นศูนย์กลางการนำ�เสนอข้อมูลเก่ยี วกับ AEC อย่างครบ วงจร และบูรณาการแผนการจัดฝึกอบรม และสัมมนาของหน่วยงาน กระทรวงพาณชิ ย ์ ใหเ้ ขม้ แขง็ เพอ่ื พฒั นาบคุ ลากรทง้ั ในภาครฐั และเอกชน อยา่ งตอ่ เนอ่ื ง 96

ยุทธศาสตร์ท่ี 3 : การยกระดับการให้บริการของกระทรวงพาณิชย์ แกภ่ าคเอกชน เพอ่ื อ�ำ นวยความสะดวกทางการคา้ โดยการพฒั นาระบบ การใหบ้ รกิ ารของกระทรวงอยา่ งครบวงจร และสรา้ งระบบการใหบ้ รกิ าร อเิ ลก็ ทรอนกิ สแ์ บบชอ่ งทางเดยี ว (Single Gateway) ตลอดจนใหบ้ รกิ าร ข้อมูลและคำ�ปรึกษาทางธุรกิจผ่านศูนย์พัฒนาการค้าและธุรกิจไทยใน ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (AEC Business Support Centers) รวม ทง้ั สน้ิ 87 ศนู ย์ ในกระทรวงพาณชิ ยส์ ว่ นกลาง ส�ำ นกั งานพาณชิ ยท์ กุ จงั หวดั และส�ำ นกั งานสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ (ในอาเซยี นและจนี ตอนใต)้ ศนู ยบ์ รกิ ารสง่ ออกแบบเบด็ เสรจ็ (One Stop Export Service Center) ณ หนว่ ยงานสาขาของกรมสง่ เสรมิ การคา้ ระหวา่ งประเทศ ถนนรชั ดาภเิ ษก และศูนย์แก้ไขปัญหาข้อพิพาททางการค้า (Trade Dispute Solution Center) ณ กระทรวงพาณชิ ย์ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 4 : การพฒั นาเพอ่ื เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ทางการคา้ ของไทย โดยมงุ่ เนน้ การพฒั นาปจั จยั พน้ื ฐานรองรบั เศรษฐกจิ การค้ายุคใหม่ (Trade Infrastructure) เช่น ยกระดับมาตรฐานและ คณุ ภาพสนิ คา้ และบรกิ ารของไทย การพฒั นาธรุ กจิ e-Commerce และ การพฒั นาหว่ งโซด่ า้ นโลจสิ ตกิ สก์ ารคา้ เชน่ คลงั สนิ คา้ ศนู ยก์ ระจายสนิ คา้ ด่านศุลกากร และการปรับประสานกฎระเบียบในการขนส่งและพิธีการ ศลุ กากร เปน็ ตน้ ยุทธศาสตร์ท่ี 5 : การพัฒนาเศรษฐกิจภูมิภาคและการค้าชายแดน รองรบั AEC โดยกระทรวงพาณชิ ยม์ งุ่ เตรยี มความพรอ้ มใหแ้ กจ่ งั หวดั ตา่ งๆ ในทุกภูมิภาคของประเทศ เพ่อื ใช้โอกาสทางธุรกิจการค้าและการลงทุน ทเ่ี พม่ิ ขยายใหเ้ ตม็ ศกั ยภาพและรบั มอื กบั การแขง่ ขนั ไดอ้ ยา่ งยง่ั ยนื ซง่ึ จะ ระบบบริหารราชการของราชอาณาจกั รไทย 97

เปน็ การสนบั สนนุ ใหจ้ งั หวดั ตา่ งๆ ของไทยกา้ วไปสกู่ ารเปน็ นครแหง่ อาเซยี น (AEC Cities) โดยมเี ปา้ หมายในปี 2557-2558 ทจ่ี ะชว่ ยเตรยี มความพรอ้ ม ใหแ้ กจ่ งั หวดั ขอนแกน่ เชยี งราย และสงขลา นอกจากน้ี กระทรวงพาณชิ ย์ ได้ให้ความสำ�คัญต่อการพัฒนาการค้ากับประเทศเพ่อื นบ้านและการค้า ชายแดน และมีแผนดำ�เนินการเพ่ืออำ�นวยความสะดวกทางการค้า ณ จดุ ผา่ นแดน สง่ เสรมิ การจดั งานแสดงสนิ คา้ แถบชายแดนและในประเทศ เพอ่ื นบา้ น และมงุ่ ด�ำ เนนิ การใหเ้ อกชน ไดร้ บั ประโยชนจ์ ากการรวมกลมุ่ ในอนภุ มู ภิ าคตา่ งๆ อยา่ งเตม็ ท่ี เชน่ GMS และ ACMECS เปน็ ตน้ ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 6 : การพฒั นาและขยายเพม่ิ สดั สว่ นการตลาดของไทย ใน AEC โดยกระตนุ้ ใหภ้ าคเอกชนไทยปรบั เปลย่ี นกระบวนทศั นม์ าใหค้ วาม ส�ำ คญั อยา่ งจรงิ จงั แกต่ ลาดอาเซยี น และตระหนกั วา่ อาเซยี น 10 ประเทศ เปน็ ตลาดทเ่ี ชอ่ื มโยงเปน็ ผนื เดยี วกนั เสมอื นกบั เปน็ ตลาดภายในของไทย ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 7 : การพฒั นากฎหมายดา้ นเศรษฐกจิ การคา้ ใหท้ นั สมยั และสอดคล้องกับข้อผูกพันภายใต้ AEC (กระทรวงพาณิชย์มีกฎหมาย ภายใตก้ ารก�ำ กบั ดแู ล จ�ำ นวน 31 ฉบบั ) ยทุ ธศาสตรท์ ่ี 8 : การพฒั นาบคุ ลากรของกระทรวงพาณชิ ยแ์ ละหนว่ ย งานอน่ื ทเ่ี กย่ี วขอ้ งในภาครฐั และภาคเอกชน โดยการยกระดบั สถาบนั กรม พระจนั ทบรุ นี ฤนาถของกระทรวงพาณชิ ย์ เพอ่ื เพม่ิ สมรรถนะในการด�ำ เนนิ การพฒั นาบคุ ลากรภาครฐั และเอกชนสคู่ วามเปน็ สากล และการจดั หลกั สตู ร อบรมพัฒนาผู้ประกอบการแบบบูรณาการให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมาย เช่น โครงการ Young AEC Traders โครงการ OTOP Traders และ โครงการสรา้ งนกั ธรุ กจิ มอื อาชพี เปน็ ตน้ 98

กระทรวงการคลงั จากการประชุมคณะกรรมการอาเซียนด้านการเงินการคลัง คร้ังท่ี 1/2557 เมอ่ื วนั ท่ี 21 สงิ หาคม 2557 ในการประชมุ ครง้ั น้ี ทป่ี ระชมุ ไดม้ ี มตเิ หน็ ชอบยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงการคลงั ดา้ นการเงนิ การคลงั เพอ่ื รองรบั ประชาคมอาเซียน เพ่อื ใช้เป็นเอกสารหลักของกระทรวงการคลังในการ ด�ำ เนนิ การเพอ่ื รองรบั การเขา้ สปู่ ระชาคมอาเซยี น ซง่ึ ยทุ ธศาสตรก์ ระทรวง การคลังจัดทำ�ข้นึ ภายใต้วิสัยทัศน์ คือ “มีความเป็นเลิศด้านการเงินการ คลงั เพอ่ื เพม่ิ ขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั ของไทยในอาเซยี น” พรอ้ ม ทง้ั จดั ท�ำ แผนงานโดยค�ำ นงึ ถงึ ความเกย่ี วขอ้ งกบั แผนการจดั ตง้ั ประชาคม อาเซยี น (ASEAN Blueprint) ทง้ั 3 ฉบบั ยทุ ธศาสตรป์ ระเทศ พ.ศ. 2556- 2561 และยทุ ธศาสตรก์ ระทรวงการคลงั ประจ�ำ ปงี บประมาณ 2556-2559 โดยมาตรการดา้ นการเงนิ การคลงั ภายใตย้ ทุ ธศาสตรน์ ้ี ไดร้ บั การจดั กลมุ่ เปน็ 4 ยทุ ธศาสตรต์ ามวตั ถปุ ระสงคห์ ลกั ของประชาคมเศรษฐกจิ อาเซยี น ไดแ้ ก[่ 5] (1) เปน็ ตลาดและฐานการผลติ รว่ มกนั (Single Market and Production Base) (2) เสรมิ สรา้ งขดี ความสามารถในการแขง่ ขนั (Competitive Economic Region) (3) พฒั นาเศรษฐกจิ อยา่ งเสมอภาค (Equitable Economic Development) และ (4) การบรู ณาการเขา้ กบั เศรษฐกจิ โลก (Integration into the Global Economy) ระบบบรหิ ารราชการของราชอาณาจักรไทย 99


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook