Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

สุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4

Published by Metha Tangto, 2021-05-09 03:47:19

Description: สุขศึกษา ป4

Search

Read the Text Version

หนังสือเรยี น รายวชิ าพ้ืนฐาน​ สขุ ศึกษา ป. 4 ช้ันประถมศกึ ษาป​ ที่ 4 กลมุ สาระการเรยี นรสู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ตามหลักสตู รแกนก​ ลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐานพุทธศกั ราช 2551 ผเู้ รยี บเรียง ดร.ประกติ หงษ์แสนยาธรรม กศ.บ., กศ.ม., ปร.ด. ผศ.วรรณา พิทักษศ์ านต์ กศ.บ., กศ.ม. ผตู้ รวจ ดร.สุเพยี ร โภคทพิ ย์ พย.บ., วท.ม., ปร.ด. ประดษิ ฐ์ พยุงวงศ์ กศ.บ., กศ.ม. หทัยฉัฐ ภมู ิภาค กศ.บ., กศ.ม. บรรณาธิการ พชั ราภรณ์ ใจมีพร กศ.บ., บธ.ม. ปทั มา จนั ทร์ข�ำ ศศ.บ.

หนงั สือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน สขุ ศกึ ษา ป. 4 ชน้ั ประถมศึกษาปท ่ี 4 กลมุ สาระการเรยี นรู​สุขศึกษาและพลศึกษา ตามหลกั สูตรแกนก​ ลางการศกึ ษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ผูเ้ รยี บเรียง ดร.ประกติ หงษแ์ สนยาธรรม ผศ.วรรณา พทิ ักษ์ศานต์ ผตู้ รวจ ดร.สุเพยี ร โภคทิพย์ ประดษิ ฐ์ พยุงวงศ์ หทัยฉัฐ ภูมิภาค บรรณาธกิ าร พชั ราภรณ์ ใจมพี ร ปทั มา จนั ทรข์ ำ� ISBN 978-616-8047-54-5 บริษัท กรพัฒนายงิ่ จ�ำ กัด เลขท่ี 23/34–35 ช้ัน 3 หอ้ ง 3B ถนนตรมี ิตร แขวงตลาดนอ้ ย เขตสมั พนั ธวงศ์ กรงุ เทพฯ 10100

ค�ำ นำ� คำ�นำ� หนังสือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน สขุ ศกึ ษา ช้ันประถมศึกษาปีที่ 4 เล่มน้จี ดั ทำ� ข้ึนตามหลกั สตู ร แกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ส�ำหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยมี เป้าหมายให้นักเรียนและครูใช้เป็นสื่อในการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนานักเรียนให้มีคุณภาพตาม มาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ทก่ี ำ� หนดไวใ้ นหลกั สตู ร และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง พฒั นานกั เรยี น ใหม้ สี มรรถนะสำ� คญั ตามท่ตี อ้ งการ ท้งั ในดา้ นการส่อื สาร การคิด การแกป้ ัญหา การใชท้ ักษะชวี ิต และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ท�ำประโยชน์ให้ สงั คม เพื่อให้สามารถอยรู่ ่วมกบั ผอู้ ่นื ในสังคมไทยและสงั คมโลกได้อยา่ งมีความสขุ ในการจัดทำ� หนงั สอื เรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน สุขศกึ ษา ชั้นประถมศกึ ษาปีที่ 4 ผู้จดั ท�ำซง่ึ เป็น ผู้เช่ียวชาญในสาขาวิชาและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ได้ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ข้นั พนื้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 อย่างลกึ ซึ้ง ท้งั ด้านวสิ ยั ทัศน์ หลักการ จดุ หมาย สมรรถนะสำ� คัญ ของผู้เรียน คุณลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู้ ตวั ชว้ี ดั ของสาระการเรียนรู้ แกนกลาง แนวทางการจดั การเรยี นรู้ แลว้ จงึ นำ� องคค์ วามรทู้ ไ่ี ดม้ าออกแบบหนว่ ยการเรยี นรู้ แตล่ ะ หน่วยการเรียนรู้ประกอบด้วยมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดชั้นปี สาระการเรียนรู้ ประโยชน์จาก การเรียน และคำ� ถามชวนคดิ (คำ� ถามนำ� สกู่ ารเรยี นรู)้ เนอ้ื หาสาระแตล่ ะเรอ่ื งแต่ละหวั ข้อ นานา นา่ รู้ กจิ กรรมเรยี นร.ู้ ..สูป่ ฏิบัติ (กิจกรรมพฒั นาผู้เรยี น) แหลง่ สบื คน้ ความรู้ บทสรุปหนว่ ยการ เรียนรู้ กิจกรรมเสนอแนะ โครงงาน การประยุกตใ์ ช้ในชีวติ ประจำ� วัน และค�ำถามประจ�ำหน่วยการ เรยี นรู้ นอกจากนท้ี า้ ยเลม่ ยงั มบี รรณานกุ รม และคำ� อภธิ านศพั ท์ ซง่ึ องคป์ ระกอบของหนงั สอื เรยี น เหลา่ น้จี ะชว่ ยส่งเสริมใหน้ ักเรยี นเกดิ การเรียนร้อู ย่างครบถว้ นตามหลกั สูตร การเสนอเน้อื หาและออกแบบกิจกรรมในหนังสือเรยี นเล่มนี้ ไดจ้ ัดทำ� ขน้ึ โดยยึดแนวคิดการ จัดการเรียนรูท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นส�ำคัญ โดยค�ำนึงถึงศักยภาพของนักเรียน เน้นการเรียนรู้ แบบองค์รวมบนพ้ืนฐานของการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีทางการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เช่น การเรียนรู้โดยใชส้ มองเป็นฐาน พหปุ ัญญา การใช้คำ� ถามแบบหมวกความคิด 6 ใบ การเรียน รู้แบบประสบการณ์และท่ีเน้นการปฏิบัติ การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นต้น จัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการ เน้นให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง มุ่งพัฒนาการคิด และพัฒนาการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองและพัฒนาการทางร่างกายของนักเรียน อันจะช่วยให้ นักเรยี นเกิดการเรียนรอู้ ย่างสมบูรณ์และสามารถน�ำไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำ� วนั ได้ หวังเป็นอยา่ งยิ่งวา่ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ช้ันประถมศึกษาปที ่ี 4 เลม่ นี้ จะชว่ ยสนบั สนนุ ใหน้ กั เรยี นไดพ้ ฒั นาความรดู้ า้ นทกั ษะกระบวนการทางสขุ ศกึ ษาไดเ้ ปน็ อยา่ งดี และ สนบั สนุนการปฏิรปู การเรียนรตู้ ามเจตนารมณ์ของพระราชบญั ญัตกิ ารศกึ ษาแหง่ ชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพม่ิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 คณะผจู ดั ท�ำ

ค�ำ ชี้แจง คำ�น�ำ หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศกึ ษา ชั้นประถมศกึ ษาปที ่ี 4 เล่มน้ไี ดอ้ อกแบบหน่วยการ เรียนรใู้ หแ้ ต่ละหนว่ ยการเรียนรู้ประกอบดว้ ย 1. มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเป้าหมายที่ต้องการให้เกิดข้ึนกับนักเรียนเมื่อจบการศึกษาใน หน่วยการเรยี นรนู้ ั้น ๆ หรอื เม่ือจบการศกึ ษาขั้นพ้ืนฐาน 2. ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ปี เปน็ เปา้ หมายในการพฒั นานกั เรยี นใหไ้ ดร้ บั และปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นหนว่ ยการเรยี นรู้ ซ่ึงสอดคลอ้ งกับมาตรฐานการเรียนรู้ มรี หัสของมาตรฐานการเรยี นรแู้ ละตวั ช้วี ดั ช้ันปีกำ�กบั ไว้หลงั ตัวชี้วดั ชั้นปี เช่น พ 1.1 ป. 4/1 (รหสั แต่ละตวั มคี วามหมายดังนี้ พ คอื กลมุ่ สาระการเรยี นรู้ สุขศกึ ษาและพลศกึ ษา 1.1 คอื สาระท่ี 1 มาตรฐานการเรยี นรขู้ อ้ ท่ี 1 ป. 4/1 คือ ตัวช้ีวดั ชั้น ประถมศกึ ษาปีที่ 4 ขอ้ ที่ 1) 3. สาระการเรียนรู้ เป็นการนำ�เสนอขอบข่ายเนือ้ หาทนี่ ักเรยี นจะได้เรียนร้ใู นระดบั ชนั้ น้นั ๆ 4. ประโยชน์จากการเรียน นำ�เสนอไวเ้ พื่อกระตุน้ ใหน้ ักเรียนนำ�ความรู้ ทกั ษะจากการเรียน ไปประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำ�วนั 5. คำ�ถามชวนคิด (คำ�ถามนำ�สู่การเรียนรู้) เป็นคำ�ถามหรือสถานการณ์เพื่อกระตุ้นให้ นกั เรยี นเกิดความสงสยั และสนใจท่ีจะคน้ หาคำ�ตอบ 6. เน้ือหา เป็นเนื้อหาที่ตรงตามสาระ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัดชั้นปี และสาระการ เรียนรู้แกนกลาง โดยแบ่งเน้ือหาเป็นช่วง ๆ แล้วแทรกกิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ีพอเหมาะกับ การเรียน รวมท้ังมีการนำ�เสนอด้วยภาพ ตาราง แผนภูมิ และแผนท่ีความคิด เพ่ือเป็นสื่อให้ นักเรียนสรา้ งความคิดรวบยอดและเกิดความเขา้ ใจทคี่ งทน 7. นานา นา่ รู้ (ความรเู้ สรมิ หรอื เกร็ดความรู้) เปน็ ความรเู้ พื่อเพ่ิมพูนให้นักเรียนมีความรู้ กว้างขวางขึ้น โดยคัดสรรเฉพาะเรอ่ื งทนี่ ักเรยี นควรร ู้ 8. กจิ กรรมเรียนร.ู้ ..สู่ปฏบิ ตั ิ (กิจกรรมพฒั นาการเรยี นรู้) เปน็ กจิ กรรมทีก่ ำ�หนดไวเ้ มอ่ื จบ เนือ้ หาแตล่ ะตอนหรือแตล่ ะหัวขอ้ เป็นกิจกรรมทีห่ ลากหลาย ใช้แนวคิดทฤษฎีตา่ ง ๆ ทสี่ อดคลอ้ ง กบั เนอื้ หา เหมาะสมกับวัย และพัฒนาการด้านต่าง ๆ ของนักเรียน สะดวกในการปฏิบัติ กระต้นุ ให้นักเรียนได้คดิ และส่งเสริมให้ศกึ ษาค้นคว้าเพ่มิ เติม มคี ำ�ถามเป็นการตรวจสอบผลการเรียนรู้ ของนักเรียน ได้ออกแบบกิจกรรมไว้อย่างหลากหลาย และมีมากเพียงพอที่จะพัฒนาให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมายของหลักสูตร โดยครูผู้สอน/นักเรียนสามารถนำ�กิจกรรมดังกล่าวมา ใช้ปฏิบตั ใิ นชว่ งกจิ กรรมลดเวลาเรยี นเพิ่มเวลารู้ได้

9. แหล่งสบื คน้ ความรู้ เป็นแหลง่ เรยี นรตู้ า่ ง ๆ ตามความเหมาะสม เช่น เว็บไซต์ หนังสือ สถานท่ี หรอื บคุ คล เพอ่ื ให้นักเรยี นศึกษาค้นคว้าเพิม่ เตมิ ใหส้ อดคลอ้ งกบั เรื่องทีเ่ รียน 10. บทสรุปหน่วยการเรียนรู้ ได้จัดทำ�บทสรุปเป็นผังมโนทัศน์ (Concept Map) เพ่ือให้ นักเรยี นไดใ้ ช้เป็นบทสรปุ ทบทวนความรู้ โดยวธิ กี ารจินตภาพจากผังมโนทศั น์ที่ได้สรปุ เน้อื หาที่ได้ จดั ทำ�ไว้ 11. กจิ กรรมเสนอแนะ เปน็ กจิ กรรมบรู ณาการทกั ษะทรี่ วมหลกั การและความคดิ รวบยอดใน เรอื่ งตา่ ง ๆ ที่นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้ไปแลว้ มาประยุกตใ์ ชใ้ นการปฏบิ ตั กิ ิจกรรม 12. โครงงาน เปน็ ขอ้ เสนอแนะในการกำ�หนดใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั โิ ครงงาน โดยเสนอแนะหวั ขอ้ โครงงานและแนวทางการปฏิบัติโครงงานท่ีสอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดช้ันปี ของหน่วยการเรยี นรนู้ นั้ เพอ่ื พฒั นาทักษะการคิด การวางแผน และการแกป้ ญั หาของนกั เรียน 13. การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ�วนั เปน็ กจิ กรรมทเี่ สนอแนะใหน้ กั เรยี นไดน้ ำ�ความรู้ ทกั ษะ ในการประยกุ ต์ความรใู้ นหน่วยการเรียนรู้น้นั ไปใชใ้ นชีวติ ประจำ�วนั 14. คำ�ถามประจำ�หน่วยการเรียนรู้ เป็นคำ�ถามท่ีต้องการให้นักเรียนได้สะท้อนความคิดใน เนอ้ื หาที่ได้ศึกษา โดยเนน้ การนำ�หลกั การต้ังคำ�ถามสะทอ้ นคิด (RCA) มาจัดเรียงเปน็ คำ�ถามตาม เนอื้ หาทนี่ กั เรียนไดเ้ รียนรู้ 15. บรรณานุกรม เป็นรายช่ือหนังสือ เอกสาร หรือเว็บไซต์ท่ีใช้ค้นคว้าอ้างอิงประกอบ การเรยี บเรยี งเน้ือหาความรู้ 16. คำ�อภิธานศัพท์ เป็นการนำ�คำ�สำ�คัญที่แทรกอยู่ในเนื้อหามาอธิบายให้ความหมาย และ จัดเรยี งตามลำ�ดบั ตวั อกั ษรเพื่อสะดวกในการค้นคว้า

สารบญั หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 เรียนร้ตู วั เรา........................................................ 1–16 • มาตรฐานการเรยี นร.ู้...........................................................................1 • ตัวช้วี ดั ชั้นป ี .....................................................................................1 • สาระการเรียนรู้.................................................................................1 • ประโยชนจ์ ากการเรยี น........................................................................1 • คำ�ถามชวนคดิ 1���������������������������������������������������������������������������������1 1. การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการตามวัย.............................................2–6 1.1 การเจรญิ เตบิ โตทางร่างกาย.............................................................. 3 1.2 พัฒนาการทางอารมณแ์ ละจิตใจ........................................................ 4 1.3 พฒั นาการทางสงั คม........................................................................ 5 2. กลา้ มเน้อื ...............................................................................7–9 2.1 การทำ�งานและหนา้ ทขี่ องกล้ามเนือ้ 7���������������������������������������������������� 7 2.2 การดูแลรกั ษากล้ามเน้ือ................................................................... 8 3. กระดกู และข้อ....................................................................... 9–13 3.1 การทำ�งานและหนา้ ทข่ี องกระดกู และข้อ9��������������������������������������������� 9 3.2 การดแู ลรกั ษากระดูกและขอ้ ..........................................................13 • บทสรปุ หน่วยการเรยี นรู้ที่ 1...............................................................14 • กิจกรรมเสนอแนะ............................................................................15 • โครงงาน .......................................................................................15 • การประยุกตใ์ ช้ในชวี ิตประจำ�วัน1����������������������������������������������������������16 • คำ�ถามประจำ�หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 16�������������������������������������������������������16 หน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 2 ชวี ิตและครอบครวั .............................................. 17–33 • มาตรฐานการเรยี นรู.้.........................................................................17 • ตัวช้ีวัดช้ันปี ...................................................................................17 • สาระการเรียนรู้...............................................................................17 • ประโยชน์จากการเรียน......................................................................17 • คำ�ถามชวนคดิ 1�������������������������������������������������������������������������������17 1. การเป็นเพ่ือนและสมาชกิ ท่ดี ีของครอบครัว.................................... 18–20 1.1 คณุ ลักษณะของการเปน็ เพ่ือนที่ด.ี ...................................................18 1.2 คณุ ลักษณะของการเปน็ สมาชกิ ท่ีดีของครอบครัว..............................19

2. พฤตกิ รรมทางเพศทีเ่ หมาะสมตามวัฒนธรรมไทย.......................... 21–22 2.1 พฤตกิ รรมทางเพศทเี่ หมาะสมตามวฒั นธรรมไทยของเพศชาย............21 2.2 พฤติกรรมทางเพศทเี่ หมาะสมตามวฒั นธรรมไทยของเพศหญงิ ...........22 3. การปฏเิ สธการกระทำ�ท่ีเป็นอันตรายและไมเ่ หมาะสมในเร่อื งเพศ2������ 23–29 – การปฏิเสธในสถานการณ์ตา่ ง ๆ.........................................................23 • บทสรปุ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2...............................................................30 • กิจกรรมเสนอแนะ............................................................................32 • โครงงาน .......................................................................................32 • การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวิตประจำ�วัน3����������������������������������������������������������33 • คำ�ถามประจำ�หนว่ ยการเรยี นร้ทู ่ี 23�������������������������������������������������������33 หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 3 ใส่ใจสขุ ภาพ..................................................... 34–64 • มาตรฐานการเรียนรู้..........................................................................34 • ตัวชว้ี ดั ชน้ั ป ี ...................................................................................34 • สาระการเรียนรู.้ ..............................................................................34 • ประโยชนจ์ ากการเรยี น......................................................................34 • คำ�ถามชวนคิด3�������������������������������������������������������������������������������34 1. ส่ิงแวดล้อมกบั สุขภาพ.............................................................. 35–40 1.1 ความหมายและความสำ�คัญของส่งิ แวดลอ้ ม3������������������������������������35 1.2 การจดั ส่ิงแวดล้อมท่ีถกู สขุ ลักษณะ..................................................35 2. อารมณ์กับสขุ ภาพ................................................................ 40–46 2.1 ลกั ษณะของอารมณ.์ ......................................................................41 2.2 ผลกระทบท่ีเกดิ จากอารมณแ์ ละความเครยี ด....................................43 2.3 การควบคมุ อารมณแ์ ละความเครียด................................................45 3. ฉลากอาหารและผลิตภัณฑส์ ขุ ภาพ............................................ 47–51 3.1 วธิ ีการเลอื กอาหารและผลติ ภัณฑ์สขุ ภาพ.........................................47 3.2 วธิ ีการอา่ นฉลากผลิตภณั ฑส์ ุขภาพ..................................................50 4. การทดสอบ ปรบั ปรุง และสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย................. 52–60 4.1 องค์ประกอบของสมรรถภาพทางกาย..............................................52 4.2 การทดสอบ ปรบั ปรงุ และสรา้ งเสรมิ สมรรถภาพทางกาย..................53 • บทสรุปหน่วยการเรียนรทู้ ี่ 3...............................................................61 • กิจกรรมเสนอแนะ............................................................................63 • โครงงาน .......................................................................................63 • การประยกุ ตใ์ ช้ในชวี ิตประจำ�วนั 6����������������������������������������������������������64 • คำ�ถามประจำ�หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 34�������������������������������������������������������64

หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 ชีวิตปลอดภยั .................................................... 65–84 • มาตรฐานการเรียนร้.ู.........................................................................65 • ตวั ชว้ี ัดชนั้ ป ี ...................................................................................65 • สาระการเรียนร.ู้ ..............................................................................65 • ประโยชนจ์ ากการเรยี น......................................................................65 • คำ�ถามชวนคดิ 6�������������������������������������������������������������������������������65 1. ยา.................................................................................... 66–70 1.1 ความหมายและประเภทของยา.......................................................66 1.2 ความสำ�คญั ของการใช้ยา6���������������������������������������������������������������68 1.3 การใช้ยาอยา่ งถูกวธิ ี......................................................................69 2. การปฐมพยาบาล.................................................................. 70–77 2.1 กรณีกินยาผิดหรือกินยาพษิ ...........................................................71 2.2 กรณไี ดร้ ับสารเคมี.........................................................................71 2.3 กรณถี กู แมลงสัตว์กดั ต่อย.............................................................72 2.4 กรณบี าดเจ็บจากการเลน่ กฬี า.........................................................74 3. บหุ รีแ่ ละสรุ า....................................................................... 77–80 3.1 ผลเสยี ของการสูบบหุ รแ่ี ละด่มื สรุ าที่มตี อ่ สขุ ภาพ...............................77 3.2 แนวทางในการป้องกันตนเองจากบุหร่ีและสรุ า..................................79 • บทสรุปหน่วยการเรยี นร้ทู ี่ 4...............................................................81 • กจิ กรรมเสนอแนะ............................................................................83 • โครงงาน .......................................................................................83 • การประยกุ ต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำ�วนั 8����������������������������������������������������������84 • คำ�ถามประจำ�หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี 44�������������������������������������������������������84 • บรรณานกุ รม..................................................................................85 • คำ�อภธิ านศพั ท8์ �������������������������������������������������������������������������������86

เรยี นรู้ตัวเรา 1หน่วยการเรียนร้ทู ่ี มาตรฐานการเรยี นรู้ พ 1.1 เขา้ ใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพฒั นาการของมนษุ ย์ ตัวช​ ้ีว​ดั ช​ นั้ ป 1. อธบิ ายการเจรญิ เตบิ โตและพัฒนาการของรา่ งกายและจติ ใจตามวยั (พ 1.1 ป. 4/1) 2. อธิบายความสำ�คัญของกลามเน้ือ กระดูกและข้อที่มีผลต่อสุขภาพ การเจริญเติบโต และ พฒั นาการ (พ 1.1 ป. 4/2) 3. อธิบายวิธีดแู ลกลา้ มเน้ือ กระดกู และขอ้ ให้ทำ�งานอยา่ งมปี ระสิทธิภาพ (พ 1.1 ป. 4/3) สาระการเรียนรู้ 1. การเจริญเติบโตและพัฒนาการตามวัย 2. กล้ามเนือ้ 3. กระดูกและขอ้ ประโยชนจ์ ากการเรียน คำ�ถามชวนคดิ รูและเขาใจลักษณะของการเจริญเติบโต ทำ�ไมคนเราจึงตัวโตไมเทา กัน และพัฒนาการตามวัย วิธีการดูแลรักษา รางกายและจิตใจใหเจริญเติบโตสมวัยและ มีสุขภาพท่ีดี รูจักการทำ�งานและหนาที่ของ กลามเนื้อ กระดูกและขอ และดูแลให ทำ�งานอยา งมีประสทิ ธิภาพ

2 หนังสอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน สุขศึกษา ป. 4 รา งกายของเรามอี วยั วะมากมายหลายชนดิ แตล ะชนดิ ทำ�หนา ทแ่ี ตกตา งกนั และอวัยวะภายในรางกายของเราจะทำ�งานประสานกันเปนระบบตาง ๆ หลาย ระบบ เชน ระบบกระดกู ระบบกลา มเนอ้ื ระบบขบั ถา ย หากระบบตา ง ๆ ภายใน รา งกายทำ�งานไดด ี รา งกายของเรากจ็ ะเกดิ การเจรญิ เตบิ โตและมพี ฒั นาการทด่ี ี ตามมาดวย 1. การเจรญิ เตบิ โตและพฒั นาการตามวยั คำ�ถามนำ�สบู่ ทเรยี น นักเรียนเคยสังเกตบ้างหรือไม่ว่า ร่างกายของตนเองมีการ เปลยี่ นแปลงจากช่วงวยั ที่ผา่ นมาอยา่ งไร การเจรญิ เตบิ โต หมายถงึ การเปลย่ี นแปลงทางดา นขนาด รปู รา ง ปรมิ าณ เชน เราตัวสูงขึ้น ตัวโตข้ึน อวัยวะตาง ๆ ในรางกายรวมถึงสมองจะเจริญ ข้นึ ดวย ภาพแสดงลกั ษณะของการเจริญเติบโต

หนงั สอื เรยี น รายวิชาพื้นฐาน สุขศกึ ษา ป. 4 3 พฒั นาการ หมายถงึ ความเปลย่ี นแปลงความสามารถของรา่ งกายในการ ทำ�หน้าท่ีต่าง ๆ จากง่ายไปสู่ความซับซ้อนข้ึน เชน เด็กอายุ 10–12 เดือน จะเริ่มยืนไดเอง เด็กอายุ 1 ปครึ่งถงึ 2 ป เรม่ิ พดู ได เหลานีเ้ รียกวา พัฒนาการ 1.1 การเจรญิ เติบโตทางร่างกาย เราอยใู นชว งอายุ 9–12 ป อตั ราการเจรญิ เตบิ โตในวยั นจี้ ะชา ลงเลก็ นอ ย เม่ือเปรียบเทียบกับชวงวัยที่ผานมา แตการเจริญเติบโตยังคงเปนไปอยาง สม่ำ�เสมอ สัดสวนทางรางกายในสวนศีรษะยังคงใหญกวาสวนลำ�ตัวเมื่อเทียบ ตามสัดสวน ลำ�ตัว แขน ขายาวออก รูปรางเปล่ียนแปลงไปสูลักษณะ ผใู หญม ากขน้ึ และเดก็ ผหู ญงิ จะโตเรว็ กวา เดก็ ผชู ายในวยั เดยี วกนั มฟี น แทข นึ้ แทนฟนนำ้ �นม ฟนหนามักข้ึนกอนฟนในตำ�แหนงอื่น ฟนกรามโผลพนเหงือก ขึ้นมาเพือ่ เปน ตัวกันใหฟน หนา ซอี่ ื่น ๆ ข้นึ ถกู ตองตามตำ�แหนง วัยนีเ้ ปนวัยทไี่ มช อบอยูน่งิ ชอบทำ�กจิ กรรมและทำ�อยางรวดเรว็ ไมค อย ใชความระมัดระวงั มากนกั จึงมกั เกิดอุบตั เิ หตบุ อยครั้งจากการเลน เราสามารถสำ�รวจการเปล่ียนแปลงทางดานรางกายของตนเอง โดยการ ช่ังน้ำ�หนักและวัดสวนสูง ถาเรามีน้ำ�หนักและสวนสูงเพ่ิมขึ้นจากระยะเวลา ทีผ่ า นมาแสดงวา รา งกายของเราเจริญเตบิ โตข้ึน นานา นา่ ร ู้ นำ้ �หนกั ตวั เปน เครอ่ื งบง ชส้ี ภาวะ สุขภาพรางกาย เราจึงควรหมั่นดูแล นำ้ �หนักใหอยใู นเกณฑป กติอยูเ สมอ ขนาดความสูงของรางกายทเี่ พ่ิมข้ึน บงบอกถึงการเจริญเติบโต

4 หนังสอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สขุ ศึกษา ป. 4 กิจกรรมเรียนรู้...ส่ปู ฏิบัติ • เพ่ือความเขา้ ใจทีค่ งทนใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมตอ่ ไปนี้ แบงกลุมผลัดกันชั่งน้ำ�หนักและวัดสวนสูงของตนเอง และบันทึกผลไว ในตารางบนั ทึกนำ้ �หนกั และสว นสูง 1.2 พัฒนาการทางอารมณแ์ ละจิตใจ เด็กในวัยนี้ตองปรับตัวตามสภาพแวดลอมในโรงเรียน ตองเรียนรูจาก ประสบการณใหม เชน ครู เพ่อื น สถานที่ สงิ่ แวดลอ มตา ง ๆ อาจทำ�ใหม กี าร เปล่ียนแปลงทางอารมณ อารมณจึงยังไมมั่นคง มักแสดงอารมณตามความ เปน จรงิ ทตี่ นเองรสู กึ เชน มกั แสดงความโกรธ ความกลวั และความอจิ ฉารษิ ยา อยา งไมม เี หตผุ ล  แตเ ดก็ วยั นส้ี ามารถเขา ใจในอารมณข องผอู น่ื ไดด้ ขี น้ึ   รวมทง้ั สัตวเ ลยี้ งดว ย จงึ มีการแสดงความรูส ึกสงสารและเหน็ ใจ ฉันไมช อบเบิ้ม เพราะเขาชอบแกลง ผูหญงิ ฉนั กไ็ มช อบ เหมือนกัน มนั คงหวิ นะ นา สงสารจงั เลย มันผอม

หนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน สขุ ศกึ ษา ป. 4 5 กิจกรรมเรียนรู.้ ..สปู่ ฏิบตั ิ • เพอ่ื ความเขา้ ใจท่ีคงทนให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมต่อไปน้ี แบงกลุม กลุมละ 4–5 คน ผลัดกันเลาเร่ืองในวัยเด็กของนักเรียนเทาที่ จำ�ได และแสดงความคิดเหน็ ในหัวขอ “เราเจรญิ เติบโตไดอยา งไร” 1.3 พฒั นาการทางสงั คม จดุ ศนู ยกลางของสงั คมของเด็กวัยน้ี คอื โรงเรยี น ซ่ึงเปนการเร่ิมเรยี นรู การเขาสูสังคมนอกบานมากข้ึน มีความเขาใจและเคารพกฎระเบียบของทาง โรงเรียน อยากท่ีจะเปนสมาชิกในกลุมเพ่ือนและใหกลุมเพ่ือนยอมรับตนเอง ตองการคำ�ชนื่ ชมจากคนอ่ืนและชอบคยุ โออ วด การเลนของเด็กวัยน้ีจะเลนกับกลุมเพ่ือนที่เปนเพศเดียวกับตนเอง และ มักมีพฤติกรรมที่คิดวาเหมาะสมกับเพศของตนเอง เชน เด็กหญิงชอบเลน แสดงบทบาทสมมุติเปนแมเลี้ยงดูลูก ๆ สวนเด็กชายมักเลนดวยกิจกรรมท่ี ผาดโผนแสดงความเปนเพศชาย เชน เลน ตอสู โหนราว ปน ปายเครือ่ งเลน เมอ่ื วานนี้ แมซ้อื รถจักรยาน สวยจังเลย คันใหมใ หฉนั ดวยละ เธอวาสวยไหม การแสดงความโออ วด

6 หนงั สือเรียน รายวชิ าพืน้ ฐาน สุขศกึ ษา ป. 4 พี่ขอบใจมานพ มากนะครบั นักเรียนทกุ คน ปรบมือใหก บั มานพ ทเ่ี ก็บกระเปาเงนิ มาสงคืน เจา ของดวยคะ การตอ งการคำ�ชน่ื ชม คำ�ถามพัฒนาความคิด ระหว่างการเล่นบทบาทสมมุติท�ำอาหารกับการเล่นเคร่ืองเล่นใน สนามเด็กเล่น นักเรียนจะเลือกเล่นอะไร และเพราะเหตุใดจึงเลือก กจิ กรรมดงั กลา่ ว กจิ กรรมเรยี นรู้...ส่ปู ฏบิ ัติ • เพ่ือความเขา้ ใจท่คี งทนให้นกั เรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมต่อไปน้ี สัมภาษณพอแมหรือผูปกครองที่เล้ียงดูนักเรียนมาต้ังแตเด็กเกี่ยวกับเรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการของตัวนักเรียนเอง แลวบันทึกลงในแบบบันทึก การสัมภาษณ แหลง่ สืบคน้ ความรู้ นักเรียนสามารถคนควาความรูเรื่อง การเจริญเติบโตและพัฒนาการตามวัย เพิ่มเติมไดจากเว็บไซต www.clinicdek.com/index.php โดยขอคำ�ปรึกษาจากครู หรอื ผปู กครอง

หนังสือเรยี น รายวิชาพืน้ ฐาน สุขศกึ ษา ป. 4 7 2. กลา้ มเนอื้ คำ�ถามนำ�สูบ่ ทเรยี น กลา้ มเนื้อในรา่ งกายของคนเราท�ำงานอยา่ งไร กลามเนื้อ เปนอวัยวะที่มีสวนชวยใหกระดูกหรือโครงรางของรางกาย สามารถเคลอื่ นไหวได และกลา มเน้ือหัวใจยังชว ยสบู ฉีดเลือดไปยงั สวนตาง ๆ ของรา งกาย 2.1 การทำ�งานและหนาที่ของกลา มเนอื้ กลา มเน้อื ตา ง ๆ ในรา งกายทำ�งานโดยหดตวั และ กลับคืนสูปกติหลังจากท่ีหดตัว เพื่อชวยใหเราสามารถ เคลอ่ื นไหวได ชว ยสูบฉีดเลอื ด ชว ยใหอ าหารผานไปยัง กระเพาะอาหารและลำ�ไส และชวยควบคุมใหอากาศ ผานเขาออกทางปอด ชนดิ ของกลามเนอื้ กลา มเนอ้ื ในรา งกายของเราแบง เปน 3 ชนดิ เรยี ก ชอื่ ตามลกั ษณะทม่ี องเห็นจากกลอ้ งจุลทรรศน์ คอื 1. กลามเน้ือเรียบ เปนกลามเนื้อที่ทำ�งานนอก อำ�นาจจิตใจ โดยประสาทอัตโนมัติเปนตัวควบคุม มัก พบท่ีผนังของอวัยวะภายในที่กลวง ๆ เชน กระเพาะ อาหาร ลำ�ไส หลอดเลือด 2. กลา มเนือ้ ลาย หรือเรียกอีกช่ือหนง่ึ วา กลา ม- เน้ือโครงราง เปนกลามเน้ือท่ีทำ�งานภายใตอำ�นาจจติ ใจ สง ผลใหเ ราสามารถควบคมุ การทำ�งานของกลามเน้ือลาย ภาพแสดงลักษณะของ ได เชน กลา มเนอ้ื แขน ขา กลามเน้อื ลาย

8 หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศึกษา ป. 4 3. กลามเน้ือหัวใจ เปนกลามเน้ือท่ีทำ�งานนอกอำ�นาจจิตใจ ชวยในการ สบู ฉดี เลอื ด 2.2 การดแู ลรักษากลา้ มเนอื้ เราควรออกกำ�ลังกายอยางสมำ่ �เสมอ โดยควรยืดเหยียดกลามเน้ือกอน และหลังการออกกำ�ลังกาย เพ่ือสรางเสริมกลามเนื้อใหแข็งแรง และไมทำ�ให กลามเน้ือไดรับบาดเจ็บ และควรรับประทานอาหารใหครบ 5 หมู โดยเฉพาะ อาหารประเภทโปรตีน เพ่ือชวยซอมแซมสวนท่ีสึกหรอ และเพ่ิมขนาดของ กลามเน้ือ คำ�ถามพัฒนาความคิด ถา้ นกั เรยี นไมย่ ดื เหยยี ดกลา้ มเนอื้ กอ่ นและหลงั การออกก�ำลงั กาย จะส่งผลอย่างไร กจิ กรรมเรียนรู้...สปู่ ฏิบัติ • เพ่ือความเข้าใจทค่ี งทนใหน้ ักเรียนปฏบิ ัติกิจกรรมต่อไปนี้ วาดภาพและระบายสีกลามเนื้อของรางกายใหสวยงาม พรอมกับเขียนอธิบาย วธิ ีการดแู ลรักษากลา มเน้ือทถี่ กู ตอ งลงในสมดุ รายงาน

หนงั สอื เรียน รายวิชาพน้ื ฐาน สุขศกึ ษา ป. 4 9 แหล่งสบื คน้ ความรู้ นักเรียนสามารถคนควาความรูเรื่อง กลามเนื้อ เพ่ิมเติมไดจากการคนควา ในหองสมุด หรือส่ือการเรียนรูเรื่อง กายวิภาคศาสตรและสรีรวิทยา จากหนังสือ สารานุกรมไทยสำ�หรบั เยาวชน เลม 8 โดยการขอคำ�ปรึกษาจากครูหรอื ผปู กครอง 3. กระดกู และขอ้ คำ�ถามนำ�สู่บทเรียน นกั เรียนรู้ไหมว่าร่างกายของคนเราประกอบด้วยกระดกู กช่ี ้ิน กระดูกและขอ เปนอวัยวะหน่ึงที่ชวยใหรางกายสามารถเคล่ือนไหวเพื่อ ปฏิบัติกิจกรรมตาง ๆ ถาไมมีกระดูก รางกายของคนเราก็ไมสามารถปฏิบัติ กจิ กรรมตาง ๆ ตามที่ตองการได 3.1 การท�ำ งานและหน้าทข่ี องกระดูกและข้อ กระดูก เปนโครงรางของรางกายท่ีมีกลามเนื้อและอวัยวะอ่ืน ๆ มายึด เกาะ ชวยใหเ ราสามารถยนื เดิน ว่ิง กระโดดได การทำ�งานของกระดกู และขอ กระดกู ในรา งกายของเรามีทัง้ หมด 206 ชิ้น แบง ตามโครงสรางรา งกาย เปน 2 กลมุ ไดแก กระดูกแกนและกระดกู รยางค 1. กระดูกแกน เปนกระดูกที่เปนแกนกลางของลำ�ตัว ประกอบดวย กะโหลกศีรษะ กระดกู สนั หลงั และกระดกู ซีโ่ ครง กะโหลกศรี ษะ เปน สวนท่หี อ หุมและปกปองสมอง

10 หนงั สอื เรียน รายวชิ าพ้นื ฐาน สุขศึกษา ป. 4 นานา นา่ ร ู้ กระดูกสันหลัง เปนสวนที่ ปกปองไขสันหลงั การบริโภคอาหารท่ีมีแคลเซียม กระดูกซ่ีโครง เปนสวนที่ นอย การดม่ื กาแฟมาก การดื่มเคร่ืองดม่ื ปกปอ งปอดและหวั ใจ ไมใ หถ กู กระทบ- แอลกอฮอลมาก การบริโภคเกลือมาก กระเทือนจากสิ่งตาง ๆ ภายนอกได ลว นเปน ปจ จยั ทก่ี อ ใหเ กดิ โรคกระดกู พรนุ โดยงาย 2. กระดกู รยางค เปน กระดกู ทน่ี อกเหนอื ไปจากกระดกู ลำ�ตวั ประกอบดว ย กระดกู แขน กระดกู ขา กระดูกสะบัก กระดูกมือ กระดูกเทา กระดกู ไหปลารา กระดกู เชงิ กราน กระดกู เหลา นี้ชว ยในการเคล่ือนไหวของรางกาย กะโหลกศีรษะ กระดูกสันหลงั กระดูกไหปลาร้า กระดูกสะบกั กระดกู ซ่ีโครง กระดกู แขน กระดกู กระดูก เชิงกราน ข้อมือ กระดกู โคนขา กระดกู เทา้ ภาพแสดงโครงสรา งของกระดกู ในรา งกาย

หนังสอื เรียน รายวิชาพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษา ป. 4 11 รางกายของเราถูกสรางขึ้นเปนรูปรางไดโดยกระดูกท้ัง 2 ชนิดที่ได กลาวมา นอกจากนั้นยังมีขอเปนสวนสำ�คัญที่ทำ�ใหเรางอ เหยียด แกวงแขน ขา กางและหบุ แขน ขา ควำ่ �และหงายฝามือ ฝา เทา ได ขอ เปน รอยตอ ระหวา งกระดกู กบั กระดกู โดยมเี อน็ หรอื พงั ผดื มาเปน ตวั ชวยยึดเหน่ียว ชนิดของขอ แบงตามลกั ษณะการเคลอื่ นไหวได 3 ชนดิ ไดแก 1. ขอท่ีเคล่ือนไหวไมไดเลย เปนลักษณะการเช่ือมตอของกระดูกท่ีมี รองรอยหยักคลายฟนเลื่อย เห็นไดชัดเจนในบริเวณกะโหลกศีรษะ เชน ขอ บรเิ วณรอยตอ ระหวา งกระดกู หนา ผากกบั กระดกู ขา งศรี ษะ ขอ บรเิ วณรอยตอ ระหวา งกระดกู ขา งศรี ษะกับกระดกู ทา ยทอย 2. ขอ ทเ่ี คลอ่ื นไหวไดเ ลก็ นอ ย เปน ขอ ทห่ี นา รอยตอ ของกระดกู ยดึ ตดิ กนั ดวยกระดูกออน เชน ขอระหวางชั้นของกระดูกสันหลัง ขอระหวางกระดูก หัวหนาว 3. ขอ ทเ่ี คลอ่ื นไหวไดม าก เปน ขอ ทพ่ี บไดเ กอื บทกุ จดุ ในรา งกายและเปน ขอท่ีใชในการเคล่ือนไหวรางกายมากท่ีสุด ลักษณะของขอจะมีสวนปลายของ กระดูกเชื่อมติดดวยเอ็นหุมอยูและลอมรอบดวยถุงหุมขอตอ โดยมีเน้ือเยื่อ บาง ๆ ทำ�หนาที่ขับน้ำ�หลอล่ืนใหขอตอเคล่ือนไหวไดสะดวก เชน ขอที่สะโพก ขอทห่ี วั ไหล หนาท่ขี องกระดกู และขอ 1. เปน โครงหอ หมุ ปอ งกันอวัยวะภายในไมใหเ ปนอนั ตราย 2. เปน โครงรา งรองรับอวัยวะตาง ๆ ใหคงอยูได 3. เปนท่ียดึ เกาะของกลา มเนอ้ื 4. ชวยในการเคล่ือนไหวโดยมีขอเปนจุดหมุนทำ�ใหเกิดการเคล่ือนไหว ในลกั ษณะตา ง ๆ ของรางกาย 5. เปน แหลง เกบ็ แรธ าตทุ ส่ี ำ�คญั ของรา งกาย เชน แคลเซยี ม 6. เปน แหลง ผลติ เมด็ เลอื ด โดยมไี ขกระดกู เปน สว นทส่ี รา งเมด็ เลอื ดชนดิ ตา ง ๆ ใหก บั รา งกาย

12 หนงั สือเรียน รายวชิ าพนื้ ฐาน สขุ ศกึ ษา ป. 4 กิจกรรมเรยี นรู้...สู่ปฏิบตั ิ • เพ่อื ความเขา้ ใจท่ีคงทนใหน้ ักเรยี นปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตอ่ ไปน้ี จับคูกับเพื่อนผลัดกันถามตอบแยกชนิดของขอ โดยบอกตำ�แหนงของขอ แลว ใหค ูของตนเองตอบวาเปน ขอ ชนิดใด พรอ มท้ังชวยกนั บนั ทกึ ลงในสมุดรายงาน รอยตอ่ กระดกู ซโี่ ครง รอยต่อของกะโหลกศีรษะ ขอ้ ตอ่ ช้ันนอก ขอ้ ต่อหัวไหล่ กระดกู สนั หลัง ขอ้ ต่อระหว่าง ขอ้ ตอ่ ขอ้ ศอก กระดูกหวั หนา่ ว ข้อตอ่ สว่ น ขอ้ ตอ่ กระดกู ปลายสึุดของกระดูก ขอ้ มือ ภาพแสดงลักษณะรอยต่อของกระดูก นานา น่ารู้ รางกายของคนเราตอ งการแคลเซียมอยา งนอ ยวนั ละ 800 มลิ ลกิ รัม ซึ่งแหลง ที่มาของแคลเซียมไดจากอาหารหลายประเภท เชน นม โยเกิรต ชีส ปลาตัวเล็กท่ี รบั ประทานทั้งกา งได กุงแหง กะป ผกั คะนา ใบยอ ดอกแค เตา หแู ข็ง ถ่ัวแดง และ งาดำ� โดยทั่วไปผูรับประทานอาหารไทยจะไดรับแคลเซียมจากอาหารประมาณ 400–500 มิลลกิ รัมตอวนั หรอื นอ ยกวาครงึ่ หน่ึงทร่ี างกายตอ งการ ดังน้ันเราจึงควร ดม่ื นมเสริม

หนังสอื เรียน รายวิชาพืน้ ฐาน สขุ ศึกษา ป. 4 13 3.2 การดูแลรักษากระดกู และขอ้ การดูแลรักษากระดูกและขอ เปนสิ่งสำ�คัญท่ีเราทุกคนตองคอยดูแล เอาใจใส คอยบำ�รงุ รกั ษา และสรา งเสรมิ ใหม คี วามแขง็ แรง เพราะการเคลอ่ื นไหว รางกายในชีวิตประจำ�วันของเราตองใชกระดูกและขอ เชน การเดิน การวิ่ง การนั่ง การเลน การทำ�งาน เราจึงควรดูแลรักษากระดูกและขอ ดังน้ี 1. ควรระมดั ระวงั ไมใ หกระดกู และขอ ไดร บั การกระแทกอยางแรง 2. ควรรบั ประทานอาหารทมี่ แี คลเซยี มสงู ซงึ่ ชว ยบำ�รงุ กระดกู ใหแ ขง็ แรง เชน น้ำ�นมสด ปลาตวั เลก็ ท่ีรับประทานท้ังกาง ผกั ใบเขียวเขม 3. ควรใหรางกายรับแสงแดดในตอนเชาชวงเวลาไมเกิน 08.00 น. เพื่อใหแสงแดดกระตุนใหผิวหนังสังเคราะหวิตามินดีไปชวยในการดูดซึม แคลเซยี มของรา งกาย คำ�ถามพัฒนาความคดิ หากเปรยี บรา่ งกายของคนเราเปน็ คานและจดุ หมนุ นกั เรยี นคดิ วา่ สว่ นใดของรา่ งกายคอื คาน และสว่ นใดของรา่ งกายคอื จดุ หมนุ เพราะเหตใุ ด กิจกรรมเรียนร.ู้ ..ส่ปู ฏิบตั ิ • เพ่อื ความเข้าใจที่คงทนใหน้ กั เรยี นปฏิบตั ิกจิ กรรมตอ่ ไปนี้ ลองเขียนจำ�แนกชนิดของกระดูกภายในรางกายตามความเขาใจของตนเอง พรอ มทั้งวธิ ีการดูแลรักษากระดกู และขอลงในสมุดบนั ทึก แหลง่ สบื คน้ ความรู้ นักเรียนสามารถคนควาความรูเรื่อง กระดูกและขอ เพ่ิมเติมไดจากเว็บไซต http://www.si.mahidol.ac.th/sidoctor/e-pl/ หรือ http://www.thaihealth.or.th กระดกู หรอื คน ควาในหองสมดุ โดยขอคำ�ปรกึ ษาจากครหู รือผปู กครอง

14 หนงั สือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 4 บทสรปุ หนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 1 นกั เรยี นสามารถสรปุ ทบทวนความรโู้ ดยใชว้ ธิ กี ารจนิ ตภาพจากผงั มโนทศั น์ (concept map) เพ่อื สรปุ องคค์ วามรูไ้ ด้ดังน้ี เรียนรู้ตวั เรา เรยี นรู้เก่ียวกบั การเจริญเตบิ โตและ กล้ามเนอ้ื กระดูกและข้อ พัฒนาการตามวยั เก่ียวกบั เกย่ี วกบั ชว่ งอายุ 9–12 ปี มกี ารเปล่ยี นแปลง ดงั น้ี การท�ำงานและหน้าท่ขี อง การท�ำงานและหนา้ ทขี่ อง การเจรญิ เตบิ โตทางร่างกาย กล้ามเนอ้ื กระดกู และขอ้ มีลักษณะดังน้ี การทำ�งาน การทำ�งาน น้ำ�หนักและสว่ นสูงเพิม่ ข้ึน โดย โดย มรี ปู ร่างเป็นผ้ใู หญม่ ากขนึ้ เดก็ ผหู้ ญงิ จะโตเรว็ กวา่ เดก็ ผชู้ าย หดตัวและกลับคืนสู่ปกติ กระดูก เป็นโครงร่างท่ียึด มีฟนั แท้ข้นึ แทนฟนั นำ้ �นม หลังจากท่ีหดตัว โดยแบ่ง เกาะของกล้ามเนื้อและอวัยวะ เป็นวัยท่ีไม่ชอบอยู่นิ่งและไม่ กล้ามเน้ือเป็น 3 ชนิด คือ อ่ืน ๆ แบ่งเป็นกระดูกแกน คอ่ ยระมดั ระวงั จงึ มกั เกดิ อบุ ตั -ิ กลา้ มเนอื้ เรยี บ กลา้ มเนอื้ ลาย และกระดูกรยางค์ เหตุได้ง่าย กลา้ มเน้อื หัวใจ ขอ้ เชอ่ื มตอ่ กระดกู กบั กระดกู เพ่ือเป็นจุดหมุนทำ�ให้เกิดการ พัฒนาการทางอารมณแ์ ละจติ ใจ หน้าที่ เคล่ือนไหวในลกั ษณะตา่ ง ๆ หนา้ ท่ี มีลักษณะดงั น้ี ที่สำ�คัญ ได้แก่ ที่สำ�คัญ ไดแ้ ก่ อารมณ์ยังไม่มั่นคง มักแสดง ช่วยให้โครงร่างของร่างกาย อารมณต์ ามความเปน็ จริง เคลอื่ นไหว เปน็ โครงหอ่ หมุ้ ปอ้ งกนั อวยั วะ เข้าใจอารมณ์ของผอู้ นื่ ไดด้ ี ช่วยสบู ฉีดเลอื ด ภายใน ช่วยใหอ้ าหารผา่ นไปยงั เปน็ โครงรา่ งรองรบั อวยั วะตา่ ง ๆ พัฒนาการทางสงั คม กระเพาะอาหารและลำ�ไส้ เป็นที่ยึดเกาะของกล้ามเนอื้ ชว่ ยควบคมุ ใหอ้ ากาศผา่ นเขา้ ชว่ ยในการเคลอ่ื นไหว มลี ักษณะดังนี้ ออกทางปอด เ ป็ น แ ห ล่ ง เ ก็ บ แ ร่ ธ า ตุ ข อ ง การดแู ลรักษากล้ามเนื้อ ร่างกาย อยากเปน็ สมาชกิ และไดร้ บั การ มีไขกระดูกเป็นแหล่งผลิต ยอมรบั จากกลมุ่ เพอื่ น ทำ�ได้โดย เมด็ เลือด ชอบเล่นกับเพ่ือนเพศเดียวกัน การดูแลรกั ษากระดกู และข้อ และปฏิบัติกิจกรรมตามเพศ ออกกำ�ลงั กายสม่ำ�เสมอ ของตนเอง รับประทานอาหารครบ 5 หมู่ ทำ�ได้โดย โดยเฉพาะอาหารประเภท โปรตีน ระมดั ระวงั อบุ ัตเิ หตุต่าง ๆ รบั ประทานอาหารทม่ี แี คลเซยี มสงู ควรใหร้ า่ งกายรบั แสงแดดตอนเชา้ ออกกำ�ลงั กายสมำ่ �เสมอ

หนงั สือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน สุขศกึ ษา ป. 4 15 กิจกรรมเสนอแนะ • เพื่อความเข้าใจท่ีคงทนให้นักเรยี นปฏิบัติกจิ กรรมต่อไปน้ี 1. วาดภาพ ระบายสีอาหารหรือการปฏิบัติกิจกรรมที่สงผลใหรางกายของ นกั เรยี นเจรญิ เตบิ โตและมสี ขุ ภาพแขง็ แรง แลว นำ�ไปจดั แสดงบนปา ยนเิ ทศ 2. วาดภาพและระบายสีกลา มเน้ือเรยี บมา 2 อวัยวะ 3. แบงกลุม กลุมละ 2–3 คน ผลัดกันเลาเรื่อง “กระดูกและขอ” ใน ประเด็นตอไปนี้ – ชนดิ ของกระดูกและขอ –  การดแู ลรกั ษากระดกู และขอ – หนา ที่ของกระดูกและขอ โครงงาน • เพอื่ ความเขา้ ใจท่คี งทนใหน้ ักเรยี นปฏบิ ตั กิ ิจกรรมต่อไปนี้ เลือกทำ�โครงงานตอไปน้ี (เลือก 1 ขอ) หรืออาจเลือกทำ�โครงงานอ่ืน ตามความสนใจ ตามรปู แบบโครงงานทผ่ี สู อนกำ�หนด (ซง่ึ อยา งนอ ยตอ งมหี วั ขอ ตอ ไปน้ี เหตผุ ลทเ่ี ลอื กโครงงานน้ี จดุ ประสงค แผนการปฏบิ ตั กิ าร) 1. โครงงานการสำ�รวจเรื่อง การเจริญเตบิ โตและพฒั นาการทางรางกาย� ของนกั เรยี นชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ภายในสถานศกึ ษา 2. โครงงานการสำ�รวจเรื่อง ผลของการออกกำ�ลังกายอยางสม่ำ�เสมอ� ท่ีมีตอ ความแขง็ แรงของกลามเน้ือ 3. โครงงานการทดลองเร่ือง  พฤติกรรมการรับประทานอาหาร  การ� ออกกำ�ลังกาย ที่มีผลตอความแข็งแรงของกระดูกของนักเรียน� ชน้ั ประถมศกึ ษาปท ี่ 4 ภายในสถานศกึ ษา หมายเหตุ: โครงงานที่เลือกตามความสนใจควรไดรับคำ�แนะนำ�แกไข จากผูสอน เมื่อไดรับความเห็นชอบแลวจึงดำ�เนินโครงงานน้ัน ๆ โดยผูสอน/ ผปู กครอง/กลมุ เพอ่ื น ประเมินลกั ษณะกระบวนการทำ�งาน และนกั เรียนควรมี การสรปุ แลกเปลย่ี นความรซู ง่ึ กนั และกนั กอ นพจิ ารณาเกบ็ ในแฟม สะสมผลงาน

16 หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศึกษา ป. 4 การประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำ�วนั • เพือ่ ความเขา้ ใจทีค่ งทนใหน้ ักเรยี นปฏิบัติกิจกรรมตอ่ ไปน้ี รับประทานอาหารใหครบ 5 หมู ออกกำ�ลังกายอยางนอยสัปดาหละ 3 คร้ัง และเขานอนกอนเวลา 21.00 น. แลวลองสังเกตดูการเจริญเติบโต ของรางกายตนเองโดยการบันทึกผลและตรวจสอบวามีความสูงเพิ่มมากข้ึน จากเดมิ หรอื ไม คำ�ถามประจำ�หนว่ ยการเรียนรูท้ ี่ 1 ตอบคำ�ถามตอ่ ไปน้ี 1. วัยของนักเรยี นมกี ารเจรญิ เตบิ โตทางรา งกายอยางไร 2. เดก็ ในวัยเรยี นมักจะมีพัฒนาการทางอารมณแ ละจิตใจเปน อยางไร 3. กลา มเนอื้ ของรางกายแบง ออกเปน กีช่ นดิ และมอี ะไรบา ง 4. กระดกู ในร่างกายมที ้ังหมดก่ชี ้นิ 5. โครงสรางรางกายแบงกระดกู ออกเปนกก่ี ลุม อะไรบาง 6. ขอ้ หมายถึงอะไร 7. หนา้ ทข่ี องกระดกู และขอ้ คอื อะไร 8. ขอ้ ทเ่ี คลอ่ื นไหวไมไ่ ดเ้ ลยมลี กั ษณะเปน็ อยา่ งไร พรอ มยกตวั อยา งประกอบ 9. อาหารประเภทใดทค่ี วรรบั ประทานเพือ่ ชวยบำ�รุงกระดูกใหแ ข็งแรง 10. เพราะเหตใุ ดจงึ ควรใหรางกายถูกแสงแดดในตอนเชา


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook