Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore โครงร่างวิจัย 2-2561

โครงร่างวิจัย 2-2561

Published by Luaknara Yorapat, 2018-10-24 11:10:17

Description: โครงร่างวิจัย 2-2561

Search

Read the Text Version

โครงรา งวิจยัช่อื เร่อื งวจิ ัยนักเรยี นระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท ่ี 4 รคู วามหมายคาํ ศพั ทภาษาองั กฤษไมถงึ 1,000 คาํความเปน มาและความสาํ คัญของปญ หาการเรยี นภาษาอังกฤษ ระดับชั้นใดกต็ าม นักเรยี นจาํ เปนตองเรยี นรูเก่ยี วกับภาษาองั กฤษทง้ั ในดานการออกเสยี ง การเขียน การสะกดคํา และคาํ ศัพท ซงึ่ การจดั การเรยี นการสอนในปจจุบนั น้ัน ยงั ไมประสบความสําเร็จโดยเฉพาะในระดับเรม่ิ ตน คอื ระดับประถมศกึ ษา จากสภาพปญหาในการเรยี นวชิ าภาษาองั กฤษ พบวา เร่ือง คําศัพท เสยี ง การเขียน การสะกดคํา จะเปนปญหาในการพัฒนาความรแู ละความเขา ใจในภาษาอังกฤษ ซึ่งนกั เรียนไทยสวนมากมกั มคี วามรูเกยี่ วกบั คําศัพทคอนขางนอ ยและไมเ พียงพอ ดังนนั้ จงึ อาจกลาวไดว าความรเู กย่ี วกบั การออกเสยี ง การเขียนและสะกดคาํ และคําศพั ทของภาษาเปน สิง่ หน่ึงทบ่ี งช้ใี หเห็นถึงความกาวหนาในการเรียนภาษาองั กฤษคําศัพทภาษาอังกฤษเปน พืน้ ฐานสําคญั ทจ่ี ะสงผลตอการพัฒนาการเรียนภาษาในดา นทกั ษะการฟง การพูดการอาน และการเขยี นไดดดี วย แตป ญ หาในเรือ่ งการเรียนรเู กยี่ วกบั คําศัพทภาษาอังกฤษของนกั เรยี นไทยยังคงมีอยูอกี มากมาย โดยเฉพาะนกั เรยี นในระดับประถมศกึ ษา ซึง่ มคี วามรเู กี่ยวกบั คาํ ศัพทค อ นขางนอ ยถึงปานกลาง แมจะมีการทอ งศัพททุกวัน แตก็ไมส ามารถชว ยใหน ักเรยี นจดจําคาํ ศพั ทไดดี เนอ่ื งจากความจาํกดั ของเวลา และปริมาณของคาํ ศัพทที่มีมากเกนิ ไป ดังนั้นผวู จิ ัยจงึ ไดพ ยายามศึกษาหาแนวทางท่ีจะชว ยใหนักเรียนระดับช้นั ประถมศกึ ษาไดจดจําคําศพั ทและนาํ ไปใชในการเรียน และชีวิตประจําวนั ไดม ากข้นึ โดยครูผูสอนใชวิธกี ารสอนโดยใชชุดคําศพั ทโดยแตล ะคําศัพทจะเปนคําศพั ททใี่ กลตวั นักเรียนในระดับช้ันประถมศึกษา และจําเปนในการเรยี นและการสอื่ สาร โดยครผู ูสอนเปน ผชู น้ี ําใหนักเรยี นเมือ่ นักเรียนไมเขาใจหรอื สะกดคาํ ไมไ ด ครูผูสอนจะเปน ผูใหคาํ ปรึกษาและชวยนกั เรียน ครูผูสอนจะใหน ักเรยี นม่ันทบทวนคําศัพท เพื่อใหน กั เรยี นไดจดจํา และหัดใหนกั เรียนฝกการสื่อสารภาษาองั กฤษ โดยเรียบเรียงเปนประโยค เมื่อนกั เรยี นไดม ีการสื่อสาร นักเรยี นจะจดจาํ คําศพั ทไดด ีขึ้น ทําใหพ ฒั นาความสามารถการจาํ คําศพั ทภาษาอังกฤษ เม่ือนักเรยี นสามารถจาํ คําศพั ทไดดีขึน้ จะทําใหผลสมั ฤทธิ์ดีข้ึน และนาํ ความรูไปศกึ ษาตอในระดบั ที่สูงกวา และสามารถนาํ มาใชใ นชีวติ ประจําวนั ไดวัตถปุ ระสงคข องการวจิ ยั1. เพ่อื ศึกษาความสามารถการจาํ คําศพั ทภ าษาองั กฤษของนักเรยี นชั้นประถมศกึ ษาปที่ 62. เพ่อื เปรยี บเทยี บความสามารถการจําคาํ ศพั ทภาษาองั กฤษของนักเรียนช้ันประถมศกึ ษาปที่ 6 กอ นและหลงั ไดร ับการสอบแบบชุดคําศัพท3. เพื่อพัฒนาความสามารถการจําคาํ ศพั ทภ าษาอังกฤษของนักเรยี นช้ันประถมศึกษาปท ี่ 6 โดยใชวิธกี ารสอนแบบชดุ คําศัพทตัวแปรท่ีใชในการวจิ ัยตวั แปรตนวธิ กี ารสอนแบบชดุ คําศพั ทตวั แปรตามความสามารถการจําคาํ ศัพทภาษาองั กฤษประชากรประชากร เปน นกั เรียนระดบั ช้ันมธั ยมศกึ ษาปท่ี 4/4 ภาคเรยี นท่ี 2 ปก ารศกึ ษา 2561

โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31ความเปน มาและความสาํ คญั ของปญหากลุมตวั อยางเปนนกั เรยี นระดบั ชนั้ มัธยมศึกษาปที่ 4/4 ภาคเรียนท่ี 2 ปการศึกษา 2561 โรงเรียนราชประชานุเคราะห 31จาํ นวนนกั เรยี น 35 คน โดย โดยสุมอยางงายกรอบแนวคิดการวจิ ัยตวั แปรตนวธิ กี ารสอนแบบชุดคําศพั ทตวั แปรตามความสามารถการจาํ คาํ ศัพทภาษาอังกฤษเอกสารทีเ่ กย่ี วของ1. ลกั ษณะของเด็กที่มปี ญหาทางการเรยี นรูดา นการอานศรียา นยิ มธรรม ( 2540: 42 ) ไดกลา วถึงพฤตกิ รรมการอานของเดก็ ท่มี ีปญ หาการเรยี นรูดา นการอาน ไดแกขมวดคว้ิ นิว่ หนาขณะท่ีอาน อานหลงบรรทัด อานสลับคาํ อานขามคํา อานสลับตัวอกั ษร อานคาํ ซ้าํ คาํ อานออกเสียงไมช ัด จับใจความสาํ คัญของเร่อื งไมไ ด หรือเรยี งลาํ ดบั เร่ืองที่อา นไมไ ด เลา เรื่องทอี่ านไมไ ดเอกสารที่เกยี่ วของ (ตอ)ผดุง อารยะวญิ ู (2544 : 22 ) ไดก ลาวถงึ ลกั ษณะของเดก็ ที่มปี ญหาทางการเรียนรู ดานการอานไวว า เด็กที่มีปญ หาทางการเรยี นรดู านการอานอาจมพี ฤติกรรมดงั นี้1. จําตวั อักษรไมได ทาํ ใหอานเปน คาํ ไมไ ด2. จาํ ตวั อกั ษรไดบาง แตอ านเปนคําไมไ ด3. ความสามารถในการอา นตํา่ กวานกั เรยี นอื่นในชนั้ เรียนดวยกนั4. ระดับสตปิ ญญาของเดก็ อยูในเกณฑเฉลี่ย หรือสูงกวาเกณฑเ ฉลี่ย เมื่อวดั โดยใชแบบทดสอบเชาวนปญ ญาท่ีเชือ่ ถอื ได5.เด็กบางคนอาจมคี วามไวในการใชส ายตา6. เด็กบางคนอาจมีความไวในการฟง7. พูดไมเ ปนประโยค8. เด็กสามารถเขา ใจภาษาไดดี หากใหเ ดก็ ฟง หรือมคี นอา นหนงั สือใหฟง หรือฟง จากเทป แตถ า ใหอานเองเด็กจะอานไมได อา นไมเขา ใจ หรือจบั ใจความสาํ คัญไมไ ด9. อา นคําโดยสลบั ตวั อักษร10. ไมเ ขาใจวา ตัวอกั ษรใดมากอ น-หลงั ตัวอักษรใดอยทู างซา ย หรอื ทางขวา11. ไมส ามารถแยกแยะเสยี งสระในคาํ ไดเคร่ืองมือท่ใี ชใ นการวจิ ยั1. แบบทดสอบวัดความรูกอ นเรียน (Pre-Test)2. แบบฝกหัดเก่ียวกับกระบวนการทักษะการอานศพั ทภ าษาอังกฤษ3. แบบฝก ชุดคําสําหรับฝกและทดสอบเกี่ยวกับกระบวนการอานศพั ทภาษาอังกฤษ4. แบบทดสอบวัดความรูห ลงั เรียน (Post-Test)การเกบ็ รวบรวมขอมูล

1. ผลจากคะแนนท่ีไดจ ากการทําแบบทดสอบกอ นเรยี น2. ผลจากคะแนนทไี่ ดจากการทําแบบฝก หดั3. ผลจากคะแนนทีไ่ ดจ ากการทําแบบทดสอบหลังเรียนวิธวี ิเคราะหข อ มูล1 สถติ ิท่ีใชในการวิเคราะหข อ มลู1.1 การหาคาเฉลีย่ ( x )(x)=xNเมอ่ื x = คา เฉลี่ยX = คะแนนท่ไี ดN = จํานวนนักเรยี นทัง้ หมด= ผลรวมของคะแนนท้ังหมด1.2 การหาคารอยละคารอ ยละ = คะแนนทไ่ี ด x 100 / คะแนนเต็มประโยชนท ี่คาดวา จะไดรับ1. ความสามารถในการจาํ คาํ ศัพทภ าษาอังกฤษของนักเรียนชน้ั มธั ยมศกึ ษาปท ี่ 4/42. เปรียบเทยี บความสามารถการจําคาํ ศพั ทภาษาอังกฤษของนกั เรยี นชัน้ มธั ยมศึกษาปท่ี 4/4 กอนและหลังไดร ับการสอบแบบชุดคาํ ศพั ท3. พฒั นาความสามารถการจําคาํ ศพั ทภ าษาองั กฤษของนกั เรียนช้นั ประถมศึกษาปท ่ี 6โดยใชว ธิ กี ารสอนแบบชุดคําศพั ท4. ครไู ดความรูและแนวทางในการพฒั นาผูเรียนเอกสารอางองิ /บรรณานกุ รมกระทรวงศึกษาธกิ าร (2551). ตัวช้ีวัดและสาระการเรยี นรแู กนกลางกลมุ สาระการเรยี นรูภาษาตางประเทศ. กรุงเทพฯ : โรงพมิ พชมุ นมุ สหกรณก ารเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด.


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook