Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore รายวิชาเลือกเมืองทองเนื้อเก้า 1 ระดับประถมศึกษา(อช 13416)

รายวิชาเลือกเมืองทองเนื้อเก้า 1 ระดับประถมศึกษา(อช 13416)

Published by กศน อําเภอบางสะพาน, 2022-08-29 09:46:01

Description: รายวิชาเลือกเมืองทองเนื้อเก้า1 ระดับประถมศึกษา (อช 13416)

Search

Read the Text Version

หลกั สูตร เมอื งทองเนือ้ เกา้ (อำเภอบางสะพาน) รายวชิ าเลอื ก เมืองทองเน้ือเกา้ 1 (ระดบั ประถมศึกษา) 2

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 คณุ สมบตั ิ กรอบแนวความคิดรวบ เละแรธ่ าตสุ ว่ นประกอบจากการ รอ่ นทอง หนว่ ยการเรยี นร 1.คณุ สมบตั ิของทอง เนอ้ื เก้า 2.แร่ธาตสุ ว่ นประกอบจากการ 1.ตำนานทองเน รอ่ นทอง 2.ผู้เรียนนำเสน ทองเน้อื เกา้ วชิ า เมอื ง รหสั วชิ า หนว่ ยการเรยี นร รอ่ นทอง 1.ประวตั ิการรอ่ น 2.วิวัฒนาการขอ 1

บยอดรายวชิ า เมอื งทองเนอ้ื เกา้ 1 รทู้ ่ี 1 ตำนานทอง นอ้ื เก้า นอเก่ียวกับตำนาน งทองเนอ้ื เก้า 1 หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แหลง่ ทต่ี งั้ า อช13416 เหมอื งทอง 1.แหลง่ ท่ีตงั้ เหมืองทองในอดตี 2.แหล่งท่ตี ง้ั เหมืองทองในปจั จุบนั รทู้ ่ี 3 ประวตั กิ าร นทอง องการร่อนทอง 1

คำอธบิ ายรายวชิ า ปกี ารศกึ ษา............ เวลา 40 ชวั่ โมง ราชวชิ า อช13416 เมอื งทองเนอ้ื เกา้ 1 ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา ในรายวิชาเมืองทองเนื้อเก้า 1 มีสาระสำคัญในการจัดการเรียนการสอน ประกอบไปด้วย ตำนานทอง เนือ้ เก้า แหลง่ ท่ตี ัง้ เหมืองทองในอดีต แหล่งทตี่ ้ังเหมอื งทองในปัจจุบนั ประวัติการรอ่ นทอง วิวัฒนาการของ การร่อนทอง คุณสมบัติของทอง และแร่ธาตุส่วนประกอบจากการร่อนทอง และส่งเสริมให้ผู้เรียนนำเสนอ เกย่ี วกับตำนานทองเนอ้ื เกา้ การจัดการเรียนการสอนโดยครูผู้สอนบรรยายให้ความรู้และใช้สื่อการเรียนการสอนโดยใช้เทคนิคการ จัดการเรียนรู้ สื่อการเรยี นการสอนควบคู่กับการใชเ้ ทคโนโลยี ประกอบการจัดการเรียนการสอน เช่น การใช้ สิ่งพิมพ์ ตำราเรียน คลิปวีดีโอ แบบฝึกหัด มุ่งเน้นให้ผู้เรียนไปศึกษาที่ศูนย์การเรียนรู้ ห้องสมุดประชาชน นอกจากน้ี ในกระบวนการจัดการเรยี นการสอนครูผู้สอนใชว้ ิธีการสอนแบบมุ่งเน้นประสบการณ์ สถานการณ์ จำลอง บทบาทสมมติ ผสมผสานกับการใช้เทคนิคการเรียนแบบกระบวนการกลุ่มโดยเน้นใหผ้ ู้เรียนคิดเป็น ทำ เป็น แก้ปัญหาเปน็ ซ่ึงวธิ กี ารเหลา่ นมี้ ุ่งเนน้ ใหผ้ ูเ้ รียนได้ลงมอื ปฏิบัติจริง ไดค้ ดิ คน้ ควา้ ศึกษา ส่งผลให้ผู้เรียนเกิด การเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน ส่งเสริมให้ผเู้ รยี นตระหนักถงึ ตำนานทองเนื้อเก้าเพ่อื อนรุ กั ษภ์ ูมิปัญญาทอ้ งถ่นิ การรอ่ นทองในอำเภอบางสะพาน การวัดและประเมินผล โดยให้ผู้เรียนได้ทำใบงาน แบบทดสอบ แบบฝึกหัด แบบบันทึกการเรียนรู้ นอกจากนั้นยังให้ผู้เรียน ทำรายงาน แฟ้มสะสมงาน ผลงาน/โครงงาน และแบบสังเกตพฤติกรรม โดยใช้ เครื่องมือ คือ ใบงาน แบบทดสอบ แบบฝึกหัด แบบบันทึกการเรียนรู้ แฟ้มสะสมงาน รายงาน ผลงาน/ โครงงาน แบบสงั เกตพฤติกรรม มาตรฐานท่ี 3 สาระการประกอบอาชพี 3.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ และเจตคตทิ ี่ดีในงานอาชพี มองเหน็ ช่องทางและตดั สินใจประกอบอาชพี ได้ ตามความตอ้ งการ และศกั ยภาพของตนเอง 3.2 มคี วามรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชีพท่ีตัดสนิ ใจเลอื ก 3.3 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการจัดการอาชพี อย่างมคี ุณธรรม 3.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการพฒั นาอาชีพใหม้ ีความมนั่ คง 2

วตั ถปุ ระสงค์ 1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในเรือ่ งประวัตคิ วามเปน็ ของการร่อนทอง 2. เพือ่ ใหผ้ ้เู รยี นสามารถอธบิ ายและนำเสนอเกี่ยวกบั ประวตั คิ วามเป็นมาและแหล่งการรอ่ นทองของ บางสะพานได้ 3. เพื่ออนุรักษ์ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ การร่อนทองในอำเภอบางสะพาน เนอ้ื หาของรายวชิ า เมอื งทองเนอ้ื เกา้ 1 ประกอบดว้ ยเน้ือหาที่แบง่ เปน็ หนว่ ยการเรยี นรู้ 4 เรอ่ื ง ดงั น้ี 1. ตำนานทองเนื้อเกา้ 2. แหลง่ ท่ตี ง้ั เหมืองทอง 3. ประวัติการร่อนทอง 4. คุณสมบตั ิเละแรธ่ าตสุ ว่ นประกอบจากการร่อนทอง 3

บทท่ี ชือ่ หนว่ ยการเรยี นรู้ โครงสรา้ งหนว่ ยการเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลาสอน รายวชิ า เมอื งทองเนอื้ เกา้ 1 (ชว่ั โมง) ระดบั ชนั้ ประถมศกึ ษา 10 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 10 1. ตำนานทองเนอ้ื เกา้ 1. มคี วามรคู้ วามเข้าใจในเรื่อง 1.ตำนานทองเนื้อเก้า 10 ประวตั ิความเป็นของการ 2.ผูเ้ รยี นนำเสนอเกย่ี วกับ ร่อนทอง ตำนานทองเนื้อเก้า 2. เพื่อใหผ้ ู้เรยี นสามารถอธิบาย และนำเสนอเกี่ยวกับประวตั ิ ความเป็นมาและแหลง่ การ ร่อนทองของบางสะพานได้ 3. เพ่อื อนรุ กั ษ์ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ การรอ่ นทองในอำเภอบางสะพาน 2. แหลง่ ทต่ี ้ังเหมอื งทอง 1. มีความรคู้ วามเข้าใจในเรอ่ื ง 1.แหล่งทตี่ ง้ั เหมืองทองใน ประวัติความเป็นของการ อดตี รอ่ นทอง 2.แหล่งที่ตง้ั เหมอื งทองใน 2. เพอื่ ใหผ้ เู้ รยี นสามารถอธบิ าย ปัจจุบนั และนำเสนอเกีย่ วกบั ประวตั ิ ความเปน็ มาและแหล่งการ ร่อนทองของบางสะพานได้ 3. เพอ่ื อนุรักษภ์ ูมิปัญญาทอ้ งถิ่น การร่อนทองในอำเภอบางสะพาน 3 ประวัติการร่อนทอง 1. มคี วามรู้ความเข้าใจในเรื่อง 1.ประวัติการรอ่ นทอง ประวัตคิ วามเป็นของการ 2.วิวฒั นาการของการ รอ่ นทอง ร่อนทอง 2. เพื่อให้ผเู้ รียนสามารถอธบิ าย และนำเสนอเกีย่ วกบั ประวตั ิ ความเปน็ มาและแหลง่ การ ร่อนทองของบางสะพานได้ 3. เพ่ืออนุรักษภ์ ูมปิ ญั ญาทอ้ งถิ่น การร่อนทองในอำเภอบางสะพาน 4

บทท่ี ช่ือหนว่ ยการเรยี นรู้ จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ สาระสำคญั เวลาสอน (ชว่ั โมง) 4 คุณสมบัตเิ ละแรธ่ าตุ 1. มคี วามรู้ความเข้าใจในเรอ่ื ง 1.คณุ สมบตั ขิ องทอง 10 สว่ นประกอบจาก ประวตั ิความเปน็ ของการ 2.แรธ่ าตุสว่ นประกอบจาก การร่อนทอง ร่อนทอง การรอ่ นทอง 2. เพื่อใหผ้ ้เู รียนสามารถอธิบาย และนำเสนอเกย่ี วกบั ประวัติ ความเปน็ มาและแหล่งการ ร่อนทองของบางสะพานได้ 3. เพอื่ อนรุ ักษ์ภมู ิปญั ญาท้องถน่ิ การร่อนทองในอำเภอบางสะพาน 5

ระยะเวลาในการจดั การเรยี นการสอนตลอดรายวชิ า เมอื งทองเนอ้ื เกา้ 1 รายวชิ า เมอื งทองเน้ือเกา้ 1 ใช้เวลาเรยี นท้งั หมด 40 ชัว่ โมง ภาคทฤษฎี 25 ช่ัวโมง ภาคปฏิบัติ 15 ชั่วโมง แนวทางการจดั การเรยี นการสอน รายวิชานีใ้ ชว้ ธิ ีการจัดการเรยี นการสอนโดยครผู ้สู อนบรรยายให้ความรู้และใช้สือ่ การเรียนการสอนโดย ใช้เทคนิคการจัดการเรียนรู้ สื่อการเรียนการสอนควบคู่กบั การใชเ้ ทคโนโลยี ประกอบการจดั การเรียนการสอน เช่น การใช้สิ่งพิมพ์ ตำราเรียน คลิปวีดีโอ แบบฝึกหัด มุ่งเน้นให้ผู้เรียนไปศึกษาที่ศูนย์การเรียนรู้ ห้องสมุด ประชาชน นอกจากนี้ ในกระบวนการจัดการเรยี นการสอนครูผู้สอนใช้วธิ ีการสอนแบบมุ่งเน้นประสบการณ์ สถานการณ์จำลอง บทบาทสมมติ ผสมผสานกับการใชเ้ ทคนคิ การเรียนแบบกระบวนการกลุ่มโดยเน้นให้ผู้เรียน คดิ เป็น ทำเป็น แก้ปญั หาเป็น ซ่ึงวธิ ีการเหล่านม้ี ุง่ เน้นใหผ้ ู้เรียนไดล้ งมอื ปฏบิ ตั ิจรงิ ได้คิดค้นควา้ ศึกษา ส่งผลให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง โดยครูผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้อำนวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ให้กับ ผู้เรียน สอื่ วสั ดอุ ปุ กรณ์ และแหลง่ การเรยี นรทู้ ใี่ ชใ้ นการจดั การเรยี นการสอน 1. หนงั สือ 2. ใบงาน/ใบความรู้ 3. คอมพิวเตอร์ 4. คลปิ วดี ีโอ 5. ห้องสมุด 6. ศนู ยก์ ารเรียนรู้ 7. ปราชญ์ชาวบ้าน การวดั ผลประเมนิ ผลการเรยี น ระยะเวลาเรยี น นักเรียนตอ้ งมาเขา้ เรียนไมน่ อ้ ยกวา่ 32 ช่ัวโมง วิธกี ารวัดและประเมินผลการเรยี น ในการจดั การเรียนการสอนรายวชิ าเมืองทองเน้ือเกา้ 1 มีแนวทางการวดั และประเมินผล โดยใหผ้ เู้ รียน ใช้ใบงาน แบบทดสอบ แบบฝึกหดั แบบบนั ทกึ การเรียนรู้ นอกจากนัน้ ยงั ใหผ้ ู้เรียน ทำรายงาน แฟม้ สะสมงาน ผลงาน/โครงงาน และแบบสังเกตพฤติกรรม โดยใช้เครื่องมือ คือ ใบงาน แบบทดสอบ แบบฝึกหัด แบบ บันทึกการเรียนรู้ แฟ้มสะสมงาน รายงาน ผลงาน/โครงงาน แบบสงั เกตพฤติกรรม 6

การเกบ็ รวบรวมคะแนนและเกณฑก์ ารจบรายวิชา เมืองทองเนอ้ื เก้า 1 มกี ารเกบ็ รวบรวมคะแนน แบง่ เป็น 60 : 40 คะแนนระหว่างภาคเรียน 60 คะแนน บนั ทกึ การเรยี นรู้ 10 คะแนน รายงาน 10 คะแนน แบบฝกึ หดั 10 คะแนน แฟ้มสะสมงาน/ชิ้นงาน 10 คะแนน โครงงาน/การนำเสนอ 10 คะแนน ทดสอบย่อย 10 คะแนน คะแนนปลายภาคเรียน 40 คะแนน รวม 100 คะแนน เกณฑ์การประเมนิ ระดับการประเมนิ ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 80-100 4 ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 75-79 3.5 ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 70-74 3 ไดค้ ะแนนรอ้ ยละ 65-69 2.5 ได้คะแนนรอ้ ยละ 60-64 2 ได้คะแนนรอ้ ยละ 55-59 1.5 ได้คะแนนรอ้ ยละ 50-54 1 ได้คะแนนรอ้ ยละ 0-49 0 ประโยชนท์ ่คี าดวา่ จะไดร้ บั 1. เพอ่ื อนุรักษ์ภมู ปิ ญั ญาท้องถิ่นการร่อนทองในอำเภอบางสะพาน 2. มีความรคู้ วามเข้าใจในเร่อื งประวัติความเปน็ ของการร่อนทอง 3. เพ่อื ให้ผเู้ รยี นสามารถอธิบายและนำเสนอเกย่ี วกับประวัติความเป็นมาและแหลง่ การร่อนทองของ บางสะพานได้ 7

โครงสรา้ งเนอ้ื หาของรายวิชา ประกอบดว้ ยเนอ้ื หา 4 เรอื่ ง ดงั นี้ เรอ่ื งที่ 1 ตำนานทองเนือ้ เก้า จำนวน 10 ชัว่ โมง 1.ตำนานทองเนื้อเกา้ 2.ผเู้ รยี นนำเสนอเก่ยี วกับตำนานทองเน้ือเกา้ เรือ่ งท่ี 2 แหล่งทต่ี ง้ั เหมืองทอง จำนวน 10 ชั่วโมง 1.แหลง่ ที่ตง้ั เหมืองทองในอดีต 2.แหลง่ ท่ตี ้งั เหมืองทองในปัจจุบนั เรื่องที่ 3 ประวตั ิการร่อนทอง จำนวน 10 ช่ัวโมง 1. ประวัตกิ ารรอ่ นทอง 2. ววิ ฒั นาการของการร่อนทอง เรอ่ื งท่ี 4 คุณสมบัติเละแร่ธาตุสว่ นประกอบจากการร่อนทอง จำนวน 10 ชวั่ โมง 1. คุณสมบัติของทอง 2. แรธ่ าตสุ ว่ นประกอบจากการรอ่ นทอง 8

แบบทดสอบกอ่ นเรยี น จำนวน 40 ขอ้ คำสั่ง ใหเ้ ลอื กคำตอบท่ถี กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งคำตอบเดียว 1. การร่อนทองครงั้ แรกเกดิ ขึ้นในสมัยใด 5. แหล่งแรท่ องคำที่มีชอ่ื เสียงในอำเภอบาง ก. พ่อขุนรามคำแหง สะพานต้ังอยหู่ มบู่ ้านใด ข. พระมหาธรรมราชา ค. พระเจ้าอยู่หวั บรมโกศ ก. หมบู่ า้ นปา่ ร่อน ง. พระเจา้ ตากสนิ มหาราช ข. หมบู่ า้ นวังน้ำเขียว ค. หม่บู า้ นคลองลอย 2. อำเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบครี ขี นั ธ์ ง. หมู่บ้านท่งุ สะเดาหวาน เดมิ มชี ่อื เรยี กว่าเมอื งอะไร 6. ทองท่พี บในการรอ่ นทอง เป็นทองเน้ือเก้า ก. เมืองธงชัย หรือเรียกอีกชอื่ ว่า ข. เมอื งชัยเกษม ค. เมอื งทับสะแก ก. ทองเก้าชงั่ ง. เมอื งกำเนดิ นพคณุ ข. ทองคำเปลว ค. นพคุณเนื้อเกา้ 3. เมอื งกำเนิดนพคุณ ถกู ยบุ เปน็ อำเภอเมอื ง ง. ทองคำบริสุทธิ์ นพคุณ ในปี พ.ศ.ใด 7. เหตใุ ดในสมัยรัชกาลท่ี 4 จึงเรียกทองท่ี ก. พ.ศ. 2436 ซื้อขายกันวา่ “นพคณุ เก้าน้ำ” ข. พ.ศ. 2437 ค. พ.ศ. 2438 ก. ทองคำหนกั 1 บาท เป็นเงิน 9 บาท ง. พ.ศ. 2439 ข. ทองคำหนัก 1 บาท เปน็ เงิน 99 บาท ค. ทองคำหนกั 1 สลึง เป็นเงนิ 9 บาท 4. ปัจจบุ นั อำเภอบางสะพาน มกี ีต่ ำบล ง. ทองคำหนัก 1 สลึง เป็นเงนิ 99 บาท ก. 5 ตำบล ข. 6 ตำบล 8. ทองได้จาการร่อน เรียกว่า ทองชนิดใด ค. 7 ตำบล ก. ทองคำเม็ด ง. 8 ตำบล ข. ทองคำเปลว ค. ทองคำบรสิ ทุ ธ์ิ ง. ทองคำธรรมชาติ 9

9. ข้อใดไมใ่ ช่สิ่งท่ีพบจากการร่อนทอง 13. ทองคำ 2 บาท สามารถยืดออกเปน็ เส้น ก. ทองก้อน ลวดได้ยาวถึงกีก่ โิ ลเมตร ข. ทองอมหนิ ค. ทองบรสิ ุทธิ์ ก. 7 กิโลเมตร ง. ทองรูปพรรณ ข. 8 กโิ ลเมตร ค. 9 กโิ ลเมตร 10. “ทองอมหนิ ” เป็นทองที่มีลักษณะ ง. 10 กิโลเมตร อยา่ งไร 14. เหมืองทองในบ้านปา่ ร่อนอยู่เหนอื ก. ทองทีม่ คี วามบริสทุ ธิ์ ระดับนำ้ ทะเลกีเ่ มตร ข. ทองท่มี ีแร่หินปนู เกาะ ค. ทองทแี่ ทรกอย่ใู นเนื้อหนิ ก. 30 เมตร ง. ทองท่ีมีดินเกาะฟอกหนา ข. 40 เมตร ค. 50 เมตร 11. แหลง่ แรท่ องคำแบบปฐมภูมิ หมายถึง ง. 60 เมตร ข้อใด 15 ขอ้ ใดไมใ่ ช่สถานท่ีในการรอ่ นทองใน อดีต ก. หินช้นั ก. เนินพอ ข. ก้อนกรวด ข. เนนิ ซา้ ย ค. ดินในลำหว้ ย ค. คลองเลก็ ง. ตะกอนทราย ง. คลองใหญ่ 12. เรามกั จะพบแหลง่ แรท่ องคำในภาคใด 16. ปัจจบุ ันแหลง่ ร่อนทองทีต่ ำบลร่อนทอง ก. ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ ไดเ้ ปดิ เป็นศูนย์อะไร ข. ภาคตะวนั ออก และภาคใต้ ค. ภาคตะวันตก และภาคเหนอื ก. ศูนย์ท่องเทย่ี ว ง. ภาคตะวันออก และภาคเหนือ ข. ศนู ยอ์ นุรกั ษ์แหล่งรอ่ นทอง ค. ศนู ย์ช่วยเหลือผู้ประสบภยั พบิ ัติ ง. ศนู ยศ์ กึ ษาการเรียนรูก้ ารรอ่ นทอง 10

17. ข้อใดไมใ่ ช่หินยคุ ตา่ งๆ ในการเกดิ 20. อปุ กรณใ์ ดสามารถนำมาใช้ในการ หินแกรนติ รอ่ นทองได้ 17. ก. ยุคสำรดิ 17. ข. ยุคไซลเรียน ก. ถาด 17. ค. ยคุ เดโวเนียน ข. บงุ้ กี๋ 17. ง. ยุคคาร์บอนเิ ฟอรสั ค. กระทะ ง. กะละมงั 18. แหลง่ ทต่ี ง้ั เหมอื งทองในปัจจบุ ันของ ตำบลร่อนทองพื้นทีท่ ศิ ตะวันตกตดิ กบั 21. การขดุ แร่ตอ้ งขุดให้ถงึ ใช้ใด ประเทศใด 21. ก. ชั้นดนิ 21. ข. ชั้นดาน ก. ลาว 21. ค. ช้ันกลาง ข. พม่า 21. ง. ชั้นหลงั สะ ค. กัมพูชา ง. มาเลเซีย 22. การทำเหมืองแร่ทองคำในอดีตเปน็ แบบ 19. ภูมิประเทศลกั ษณะใดท่ีมกั พบสายแร่ ใด ทองคำ ก. บรเิ วณท่รี าบลุม่ เปน็ ทเี่ ก็บสะสมทอง ก. เหมอื งขุด ข. บริเวณคลองเลก็ คลองนอ้ ยหลาย ข. เหมอื งเจาะ สาย ค. เหมืองกลบ ค. บริเวณคลองที่สามารถไหลลงสู่ทะเล ง. เหมอื งถา่ นหิน ได้ ง. บรเิ วณอย่เู ชิงเขา มีคลองใหญ่ มีเนิน 23. ในอดีตใชส้ ่ิงใดในการรอ่ นทองเป็นครั้ง มาก แรก ก. เลยี ง ข. กระสอบ ค. กระป๋อง ง. กะละมัง 11

24. ในปจั จบุ ันใช้สิ่งใดในการร่อนทอง 28. อปุ กรณท์ ่ีใชใ้ นการร่อนทอง ควรเปน็ ก. เลียง ลักษณะอย่างไร ข. กระสอบ ค. กระป๋อง ก. ทำจากเหล็ก สีดำ ง. กะละมงั ข. มนี ำ้ หนกั มาก ผวิ เรยี บ ค. ทำจากไม้ มีนำ้ หนกั เบา 25. ดนิ ช้ันบนทอ่ี ย่ใู นบ่อแร่ทองคำมีชอ่ื ว่า ง. ทำจากโลหะ ผวิ เรยี บ มนั วาว อย่างไร 29. ความเชื่อใดเกีย่ วกับพุทธคณุ ของ “ทอง ก. ดนิ ใช้ นพคณุ หรือทองเน้อื เกา้ ” ข. ดนิ ดาน ค. ดินเมอื ง ก. เปน็ ความเชื่อว่ามีเทวดาอาศยั อยู่ ง. ดินกระสะ ข. เปน็ ความเชื่อว่าสามารถรักษาโรค ได้ 26. ดินท่ีมีแรท่ องคำปนอยมู่ ีชอื่ เรียกวา่ ค. เป็นความเช่ือวา่ สามารถป้องกัน อย่างไร สัตว์มีพิษ ง. เปน็ ความเชื่อวา่ สามารถปกป้องคมุ ก. ดนิ ใช้ ภยั และนำโชคได้ ข. ดนิ ดาน 30. ทองบางสะพานนิยมใช้ในพิธใี ดในอดีต ค. ดินเมอื ง ก. พิธีโกนจุก ง. ดนิ กระสะ ข. พิธขี อฝน ค. พิธีเดอื นสบิ 27. ทองคำเลยี ง เป็นทองทมี่ ลี ักษณะใด ง. พิธีสบิ สองเดอื น ก. ทองคำพนั ช่ัง ข. ทองคำทองอมหิน 31. ทองคำ มชี ่อื ภาษาองั กฤษอย่างไร ค. ทองคำบรสิ ุทธ์มิ ีแร่ ก. Gold ง. ทองบรสิ ทุ ธ์ปิ ราศจากธาตอุ น่ื เจือ ข. Cold ค. Dold ปน ง. Pold 12

32. ขอ้ ใดคือสัญลกั ษณท์ างเคมีของทองคำ 36. ข้อใดไมใ่ ช่ชื่อเรียกทองบางสะพาน ก. Au ก. ทองดำ ข. Ae ข. ทองเนือ้ แท้ ค. Ag ค. ทองคำเลยี ง ง. Ap ง. ทองชมพูนุช 33. ทองคำเปน็ โลหะธาตชุ นิดใด 37. ข้อใดเปน็ การอนรุ ักษ์แร่ทองคำ ก. ธาตโุ ลหะทรานซิซัน ก. ไม่ถลงุ แร่มาใช้ ข. ธาตุโลหะทรานซิพัน ข. หลอมกลับนำมาใช้ใหม่ ค. ธาตุอโลหะทรานซิซัน ค. การสร้างสง่ิ ประดิษฐ์ทดแทน ง. ธาตอุ โลหะทรานพชิ นั ง. การรบั ซอื้ ของเก่าแลว้ ล้างนำมาใช้ 34. ข้อใดไมใ่ ช่คือคณุ สมบัติของทองคำ ใหม่ ก. เน้อื อ่อนนุ่ม ข. สเี หลืองนวล 38. ขอ้ ใดไมใ่ ช่แร่ธาตทุ ี่จะพบในการ ค. สเี หลอื งมันวาว ร่อนทอง ง. สามารถยืดและตีเปน็ แผน่ ได้ ก. ทราย 35. ขอ้ ใดไมใ่ ช่ คุณสมบัติพนื้ ฐาน ของทองบาง ข. แรเ่ งนิ สะพาน ค. แร่ทองคำ ง. แร่สังกะสี ก. หางา่ ย มีราคาแพง ข. ไม่ขน้ึ สนมิ ไม่ผุกรอ่ น 39. ขอ้ ใดไม่ใช่ ความเชอ่ื เกี่ยวกบั “ทองนพ ค. สามารถนำกลบั มาหลอมใหมไ่ ด้ คุณ” ง. มีความงดงาม สวยตามธรรมชาติ เกดิ ความอมตะ ก. คา้ ขายดี ข. มีโชคลาภ ค. ขบั ไลส่ ่งิ ชว่ั ร้ายได้ ง. หนังเหนียว คงกระพัน 13

40. ข้อใดคือเลขอะตอมในสัญลกั ษณ์ทางเคมีของ ทองคำ ก. 45 ข. 79 ค. 85 ง. 99 14

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื งตำนานทองเนอ้ื เกา้ ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี ........................... เวลา 10 ชว่ั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระสำคญั “ทองบางสะพาน” หรือ “ทองบางตะพาน” มีชื่อเสียงและรู้จักกันดีจนมีผู้กล่าวกันว่า “เป็นทองคำ เนื้อดีที่สุดของเมืองไทยและในโลก” ทองที่พบเป็นทองธรรมชาติ เห็นเป็น Nuggest (ทองที่ขุดได้โดยไม่ต้อง ถลงุ ) อย่างชัดเจน เหลอื งอร่าม สุกปลั่งและเนือ้ ออ่ น ทองร้อยเปอรเ์ ซ็นต์ เป็นทองเนอ้ื เกา้ เรยี กวา่ “นพคณุ เน้ือ เก้า” เชื่อกันว่าป้องกันภยันตรายและภูตผีปีศาจได้ดี ทองบางสะพาน หรือทองบางตะพาน หรือทองนพคุณนี้ ในหนงั สือประชุมประกาศรัชกาลท่ี4 อธบิ ายไวว้ ่า ทองคำทีซ่ อ้ื ขายกันน้ัน เรยี กตามเนือ้ และตามราคา เชน่ ทอง หนกั บาทหนง่ึ เป็นเงนิ 4 บาท เรยี กว่า เนอื้ สี่ ทองหนกั บาทหนึ่งเปน็ เงิน 5 บาท เรียกวา่ เนอื้ หา้ ทองหนักบาท หนงึ่ เป็นเงิน 6 บาท เรียกวา่ เนอ้ื หก ทองหนกั บาทหนงึ่ เปน็ เงิน 6 บาทเรยี กวา่ เนื้อเจด็ ทองหนกั บาทหนึ่งเป็น เงิน 8 บาทเรียกว่า เนือ้ แปด ทองหนักบาทหน่งึ เป็นเงนิ 8 บาท 2 สลึง เรียกวา่ ทองเนอ้ื แปดสองขา ทองหนัก บาทหนงึ่ เปน็ เงิน 9 บาท เรียกวา่ นพคณุ เกา้ นำ้ จดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. มคี วามรู้ความเข้าใจในเรอ่ื งประวตั ิความเปน็ ของการร่อนทอง 2. เพ่อื ให้ผเู้ รยี นสามารถอธบิ ายและนำเสนอเก่ยี วกับประวตั ิความเปน็ มาและแหล่งการร่อนทองของบาง สะพานได้ 3. เพอ่ื อนรุ กั ษภ์ ูมปิ ญั ญาท้องถ่นิ การรอ่ นทองในอำเภอบางสะพาน สาระการเรยี นรู้ 1.ตำนานทองเน้ือเก้า คำขวญั จังหวัดประจวบครี ขี ันธ์ “เมอื งทองเน้ือเก้า มะพรา้ วสบั ปะรด สวยสด หาด เขา ถำ้ งาม ลำ้ น้ำใจ” อำเภอบางสะพาน เปน็ อำเภอหน่ึงของจงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ เปน็ ทีม่ าของทองบางสะพาน ท่ีเลื่อง ชื่อ มีการร่อนที่ตำบลร่อนทอง บางสะพานเป็นอำเภอที่มีเศรษฐกิจที่ดีในระดับหนึ่งของประจวบคี รีขันธ์ เนอ่ื งจากมีประชากรมาก และมแี หล่งทอ่ งเที่ยวท่ีสวยงาม ไมว่ ่าจะเป็นชายทะเลบ้านกรูดหรือเกาะทะลุ ทำให้ อำเภอบางสะพานเปน็ ทรี่ ู้จักมากขนึ้ ในอดตี บางสะพานเปน็ เมอื งท่มี ีการขดุ และรอ่ นทองเปน็ ครงั้ แรก สมัยพระ เจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในปี พ.ศ. 2289 เจ้าเมืองกุยได้ส่งทองร่อนหนัก 3 ตำลึง นำถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์จึงเกณฑ์ไพร่จำนวน 2,000 คน ไปร่อนทองที่บางสะพานเป็นเวลาปีเศษ ได้ทองคำหนัก 90 ชั่งเศษ 15

เป็นน้ำหนกั 54 กโิ ลกรมั หรือ 3,600 บาท และไดน้ ำทองทง้ั หมดไป หมุ้ ยอดมณฑป รอยพระพุทธบาทสระบุรี แตย่ อดมณฑปนถี้ ูกโจรจีนเผาหลอมทองเอาไปท้งั หมด เมอื่ ครงั้ เสยี กรงุ ศรีอยธุ ยาคร้ังท่ี 2 (พ.ศ.2310) ที่มาของ “ทอง” บางสะพาน แหลง่ แรท่ องคำท่ีมีช่ือเสยี ง และรูจ้ ักกนั ดีในประเทศไทย มีด้วยกนั ๓ แหล่ง ไดแ้ ก่ อำเภอ กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบรุ ี อำเภอสุคิริน จงั หวดั นราธิวาส และอำเภอ บางสะพาน จงั หวดั ประจวบคีรีขันธ์ อำเภอบางสะพาน เดิมชอื่ เมอื งกำเนิดนพคุณ ตวั เมืองตัง้ อยู่ทท่ี ่ามะนาว ฝัง่ ขวาของลำน้ำแม่รำพึง ต่อมาต้ังที่ ท่ากะหลอ ปัจจุบันเรียกว่า บ้านหลัก เมือง อยู่ริมฝั่งขวาลำน้ำบางสะพาน ซึ่งยังมีหลักฐานเสาหินหลักเมือง ปรากฏอยู่ ตอ่ มาใน พ.ศ. 2437 มกี ารจดั การปกครองทอ้ งที่เปน็ ระบบมณฑลเทศาภบิ าล เมอื งกำเนิดนพคุณถูก ยุบเปน็ อำเภอเมอื งนพคุณ ขนึ้ ต่อเมอื งชุมพร เมอ่ื ถงึ พ.ศ.2449 ตัง้ เมอื งประจวบครี ขี ันธแ์ ละยกอำเภอเมืองนพ คุณขึ้นต่อเมืองประจวบคีรีขันธ์ และย้ายมาตั้งริมทางรถไฟ ในปี พ.ศ. 2459 และ เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบาง สะพานใน พ.ศ. 2560 เป็นต้นมา ปัจจุบันอำเภอบางสะพาน มี 7 ตำบล ได้แก่ ตำบลกำเนิดนพคุณ ตำบล รอ่ นทอง ตำบลพงศ์ประศาสน์ ตำบลทองมงคล ตำบลชยั เกษม ตำบลแม่รำพงึ และตำบลธงชัย (หรือบ้านกรูด นนั่ เอง) ทองที่มชี ือ่ เสยี งนัน้ อย่ใู นเขตหมบู่ ้านป่ารอ่ น ตำบลร่อนทอง และบรเิ วณทมี่ ีการขุดทองมากที่สุดอยู่ท่ี บรเิ วณห้วยจังหนั ซึ่งอยหู่ า่ งจากหมู่บา้ นประมาณ 750–2,000 เมตร ปัจจบุ ันปรมิ าณทองลดนอ้ ยลงมาก แต่ก็ ยังมีชาวบ้านมาร่อนทอง เพื่อเป็นอาชีพรองอยู่เสมอ ทองบางสะพาน “ทองบางสะพาน” หรือ “ทองบาง ตะพาน” มีชอ่ื เสยี งและรู้จักกนั ดีจนมีผู้กล่าวกนั ว่า “เป็นทองคำเนอื้ ดที ่ีสุดของเมืองไทยและในโลก” ทองที่พบ เป็นทองธรรมชาติ เห็นเป็น Nuggest (ทองที่ขุดได้โดยไม่ต้องถลุง) อย่างชัดเจน เหลืองอร่าม สุกปลั่งและ เน้อื อ่อน ทองร้อยเปอรเ์ ซ็นต์ เป็นทองเนอื้ เก้า เรยี กว่า “นพคณุ เน้ือเกา้ ” เชื่อกนั วา่ ป้องกนั ภยันตรายและภูตผี ปีศาจได้ดี ทองบางสะพาน หรือทองบางตะพาน หรือทองนพคุณนี้ในหนังสือประชุมประกาศรัชกาลท่ี 4 อธบิ ายไว้วา่ ทองคำทซ่ี อ้ื ขายกันนนั้ เรียกตามเนอื้ และตามราคา เช่น ทองหนักบาทหนึ่งเป็นเงนิ 4 บาท เรยี กวา่ เนื้อสี่ ทองหนักบาทหนึง่ เป็น เงิน 5 บาท เรียกว่า เนื้อห้า ทองหนักบาทหนึ่งเป็นเงิน 6 บาท เรียกว่า เนื้อหก ทองหนักบาทหนึ่งเป็นเงิน 6 บาทเรียกว่า เนื้อเจ็ด ทองหนักบาทหนึ่งเป็นเงิน 8 บาทเรียกว่า เนื้อแปด ทอง หนักบาทหนึ่งเป็นเงิน 8 บาท 2 สลึง เรียกวา่ ทองเนือ้ แปดสองขา ทองหนกั บาทหน่ึงเปน็ เงิน 9 บาท เรียกวา่ นพคุณเก้าน้ำ คุณสมบัติเด่นเฉพาะของทองบางตะพาน ปรากฏอยู่ในวรรณคดีไทยหลายเรือ่ ง ยกตัวอยา่ งเชน่ นิราศนรินทร์ “บางสะพานสพาดพื้น ทองปาง แก่แฮ รอยชะแลงชระลุราง ร่อนกลุ้ม ระลึกโฉมแม่แบบบาง บัวมาศ กูเอย ควรแผ่แผ่นทองหุ้ม ห่อไว้หวังสงวน” ขุนช้างขุนแผน “เอาไม้สรรพยามาทำฝัก ผสมผงลงรักให้ ผวิ ผอ่ ง กาบหุ้มต้นปลายลายจำลอง ทำดว้ ยทองบาทชาตบิ างตะพาน” 16

กิจกรรมการเรียนรู้ 1.ครูผูส้ อนบรรยายให้ความรู้ 2.ครผู สู้ อนให้ดูคลิปวีดโี อ 3.ผูเ้ รยี นนำเสนอหนา้ ชน้ั เรียน สื่อการเรียนรู้ / แหลง่ เรียนรู้ -ส่งิ พิมพ์ -ตำราเรยี น -คลิปวีดีโอ -แบบฝึกหัด -ศูนย์การเรียนรู้ -หอ้ งสมดุ ประชาชน การวัดและประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารวดั -แบบทดสอบ/ -ผู้เรียนต้องได้คะแนนไม่ต่ำ 1. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง -ให้ผู้เรยี นทำ แบบฝกึ หดั กว่าร้อยละ 70 ของ -แบบสงั เกตพฤติกรรม แบบทดสอบ ปร ะ ว ัติคว ามเป็น ของ ก า ร แบบทดสอบ/ -ผู้เรียนต้องตอบคำถามได้ไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของคำถาม ร่อนทอง แบบฝึกหัด/ใบงาน -การตอบคำถาม / การ ใช้คำถาม 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบาย - ผเู้ รยี นนำเสนอหน้าชน้ั -แบบประเมนิ -ผู้เรียนได้ผลคะแนนไม่ตำ่ กว่า และนำเสนอเกี่ยวกับประวัติ เรียน -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม ร้อยละ 70 ของแบบประเมิน ความเป็นมาและแหล่งการ ร่อนทองของบางสะพานได้ -แบบทดสอบ/ -ผู้เรียนต้องได้คะแนนไม่ต่ำ 3. เพื่ออนุรักษ์ภูมปิ ัญญาทอ้ งถ่ิน -การตอบคำถาม / การ แบบฝึกหัด กว่าร้อยละ 70 ของ การร่อนทองในอำเภอ บ าง ใชค้ ำถาม -แบบสังเกตพฤตกิ รรม แบบทดสอบ สะพาน - ผู้เรียนนำเสนอหน้าช้ัน -แบบประเมิน -ผู้เรียนต้องตอบคำถามได้ไม่ ตำ่ กวา่ รอ้ ยละ 70 ของคำถาม เรยี น -ผู้เรียนได้ผลคะแนนไม่ตำ่ กว่า ร้อยละ 70 ของแบบประเมิน 17

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ งแหลง่ ทต่ี ง้ั เหมอื งทอง ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี..................... เวลา 10 ชว่ั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระสำคัญ ที่ตั้งเหมืองทองแหล่งแรท่ องคําต้ังอยู่ทางทิศเหนือค่อนไปทางตะวันตกเล็กน้อยของบ้านป่าร่อน อําเภอบางสะพาน จงั หวดั ประจวบครี ีขนั ธ์ หา่ งจากบา้ นป่ารอ่ น ประมาณ 250-2,000 เมตร บ้านหว้ ยจงั หนั ซึ่ง เกือบอยู่ กลางแหล่งแรอ่ ยู่เหนอื ระดับน้ำทะเล 50 เมตรคลองใหญ่ เป็นทางนำ้ สายใหญ่ของอาํ เภอและมีหว้ ย จงั หันเปน็ ทางน้ำสาขา มเี ทคนิคการหาเงนิ แบบไม่เหมือนใคร ขาวบา้ นยังเชอ่ื อีกวา่ การหาทองในลักษณะนี้ ยัง ได้ทองคำที่บริสุทธิ์ กว่าการขุดเหมืองหาทองคำเสียอีก ยกตัวอย่างบางครอบครัว ที่มีการสร้างเหมืองขึ้นใน พื้นทหี่ ่างออกไป 10 กิโล ไดแ้ นะนำ สอนวธิ ีการหาทองหรือมเี ทคนคิ ตา่ งๆเพื่อ แนะนำให้แก่ชาวบา้ นที่กำลังจะ เริ่มหัด การรอ่ นทอง และยงั ได้บอกอีกวา่ การรอ่ นทอง ไม่ไดแ้ ตกต่างอะไรกบั การทำเหมืองเลย และในช่วงต้น ปีของเดือนมกราคมปี 60 ของเรานี้ มีโรงแรมบางแห่งเปิดทำการให้แก่นักท่องเที่ยวได้ทำกิจกรรม ร่อนทอง ร่วมกันกับขาวบ้าน เพื่อเป็นการอณุลักษณ์การประกอบอาชีพสมัยโบราณ กิจกรรมการร่อนทองของ อำเภอ บางสะพานจะจดั ข้ึนกันเป็นหมคู่ ณะ และอปุ กรณ์ทใ่ี ชส้ ำหรบั ร่อนทอง ที่ชาวบา้ นเรียกกันว่า “เลยี ง” จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. มคี วามรูค้ วามเข้าใจในเรอื่ งประวตั ิความเปน็ ของการร่อนทอง 2. เพอื่ ให้ผู้เรยี นสามารถอธบิ ายและนำเสนอเกย่ี วกับประวตั คิ วามเปน็ มาและแหล่งการรอ่ นทองของ บางสะพานได้ 3. เพื่ออนรุ กั ษภ์ มู ิปัญญาทอ้ งถ่ินการรอ่ นทองในอำเภอบางสะพาน สาระการเรียนรู้ แหล่งทตี่ ง้ั เหมืองทองในอดตี แหล่งแร่ทองคาํ ภาคตะวนั ตกและภาคใต้ บริเวณภาคตะวนั ตกของประเทศ ภมู ปิ ระเทศส่วนใหญ่ เป็นภูเขาสงู เนื่องจากการดันตวั ของหินแกรนติ เขา้ มาในหินยคุ ต่างๆ อาทิเช่น ยุคคารบ์ อนิเฟอรัส (280-345 ล้านปีมาแล้ว) เดโวเนียน (345-355 ล้านปีมาแล้ว) ไซลเรียน (345-435 ล้านปีมาแล้ว) การดันตัวของ หินแกรนิตเป็นผลทําให้ เกิดแหล่งแร่ดีบุกและวุลแฟรมตลอดแนวเขาทางภาคตะวันตก ในลานแร่ดีบุกและ วุลแฟรมมกั จะพบทองคาํ สะสมตัวอยู่ด้วย ซ่ึงเข้าใจวา่ แร่ทองคํานม้ี าจากสายแร่ควอรตซ์ ทเ่ี ป็นผลมาจากการ ดันตัวของหินแกรนิต เมื่อมีการผุพงั ทลายตวั แร่ทองคําก็จะถูกพัดพามาสะสมตัวอยูบ่ รเิ วณลานแร่ในที่ราบ เชงิ เขา แหลง่ แร่ทองคําปา่ ร่อน อาํ เภอบางสะพาน จงั หวัดประจวบครี ขี นั ธ์ (ยอรจ์ ซี เทเลอร์ จเู นียร์ และชุม 18

เจษฎี จรลั ชวนะเพท, 2446) แหลง่ แรท่ องคาํ ว่าร่อน เปน็ แหลง่ ลานแร่ทสี่ ําคัญ และมีชอื่ เสียงเป็นที่รู้จักกันมา นาน และ ดเู หมือนจะเปน็ แหล่งลานแร่ที่มีแร่ทองคาํ อดุ มสมบรู ณม์ ากท่สี ุดแหลง่ หนง่ึ ทต่ี ง้ั ของแหลง่ แรอ่ ย่ทู าง ทิศเหนือค่อนไปทางตะวันตกเล็กน้อยของบ้านป่าร่อน อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ห่างจาก บา้ นป่าร่อน ประมาณ 250-2,000 เมตร บา้ นหว้ ยจงั หัน ซึ่งเกอื บอยู่ กลางแหล่งแร่อย่เู หนอื ระดบั น้ำทะเล 50 เมตรคลองใหญ่ เปน็ ทางนำ้ สายใหญข่ องอาํ เภอและมีห้วยจังหันเป็นทางน้ำสาขา ซง่ึ จะกลาย เป็นห้วยแห้งใน ฤดูแล้งชื่อสถานที่และตําแหน่งของสถานที่ต่างๆ ในรายงานนี้ เช่น คลองใหญ่ ห้วยจังหัน เนิน เนินพอ เนิน ซา้ ย เป็นไกเ่ ขีย่ ไมป่ รากฏพบดงั ท่กี ล่าวไว้ในแผนท่มี าตราส่วน 150,000 ของกรมแผนท่ีทหาร พ.ศ.2515 แหลง่ ทีต่ ั้งเหมืองทองในปัจจุบัน ตำบลร่อนทอง เป็นพื้นที่ส่วนหนึ่งของอำเภอบางสะพาน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีแร่ทองคำเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะที่บ้านป่าร่อน ได้มีราษฎรจากแหล่งต่าง ๆ รวมทั้งชาวต่างชาติได้อพยพเข้ามาในพื้นที่ขุดหาแร่ ทองคำ มีการจัดตั้งบ้านเรือนกันเป็นกลุ่ม ๆ เช่น ที่กลุ่มตลาดห้วยจังหัน กลุ่มท่าตลาด ฯลฯ สภาพพื้นท่ี โดยท่วั ไปเป็นทีห่ บุ เขาสลบั กบั พ้ืนท่ีราบ โดยมหี ุบเขาทางทิศตะวนั ตกแลเป็นพน้ื ท่ีราบลงมาทางทิศตะวนั ออก มี ป่าไมแ้ ละทรพั ยากรธรรมชาติคอ่ นข้างสมบูรณ์ ดินมีความอดุ มสมบูรณ์ อากาศช่มุ ชื้น มีลำคลองสายสั้น ๆ ไหล ลงส่พู ้นื ที่ราบ เขตพน้ื ที่ทิศเหนอื ตดิ กับ ต.ชยั เกษม อ.บางสะพาน จ.ประจวบครี ีขนั ธ์ ทศิ ใต้ติดกบั ต. ทองมงคล อ.บางสะพานนอ้ ย จ.ประจวบคีรีขนั ธ์ ทิศตะวันออก ตดิ กับ ต.กำเนดิ นพคณุ อ.บางสะพาน จ. ประจวบคีรีขันธ์ ทศิ ตะวนั ตก ติดกับ สาธารณรัฐสังคมนิยมแหง่ สหภาพเมียนม่าร์ ซง่ึ ในปัจจุบันการประกอบ อาชพี การทำเหมืองแรไ่ ดป้ ิดกิจการแล้ว แตค่ นในชุมชมได้ทำการอนุรกั ษแ์ ละฟ้ืนฟูการร่อนทองด้วยภูมิปัญญา ทอ้ งถิ่นโดยไมใ่ ช้เครอ่ื งจักรในการหาทอง และไดเ้ ปิดเป็นศนู ย์ศกึ ษาการเรยี นรกู้ ารรอ่ นทอง กจิ กรรมการเรียนรู้ 1.ครผู สู้ อนบรรยายให้ความรู้ 2.ผเู้ รยี นไปศกึ ษาทีแ่ หล่งการเรยี นรู้ เชน่ หอ้ งสมุดประชาชน 3.ผเู้ รยี นไปศกึ ษาจากปราชญช์ าวบา้ นท่ีห้วยจงั หนั ส่อื การเรียนรู้ / แหลง่ เรียนรู้ -สิง่ พมิ พ์ -คลิปวีดโี อ -ศนู ย์การเรียนรู้ -ห้องสมุดประชาชน -ปราชญ์ชาวบา้ น 19

การวดั และประเมนิ ผล จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ วธิ ีการ เคร่ืองมอื เกณฑ์การวัด -แบบทดสอบ/ -ผเู้ รยี นตอ้ งได้คะแนนไม่ 1. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง -ให้ผู้เรียนทำ แบบฝกึ หัด ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบทดสอบ ปร ะ ว ัติคว ามเป็น ของ ก า ร แบบทดสอบ/ -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ร่อนทอง แบบฝกึ หดั /ใบงาน ของคำถาม -ผู้เรียนได้ผลคะแนนไม่ -การตอบคำถาม / การ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ แบบประเมิน ใชค้ ำถาม -ผเู้ รียนต้องได้คะแนนไม่ 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถอธิบาย - ผู้เรียนนำเสนอหนา้ ชัน้ -แบบประเมนิ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ แบบทดสอบ และนำเสนอเกี่ยวกับประวัติ เรียน -แบบสงั เกตพฤติกรรม -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ความเป็นมาและแหล่งการ ของคำถาม -ผู้เรียนได้ผลคะแนนไม่ รอ่ นทองของบางสะพานได้ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ แบบประเมิน 3. เพื่ออนุรกั ษ์ภูมปิ ัญญาทอ้ งถิน่ -การตอบคำถาม / การ -แบบทดสอบ/ การร่อนทองในอำเภอ บ าง ใช้คำถาม แบบฝึกหัด สะพาน - ผู้เรียนนำเสนอหนา้ ช้นั -แบบสังเกตพฤติกรรม เรยี น -แบบประเมิน 20

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอื่ ง ประวตั กิ ารรอ่ นทอง ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท.ี่ .................. เวลา 10 ชว่ั โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระสำคญั การทําแรท่ องคําตัง้ แต่คร้งั บรรพบุรุษนน้ั ใช้แบบเหมืองขุด เหมอื งหาบขนาดเล็ก ๆ และใช้วิธี ควกั ร่อนงา่ ย ๆ แบบชาวบ้าน การแยกแร่ แรก ๆ ใชก้ ารสาดดนิ ปนแร่ลงบนกระสอบแลว้ ค่อย ๆ เก็บทองท่ีติด บนกระสอบนัน้ อีกวธิ หี นึ่งกค็ อื การแยกแรด่ ้วยเลียงไม้ หรอื ทีเ่ รียกวา่ การร่อนทอง ทองบางสะพานหรือเรยี กอีก อย่างวา่ ทองเนอ้ื เก้าเป็นทองคำบริสุทธิ์ เป็น “ทองธรรมชาติ” หรอื บางท่ีเรียกวา่ “ทองชมพูนชุ ” เปน็ ทองท่ีมี สีเหลืองเข้มออกแดง นอกจากนี้ยังมชี ่ือเรียกแตกต่างกันอีกหลายชื่อ เช่น “ทองเนื้อแท้” “ทองคำเลียง” ซึ่ง หมายถงึ ทองบรสิ ุทธป์ิ ราศจากธาตอุ น่ื เจอื ปน จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องประวตั ิความเป็นของการร่อนทอง 2. เพอื่ ใหผ้ ู้เรียนสามารถอธิบายและนำเสนอเกย่ี วกับประวตั คิ วามเป็นมาและแหลง่ การรอ่ นทองของบาง สะพานได้ 3. เพื่ออนุรักษภ์ ูมปิ ญั ญาท้องถน่ิ การร่อนทองในอำเภอบางสะพาน สาระการเรียนรู้ 1.ประวตั ิการรอ่ นทอง แร่ทองคําไดส้ ะสมกนั เปน็ ลานแร่ อยู่ในเขตหม่บู า้ นป่าร่อนบรเิ วณห้วยจังหัน และสองฝ่ังคลอง ทอง น่าจะมีการขุดร่อนกันมาไม่ต่ำกว่า 200 ปีมา แล้วหรือกว่านั้นมาก ดังหลักฐานต่าง ๆ ที่ยกมาอ้างแล้ว หลมุ แรเ่ กา่ แก่เปน็ เคร่อื งยนื ยนั ให้เห็นเปน็ จำนวนมากตลอดสองฟากฝง่ั คลอง การทาํ แรท่ องคําต้งั แต่ครั้งบรรพ บุรุษนั้นใช้แบบเหมืองขดุ เหมืองหาบขนาดเล็ก ๆ และใช้วิธีควักรอ่ นง่าย ๆ แบบชาวบ้าน การแยกแร่ แรก ๆ ใช้การสาดดินปนแร่ลงบนกระสอบแล้วค่อย ๆ เก็บทองที่ติดบนกระสอบ นั้น อีกวิธีหนึ่งก็คือการแยกแร่ด้วย เลียงไม้ หรือทีเ่ รียกว่าการรอ่ นทองน่ันเอง 2.วิวัฒนาการของการร่อนทอง อดีตการร่อนทองเป็นแบบเหมืองขุด เหมืองหาบขนาดเล็ก ๆ และใช้วิธีควักร่อนง่าย ๆ แบบ ชาวบ้าน การแยกแร่ แรก ๆ ใช้การสาดดนิ ปนแร่ลงบนกระสอบแล้วค่อย ๆ เก็บทองท่ตี ดิ บนกระสอบ นั้น อีก วธิ ีหน่งึ กค็ อื การแยกแร่ด้วยเลยี งไม้ หรือทเี่ รียกว่าการรอ่ นทอง การร่อนด้วยเสียงนัน้ จะเริ่ม ต้นจากการนําเอา 21

ดินปนแร่มาขยำบี้กบั น้ำใหเ้ ปน็ โคลนในเล่ียงเสียก่อนแลว้ ค่อย ๆ เอยี งเล้ียงหมุนให้นำ้ จาก ลาํ คลองพัดโคลนใน เลี้ยงหมนุ วน ดิน โคลน ทราย และอืน่ ๆ ทีเ่ บากว่าทองจะถกู นำ้ พดั ลอยออกไป ส่วน ทองและแรอ่ ืน่ ๆ ท่ีหนัก กว่าจะรวมตวั กันอยู่กันเสยี ง แร่อื่น ๆ จะมีสีดํา แร่ทองจะมีสีเหลืองแวววาว จะมอง เห็นได้อยา่ งชัดเจน การ แยกแร่ด้วยวธิ ีดงั กล่าวข้างต้นนี้ เช่อื ว่าการหายหกตกหลน่ ย่อมจะมมี าก ทองค่าทกี่ ู้ ไดส้ ่วนใหญ่จะเป็นเม็ดเป็น แท่งโต ที่เป็นเกล็ดเล็ก ๆ หรือเป็นผงละเอียดคล้ายแป้งจะถูกเทคืนไปปะปนกับ โคลน ดิน ทราย กลายเป็น ทรัพยใ์ นดนิ สนิ้ ในน้ำใหล้ กู หลานนกั นยิ มทองขุดค้นกันต่อไปดินในบ่อแร่ทองคาํ ก็มีช่ือเรียกแต่ละช้ันแตกต่างกัน ไป ดนิ ชนั้ บนเรียกว่า\"ดินเมือง” จากดนิ เมอื งต่อลงไป เปน็ “ดินกรงั ” ดินชัน้ นอ้ี าจแบ่งเรียกเป็น “ดินหลังสะ” และ “ดินกระสะ” ลงไปอีกเรยี กวา่ “ดนิ ใช้” ดนิ ใช้ คือดินท่มี แี รท่ องคาํ ปนอยู่ ตำ่ ลงไปเปน็ ดนิ แข็งเรียกวา่ “ดิน โกด” คอื ดานหรอื หนิ ดานนนั่ เอง การรอ่ นแร่ก็ คือการนา่ ดนิ ใชม้ าแยกหาเน้อื แร่ทองคาํ การขดุ แรต่ ้องขุดให้ถึง ช้นั ดาน ดานลกึ ดื่นอยา่ งไร ความลกึ ตื้น ของบ่อก็เปน็ เช่นนนั้ ด้วย กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1.ครูผู้สอนบรรยายให้ความรู้ 2.ครูผ้สู อนใหด้ ูคลิปวดี โี อ 3.ใหผ้ ู้เรยี นทำรายงานประวัตกิ ารร่อนทองและวิวฒั นาการของการรอ่ นทองในอดตี จนถึงปัจจุบัน 4.ผู้เรียนไปศกึ ษาจากปราชญช์ าวบา้ นท่ีหว้ ยจังหนั 5.ผู้เรียนนำเสนอหนา้ ชั้นเรยี น ส่ือการเรยี นรู้ / แหล่งเรียนรู้ -สง่ิ พมิ พ์ -คลปิ วีดโี อ -ศูนย์การเรียนรู้ -ห้องสมดุ ประชาชน -ปราชญช์ าวบา้ น 22

การวัดและประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ กี าร เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารวดั -ผเู้ รียนตอ้ งได้คะแนนไม่ 1. มีความรู้ความเข้าใจใน 1.ครูผู้สอนบรรยายให้ -แบบทดสอบ/ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ แบบทดสอบ เรอ่ื งประวัติความเปน็ ของการ ความรู้ แบบฝึกหัด -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ร่อนทอง 2.ครผู สู้ อนใหด้ ูคลิปวดี ีโอ -แบบสงั เกตพฤติกรรม ของคำถาม 3.ให้ผู้เรียนทำรายงาน -ผูเ้ รียนตอ้ งได้คะแนนไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ ประวัติการร่อนทองและ แบบทดสอบ -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม วิวัฒนาการของการ ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของคำถาม ร ่ อ น ท อ ง ใ น อ ด ี ต จ น ถึ ง -ผู้เรียนตอ้ งไดค้ ะแนนไม่ ปจั จุบนั ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ แบบทดสอบ 4.ผ ู ้ เ ร ี ย น ไ ป ศ ึ ก ษ า จ า ก ปราชญ์ชาวบ้านที่ห้วย จงั หัน 5.ผู้เรียนนำเสนอหน้าช้ัน เรียน 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1.ครูผู้สอนบรรยายให้ -แบบทดสอบ/ อธิบายและนำเสนอเกี่ยวกับ ความรู้ แบบฝกึ หัด ประวัติความเป็นมาและ 2.ผู้เรียนไปศึกษาที่แหล่ง -แบบสงั เกตพฤติกรรม แหล่งการร่อนทองของบาง การเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด สะพานได้ ประชาชน 3.ให้ผู้เรียนค้นคว้าและทำ รายงานคณุ สมบัติของทอง จากหอ้ งสมดุ ประชาชน 4.ให้ผู้เรียนค้นคว้าและทำ ร า ย ง า น แ ร ่ ธ า ตุ ส่วนประกอบจากการ ร ่ อ น ท อ ง ห ้ อ ง ส มุ ด ประชาชน 5.ผู้เรียนนำเสนอหน้าชั้น เรียน 3. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญา -การตอบคำถาม / การใช้ -แบบทดสอบ/ ท้องถน่ิ การรอ่ นทองในอำเภอ คำถาม แบบฝึกหดั บางสะพาน - ผเู้ รียนนำเสนอหน้าชัน้ -แบบสังเกตพฤตกิ รรม เรยี น -แบบประเมนิ 23

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ กี าร เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารวดั -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของคำถาม -ผู้เรียนได้ผลคะแนนไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ แบบประเมิน 24

หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ ง คณุ สมบัตเิ ละแรธ่ าตสุ ว่ นประกอบจากการรอ่ นทอง ระดบั ประถมศกึ ษา ภาคเรยี นท่ี................... เวลา 10 ชวั่ โมง ---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------- สาระสำคญั ทองคำ (อังกฤษ: gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษา ละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุม่ ธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซชิ ันสีเหลืองทองมนั วาว เนอื้ ออ่ นนุ่ม สามารถยืดและตเี ป็นแผ่นได้ จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 1. มีความรู้ความเข้าใจในเรือ่ งประวตั คิ วามเป็นของการรอ่ นทอง 2. เพ่ือใหผ้ ้เู รยี นสามารถอธิบายและนำเสนอเกี่ยวกบั ประวัตคิ วามเป็นมาและแหลง่ การร่อนทองของบาง สะพานได้ 3. เพือ่ อนรุ ักษภ์ มู ิปัญญาทอ้ งถ่ินการร่อนทองในอำเภอบางสะพาน สาระการเรียนรู้ ทองคำ (อังกฤษ: gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษา ละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนิดหนึง่ ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมนั วาว เนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกริ ยิ ากับสารเคมสี ่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรอง ทางการเงินของหลายประเทศ ใชป้ ระโยชนเ์ ปน็ เคร่อื งประดับ งานทนั ตกรรม และอปุ กรณอ์ ิเล็กทรอนิกส์ มคี วามแวววาวอยู่เสมอ ทองคำไม่ทำปฏิกิริยากับออกซิเจนดงั นนั้ เมือ่ สมั ผัสถกู อากาศสีของทองจะไม่ หมองและไม่เกิดสนิม มีความอ่อนตัว ทองคำเป็นโลหะที่มีความอ่อนตัวมากที่สุด ด้วยทองเพียงประมาณ 2 บาท เราสามารถยืดออกเปน็ เสน้ ลวดได้ยาวถึง 8 กิโลเมตร หรืออาจตีเป็นแผน่ บางได้ถงึ 100 ตารางฟตุ ทองคำ เปน็ โลหะชนิดหนึ่งทีส่ ามารถนำไฟฟา้ ไดด้ ี สะท้อนความรอ้ นไดด้ ี ทองคำสามารถสะทอ้ นความร้อนได้ดี ไดม้ ีการ นำทองคำไปฉาบไวท้ ีห่ นา้ กากหมวกของนักบนิ อวกาศ เพ่ือปอ้ งกนั รงั สอี ินฟราเรด มนุษย์รู้จักทองคำมาตั้งแต่ประมาณ 5,000 ปี เป็นความหมายแห่งความมั่งคั่ง จุดหลอมเหลว 1064 องศา เซลเซยี ส และจุดเดอื ด 2970 องศาเซลเซียส เป็นโลหะทีม่ คี า่ ทมี่ คี วามเหนยี ว (Ductility) และความสามารถใน การขึ้นรูป (Malleability) คือจะยืดขยาย (Extend) เมื่อถูกตีหรือรีดในทุกทิศทาง โดยไม่เกิดการปริแตกได้ สูงสดุ ทองคำบริสทุ ธิ์หนกั 1 ออนซ์สามารถดงึ เปน็ เส้นลวดยาวได้ถึง 80 กิโลเมตร ถ้าตีเปน็ แผ่นกจ็ ะได้บางเกิน กว่า 1/300,000 นิ้ว ส่วนความกวา้ งจะได้ถงึ 9 ตารางเมตร ทองคำบรสิ ทุ ธ์ไิ ม่ว่องไวตอ่ การเกดิ ปฏิกิรยิ าเคมี จึง ทนต่อการผุกร่อนและไม่เกิดสนิมกับอากาศ แต่ทำปฏิกิริยากับสารเคมีบางชนิด เช่น คลอรีน ฟลูออรีน น้ำ ประสานทอง 25

คุณสมบัติเหล่านี้ประกอบกับลักษณะภายนอกที่เป็นประกายจึงทำให้ทองคำเป็นที่หมายปองของ มนษุ ยม์ าเป็นเวลานบั พนั ปี โดยนำมาตีมลู คา่ สำหรับการแลกเปลี่ยนระหว่างประเทศและใช้เปน็ วัตถุดิบท่ีสำคัญ สำหรบั วงการเครอ่ื งประดบั ทองคำได้รับความนิยมอยา่ งสงู สุดในวงการเครื่องประดับทองคำ เพราะเปน็ โลหะมี ค่าชนิดเดียวทีม่ ีคุณสมบตั ิพน้ื ฐาน 4 ประการซึ่งทำใหท้ องคำโดดเด่น และเป็นทีต่ อ้ งการเหนือบรรดาโลหะมีค่า ทุกชนิดในโลก คอื 1.งดงามมันวาว (lustre) สีสันที่สวยงามตามธรรมชาติผสานกับความมันวาวก่อให้เกิดความงามอัน เป็นอมตะ ทองคำสามารถเปลี่ยนเฉดสีทองโดยการนำทองคำไปผสมกับโลหะมีค่าอื่นๆ ช่วยเพิ่มความงดงาม ใหแ้ ก่ทองคำได้อีกทางหน่งึ 2.คงทน (durable) ทองคำไม่ขึ้นสนิม ไม่หมอง และไม่ผุกร่อน แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไป 3000 ปีก็ ตาม 3.หายาก (rarity) ทองเป็นแร่ทห่ี ายาก กวา่ จะไดท้ องคำมาหนึ่งออนซ์ (31.167 gram) ตอ้ งถลุงก้อนแร่ ทมี่ ีทองคำอยู่เปน็ จำนวนหลายตัน และตอ้ งขุดเหมอื งลึกลงไปหลายสิบเมตร จงึ ทำให้มีค่าใช้จ่ายท่ีสูง เป็นเหตุ ให้ทองคำมรี าคาแพงตามตน้ ทุนในการผลติ 4.นำกลบั ไปใช้ได้ (reuseable) ทองคำเหมาะสมที่สุดต่อการนำมาทำเป็นเครือ่ งประดบั เพราะมีความ เหนียวและอ่อนนิ่มสามารถนำมาทำขึ้นรูปได้ง่าย อีกทั้งยังสามารถนำกลับมาใช้ใหม่โดยการทำให้บริสุทธ์ิ (purified) ดว้ ยการหลอมไดอ้ ีกโดยนบั ครงั้ ไมถ่ ว้ น ทองบางสะพานหรอื เรียกอีกอย่างว่า ทองเนอื้ เกา้ เปน็ ทองคำบริสทุ ธ์ิ เปน็ “ทองธรรมชาติ” หรือบาง ที่เรียกว่า “ทองชมพูนุช” เป็นทองที่มีสีเหลืองเข้มออกแดง นอกจากนี้ยังมีชื่อเรียกแตกต่างกันอีกหลายช่ือ เช่น “ทองเน้ือแท”้ “ทองคำเลียง” ซ่ึงหมายถงึ ทองบรสิ ุทธิ์ปราศจากธาตุอนื่ เจือปน ซ่ึงตรงกบั คำในภาษา ลา้ นนาว่า “คำขา” นอกจากนยี้ ังมชี อื่ เรียกทองคุณภาพต่าง ๆ อีกหลายชื่อ เช่น “ทองปะทาสี” ซึ่งเป็น ทองคำเปลวเนอ้ื บริสทุ ธ์ิชนดิ หนา “ทองดอกบวบ” เปน็ ทองทม่ี ีเน้ือทองสีเหลืองอ่อนคลา้ ยดอกบวบ การร่อนทองเปน็ การการนำเอาแรธ่ าตุทีม่ ีค่า โดยใช้วธิ ีการตา่ ง ๆ เชน่ การขดุ การเจาะ การ่อนโดยใช้ เลียงในการรอ่ นแลว้ นำเอาแร่ธาตุที่ต้องการสกัดออกมาจากดินหรือหนิ อีกที มีทั้งทีเ่ ป็นแร่โลหะและแร่อโลหะ แร่โลหะ แรท่ องแดง แรท่ องคำ แรต่ ะก่วั แรเ่ งิน แรไ่ ททาเนียม แรส่ ังกะสี ส่วนแรอ่ โลหะ พลอย เพชร ถ่านหิน หยก รวมไปถงึ วสั ดอุ ื่น ๆ ท่ไี ม่จัดอยใู่ นแร่ธาตุ ได้แก่ ดนิ หิน ทราย ก๊าซธรรมชาติ นำ้ มันเชอ้ื เพลงิ เปน็ ต้น การ ทำเหมืองแร่กอ่ ใหเ้ กิดประโยชนอ์ ย่างมหาศาลต่อประเทศชาติ เพราะสามารถลดต้นทุนการนำเข้าแร่ธาตุจาก ต่างประเทศ รวมถงึ สามารถส่งออกไปจำหนา่ ยเพ่มิ รายไดเ้ ขา้ ประเทศได้อีกด้วย กจิ กรรมการเรยี นรู้ 1.ครผู ูส้ อนบรรยายให้ความรู้ 2.ผูเ้ รยี นไปศึกษาท่แี หล่งการเรียนรู้ เช่น หอ้ งสมดุ ประชาชน 3.ให้ผูเ้ รยี นค้นควา้ และทำรายงานคุณสมบตั ิของทองจากห้องสมุดประชาชน 4.ใหผ้ ู้เรียนค้นควา้ และทำรายงานแร่ธาตสุ ว่ นประกอบจากการร่อนทองห้องสมุดประชาชน 26

5.ผูเ้ รยี นนำเสนอหนา้ ช้นั เรยี น สอ่ื การเรยี นรู้ / แหลง่ เรยี นรู้ -สง่ิ พมิ พ์ -ตำราเรียน -คลปิ วีดีโอ -ห้องสมดุ ประชาชน การวดั และประเมนิ ผล จดุ ประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ กี าร เครอื่ งมอื เกณฑก์ ารวดั -ผเู้ รียนตอ้ งได้คะแนนไม่ 1. มีความรู้ความเข้าใจใน 1.ครูผู้สอนบรรยายให้ -แบบทดสอบ/ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ แบบทดสอบ เรอ่ื งประวัตคิ วามเปน็ ของการ ความรู้ แบบฝึกหดั -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 รอ่ นทอง 2.ครูผสู้ อนให้ดคู ลิปวีดโี อ -แบบสงั เกตพฤติกรรม ของคำถาม 3.ให้ผู้เรียนทำรายงาน -ผู้เรียนต้องไดค้ ะแนนไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ ประวัติการร่อนทองและ แบบทดสอบ -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม ววิ ฒั นาการของการร่อนทอง ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของคำถาม ในอดตี จนถึงปจั จุบัน 4.ผู้เร ียน ไ ปศ ึก ษ า จ า ก ปราชญช์ าวบ้านท่ีหว้ ยจังหัน 5.ผู้เรียนนำเสนอหน้าชั้น เรียน 2. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถ 1.ครูผู้สอนบรรยายให้ -แบบทดสอบ/ อธิบายและนำเสนอเกี่ยวกับ ความรู้ แบบฝึกหัด ประวัติความเป็นมาและ 2.ผู้เรียนไปศึกษาที่แหล่ง -แบบสังเกตพฤติกรรม แหล่งการร่อนทองของบาง การเรียนรู้ เช่น ห้องสมุด สะพานได้ ประชาชน 3.ให้ผู้เรียนค้นคว้าและทำ รายงานคุณสมบัติของทอง จากหอ้ งสมดุ ประชาชน 4.ให้ผู้เรียนค้นคว้าและทำ รายงานแร่ธาตสุ ่วนประกอบ จากการร่อนทองห้องสมุด ประชาชน 27

จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ วธิ กี าร เครอ่ื งมอื เกณฑก์ ารวดั 5.ผู้เรียนนำเสนอหน้าชั้น -ผู้เรียนต้องได้คะแนนไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ เรียน แบบทดสอบ -ผู้เรียนต้องตอบคำถาม 3. เพื่ออนุรักษ์ภูมิปัญญา -การตอบคำถาม / การใช้ -แบบทดสอบ/ ได้ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของคำถาม ท้องถิ่นการร่อนทองในอำเภอ คำถาม แบบฝกึ หัด -ผู้เรียนได้ผลคะแนนไม่ ต่ำกว่าร้อยละ 70 ของ บางสะพาน - ผูเ้ รียนนำเสนอหน้าช้นั -แบบสงั เกตพฤตกิ รรม แบบประเมิน เรยี น -แบบประเมนิ 28

บรรณานกุ รม http://www.resortinthai.com/goldstory.htm http://www.ilikebeach.com/ทองบางสะพานทองเนอ้ื เก้า.html http://www.dmr.go.th/download/document/minerals/bookgold/k71_73.pdf http://www.thaitambon.com/tambon/770403 http://www.ilikebeach.com/ประวตั ิบางสะพานโดยละเอยี ด.html https://th.wikipedia.org/wiki/ทองคำ https://www.goldtraders.or.th/PageView.aspx?page=5&fbclid=IwAR0jzdgVpgV3jeybaIqqzskBa4g FTAgC8CPzJ8-UMvWAN96gcKxJzixcJeU http://www.minervity.com/ความรเู้ ก่ียวกับประเภท 29

ภาคผนวก ก -ใบความรู้ -ใบงานประจำหนว่ ย 30

ใบความรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ 1่ี เรอื่ งตำนานทองเนอ้ื เกา้ 1.ตำนานทองเนอ้ื เกา้ คำขวัญจงั หวดั ประจวบครี ขี ันธ์ “เมอื งทองเน้ือเกา้ มะพร้าวสับปะรด สวยสด หาด เขา ถ้ำ งาม ลำ้ นำ้ ใจ” อำเภอบางสะพาน เปน็ อำเภอหน่งึ ของจงั หวดั ประจวบครี ีขันธ์ เปน็ ทมี่ าของทองบางสะพาน ที่เล่ือง ชื่อ มีการร่อนที่ตำบลร่อนทอง บางสะพานเป็นอำเภอที่มีเศรษฐกิจที่ดีในระดับหนึ่งของประจวบคีรีขันธ์ เน่อื งจากมปี ระชากรมาก และมีแหล่งท่องเทยี่ วท่ีสวยงาม ไม่วา่ จะเปน็ ชายทะเลบ้านกรูดหรือเกาะทะลุ ทำให้ อำเภอบางสะพานเปน็ ทร่ี ้จู กั มากขนึ้ ในอดตี บางสะพานเป็นเมอื งทีม่ ีการขดุ และร่อนทองเปน็ คร้งั แรก สมยั พระ เจ้าอยู่หัวบรมโกศ ในปี พ.ศ. 2289 เจ้าเมืองกุยได้ส่งทองร่อนหนัก 3 ตำลึง นำถวายพระเจ้าอยู่หัวบรมโกศ พระองค์จึงเกณฑ์ไพร่จำนวน 2,000 คน ไปร่อนทองที่บางสะพานเป็นเวลาปีเศษ ได้ทองคำหนัก 90 ชั่งเศษ เปน็ น้ำหนัก 54 กิโลกรมั หรือ 3,600 บาท และได้นำทองท้งั หมดไป หุ้มยอดมณฑป รอยพระพทุ ธบาทสระบุรี แตย่ อดมณฑปน้ถี ูกโจรจีนเผาหลอมทองเอาไปทง้ั หมด เมื่อคร้ังเสียกรุงศรีอยุธยาครั้งท่ี 2 (พ.ศ.2310) ทมี่ าของ “ทอง” บางสะพาน แหล่งแรท่ องคำท่ีมชี ื่อเสยี ง และรจู้ กั กันดใี นประเทศไทย มดี ว้ ยกัน ๓ แหล่ง ไดแ้ ก่ อำเภอ กบินทร์บุรี จังหวัดปราจีนบุรี อำเภอสุคิรนิ จังหวัดนราธิวาส และอำเภอบางสะพาน จังหวัด ประจวบคีรีขนั ธ์ อำเภอบางสะพาน เดิมชือ่ เมอื งกำเนดิ นพคุณ ตัวเมอื งตง้ั อยทู่ ่ีท่ามะนาว ฝ่งั ขวาของลำน้ำแม่รำพึง ต่อมาต้ังท่ี ท่ากะหลอ ปัจจุบันเรียกว่า บ้านหลักเมือง อยู่ริมฝั่งขวาลำน้ำบางสะพาน ซึ่งยังมีหลักฐานเสาหินหลักเมือง ปรากฏอยู่ ตอ่ มาใน พ.ศ. 2437 มีการจดั การปกครองท้องท่เี ป็นระบบมณฑลเทศาภบิ าล เมอื งกำเนิดนพคณุ ถูก ยบุ เป็นอำเภอเมืองนพคุณ ขน้ึ ตอ่ เมอื งชุมพร เมื่อถงึ พ.ศ.2449 ต้งั เมอื งประจวบคีรขี นั ธ์และยกอำเภอเมืองนพ คุณขึ้นต่อเมืองประจวบคีรีขันธ์ และย้ายมาตั้งริมทางรถไฟ ในปี พ.ศ. 2459 และ เปลี่ยนชื่อเป็นอำเภอบาง สะพานใน พ.ศ. 2560 เป็นต้นมา ปัจจุบันอำเภอบางสะพาน มี 7 ตำบล ได้แก่ ตำบลกำเนิดนพคุณ ตำบล ร่อนทอง ตำบลพงศ์ประศาสน์ ตำบลทองมงคล ตำบลชยั เกษม ตำบลแม่รำพึง และตำบลธงชัย (หรือบ้านกรูด นน่ั เอง) ทองท่มี ชี ื่อเสียงนัน้ อยู่ในเขตหมู่บา้ นป่าร่อน ตำบลร่อนทอง และบริเวณท่ีมกี ารขุดทองมากท่ีสุดอยู่ที่ บรเิ วณห้วยจงั หนั ซ่งึ อยหู่ า่ งจากหมู่บา้ นประมาณ 750–2,000 เมตร ปจั จุบนั ปริมาณทองลดน้อยลงมาก แต่ก็ ยังมีชาวบ้านมาร่อนทอง เพื่อเป็นอาชีพรองอยู่เสมอ ทองบางสะพาน “ทองบางสะพาน” หรือ “ทองบาง ตะพาน” มชี ่อื เสยี งและรู้จกั กนั ดีจนมผี ู้กล่าวกันว่า “เปน็ ทองคำเนื้อดีท่ีสดุ ของเมืองไทยและในโลก” ทองที่พบ เป็นทองธรรมชาติ เห็นเป็น Nuggest (ทองที่ขุดได้โดยไม่ต้องถลุง) อย่างชัดเจน เหลืองอร่าม สุกปลั่งและ เนอ้ื ออ่ น ทองร้อยเปอรเ์ ซน็ ต์ เป็นทองเนือ้ เก้า เรยี กวา่ “นพคุณเนือ้ เก้า” เชื่อกนั ว่าป้องกนั ภยันตรายและภูตผี ปีศาจได้ดี ทองบางสะพาน หรือทองบางตะพาน หรือทองนพคุณนี้ในหนังสือประชุมประกาศรัชกาลที่ 4 อธบิ ายไวว้ ่า ทองคำทซ่ี ือ้ ขายกนั นั้น เรยี กตามเนอ้ื และตามราคา เช่น ทองหนักบาทหนึง่ เป็นเงนิ 4 บาท เรยี กวา่ 31

เนื้อสี่ ทองหนักบาทหนึง่ เป็น เงิน 5 บาท เรียกว่า เนื้อห้า ทองหนักบาทหนึ่งเป็นเงิน 6 บาท เรียกว่า เนื้อหก ทองหนักบาทหนึ่งเป็นเงิน 6 บาทเรียกว่า เนื้อเจ็ด ทองหนักบาทหนึ่งเป็นเงิน 8 บาทเรียกว่า เนื้อแปด ทอง หนักบาทหนึ่งเป็นเงนิ 8 บาท 2 สลึง เรียกว่า ทองเนือ้ แปดสองขา ทองหนักบาทหนึ่งเปน็ เงิน 9 บาท เรียกวา่ นพคุณเก้าน้ำ คุณสมบัติเด่นเฉพาะของทองบางตะพาน ปรากฏอยู่ในวรรณคดไี ทยหลายเรือ่ ง ยกตัวอยา่ งเช่น นิราศนรินทร์ “บางสะพานสพาดพื้น ทองปาง แก่แฮ รอยชะแลงชระลุราง ร่อนกลุ้ม ระลึกโฉมแม่แบบบาง บัวมาศ กูเอย ควรแผ่แผ่นทองหุ้ม ห่อไว้หวังสงวน” ขุนช้างขุนแผน “เอาไม้สรรพยามาทำฝัก ผสมผงลงรักให้ ผวิ ผอ่ ง กาบห้มุ ตน้ ปลายลายจำลอง ทำดว้ ยทองบาทชาติบางตะพาน” https://www.youtube.com/watch?v=K9AiUhfsYKc 32

ใบงาน หนว่ ยการเรยี นรทู้ 1ี่ เรอ่ื งตำนานทองเนอ้ื เกา้ 1.ให้ผู้เรยี นสรปุ ความคิดรอบยอดในเรอ่ื ง “ตำนานทองเนอื้ เกา้ ” มาพอสงั เขป .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 33

ใบความรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอื่ งแหลง่ ทต่ี งั้ เหมอื งทอง แหล่งทต่ี งั้ เหมืองทองในอดตี แหลง่ แรท่ องคําภาคตะวนั ตกและภาคใต้ บริเวณภาคตะวันตกของประเทศ ภมู ปิ ระเทศส่วนใหญ่ เปน็ ภเู ขาสูง เนือ่ งจากการดนั ตวั ของหนิ แกรนิตเข้ามาในหนิ ยคุ ตา่ งๆ อาทเิ ช่น ยุคคารบ์ อนเิ ฟอรัส (280-345 ล้านปีมาแล้ว) เดโวเนียน (345-355 ล้านปีมาแล้ว) ไซลเรียน (345-435 ล้านปีมาแล้ว) การดันตัวของ หินแกรนิตเป็นผลทําให้ เกิดแหล่งแร่ดีบุกและวุลแฟรมตลอดแนวเขาทางภาคตะวันตก ในลานแร่ดีบุกและ วุลแฟรมมักจะพบทองคาํ สะสมตัวอยดู่ ้วย ซ่งึ เข้าใจว่าแร่ทองคาํ น้ีมาจากสายแรค่ วอรตซ์ ทเ่ี ป็นผลมาจากการ ดันตัวของหินแกรนิต เมื่อมีการผุพังทลายตวั แร่ทองคําก็จะถูกพัดพามาสะสมตัวอยูบ่ ริเวณลานแร่ในที่ราบ เชงิ เขา แหลง่ แรท่ องคําป่าร่อน อําเภอบางสะพาน จงั หวัดประจวบคีรีขันธ์ (ยอรจ์ ซี เทเลอร์ จูเนยี ร์ และชุม เจษฎี จรัลชวนะเพท, 2446) แหลง่ แร่ทองคําว่ารอ่ น เปน็ แหล่งลานแร่ทีส่ ําคัญ และมีชอ่ื เสียงเป็นท่รี ู้จักกันมา นาน และดูเหมือนจะเปน็ แหลง่ ลานแร่ทีม่ ีแรท่ องคําอุดมสมบูรณ์มากท่ีสุดแหล่งหนงึ่ ทต่ี ้ังของแหล่งแร่อยู่ทาง ทิศเหนือค่อนไปทางตะวันตกเล็กน้อยของบ้านป่าร่อน อําเภอบางสะพาน จังหวัดประจวบคีรีขนั ธ์ ห่างจาก บ้านปา่ ร่อน ประมาณ 250-2,000 เมตร บา้ นหว้ ยจังหัน ซึง่ เกอื บอยู่ กลางแหล่งแร่อย่เู หนือระดับนำ้ ทะเล 50 เมตรคลองใหญ่ เปน็ ทางน้ำสายใหญ่ของอําเภอและมีห้วยจงั หนั เปน็ ทางน้ำสาขา ซ่ึงจะกลาย เป็นหว้ ยแห้งใน ฤดูแล้งชื่อสถานที่และตําแหน่งของสถานที่ต่างๆ ในรายงานนี้ เช่น คลองใหญ่ ห้วยจังหัน เนิน เนินพอ เนนิ ซา้ ย เปน็ ไก่เขย่ี ไม่ปรากฏพบดังท่กี ล่าวไวใ้ นแผนทีม่ าตราสว่ น 150,000 ของกรมแผนทท่ี หาร พ.ศ.2515 แหล่งทีต่ ้ังเหมืองทองในปจั จบุ ัน ตำบลร่อนทอง เป็นพื้นท่ีส่วนหนึ่งของอำเภอบางสะพาน ซึ่งเป็นพื้นที่ที่มีแร่ทองคำเป็นจำนวนมาก โดยเฉพาะที่บ้านป่าร่อน ได้มีราษฎรจากแหล่งต่าง ๆ รวมทั้งชาวต่างชาติได้อพยพเข้ามาในพื้นที่ขุดหาแร่ ทองคำ มีการจัดตั้งบ้านเรือนกันเป็นกลุ่ม ๆ เช่น ที่กลุ่มตลาดห้วยจังหัน กลุ่มท่าตลาด ฯลฯ สภาพ พื้นที่ โดยท่ัวไปเปน็ ท่ีหุบเขาสลับกบั พ้นื ทีร่ าบ โดยมีหุบเขาทางทศิ ตะวนั ตกแลเป็นพื้นท่รี าบลงมาทางทิศตะวนั ออก มี ปา่ ไมแ้ ละทรพั ยากรธรรมชาติคอ่ นข้างสมบรู ณ์ ดนิ มีความอุดมสมบูรณ์ อากาศชมุ่ ชืน้ มีลำคลองสายสนั้ ๆ ไหล ลงสู่พื้นที่ราบ เขตพื้นที่ทิศเหนือ ติดกับ ต.ชัยเกษม อ.บางสะพาน จ.ประจวบคีรีขันธ์ ทิศใต้ ติดกับ ต.ทองมงคล อ.บางสะพานน้อย จ.ประจวบคีรีขันธ์ ทิศตะวันออก ติดกับ ต.กำเนิดนพคุณ อ.บางสะพาน จ.ประจวบครี ีขันธ์ ทศิ ตะวันตก ติดกบั สาธารณรฐั สงั คมนยิ มแหง่ สหภาพเมียนม่าร์ ซ่งึ ในปจั จุบนั การประกอบ อาชพี การทำเหมืองแรไ่ ดป้ ิดกิจการแลว้ แต่คนในชุมชมได้ทำการอนุรักษแ์ ละฟืน้ ฟูการร่อนทองด้วยภูมิปัญญา ท้องถน่ิ โดยไม่ใช้เครือ่ งจกั รในการหาทอง และได้เปิดเป็นศนู ยศ์ กึ ษาการเรยี นรู้การรอ่ นทอง 34

ใบงาน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรอ่ื งแหลง่ ทตี่ งั้ เหมอื งทอง 1.จงบอกแหล่งที่เหมาะสมในการร่อนทอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 35

ใบความรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ 3่ี เรอ่ื งประวตั กิ ารรอ่ นทอง 1.ประวตั กิ ารรอ่ นทอง แร่ทองคาํ ไดส้ ะสมกนั เป็นลานแร่ อย่ใู นเขตหมบู่ ้านป่ารอ่ นบริเวณห้วยจงั หัน และสองฝั่งคลอง ทอง น่าจะมีการขุดร่อนกันมาไม่ต่ำกว่า 200 ปีมา แล้วหรือกว่านั้นมาก ดังหลักฐานต่าง ๆ ที่ยกมาอ้างแล้ว หลุมแรเ่ กา่ แกเ่ ปน็ เครอ่ื งยนื ยัน ใหเ้ หน็ เปน็ จำนวนมากตลอดสองฟากฝงั่ คลอง การทาํ แรท่ องคําตั้งแต่ครั้งบรรพ บุรุษนัน้ ใช้แบบเหมอื งขดุ เหมืองหาบขนาดเล็ก ๆ และใช้วิธีควักรอ่ นง่าย ๆ แบบชาวบ้าน การแยกแร่ แรก ๆ ใช้การสาดดินปนแร่ลงบนกระสอบแล้วค่อย ๆ เก็บทองที่ติดบนกระสอบนั้น อีกวิธีหนึ่งก็คือการแยกแร่ด้วย เลียงไม้ หรอื ท่เี รยี กว่าการร่อนทองนั่นเอง 2.ววิ ฒั นาการของการร่อนทอง อดีตการร่อนทองเป็นแบบเหมืองขุด เหมืองหาบขนาดเล็ก ๆ และใช้วิธีควักร่อนง่าย ๆ แบบ ชาวบา้ น การแยกแร่ แรก ๆ ใชก้ ารสาดดนิ ปนแรล่ งบนกระสอบแลว้ ค่อย ๆ เกบ็ ทองท่ีตดิ บนกระสอบนน้ั อีกวิธี หนงึ่ กค็ ือการแยกแร่ด้วยเลยี งไม้ หรอื ทีเ่ รยี กวา่ การรอ่ นทอง การร่อนดว้ ยเสียงนน้ั จะเร่ิม ต้นจากการนําเอาดิน ปนแร่มาขยำบี้กับน้ำให้เป็นโคลนในเลี่ยงเสียก่อนแล้วค่อย ๆ เอียงเลี้ยงหมุนให้น้ำจาก ลําคลองพัดโคลนใน เลีย้ งหมุนวน ดนิ โคลน ทราย และอนื่ ๆ ที่เบากวา่ ทองจะถูกนำ้ พดั ลอยออกไป สว่ น ทองและแรอ่ น่ื ๆ ที่หนัก กว่าจะรวมตวั กันอยู่กนั เสยี ง แร่อื่น ๆ จะมีสีดํา แร่ทองจะมีสีเหลืองแวววาว จะมอง เห็นได้อย่างชัดเจน การ แยกแรด่ ว้ ยวธิ ดี งั กลา่ วข้างต้นนี้ เชอื่ วา่ การหายหกตกหลน่ ยอ่ มจะมีมาก ทองคา่ ทกี่ ู้ ได้ส่วนใหญ่จะเป็นเม็ดเป็น แท่งโต ที่เป็นเกล็ดเล็ก ๆ หรือเป็นผงละเอียดคล้ายแป้งจะถูกเทคืนไปปะปนกับ โคลน ดิน ทราย กลายเป็น ทรัพยใ์ นดินส้ินในนำ้ ใหล้ กู หลานนักนิยมทองขุดคน้ กันต่อไปดินในบ่อแรท่ องคําก็มชี ื่อเรยี กแต่ละช้ันแตกต่างกัน ไป ดินชั้นบนเรียกวา่ \"ดินเมือง” จากดนิ เมอื งต่อลงไป เป็น “ดินกรัง” ดินชั้นนอ้ี าจแบง่ เรียกเป็น “ดินหลังสะ” และ “ดินกระสะ” ลงไปอีกเรียกว่า “ดินใช้” ดินใช้ คือดนิ ท่ีมแี ร่ทองคาํ ปนอยู่ ตำ่ ลงไปเปน็ ดินแข็งเรยี กวา่ “ดิน โกด” คอื ดานหรอื หนิ ดานนั่นเอง การร่อนแร่ก็ คอื การนา่ ดนิ ใชม้ าแยกหาเนอ้ื แร่ทองคาํ การขุดแรต่ ้องขุดให้ถึง ชน้ั ดาน ดานลกึ ดืน่ อย่างไร ความลกึ ตืน้ ของบ่อก็เปน็ เชน่ นน้ั ด้วย 36

ใบงาน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 3 เรอ่ื งประวตั กิ ารรอ่ นทอง 1.ให้ผเู้ รยี นอธิบายประวตั กิ ารร่อนทองมาพอสงั เขป .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.ให้ผเู้ รยี นบอกขัน้ ตอน วิธกี ารร่อนทองในปจั จุบัน .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 37

ใบความรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ งคุณสมบตั แิ ละแรธ่ าตสุ ว่ นประกอบจากการรอ่ นทอง ทองคำ (อังกฤษ: gold) คือธาตุเคมีที่มีหมายเลขอะตอม 79 และสัญลักษณ์คือ Au (มาจากภาษา ละตินว่า aurum) จัดอยู่ในกลุ่มธาตุโลหะมีสกุลชนดิ หนึ่ง ทองคำเป็นธาตุโลหะทรานซิชันสีเหลืองทองมนั วาว เนื้ออ่อนนุ่ม สามารถยืดและตีเป็นแผ่นได้ ทองคำไม่ทำปฏิกริ ิยากับสารเคมีส่วนใหญ่ ทองคำใช้เป็นทุนสำรอง ทางการเงนิ ของหลายประเทศ ใช้ประโยชนเ์ ป็นเครอ่ื งประดบั งานทนั ตกรรม และอปุ กรณ์อเิ ล็กทรอนกิ ส์ มคี วามแวววาวอยู่เสมอ ทองคำไมท่ ำปฏิกริ ิยากับออกซิเจนดงั น้ัน เม่อื สัมผสั ถูกอากาศสีของทองจะไม่ หมองและไม่เกิดสนิม มีความอ่อนตัว ทองคำเป็นโลหะที่มีความอ่อนตัวมากที่สุด ด้วยทองเพียงประมาณ 2 บาท เราสามารถยืดออกเป็นเสน้ ลวดได้ยาวถงึ 8 กิโลเมตร หรอื อาจตีเป็นแผ่นบางได้ถงึ 100 ตารางฟตุ ทองคำ เป็นโลหะชนดิ หน่งึ ทสี่ ามารถนำไฟฟา้ ได้ดี สะทอ้ นความร้อนได้ดี ทองคำสามารถสะท้อนความรอ้ นได้ดี ไดม้ ีการ นำทองคำไปฉาบไว้ที่หน้ากากหมวกของนักบนิ อวกาศ เพอื่ ป้องกันรังสอี ินฟราเรด มนษุ ยร์ ู้จักทองคำมาต้ังแต่ ประมาณ 5,000 ปี เป็นความหมายแห่งความมัง่ คั่ง จุดหลอมเหลว 1064 องศาเซลเซียส และจุดเดือด 2970 องศาเซลเซียส เป็นโลหะท่มี คี า่ ท่มี ีความเหนียว (Ductility) และความสามารถในการขึ้นรูป (Malleability) คือ จะยืดขยาย (Extend) เมื่อถกู ตีหรือรีดในทกุ ทศิ ทาง โดยไมเ่ กิดการปริแตกไดส้ ูงสุด ทองคำบรสิ ทุ ธหิ์ นกั 1 ออนซ์สามารถดึงเป็นเส้นลวดยาวได้ถึง 80 กิโลเมตร ถ้าตีเป็นแผ่นก็จะได้บางเกินกว่า 1/300,000 นิ้ว ส่วน ความกวา้ งจะได้ถึง 9 ตารางเมตร ทองคำบริสทุ ธ์ไิ มว่ ่องไวตอ่ การเกิดปฏิกริ ยิ าเคมี จึงทนต่อการผุกร่อนและไม่ เกดิ สนิมกบั อากาศ แต่ทำปฏกิ ิรยิ ากบั สารเคมบี างชนิด เชน่ คลอรนี ฟลูออรนี น้ำประสานทอง คุณสมบัติเหล่านี้ประกอบกับลักษณะภายนอกที่เป็นประกายจึงทำให้ทองคำเป็นที่หมายปองของ มนษุ ย์มาเปน็ เวลานบั พันปี โดยนำมาตมี ลู คา่ สำหรบั การแลกเปลี่ยนระหวา่ งประเทศและใช้เปน็ วัตถุดิบที่สำคัญ สำหรับวงการเครอื่ งประดบั ทองคำไดร้ ับความนิยมอยา่ งสงู สุดในวงการเครือ่ งประดับทองคำ เพราะเป็นโลหะมี ค่าชนิดเดยี วท่ีมคี ุณสมบตั พิ น้ื ฐาน 4 ประการซ่งึ ทำใหท้ องคำโดดเดน่ และเป็นทตี่ ้องการเหนือบรรดาโลหะมีค่า ทกุ ชนดิ ในโลก คือ 1.งดงามมันวาว (lustre) สีสันที่สวยงามตามธรรมชาติผสานกับความมันวาวก่อให้เกิดความงามอัน เป็นอมตะ ทองคำสามารถเปลี่ยนเฉดสีทองโดยการนำทองคำไปผสมกับโลหะมีค่าอื่นๆ ช่วยเพ่ิมความงดงาม ใหแ้ กท่ องคำได้อีกทางหน่ึง 2.คงทน (durable) ทองคำไม่ขึ้นสนิม ไม่หมอง และไม่ผุกร่อน แม้ว่ากาลเวลาจะผ่านไป 3000 ปีก็ ตาม 3.หายาก (rarity) ทองเปน็ แรท่ ่หี ายาก กว่าจะไดท้ องคำมาหนงึ่ ออนซ์ (31.167 gram) ต้องถลุงกอ้ นแร่ ทมี่ ที องคำอยู่เปน็ จำนวนหลายตัน และตอ้ งขดุ เหมอื งลึกลงไปหลายสิบเมตร จึงทำให้มีค่าใช้จ่ายท่ีสูง เป็นเหตุ ให้ทองคำมีราคาแพงตามต้นทนุ ในการผลิต 38

4.นำกลับไปใช้ได้ (reuseable) ทองคำเหมาะสมที่สุดต่อการนำมาทำเปน็ เคร่อื งประดบั เพราะมีความ เหนียวและอ่อนนิ่มสามารถนำมาทำขึ้นรูปได้ง่าย อีกทั้งยังสามารถนำกลับมาใช้ใหม่โดยการทำให้บริสุทธ์ิ (purified) ดว้ ยการหลอมไดอ้ กี โดยนบั ครง้ั ไม่ถ้วน ทองบางสะพานหรือเรียกอีกอย่างว่า ทองเนือ้ เกา้ เป็นทองคำบริสทุ ธิ์ เป็น “ทองธรรมชาติ” หรือบาง ที่เรียกวา่ “ทองชมพูนุช” เป็นทองที่มีสีเหลืองเข้มออกแดง นอกจากนี้ยังมีชือ่ เรียกแตกตา่ งกันอีกหลายชื่อ เช่น “ทองเนื้อแท้” “ทองคำเลียง” ซึ่งหมายถึงทองบริสุทธิ์ปราศจากธาตุอื่นเจือปน ซึ่งตรงกับคำใน ภาษาล้านนาว่า “คำขา” นอกจากนย้ี งั มชี อ่ื เรียกทองคุณภาพตา่ ง ๆ อีกหลายช่อื เชน่ “ทองปะทาสี” ซึ่งเป็นทองคำเปลวเนอ้ื บรสิ ทุ ธชิ์ นดิ หนา “ทองดอกบวบ” เปน็ ทองทีม่ ีเนือ้ ทองสีเหลอื งอ่อนคลา้ ยดอกบวบ การร่อนทองเป็นการการนำเอาแรธ่ าตทุ ม่ี ีค่าโดยใชว้ ิธกี ารตา่ ง ๆ เช่น การขุด การเจาะ การรอ่ นโดยใช้ เลยี งในการร่อนแล้วนำเอาแรธ่ าตุท่ีต้องการสกัดออกมาจากดินหรือหินอีกที มีทง้ั ที่เปน็ แรโ่ ลหะและแร่อโลหะ แรท่ องแดง แร่ทองคำ แรต่ ะก่ัว แรเ่ งนิ แร่ไททาเนยี ม แรส่ ังกะสี สว่ นแรอ่ โลหะ พลอย เพชร ถ่านหินหยก รวม ไปถงึ วสั ดอุ นื่ ๆ ทไี่ ม่จดั อยใู่ นแรธ่ าตุ ได้แก่ ดนิ หิน ทราย กา๊ ซธรรมชาติ น้ำมนั เช้อื เพลิง เปน็ ต้น การทำเหมือง แรก่ อ่ ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งมหาศาลต่อประเทศชาติ เพราะสามารถลดตน้ ทนุ การนำเข้าแรธ่ าตุจากตา่ งประเทศ รวมถงึ สามารถสง่ ออกไปจำหน่ายเพ่มิ รายไดเ้ ข้าประเทศได้อกี ด้วย 39

ใบงาน หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 4 เรอื่ งคณุ สมบตั แิ ละแรธ่ าตสุ ว่ นประกอบจากการรอ่ นทอง 1.ให้ผู้เรยี นยกตวั อยา่ งแรธ่ าตทุ ไ่ี ด้จากกระบวนการร่อนทอง .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 2.ให้ผู้เรียนบอกคุณสมบัติของทองคำ .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................................. 40

ภาคผนวก ข 41

สาระ การประกอบอาชพี ชอื่ ราชวชิ า อช13416 เมอื งทองเนอื้ เกา้ 1 ระดับประถมศึกษา มาตรฐานที่ 3.1 มคี วามรคู้ วามเข้าใจ และเจตคติทีด่ ีในงานอาชีพ มองเหน็ ชอ่ งทางและตดั สนิ ใจประกอบอาชีพ ไดต้ ามความต้องการ และศักยภาพของตนเอง 3.2 มีความรู้ ความเข้าใจ ทักษะในอาชพี ท่ีตัดสินใจเลอื ก 3.3 มีความรู้ ความเขา้ ใจ ในการจดั การอาชพี อยา่ งมีคุณธรรม 3.4 มีความรู้ ความเข้าใจ ในการพฒั นาอาชพี ให้มีความม่ันคง ตารางวเิ คราะห์แบบทดสอบ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 1 ตำนานทองเนอ้ื เกา้ จำนวน 10 ชวั่ โมง ระดบั พทุ ธพิ สิ ยั จดุ ประสงค์ เนอ้ื หาตาม ตวั ชว้ี ดั /ผลการ จำนวน ความ ขอ้ ที่ การ การเรยี นรู้ หลกั สตู ร เรยี นรทู้ ค่ี าดหวงั ขอ้ ความจำ เขา้ ใจ ประเมนิ การ การ การ นำไปใช้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ค่า 1.k ตำนานทอง 1. ผเู้ รยี นมีความรู้ 10 5 5 เน้อื เก้า ความเขา้ ใจใน คุณค่า วัฒนธรรม ประเพณี วถิ ีชวี ิต การประกอบ อาชพี ร่อนทอง ของคนในชุมชน ในอดีต รวม 10 42

แบบทดสอบ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 1 เรอ่ื งตำนานทองเนอ้ื เกา้ ใหเ้ ลอื กคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งทสี่ ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว 1.การรอ่ นทองครั้งแรกเกิดขึ้นในสมยั ใด ก.พ่อขุนรามคำแหง ข.พระมหาธรรมราชา ค.พระเจ้าอย่หู วั บรมโกศ ง.พระเจา้ ตากสินมหาราช 2.อำเภอบางสะพาน เดมิ มีช่ือเรียกวา่ ก.เมืองธงชยั ข.เมอื งชัยเกษม ค.เมอื งทบั สะแก ง.เมอื งกำเนิดนพคุณ 3.เมืองกำเนิดนพคุณ ถูกยุบเป็นอำเภอเมืองนพคุณในปี พ.ศ.ใด ก.พ.ศ. 2436 ข.พ.ศ. 2437 ค.พ.ศ. 2438 ง.พ.ศ. 2439 4.ปัจจุบัน อำเภอบางสะพาน มีกตี่ ำบล ก. 5 ตำบล ข. 6 ตำบล ค. 7 ตำบล ง. 8 ตำบล 5.แหลง่ แรท่ องคำท่ีมีช่ือเสยี งในอำเภอบางสะพานตัง้ อยูห่ มบู่ ้านใด ก. หมู่บ้านป่ารอ่ น ข. หมูบ่ า้ นวังนำ้ เขียว ค. หมู่บ้านคลองลอย ง. หมบู่ ้านทงุ่ สะเดาะหวาน 43

6.ทองที่พบมนการรอ่ นทอง เป็นทองเนอื้ เกา้ หรอื เรียกอีกชื่อวา่ ก.ทองเก้าชง่ั ข.ทองนพคุณ ค.ทองคำเปลว ง.ทองคำบรสิ ทุ ธิ์ 7.ในประกาศรชั กาลที่ 4 ได้อธบิ ายวา่ ทองคำที่ซ้ือขายกนั เรยี กตามเนือ้ และตามราคาทองหนักบาทหน่ึงเป็นเงนิ 9 บาท จะเรียกวา่ อยา่ งไร ก.นพคณุ สนี่ ำ้ ข.นพคณุ ห้านำ้ ค.นพคณุ เจ็ดน้ำ ง.นพคณุ เกา้ นำ้ 8.Nugget หมายถงึ ทองแบบใด ก.ทองท่ีขุดได้โดยตอ้ งถลงุ ข.ทองท่ขี ดุ ได้โดยไม่ตอ้ งถลงุ ค.ทองท่ขี ุดไดโ้ ดยการใช้เครือ่ งจักร ง.ทองทีข่ ดุ ไดโ้ ดยการไมใ่ ช้เคร่ืองจักร 9.ส่วนมากจะพบแรท่ องในตำบลใดของอำเภอบางสะพาน ก.ธงชยั ข.ร่อนทอง ค.ทองมงคล ง.กำเนิดนพคณุ 10.ทองบางสะพาน เรียกอีกชอื่ วา่ อย่างไร ก.ทองพนั ช่ัง ข.ทองเนอื้ เก้า ค.ทองบางตะบนู ง.ทองบางตะพาน 44

ตารางวเิ คราะห์แบบทดสอบ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 แหลง่ ทตี่ ง้ั เหมอื งทอง จำนวน 10 ชวั่ โมง ระดบั พทุ ธพิ สิ ยั จดุ ประสงค์ เนอ้ื หาตาม ตวั ชว้ี ดั /ผลการ จำนวน ขอ้ ท่ี การเรยี นรู้ หลกั สตู ร เรยี นรทู้ ่คี าดหวงั ขอ้ ความจำ ความ การ การ การ การ เขา้ ใจ นำไปใช้ วเิ คราะห์ สงั เคราะห์ ประเมนิ คา่ 1.k แหลง่ ทตี่ ง้ั 1. ผ้เู รยี นมี 10 4 6 เหมอื งทอง ความรู้ ความ เขา้ ใจใน ศักยภาพของ พื้นที่ตาม ลกั ษณะ ภูมิอากาศ ศักยภาพของภูมิ ประเทศและ ทำเลแหลง่ ท่ีต้งั เหมอื งทอง รวม 10 45

แบบทดสอบ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ่ี 2 เรอ่ื งแหลง่ ทต่ี งั้ เหมอื งทอง ใหเ้ ลอื กคำตอบทถี่ กู ตอ้ งทส่ี ดุ เพยี งขอ้ เดยี ว 1.แหลง่ แรท่ องคำอยูใ่ นบริเวณในหมบู่ ้านปา่ ร่อน ก.ห้วยจังหนั ข.หว้ ยหมูหัน ค.ห้วยกงั หนั ง.ห้วยแห้งจงั 2.เรามักจะพบแหล่งแรท่ องคำในภาคใด ก.ภาคตะวนั ตก และภาคใต้ ข.ภาคตะวนั ออก และภาคใต้ ค.ภาคตะวันตก และภาคเหนอื ง.ภาคตะวันออก และภาคเหนือ 3.ในลานแร่ชนิดใดท่ีจะพบทองคำปนอยมู่ ากท่ีสุด ก.แร่ดีบกุ และพลอย ข.แร่ดีบุก และแร่วลุ แฟรม ค.แร่ตะก่วั และแรส่ งั กะสี ง.แร่ทองแดง และแร่ดีบกุ 4.เหมืองทองในบ้านป่ารอ่ นอยเู่ หนือระดับน้ำทะเลกเ่ี มตร ก. 30 เมตร ข. 40 เมตร ค. 50 เมตร ง. 60 เมตร 5.ขอ้ ใดไมใ่ ช่สถานทใ่ี นการรอ่ นทองในอดีต ก.เนินพอ ข.เนินซา้ ย ค.คลองใหญ่ ง.คลองเล็ก 46

6.ปัจจบุ นั แหลง่ รอ่ นทองท่ีตำบลร่อนทองไดเ้ ปิดเป็นศนู ย์อะไร ก. ศูนย์ทอ่ งเท่ียว ข. ศูนยอ์ นรุ ักษ์แหลง่ รอ่ นทอง ค. ศนู ยช์ ว่ ยเหลือผปู้ ระสบภัยพบิ ตั ิ ง. ศนู ย์ศึกษาการเรยี นรกู้ ารรอ่ นทอง 7.แหลง่ ท่ีตัง้ เหมืองทองในปัจจบุ นั ของตำบลรอ่ นทองพ้นื ทีท่ ศิ ตะวนั ตกติดกับประเทศใด ก. ลาว ข. พม่า ค. กมั พชู า ง. มาเลเซยี 8.ข้อใดไมใ่ ช่หนิ ยุคตา่ งๆ ในการเกิดหนิ แกรนิต ก. ยุคสำรดิ ข. ยคุ ไซลเรียน ค. ยุคเดโวเนยี น ง. ยุคคารบ์ อนเิ ฟอรัส 9. ทองคำ 2 บาท สามารถยืดออกเปน็ เสน้ ลวดไดย้ าวถงึ กี่กโิ ลเมตร ก. 7 กโิ ลเมตร ข. 8 กิโลเมตร ค. 9 กิโลเมตร ง. 10 กิโลเมตร 10.ทองคำเลียง หมายถงึ ทองบริสุทธป์ิ ราศจากธาตอุ ื่นเจือปน ซึ่งตรงกบั คำในภาษาล้านนาว่าอะไร ก. คำกา ข. คำขา ค. คำดา ง. คำแดง 47