Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore สุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

สุขศึกษา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3

Published by Metha Tangto, 2021-05-09 03:48:20

Description: สุขศึกษา ป3

Search

Read the Text Version

หนังสอื เร�ยน รายวช� าพน้ื ฐาน สุขศกึ ษา ป. 3 ช�นั ประถมศึกษาป‚ที่ 3 กลม‹ุ สาระการเรย� นรสŒู ขุ ศกึ ษาและพลศกึ ษา ตามหลกั สตู รแกนกลางการศกึ ษาขัน� พน้ื ฐานพทุ ธศกั ราช 2551 ผูเรยี บเรียง ดร.ประกิต หงษแสนยาธรรม กศ.บ., กศ.ม., ปร.ด. ผศ.วรรณา พิทักษศานต กศ.บ., กศ.ม. ผตู รวจ ดร.สเุ พียร โภคทิพย พย.บ., วท.ม., ปร.ด. ชลช�น แสนใจกลา พย.บ., สธ.ม. หทัยฉฐั ภูมภิ าค กศ.บ., กศ.ม. บรรณาธิการ พชั ราภรณ ใจมพี ร กศ.บ., บธ.ม. ปท มา จันทรข ํา ศศ.บ.

หนังสือเร�ยน รายว�ชาพน้ื ฐาน สขุ ศึกษา ป. 3 ชนั� ประถมศกึ ษาปท‚ ่ี 3 กลุ‹มสาระการเร�ยนรูŒสขุ ศึกษาและพลศกึ ษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศกึ ษาข�นั พืน้ ฐาน พทุ ธศกั ราช 2551 ผเู้ รียบเรียง ดร.ประกิต หงษ์แสนยาธรรม ผศ.วรรณา พิทักษศานต ผู้ตรวจ ดร.สเุ พียร โภคทพิ ย์ ชลช่ืน แสนใจกลา้ หทัยฉฐั ภูมภิ าค บรรณาธกิ าร พชั ราภรณ์ ใจมพี ร ปทั มา จนั ทร์ขำ ISBN 978-616-8047-53-8 บรษิ ัท กรพฒั นายง่ิ จาํ กัด เลขท่ี 23/34–35 ช้ัน 3 หอ ง 3B ถนนตรมี ิตร แขวงตลาดนอ ย เขตสมั พนั ธวงศ กรงุ เทพฯ 10100

คาํ นํา คาํ นํา หนังสือเรียน รายวชิ าพ้ืนฐาน สุขศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปีท่ี 3 เลม่ น้ีจดั ทำ ขึ้นตามหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 สําหรับนักเรียนระดับประถมศึกษา โดยมเี ปา หมายใหน้ กั เรยี นและครใู ชเ้ ปน็ สอื่ ในการจดั การเรยี นรเู้ พอื่ พฒั นานกั เรยี นใหม้ คี ณุ ภาพตาม มาตรฐานการเรยี นร ู้ ตวั ชว้ี ดั ทกี่ ำ หนดไวใ้ นหลกั สตู ร และสาระการเรยี นรแู้ กนกลาง พฒั นานกั เรยี น ให้มสี มรรถนะสำ คญั ตามท่ตี ้องการ ท้งั ในดา้ นการสอื่ สาร การคดิ การแกป้ ญั หา การใชท้ กั ษะชวี ติ และการใช้เทคโนโลยี ตลอดจนพัฒนานักเรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ ทำ ประโยชน์ให้ สงั คม เพอ่ื ใหส้ ามารถอย่รู ่วมกบั ผู้อนื่ ในสงั คมไทยและสงั คมโลกไดอ้ ย่างมีความสขุ ในการจัดทำ หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพนื้ ฐาน สุขศึกษา ช้ันประถมศกึ ษาปที ี่ 3 คณะผู้จดั ทำ ซึ่ง เป็นผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาและการพัฒนาสื่อการเรียนรู้ ได้ศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขน้ั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 อยา่ งลกึ ซ้งึ ทง้ั ดา้ นวิสัยทศั น ์ หลกั การ จุดหมาย สมรรถนะสำ คญั ของผเู้ รยี น คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สาระและมาตรฐานการเรยี นรู ้ ตวั ชวี้ ัดของสาระการเรยี นรู้ แกนกลาง แนวทางการจดั การเรยี นร ู้ แลว้ จงึ นำ องคค์ วามรทู้ ไี่ ดม้ าออกแบบหนว่ ยการเรยี นร ู้ แตล่ ะ หนว่ ยการเรยี นรปู้ ระกอบดว้ ยมาตรฐานการเรยี นร ู้ ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป ี สาระการเรยี นร ู้ ประโยชนจ์ ากการเรยี น และคำ ถามชวนคดิ (คำ ถามนำ สกู่ ารเรยี นร)ู้ เนอื้ หาสาระแตล่ ะเรอื่ งแตล่ ะหวั ขอ้ นานา นา่ ร ู้ กจิ กรรม เรยี นร.ู้ ..สู่ปฏบิ ัติ (กจิ กรรมพฒั นาผเู้ รยี น) แหลง่ สบื คน้ ความร ู้ บทสรปุ หนว่ ยการเรยี นร ู้ กจิ กรรม เสนอแนะ โครงงาน การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ วนั และคำ ถามประจำ หนว่ ยการเรยี นร ู้ นอกจากน้ี ท้ายเลม่ ยังม ี บรรณานุกรม และคำ อภิธานศัพท ์ ซึ่งองคป์ ระกอบของหนงั สอื เรยี นเหลา่ นี้จะชว่ ยส่ง เสริมให้นักเรยี นเกิดการเรียนรอู้ ยา่ งครบถว้ นตามหลกั สตู ร การเสนอเนื้อหาและออกแบบกิจกรรมในหนงั สือเรียนเลม่ น ้ี ได้จัดทำ ขน้ึ โดยยึดแนวคิดการ จัดการเรียนรู้ท่ีมุ่งเน้นผู้เรียนเป็นสำ คัญ โดยคำ นึงถึงศักยภาพของนักเรียน เน้นการเรียนรู้แบบ องค์รวมบนพื้นฐานของการบูรณาการแนวคิดทฤษฎีทางการเรียนรู้ต่าง ๆ อย่างหลากหลาย เชน่ การเรยี นรโู้ ดยใชส้ มองเปน็ ฐาน พหปุ ญั ญา การใชค้ ำ ถามแบบหมวกความคดิ 6 ใบ การเรยี นรู้ แบบประสบการณ์และท่ีเน้นการปฏิบัติ การเรียนรู้แบบโครงงาน เป็นต้น จัดการเรียนรู้แบบ บรู ณาการ เนน้ ใหน้ ักเรยี นสรา้ งองคค์ วามร้ดู ้วยตนเอง มุ่งพฒั นาการคิด และพฒั นาการเรียนรู้ท่ี สอดคล้องกับพัฒนาการทางสมองและพัฒนาการทางร่างกายของนักเรียน อันจะช่วยให้นักเรียน เกดิ การเรียนร้อู ย่างสมบรู ณแ์ ละสามารถนำ ไปประยุกต์ใชใ้ นชวี ติ ประจำ วนั ได้ หวังเป็นอยา่ งยง่ิ วา่ หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศกึ ษา ชน้ั ประถมศกึ ษาปที ี่ 3 เล่มน้ี จะช่วยสนับสนุนให้นักเรียนได้พัฒนาความรู้ด้านทักษะกระบวนการทางสุขศึกษาได้เป็นอย่างดี และสนับสนุนการปฏิรูปการเรียนรู้ตามเจตนารมณ์ของพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และแก้ไขเพม่ิ เตมิ (ฉบบั ท่ี 2) พ.ศ. 2545 คณะผู้จัดทำ

คําชแ้ี จง คาํ นํา หนงั สือเรียน รายวชิ าพื้นฐาน สุขศกึ ษา ชัน้ ประถมศกึ ษาปที ่ ี 3 เลม่ นไี้ ดอ้ อกแบบหนว่ ยการ เรียนรใู้ หแ้ ต่ละหนว่ ยการเรยี นรู้ประกอบดว้ ย 1. มาตรฐานการเรียนรู้ เป็นเปาหมายท่ีต้องการให้เกิดขึ้นกับนักเรียนเม่ือจบการศึกษาใน หน่วยการเรยี นรนู้ นั้ ๆ หรือเม่ือจบการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 2. ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป  เปน็ เปา หมายในการพฒั นานกั เรยี นใหไ้ ดร้ บั และปฏบิ ตั ไิ ดใ้ นหนว่ ยการเรยี นร้ ู ซึ่งสอดคลอ้ งกบั มาตรฐานการเรยี นร ู้ มรี หสั ของมาตรฐานการเรียนรแู้ ละตัวช้วี ัดช้นั ปีกำ กบั ไวห้ ลัง ตัวชว้ี ัดชั้นปี เชน่ พ 1.1 ป. 3/1 (รหสั แต่ละตัวมีความหมายดังนี ้ พ คือ กลมุ่ สาระการเรยี นร ู้ สุขศกึ ษาและพลศึกษา 1.1 คือ สาระท่ี 1 มาตรฐานการเรียนรู้ขอ้ ที ่ 1 ป. 3/1 คือ ตวั ชว้ี ัดช้ัน ประถมศึกษาปที ่ี 3 ข้อที่ 1) 3. สาระการเรยี นรู้ เปน็ การนำ เสนอขอบขา่ ยเน้ือหาทีน่ กั เรยี นจะไดเ้ รียนรูใ้ นระดบั ช้นั นน้ั ๆ 4. ประโยชนจ์ ากการเรยี น นำ เสนอไวเ้ พ่ือกระตุ้นใหน้ กั เรยี นนำ ความร ู้ ทักษะจากการเรยี น ไปประยกุ ต์ใช้ในชีวิตประจำ วนั 5. คำ ถามชวนคิด (คำ ถามนำ สู่การเรียนรู้) เป็นคำ ถามหรือสถานการณ์เพ่ือกระตุ้นให้ นกั เรียนเกิดความสงสยั และสนใจทจ่ี ะคน้ หาคำ ตอบ 6. เนอ้ื หา เปน็ เนอ้ื หาทต่ี รงตามสาระ มาตรฐานการเรยี นร ู้ ตวั ชว้ี ดั ชน้ั ป ี และสาระการเรยี นรู้ แกนกลาง โดยแบง่ เนอ้ื หาเป็นชว่ ง ๆ แลว้ แทรกกิจกรรมพัฒนาการเรียนรทู้ พ่ี อเหมาะกับการเรียน รวมท้งั มกี ารนำ เสนอด้วยภาพ ตาราง แผนภมู ิ และแผนทีค่ วามคิด เพอ่ื เปน็ ส่ือให้นกั เรยี นสรา้ ง ความคิดรวบยอดและเกิดความเขา้ ใจที่คงทน 7. นานา น่ารู ้ (ความรู้เสรมิ หรือเกร็ดความรู้) เปน็ ความรเู้ พ่อื เพ่ิมพูนใหน้ กั เรียนมีความรู้ กว้างขวางข้ึน โดยคดั สรรเฉพาะเรือ่ งทน่ี กั เรยี นควรร ู้ 8. กิจกรรมเรยี นรู้...สปู่ ฏิบตั ิ (กิจกรรมพัฒนาการเรยี นรู้) เปน็ กจิ กรรมท่ีกำ หนดไว้เมอื่ จบ เน้ือหาแตล่ ะตอนหรือแต่ละหวั ข้อ เปน็ กิจกรรมท่ีหลากหลาย ใชแ้ นวคิดทฤษฎีตา่ ง ๆ ที่สอดคล้อง กบั เน้อื หา เหมาะสมกบั วยั และพัฒนาการด้านตา่ ง ๆ ของนักเรยี น สะดวกในการปฏิบัต ิ กระตนุ้ ให้นกั เรียนไดค้ ดิ และส่งเสริมใหศ้ ึกษาคน้ คว้าเพมิ่ เตมิ มคี ำ ถามเปน็ การตรวจสอบผลการเรียนรู้ ของนักเรียน ได้ออกแบบกิจกรรมไว้อย่างหลากหลาย และมีมากเพียงพอท่ีจะพัฒนาให้นักเรียน เกิดการเรียนรู้ตามเปาหมายของหลักสูตร โดยครูผู้สอน/นักเรียนสามารถนำ กิจกรรมดังกล่าวมา ใชปฏิบตั ใิ นชวงกิจกรรมลดเวลาเรยี นเพ่ิมเวลารูไ ด

9. แหลง่ สบื คน้ ความรู้ เปน็ แหลง่ การเรยี นรตู้ า่ ง ๆ ตามความเหมาะสม เชน่ เวบ็ ไซต์ หนงั สอื สถานท่ี หรอื บคุ คล เพ่อื ใหน้ กั เรียนศึกษาคน้ คว้าเพม่ิ เติมใหส้ อดคลอ้ งกบั เรอ่ื งท่เี รยี น 10. บทสรุปหน่วยการเรียนรู้ ได้จัดทำ�บทสรุปเป็นผังมโนทัศน์ (concept map) เพื่อให้ นักเรียนไดใ้ ชเ้ ปน็ บทสรปุ ทบทวนความรู้ โดยวิธีการจนิ ตภาพจากผงั มโนทศั นท์ ไี่ ดส้ รุปเนอื้ หาทไี่ ด้ จัดทำ�ไว้ 11. กจิ กรรมเสนอแนะ เปน็ กจิ กรรมบรู ณาการทกั ษะทรี่ วมหลกั การและความคดิ รวบยอดใน เร่อื งตา่ ง ๆ ทีน่ ักเรียนไดเ้ รียนรูไ้ ปแล้วมาประยกุ ตใ์ ช้ในการปฏิบัตกิ จิ กรรม 12. โครงงาน เปน็ ขอ้ เสนอแนะในการกำ�หนดใหน้ กั เรยี นปฏบิ ตั โิ ครงงาน โดยเสนอแนะหวั ขอ้ โครงงานและแนวทางการปฏิบัติโครงงานที่สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวช้ีวัดช้ันปีของ หน่วยการเรยี นรนู้ ้ัน เพอื่ พัฒนาทักษะการคดิ การวางแผน และการแกป้ ัญหาของนกั เรยี น 13. การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชวี ติ ประจำ�วนั เปน็ กจิ กรรมทเ่ี สนอแนะใหน้ กั เรยี นไดน้ ำ�ความรู้ ทกั ษะ ในการประยกุ ต์ความร้ใู นหน่วยการเรยี นรู้นัน้ ไปใช้ในชวี ติ ประจำ�วนั 14. คำ�ถามประจำ�หน่วยการเรียนรู้ เป็นคำ�ถามท่ีต้องการให้นักเรียนได้สะท้อนความคิดใน เนื้อหาท่ีไดศ้ กึ ษา โดยเนน้ การนำ�หลกั การต้ังคำ�ถามสะท้อนคิด (RCA) มาจดั เรียงเป็นคำ�ถามตาม 15. บรรณานุกรม เปน็ รายชือ่ หนังสอื เอกสาร หรอื เว็บไซต์ที่ใชค้ ้นควา้ อา้ งองิ ประกอบการ เรียบเรยี งเนือ้ หาความรู้ 16. คำ�อภิธานศัพท์ เปน็ การนำ�คำ�สำ�คญั ท่ีแทรกอยู่ตามเน้อื หามาอธบิ ายใหค้ วามหมาย และ จดั เรียงตามลำ�ดับตัวอกั ษร เพอ่ื ความสะดวกในการค้นคว้า

สารบัญ หน่วยการเรียนรทู้ ี่ 1 เรยี นร้ตู วั เรา ..................................................... 1–12 6 มาตรฐานการเรยี นรู้ ....................................................................1 6 ตวั ช้วี ดั ชนั้ ป ..............................................................................1 6 สาระการเรียนร.ู้ .........................................................................1 6 ประโยชน์จากการเรียน ................................................................1 6 คำ ถามชวนคิด ...........................................................................1 • การเจริญเติบโต .....................................................................2 1. ลกั ษณะการเจริญเตบิ โตของร่างกายมนษุ ย์ ......................................3 2. เกณฑ์มาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเดก็ ไทย ................................... 5 3. ปจั จยั ท่มี ผี ลตอ่ การเจริญเติบโต .....................................................6 บทสรุปหนว่ ยการเรียนร้ทู ่ ี 1 ..........................................................9 กจิ กรรมเสนอแนะ ....................................................................10 โครงงาน ................................................................................10 การประยกุ ตใ์ ชใ้ นชีวติ ประจำ วัน ...................................................11 คำ ถามประจำ หน่วยการเรียนรทู้ ี ่ 1 ................................................12 หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชวี ิตและครอบครัว ............................................. 13–31 6 มาตรฐานการเรยี นร ู้..................................................................13 6 ตัวช้วี ดั ชนั้ ป ............................................................................13 6 สาระการเรยี นร ู้........................................................................13 6 ประโยชนจ์ ากการเรียน ..............................................................13 6 คำ ถามชวนคิด .........................................................................13 1. ลักษณะและความแตกต่าง ของครอบครวั ไทย .................................................................14 1.1 ความสำ คัญของครอบครัว ........................................................14 1.2 ความแตกต่างของแตล่ ะครอบครวั ............................................14 2. การสร้างสมั พันธภาพ .............................................................17 2.1 การสรา้ งสมั พันธภาพภายในครอบครวั ......................................17 2.2 การสรา้ งสัมพนั ธภาพในกลุม่ เพื่อน ............................................19 3. การปอ‡ งกันการถกู ลว่ งละเมิดทางเพศ .........................................21

3.1 พฤตกิ รรมทีน่ ำ ไปสกู่ ารถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ .............................21 3.2 วิธีการหลกี เลย่ี งพฤติกรรมที่นำ ไปสกู่ ารถูกลว่ งละเมดิ ทางเพศ ......24 บทสรุปหนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 ........................................................28 กิจกรรมเสนอแนะ ....................................................................29 โครงงาน ................................................................................29 การประยุกตใ์ ชใ้ นชวี ิตประจำ วนั ...................................................30 คำ ถามประจำ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี่ 2 ................................................31 หนว่ ยการเรียนรทู้ ่ี 3 ใส่ใจสขุ ภาพ .................................................... 32–55 6 มาตรฐานการเรียนร้ ู .................................................................32 6 ตัวชี้วดั ชนั้ ป ............................................................................32 6 สาระการเรยี นร้ ู........................................................................32 6 ประโยชนจ์ ากการเรียน ..............................................................32 6 คำ ถามชวนคดิ .........................................................................32 1. การป‡องกันโรค ....................................................................33 1.1 การตดิ ตอ่ ของโรค ...................................................................33 1.2 วธิ ีการปอ งกันการแพรก่ ระจายของโรค .......................................34 2. อาหารหลัก 5 หม ู่.................................................................37 • ตวั อย่างอาหารหลกั 5 หม ู่...........................................................37 3. การกินอาหารตามธงโภชนาการ ................................................39 • ปรมิ าณการกนิ อาหารตาม ธงโภชนาการของคนแต่ละวยั อย่างเหมาะสม ..................................40 4. การแปรงฟน˜ อย่างถูกวธิ ี ..........................................................43 4.1 ความสำ คญั ของการแปรงฟัน ....................................................43 4.2 วธิ ีการแปรงฟัน .......................................................................43 5. การสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกายเพ่อื สุขภาพ ...............................46 5.1 ความหมายและความสำ คญั ของสมรรถภาพทางกาย ....................47 5.2 การสรา้ งเสริมสมรรถภาพทางกาย .............................................47 บทสรุปหนว่ ยการเรยี นร้ทู ี่ 3 ........................................................52 กจิ กรรมเสนอแนะ ....................................................................53 โครงงาน ................................................................................53 การประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำ วัน ...................................................54 คำ ถามประจำ หนว่ ยการเรียนร้ทู ี ่ 3 ................................................55 หน่วยการเรยี นรู้ที่ 4 ชีวิตปลอดภัย ................................................... 56–69 6 มาตรฐานการเรยี นร ู้ .................................................................56 6 ตัวชวี้ ัดชน้ั ป  ............................................................................56 6 สาระการเรยี นร้ ู........................................................................56

6 ประโยชนจ์ ากการเรยี น ..............................................................56 6 คำ ถามชวนคิด .........................................................................56 1. อุบตั ิเหตุในบ้าน โรงเรียน และการเดนิ ทาง .................................57 1.1 อบุ ัตเิ หตใุ นบา้ น .......................................................................57 1.2 อุบตั ิเหตุในโรงเรียน .................................................................59 1.3 อบุ ัตเิ หตจุ ากการเดินทาง ..........................................................60 2. การขอความชว่ ยเหลอื เม่อื เกิดอบุ ัติเหต .......................................63 2.1 แนวทางการขอความชว่ ยเหลอื เมอื่ เกิดอบุ ัติเหตุ ...........................63 2.2 หนว่ ยงานทใี่ ห้ความชว่ ยเหลือเมื่อเกดิ อบุ ัตเิ หต ุ............................63 3. การปฐมพยาบาล ..................................................................64 • ตวั อยา่ งการปฐมพยาบาลเมือ่ ไดร้ ับบาดเจบ็ จากการเลน่ ...................65 บทสรปุ หน่วยการเรยี นรูท้ ี่ 4 ........................................................67 กจิ กรรมเสนอแนะ ....................................................................68 โครงงาน ................................................................................68 การประยุกต์ใชใ้ นชีวติ ประจำ วัน ...................................................69 คำ ถามประจำ หน่วยการเรียนรทู้ ี ่ 4 ................................................69 6 บรรณานกุ รม ..........................................................................70 6 คำ อภธิ านศัพท์ ........................................................................71

เรียนรตู ัวเรา 1หนว� ยการเรย� นรูทŒ ่ี มาตรฐานการเร�ยนรูŒ พ 1.1 เขาใจธรรมชาตขิ องการเจรญิ เติบโตและพัฒนาการของมนุษย ตวั ชีว้ ดั ชั�นป‚ 1. อธิบายลกั ษณะและการเจรญิ เตบิ โตของรา งกายมนุษย  (พ 1.1 ป. 3/1) 2. เปรียบเทยี บการเจรญิ เตบิ โตของตนเองกบั เกณฑมาตรฐาน (พ 1.1 ป. 3/2) 3. ระบปุ จั จยั ทม่ี ผี ลตอการเจรญิ เติบโต (พ 1.1 ป. 3/3) สาระการเรย� นรŒู 1. ลกั ษณะการเจริญเติบโตของรางกายมนุษย 2. เกณฑมาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเดก็ ไทย 3. ปัจจัยทีม่ ีผลตอการเจริญเตบิ โต ประโยชน์จากการเรียน คาํ ถามชวนคิด เขาใจความหมายและรูลักษณะของ นกั เรยี นเคยสงั เกตตนเองไหมวา ปน ี้ การเจริญเติบโต และดูแลตนเองให นกั เรยี นโตข้ึนกวาปทแ่ี ลวหรอื ไม เจรญิ เติบโตตามวัยได

2 หนงั สือเรยี น รายวิชาพื้นฐาน สขุ ศกึ ษา ป. 3 นักเรียนอยใู นวัยเรยี นรางกายตองมีการเจริญเติบโตเปน ผูใหญใน อนาคต จึงควรเรยี นรูเ ร่อื ง ลกั ษณะการเจรญิ เตบิ โตของรา งกายมนุษย เกณฑมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กไทย รวมทั้งปัจจัยที่สงผลตอ การเจริญเติบโต เพื่อนำ มาปรับใชในการดูแลตนเองใหเจริญเติบโต สมวยั การเจรญิ เตบิ โต คำ�ถามนำ�Ê่ºู ทเรยี น ปัจจุบันนักเรียนมีน้�าหนักและสวนสูงเทาใด มากกวาปท่ี ผานมาหรอื ไม � � การเจรญิ เตบิ โต หมายถงึ การทร่ี า งกายมขี นาดและสดั สว นเพม่ิ ขน้ึ มีนำ้ หนักและสวนสงู เพ่ิมขน้ึ แมค รบั กางเกงท่แี มซือ้ ให ลูกโตข้นึ มากทีเดียว แขน ขา มนั คบั อกี แลว ผมใสไ มไ ดค รบั ลำ ตัวก็ดูใหญข้ึนนะ แลวแม จะซื้อชุดใหมใหนะจะ

หนังสือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษา ป. 3 3 1. ลักษณะการเจริญเติบโตของร‹างกายมนุษย เราตองท�าการชั่งน้�าหนักและวัดสวนสูงตามชวงเวลาที่ผานมา แลวนำ มาเปรียบเทียบกับน้ำ หนักและสวนสูงในปัจจุบัน ก็จะทำ ใหรูวา ตวั เรามกี ารเจรญิ เตบิ โตมากนอยเพยี งใด 1) น้ำ หนัก ถารางกายของเราเจริญเติบโตขึ้น น้ำ หนักของเราก็ จะเพ่ิมมากขึ้น ซ่ึงเราสามารถรูน้ำ หนักที่เพ่ิมข้ึนไดจากการช่ังน้ำ หนัก น่นั เอง เรามนี ้ำ หนัก มากกวาปทีแ่ ลว ปกอน ปนี้ การท่ีเราจะมีน้ำ หนักเพ่ิมข้ึน เราตองกินอาหารใหครบท้ัง 3 มื้อ และอาหารแตละม้ือท่ีกินตองเปนอาหารท่ีมีประโยชนตอรางกาย ไมควร กินของหวานมากเกนิ ไป เพราะจะทำ ใหเ ราอม่ิ และไมอ ยากกินอาหาร 2) สวนสูง สวนสูงท่ีเพ่ิมข้ึนแสดงใหเห็นวารางกายมีการเจริญ- เติบโตข้ึน ซ่ึงการท่ีเราจะรูวาตนเองมีสวนสูงเพ่ิมข้ึนหรือไมน้ัน ทำ ได โดยการวดั สวนสูงเปรียบเทียบกบั ชว งเวลาทีผ่ านมา สว นสงู ของเราจะเพม่ิ ขน้ึ ถา เรากนิ อาหารทม่ี ปี ระโยชนใ หค รบ 5 หม ู ด่ืมนมทุกวัน และในแตละวันตองกินใหครบ 3 มื้อ นอนหลับในแต ละคืนอยางเพียงพอ และออกกำ ลังกายหรอื เลนกีฬาอยา งสม่ำ เสมอ

4 หนังสอื เรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน สุขศึกษา ป. 3 เราตวั สงู กวาปที่แลว ปก อน ปน ี้ ความแตกตา งของการเจริญเตบิ โตในแตล ะบคุ คล สง่ิ ทท่ี ำ ใหแ ตล ะคนมกี ารเจรญิ เตบิ โตทแี่ ตกตา งกนั นน้ั ขนึ้ อยกู บั ปจั จยั ทางดานพันธุกรรม อาหาร การออกกำ ลังกาย และการพักผอนซ่ึงจะ กลาวโดยละเอียดในหัวขอตอไป แตลักษณะการเจริญเติบโตของ วยั เดก็ โดยภาพรวมจะพบวา ในชว งอาย ุ 6–9 ป เด็กชายจะมนี ้ำ หนัก และสว นสูงมากกวา เด็กหญิง แตเมอ่ื เขาสูอายุ 9–12 ป  เดก็ หญิงจะมี น้ำ หนักและสวนสูงมากกวาเด็กชาย (ดูตารางแสดงเกณฑอางอิงการ เจรญิ เติบโตตามน้ำ หนักและสวนสงู ของเด็กไทยวยั เรยี นอาย ุ 6–12 ป) นานา นา่ รู แรธ าตแุ คลเซยี มมมี ากในปลาตวั เลก็ ตวั นอ ย ผกั ใบเขยี วเขม งาและนมสด ซึ่งมสี วนสำ คญั ตอ การสรางกระดกู ของรางกาย การกินอาหารเหลานี้ ในชวง วัยเด็กอยางเพียงพอและสม่ำ เสมอ จะชวยใหรางกายมีสวนสูงที่เพิ่มขึ้น ไมเ ปน เด็กทม่ี ีรูปรางเตีย้ กิจกรรมเรยี นร.ู ..สูป่ ฏิบตั ิ • เพ่ือความเขา ใจที่คงทนใหน กั เรียนปฏบิ ัติกจิ กรรมตอไปน้ี นกั เรยี นชง่ั นำ้ หนกั และวดั สว นสงู แลว นำ ผลของน้ำ หนกั และสว นสงู เปรยี บ เทยี บกับปท ีผ่ านมา

หนังสือเรยี น รายวิชาพน้ื ฐาน สุขศกึ ษา ป. 3 5 2. เกณฑมาตรฐานการเจริญเตบิ โตของเดก็ ไทย นักเรียนอยูในวัยเด็กสามารถเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของ ตนเองวาอยูในเกณฑมาตรฐานการเจริญเติบโตของเด็กไทยหรือไม โดยเปรียบเทียบไดจากตารางแสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตตาม นำ้ �หนักและสวนสงู ของเด็กไทยวยั เรยี นอายุ 6–12 ป ถาผลจากการเปรียบเทียบพบวามีน้ำ�หนักและสวนสูงอยูในเกณฑ มาตรฐาน แสดงวานักเรียนมีการเจริญเติบโตท่ีเหมาะสมกับวัย โดย สง่ิ ท่ที ำ�ใหเ ราเจริญเตบิ โต ไดแ ก การกนิ อาหารทีม่ ปี ระโยชน การออก- กำ�ลังกายอยางสมำ่ �เสมอ การพักผอนอยางเพียงพอ การทำ�จิตใจให รา เรงิ แจม ใส และการดแู ลรกั ษาสขุ ภาพของตนเอง เราจงึ ควรปฏบิ ตั เิ ปน ประจำ�เพอ่ื การเจรญิ เตบิ โตอยางสมวยั ตารางแสดงเกณฑอ า งอิงการเจรญิ เตบิ โตตามน้ำ�หนกั และสว นสงู ของเด็กไทยวยั เรียนอายุ 6–12 ป อายุ (ปี) นำ้ �หนักตามเกณฑ์ สว่ นสูงตามเกณฑ์ (กโิ ลกรมั ) (เซนติเมตร) เดก็ ชาย เด็กหญงิ เด็กชาย เด็กหญงิ 6 20 20 114.5 114 7 22 21.5 120 120 8 24 23.5 125 125 9 27 26.5 130.5 130 10 30 30 135 136 11 33 34.5 140 143 12 36.5 38.5 146 149 ที่มา: ปรับปรงุ จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. กราฟแสดงเกณฑอ์ า้ งองิ นำ้ �หนัก ส่วนสูง เพอ่ื ประเมนิ ภาวะการเจรญิ เตบิ โตของเดก็ ไทย, พ.ศ. 2543.

6 หนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน สุขศกึ ษา ป. 3 3. ป˜จจยั ท่มี ีผลตอ‹ การเจริญเตบิ โต คนเรามีการเจริญเติบโตทางรา งกายไมเ ทากนั ข้นึ อยูกบั ปัจจยั ทาง ดานพนั ธุกรรม อาหาร การออกกำ ลงั กาย และการพักผอน นักเรียน จึงควรเรียนรูเก่ียวกับปัจจัยดังกลาวเพ่ือนำ ความรูมาปฏิบัติใหเกิดผลดี กบั ตนเอง ดงั นี้ 1) พันธุกรรม คือ ลักษณะทถ่ี า ยทอดมาจากพอและแม เชน สผี ิว รปู รา ง หนา ตา ซง่ึ เราจะมคี วามคลา ยคลงึ กบั พอ แมข องเรา ถา เราสงั เกต ครอบครัวท่ีพอแมเปนคนท่ีมีรูปรางเตี้ย ลูก ๆ ในครอบครัวน้ันก็มี แนวโนมวาจะเปนคนที่มีรูปรางเตี้ยโดยสวนใหญ แตก็ไมเปนจริง เสมอไป ลูกอาจจะมรี ูปรา งสงู กวา พอ และแมไ ด  ถาดแู ลสุขภาพรา งกาย ใหเจรญิ เติบโตสมวยั 2) อาหาร การกินอาหารที่มี ประโยชนและเพยี งพอ จะชวยให รางกายเจริญเติบโตและแข็งแรง เชน เน้อื สตั ว ถั่ว ไข นมสด ขา ว ผัก และผลไม ถากินอาหารไมมี ประโยชนหรือไมเพียงพอก็จะทำ ใหร างกายเจรญิ เติบโตไมเตม็ ท่ี การกินอาหารท่ีมปี ระโยชนแ ละ เพียงพอจะชว ยใหรา งกายเจรญิ เตบิ โต เราอยใู นวยั เดก็ จำ เปน อยา งยง่ิ ทตี่ อ งดมื่ นมสดใหม าก เพราะนมสด จะชว ยใหรา งกายแข็งแรงและสูงใหญ

หนังสือเรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน สุขศึกษา ป. 3 7 3) การออกก�าลังกาย กิจกรรมการ ออกกำ ลังกาย เชน การว่ิง การเลนกีฬา การเตนแอโรบิก ชวยใหรางกายแข็งแรง และเจริญเติบโตอยางสมสวน เราจึงควร ออกก�าลังกายอยางสม�่าเสมอเปนประจ�า ทกุ วนั การวิง่ เปนการออกกำลงั กาย ทช่ี วยใหร า งกายเจริญเติบโต นานา นา่ รู วธิ ีการหายใจท่ีถกู ตอ งและสงผลดีตอสุขภาพ คอื ขณะหายใจเขาทอ ง จะปอ ง โดยนบั 1 ถงึ 5 และหายใจออกทอ งจะแฟบลง โดยนับ 1 ถึง 10 4) การพักผอน ในแตละวันเรา จำ เปน ตอ งพกั ผอ นโดยการนอนหลบั ใน ท่ีที่มีอากาศถายเทไดดี และมีระยะ เวลาที่เพียงพออยางนอยวันละ 8–10 ชว่ั โมง เพอื่ ใหร า งกายสดชนื่ และเตบิ โต ไดอ ยางเตม็ ที่ การนอนหลับอยา งเพยี งพอ ชว ยใหรางกายเจริญเตบิ โต

8 หนงั สอื เรยี น รายวชิ าพื้นฐาน สุขศกึ ษา ป. 3 นักเรียนไดเรียนรูถึงสิ่งที่มีผลตอการเจริญเติบโตของคนเราแลว ดังน้ันจึงควรท่ีจะนำ ไปปฏิบัติ เพื่อใหรางกายเจริญเติบโตอยางสมวัย และมสี ุขภาพรา งกายทแ่ี ขง็ แรง คำ�ถาม¾²ั นาความค´ิ นักเรียนคิดวาปัจจัยใดมีผลตอการเจริญเติบโตของรางกาย มากกวากัน ระหวางปัจจัยดานพันธุกรรมและปัจจัยดานอาหาร เพราะอะไร กจิ กรรมเรียนรู...สู่ปฏบิ ัติ • เพอ่ื ความเขา ใจท่คี งทนใหน กั เรียนปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตอไปนี้ 1. นักเรียนนำ ผลการชั่งน้ำ หนักและวัดสวนสูงของตนเองมาเปรียบ เทียบกับตารางแสดงเกณฑอ างอิงการเจริญเตบิ โตฯ จากบทเรยี น 2. นักเรียนเขียนแผนที่ความคิดเก่ียวกับส่ิงท่ีชวยใหนักเรียน เจรญิ เตบิ โต 3. นักเรียนแบงกลุม กลุมละ 2–3 คน ชวยกันแสดงความคดิ เห็น เรื่อง ปจ จัยท่ีมีผลตอการเจรญิ เตบิ โต áหŧ่ Ê׺ค้นความรู้ นกั เรยี นสามารถคน ควา ความรเู พม่ิ เตมิ เรอื่ ง การเจรญิ เตบิ โต ไดจ าก การสอบถามคร ู ผปู กครอง หรอื สอ่ื การเรยี นรจู ากหอ งสมดุ และทเ่ี วบ็ ไซต  ตวั อยา งเชน http://nutrition.anamai.moph.go.th/temp/main/view.php?group= 1&id=315

หนังสือเรยี น รายวิชาพ้นื ฐาน สขุ ศกึ ษา ป. 3 9 บทสรปุ หน่วยการเรยี นรูท้ ่ี 1 นักเรียนสามารถสรุปทบทวนความรู้โดยใช้วิธีการจินตภาพจาก ผงั มโนทศั น์ (concept map) เพอื่ สรปุ องค์ความรูไ้ ดด้ งั นี้ เรียนรเู้ กี่ยวกับ ชีวิตปลอดภยั ลักษณะการเจริญเตบิ โตของ รู้ไดอ้ ย่างไรว่าเตบิ โตข้ึน ช่ังน้�ำหนัก น�้ำหนักจะมากข้ึนเม่ือ ร่างกายมนุษย์ เปรียบเทยี บกับชว่ งเวลาทผี่ ่านมา วัดส่วนสูง ส่วนสูงเพิ่มข้ึนเม่ือ ความแตกต่างของการเจริญเติบโตในแต่ละบคุ คล เปรียบเทียบกบั ช่วงเวลาที่ผ่านมา ข้ึนอยูก่ ับปัจจยั ด้านพันธุกรรม อาหาร การเปรียบเทียบการเจริญเติบโตกับเกณฑ์ การออกกำ� ลังกาย และการพกั ผอ่ น มาตรฐานการเจริญเติบโตตามน�้ำหนักและส่วน สงู ของเดก็ ไทยวยั เรยี นอายุ 6–12 ปี โดยเด็ก เกณฑ์มาตรฐานการเจริญ เรียนรเู้ ก่ยี วกบั ชายอายุ 9 ปี จะต้องมนี ้�ำหนัก 27 กโิ ลกรัม เตบิ โตของเด็กไทย ส่วนสงู 130.5 เซนติเมตร เด็กหญิงอายุ 9 ปี ต้องมีน้�ำหนัก 26.5 กิโลกรัม ส่วนสูง 130 เซนตเิ มตร ปจั จยั ทม่ี ผี ลตอ่ การเจรญิ เตบิ โต ได้แก่ พนั ธุกรรม พอ่ แม่มรี ปู รา่ งสงู ลูก ๆ มักจะสูงด้วย อาหาร กินอาหารท่ีมีประโยชน์และ เพียงพอช่วยให้ร่างกายเจริญเติบโต แข็งแรง การออกก�ำลังกาย อย่างสม�่ำเสมอ ชว่ ยใหเ้ จรญิ เติบโตตามวัย การพกั ผอ่ น นอนหลบั อยา่ งเพยี งพอ วนั ละ 8–10 ชว่ั โมงช่วยใหร้ า่ งกาย สดช่ืนและเจรญิ เติบโตเตม็ ท่ี

10 หนังสอื เรยี น รายวชิ าพืน้ ฐาน สขุ ศึกษา ป. 3 กิจกรรมเÊนÍáนะ  เพ่ือความเขาใจท่คี งทนใหนักเรียนปฏบิ ัตกิ จิ กรรมตอไปน้ี 1. นักเรียนช่ังน�้าหนักและวัดสวนสูงของตนเอง บันทึกผล แลวนำ มาเปรียบเทยี บกับเพือ่ น ๆ ในชน้ั เรียนในประเดน็ ตอ ไปนี้ – ใครมนี ้ำ หนกั มากที่สดุ และนอยทีส่ ุด – ใครมสี วนสูงมากท่สี ดุ และนอ ยทสี่ ุด – เมอื่ นำ ผลการชง่ั น้ำ หนกั และวดั สว นสงู มาเปรยี บเทยี บกบั ตาราง แสดงเกณฑอ างอิงการเจริญเติบโตฯ ไดข อสรปุ อยา งไร 2. นักเรียนศึกษาคนควาขอมูลจากหนังสือพิมพ นิตยสารหรือ ส่งิ พิมพอ่ืน ๆ เรอื่ ง ปจ จยั ทมี่ ผี ลตอ การเจริญเตบิ โต นำ ขอมูลท่ีไดมา เขียนลงในสมุดรายงาน พรอมกับวิเคราะหขอมูลที่ไดวาสงผลกระทบ ตอ การเจรญิ เตบิ โตอยา งไร âคร§§าน  เพือ่ ความเขาใจท่คี งทนใหนักเรยี นปฏบิ ตั กิ จิ กรรมตอ ไปน้ี เลือกท�าโครงงานตอไปน้ี (เลือก 1 ขอ) หรืออาจท�าโครงงาน อ่ืนตามความสนใจตามรูปแบบโครงงานท่ีกำ หนด (ซ่ึงอยางนอยตองมี หัวขอ เหตผุ ลทเ่ี ลอื กโครงงานน ี้ จุดประสงค แผนการปฏิบัตกิ าร) � � 1.�โครงงานการศึกษาเรอ่ื ง�พชื ผกั พืน้ บา นของไทยทมี่ แี คลเซียม � � � �สงู มอี ะไรบาง�และใชประกอบอาหารอะไรไดบ าง � � 2.�โครงงานการสำ�รวจขอ มลู เรอื่ ง�การศกึ ษาสถติ กิ ารเจรญิ เตบิ โต ของนักเรยี นช้ัน�ป.�3�และนำ�ผลของตนเองเปรยี บเทียบกบั กลุม � � � �และเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตฯ� เพื่อหาแนวทางแกไขให � � � �เจรญิ เติบโตสมวยั

หนงั สอื เรียน รายวชิ าพน้ื ฐาน สุขศึกษา ป. 3 11 หมายเหตุ: โครงงานที่เลือกตามความสนใจควรไดรับคำ�แนะนำ� แกไ ขจากผสู อน เมอ่ื ไดร บั ความเหน็ ชอบแลว จงึ ดำ�เนนิ โครงงานนน้ั ๆ โดย ผูสอน/ผูปกครอง/กลุมเพ่ือนประเมินลักษณะกระบวนการทำ�งาน และ นกั เรยี นควรมกี ารสรปุ แลกเปลย่ี นความรซู งึ่ กนั และกนั กอ นพจิ ารณาเกบ็ ในแฟม สะสมผลงาน การประยุกต์ใช้ในชีวติ ประจำ�วัน  เพอ่ื ความเขา ใจทคี่ งทนใหน กั เรียนปฏิบตั กิ จิ กรรมตอ ไปนี้ 1. นักเรียนทำ�การชั่งน้ำ�หนักและวัดสวนสูงของตนเอง แลวนำ�มา เปรียบเทียบกับตารางแสดงเกณฑอางอิงการเจริญเติบโตตาม น้ำ�หนกั และสวนสงู ของเด็กไทยวยั เรียนอายุ 6–12 ป 2. ดูแลสุขภาพตนเองใหมีน้ำ�หนักและสวนสูงเปนไปตามเกณฑ มาตรฐานการเจรญิ เติบโตของเดก็ ไทย 3. กนิ อาหารครบ 5 หมู่ และแต่ละวนั ต้องกนิ ครบท้งั 3 มื้อ ดม่ื นม วันละ 2 แกว นอนหลับอยางนอยวันละ 8–10 ชั่วโมง และ ออกกำ�ลงั กายทกุ วัน เพ่ือสรา งเสริมการเจรญิ เตบิ โตของรางกาย

12 หนังสือเรยี น รายวิชาพ้ืนฐาน สุขศึกษา ป. 3 คำ�ถามประจำ�หน่วยการเรยี นรู้ท่ี 1 ตอบคำ�ถามตอ่ ไปนี้ 1. ในชว่ งเวลา 1 ปที ผ่ี า่ นมา นกั เรยี นชง่ั นำ้ �หนกั และวดั สว่ นสงู บอ่ ย แคไ่ หน แล้วนำ�ผลที่ได้มาใช้ประโยชน์อยา งไร 2. นักเรียนจะรูไดอ ยางไรวา รา งกายมกี ารเจริญเติบโตข้นึ 3. เพราะเหตใุ ดนกั เรยี นและเพอ่ื นจงึ มกี ารเจรญิ เตบิ โตทแี่ ตกตา่ งกนั 4. ถา ตอ งการรวู า ตนเองมกี ารเจรญิ เตบิ โตเปน ไปตามเกณฑอ า งองิ การเจรญิ เตบิ โตฯ หรือไม จะตอ งทำ�อยางไร 5. นักเรียนคิดว่าปัจจัยใดท่ีมีผลต่อการเจริญเติบโตของนักเรียน มากที่สดุ เพราะเหตใุ ด 6. ถา นกั เรยี นตอ งการมสี ว นสงู ทเ่ี พม่ิ ขน้ึ จะตอ งดแู ลสขุ ภาพอยา งไร 7. นักเรยี นควรมีน้ำ�หนกั และสวนสงู เทา ใดจงึ จะเปนไปตามเกณฑ อางอิงการเจริญเติบโตฯ 8. ถา พบวา ตนเองมกี ารเจรญิ เตบิ โตทต่ี ำ่ �กวา เกณฑอ า งองิ การเจรญิ เตบิ โตฯ จะแกไ ขปญ หาอยางไร


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook