Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง - 2565

เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง - 2565

Published by stbuzzo, 2022-03-28 13:44:51

Description: ใช้เพื่อการศึกษาเท่านั้น - ห้ามใช้เชิงพาณิชย์

Search

Read the Text Version

3. องคป์ ระกอบของสถติ ทิ ี่ใช้ในการวิเคราะห์สารสนเทศ สถติ ปิ ระกอบดว้ ย 2 องคป์ ระกอบ ดังน้ี 1) สถติ ิเชงิ พรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นวิธีการทางสถิติเพื่อใช้ในการพรรณนาหรือบรรยายลักษณะของสิ่งท่ีศึกษา เพื่อให้ เข้าใจถึงลักษณะของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้ จะพรรณนาภายในขอบเขตของข้อมูลที่เก็บรวบรวมมา เท่านั้น ไม่สามารถจะคาดคะเนลักษณะต่าง ๆ ออกไปนอกเหนือจากข้อมูลท่ีมีอยู่ได้ หรือไม่มีการอ้างอิง หรืออนุมานไปถึงกลุ่มอื่น หากผู้วิจัยสามารถศึกษาทุกหน่วยของประชากรได้ ก็จะใช้สรุปหรือบรรยาย ลักษณะของประชากรที่ศึกษา หากผู้วิจัยไม่สามารถศึกษาสมาชิกทุกหน่วยของประชากรได้ สุ่มสมาชิก เพยี งบางสว่ นมาศกึ ษา(ศึกษาจากกลุ่มตัวอย่าง) ก็จะใช้สรุปหรือบรรยายเฉพาะกลุ่มตัวอย่างท่ีสุ่มมาศึกษา เท่านั้น 2) สถิติเชงิ อ้างองิ หรือสถติ อิ นุมาน (Inferential Statistics) เป็นวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการสรุปลักษณะของประชากร จากผลการศึกษาข้อมูล ในกลุ่มตัวอย่าง โดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการอนุมานลักษณะประชากร โดยศึกษาจากกลุ่ม ตัวอย่าง แต่อ้างอิงหรืออนุมานไปถึงประชากร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ การประมาณ คา่ พารามเิ ตอร์ (Parametric Estimation) และการทดสอบสมมติฐาน (Testing Hypothesis) การสงั เคราะหส์ ารสนเทศ การสงั เคราะห์สารสนเทศ หมายถึง การศึกษาสารสนเทศในเร่ืองเดียวกันจากสารสนเทศต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องแล้วนามาวิเคราะห์หาสารสนเทศโดยการตีความ (Interpretation) ให้ทาความเข้าใจ สารวจ ตรวจสอบสารสนเทศที่มีอยู่และท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อสรุปประเด็นเนื้อหาอย่างเป็นระบบให้ได้คาตอบตามท่ี ตอ้ งการและสามารถอภิปรายให้กบั บคุ คลอน่ื ได้ โดยมีหลักการสังเคราะห์สารสนเทศ ดังนี้ 1) คดั เลือกสารสนเทศ วเิ คราะห์เนื้อหา กาหนดขอบเขตและขัน้ ตอนการนาเสนอ สารสนเทศ 2) รวบรวมสารสนเทศตน้ ฉบับท่มี ีการอา้ งอิงรายการทางบรรณานุกรมอยา่ งถูกตอ้ ง 3) เขยี นตามแผนทกี่ าหนดอย่างสรา้ งสรรค์และใช้สานวนของตนเองดว้ ยภาษาทถี่ ูกต้อง 4) ประเมินผลดว้ ยตวั เอง พร้อมรบั ฟังข้อวจิ ารณ์เพือ่ ปรับปรุงแก้ไข และสรา้ งสรรคง์ านใหม่ เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 45

บทท่ี 6 การสงั เคราะห์และสรปุ องคค์ วามรู้ ก า ร เ รี ย น รู้ ด้ ว ย ก า ร ศึ ก ษ า ค้ น ค ว้ า ค ว า ม รู้ ด้ ว ย ต น เ อ ง เ ป็ น ก า ร เ รี ย น รู้ ท่ี นั ก เ รี ย น ต้ อ ง มี ความรับผิดชอบ และมีวินัยในตนเองสูง ถ้านักเรียนไม่วางแผนการเรียนรู้ของตนเองให้ชัดเจนและเป็น ระบบ การบรรลุเป้าหมายการเรียนรู้ตามผลการเรียนรู้รายวิชาก็ทาได้ยาก อย่างไรก็ตาม เมื่อนักเรียนได้ ทาการศกึ ษาคน้ คว้าขอ้ มูลความรู้เพื่อเตรียมการตอบประเด็นปัญหาหรือข้อคาถามต่าง ๆ ตามความสนใจ ความต้องการและความถนัดจากแหล่งข้อมูลต่าง ๆ อย่างหลากหลายแล้ว ขั้นตอนท่ีจะทาให้นักเรียน สามารถหารายละเอียดข้อมูลที่เชื่อถือได้ไปประกอบการอภิปรายผลเพื่อการเปรียบเทียบหรือเช่ือมโยง ความรู้ในการตอบประเด็นปัญหาหรือคาถามท่ีต้ังไว้ก็คือ การสังเคราะห์และสรุปองค์ความรู้อย่างเป็น ระบบ ความหมายขององคค์ วามรู้ จาก “ความรู้ (Knowledge) ซง่ึ เบนจามิน บลมู (Benjamin Bloom in Krathwohl, 2002: 213) ระบุวา่ “ความรู้” หมายถึง สาระ ขอ้ มูล แนวคดิ ที่บคุ คลไดจ้ ากการเรยี นรู้ เช่น ความรู้เฉพาะในด้านคาศัพท์ คานิยาม ข้อเท็จจริง กฎเกณฑ์ โครงสร้างและวิธีการในการแก้ปัญหา ในขณะท่ี “องค์ความรู้” หมายถึง ความรู้ท่ีเป็นแนวคดิ หลกั การ ทฤษฎที ผ่ี ่านการประมวล คัดเลอื ก จดั หมวดหมู่ หรือผา่ นการวิเคราะห์อย่างมี แบบแผน และได้รับการพัฒนาจนมีความชัดเจนสมบูรณ์ หรืออีกความหมายหน่ึง องค์ความรู้ หมายถึง ความรู้ท่ีผ่านการกล่ันกรองอย่างเป็นระบบและส่ังสมจนกลายเป็นสติปัญญา ภูมิปัญญา และประสบการณ์ เฉพาะบคุ คล สรุปว่า องค์ความรู้ หมายถงึ ความรู้ที่ผ่านการประมวลผล หรอื ผ่านการวิเคราะห์อย่างเป็น ระบบ จนมีความสมบรู ณช์ ัดเจนและส่งั สมจนกลายเปน็ สตปิ ัญญา ภูมิรู้ และประสบการณ์เฉพาะ แตล่ ะบคุ คล เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 46

แหลง่ กาเนดิ ขององคค์ วามรู้ 1. ความรูท้ ่ไี ดร้ ับการถา่ ยทอดจากบุคคลอ่ืน 2. ความร้เู กดิ จากประสบการณ์การทางาน 3. ความรทู้ ี่ไดจ้ ากการวิจยั ทดลอง 4. ความรู้จากการประดิษฐค์ ิดคน้ ส่ิงใหม่ ๆ 5. ความร้ทู มี่ ีปรากฏอยู่ในแหลง่ ความร้ภู ายนอกองคก์ รและองค์กรไดน้ ามาใช้ ประเภทขององคค์ วามรู้ แบ่งได้ เป็น 2 ประเภท ดังนี้ 1. องค์ความรู้ที่สามารถอธิบายได้ เป็นองค์ความรู้ซ่ึงทาความเข้าใจได้จากการฟัง การอ่าน และสามารถนาไปอธิบาย หรือนาไปใช้ปฏิบัติได้ โดยจัดไว้อย่างมีแบบแผนมีโครงสร้างและอธิบาย กระบวนการท่สี ามารถนาไปใช้ได้ 2. องค์ความรู้ท่ีไม่สามารถอธิบายได้หรืออธิบายได้ยาก เป็นองค์ความรู้ที่อธิบายได้ยากหรือ ในบางคร้ังไม่สามารถอธิบายว่าเกิดความรู้ เหล่าน้ันได้อย่างไร ไม่มีระเบียบแบบแผน โครงสร้างท่ีชัดเจน มกั เกิดข้ึนกบั ตัวบคุ คล ผลของการถ่ายทอดขึ้นอยู่กบั ผ้ถู ่ายทอดและผรู้ บั เปน็ สาคัญ การจัดการองค์ความรู้ การจัดการองคค์ วามรู้ คือ การรวบรวมองค์ความรู้ที่มีอยู่ ซึ่งกระจัดกระจายอยู่ในตัวบุคคลหรือ เอกสาร มาพัฒนาให้เป็นระบบ เพ่ือให้ทุกคนสามารถเข้าถึงความรู้ และพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ รวมท้ัง ปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ อันจะส่งผลให้องค์กรมีความสามารถในเชิงแข่งขันสูงสุดโดยที่ความรู้ มี 2 ประเภท คอื 1. ความรู้ท่ีฝังอยู่ในคน เป็นความรู้ท่ีได้จากประสบการณ์ พรสวรรค์หรือสัญชาตญาณของ แต่ละบุคคลในการทา ความเข้าใจในส่ิงต่างๆเป็นความรู้ที่ไม่สามารถถ่ายทอดออกมาเป็นคา พูดหรือ ลายลักษณ์อักษรได้โดยง่าย เช่น ทักษะการทางาน งานฝีมือหรือการคิดเชิงวิเคราะห์บางครั้งเรียกว่าเป็น ความรู้แบบนามธรรม 2. ความรทู้ ่ชี ัดแจง้ เปน็ ความร้ทู ส่ี ามารถรวบรวม ถา่ ยทอดไดโ้ ดยผ่านวิธีต่างๆ เช่น การบันทึก เปน็ ลายลกั ษณอ์ ักษร ทฤษฎคี ู่มือต่างๆและบางครง้ั เรียกว่าเปน็ ความรู้แบบรูปธรรม การสงั เคราะหแ์ ละสรุปองค์ความรู้ การสังเคราะห์องค์ความรู้ เกิดจากการรวบรวมข้อมูล องค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย แล้วนามาวิเคราะห์แยกแยะ จัดหมวดหมู่อย่างเป็นระบบ ให้สอดคล้องกับเป้าหมายของการศึกษา หาความรู้ที่ได้กาหนดเอาไว้ การวิเคราะห์เพื่อจัดประเภทองค์ความรู้ ได้แก่ การจัดประเภท การอธิบาย ขอ้ มลู หรอื การรวบรวมเหตุการณ์ทีม่ ีความสัมพนั ธ์ กนั เชอื่ มโยงเข้าด้วยกัน หรือการแจกแจงข้อเท็จจริงใน ด้านต่าง ๆ แล้วผสมผสานและจดั ระบบให้ เป็นส่ิงใหม่ เป็นเร่ืองใหม่ หรือโครงสร้างใหม่ที่มีความแตกต่าง ไปจากข้อมูลเดิม เป็นการจดั ระบบความคิดทหี่ ลากหลายให้อยใู่ นรปู แบบใหมท่ ่ีมีความเปน็ หน่งึ เดียว เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 47

การสังเคราะห์องค์ความรู้ท่ีจะทาให้ได้ความรู้ท่ีนักเรียนได้เก็บรวบรวมข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้ หลายแหล่ง นกั เรยี นต้องมีความรู้ความเขา้ ใจเกยี่ วกบั วิธีการสังเคราะห์องค์ความรู้ ดงั นี้ 1. กาหนดประเด็นหัวข้อหรือเปา้ หมายทีต่ อ้ งศกึ ษาเรยี นรู้ให้ชดั เจน 2. คน้ ควา้ รายละเอียดข้อมลู ความรู้จากแหลง่ ขอ้ มลู ที่หลากหลาย เชน่ จากหนงั สือ เอกสาร ตารา บทความ อินเทอร์เนต็ ฯลฯ 3. อ่านรายละเอยี ดและวเิ คราะหแ์ ยกแยะข้อมูลแต่ละสว่ นโดยพิจารณาดูวา่ มสี ่วนใดเป็น เรือ่ งเดยี วกนั ทส่ี ามารถสรปุ รวบรวมเข้าไวด้ ้วยกนั หรือจดั ไว้เปน็ หมวดหมเู่ ดยี วกนั ได้บ้าง 4. คัดกรองขอ้ มูลทไี่ ดจ้ ากแหล่งความรู้ โดยคดั เลอื กขอ้ มลู จากแหล่งข้อมลู ทนี่ ่าเช่อื ถือ 5. จัดเรยี งหมวดหมหู่ รือหวั ข้อของข้อมลู แตล่ ะส่วนตามโครงสรา้ งหรอื โครงร่างใหม่ หรอื ตามประเด็นหัวข้อหรือเป้าหมายที่กาหนด 6. เรียบเรียงรายละเอียดของขอ้ มูลโดยใช้ภาษาพดู หรือภาษาเขยี นตามความร้คู วามเข้าใจ ของตนเอง การเรยี บเรยี งขอ้ มูลที่มฐี านความคิดมาจากงานของผ้อู ่ืนในแตล่ ะสว่ นต้อง อา้ งอิงตาม หลักวชิ าการทุกครงั้ ถึงแมร้ ายละเอียดนน้ั ๆ จะถกู ปรบั เปลยี่ นไปเป็น ขอ้ ความใหม่ทดแทนขอ้ ความ เดิมแลว้ กต็ าม 7. ตรวจสอบความถกู ต้องของขอ้ มลู ให้ครบถว้ น 8. นาข้อมลู ซงึ่ เป็นองค์ความรู้ไปใชง้ าน ประโยชนแ์ ละคุณคา่ ของการศกึ ษาค้นควา้ และสรา้ งองค์ความรู้ด้วยตนเอง การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองเป็นต้นทางการเรียนรู้ตลอดชีวิต (Life long learning) ซึ่งถือว่าเป็นวิธีการเรียนรู้ท่ียั่งยืนกว่าวิธีการเรียนรู้ท่ีนักเรียนน่ังเรียนในห้องเรียนหรือ ฟัง ครูผู้สอนเพียงอย่างเดียว การศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองเป็นการเรียนรู้เพื่อท่ีจะเป็น (Learning to be) อย่างท่ีนักเรียนมีความสนใจ มีความต้องการและมีความถนัด ซ่ึงมีประโยชน์ และมีคุณค่าอย่าง มากมายสาหรบั นกั เรยี นในยุคศตวรรษที่ 21 ดงั น้ี 1. นกั เรียนไดเ้ รยี นรู้วิธกี ารแสวงหาความรูด้ ว้ ยตนเองโดยไม่มีขดี จากดั 2. นักเรยี นไดฝ้ ึกความมวี ินยั ความรบั ผิดชอบตอ่ ภาระงานของตนเอง และได้มีการฝึกคิด ตัดสนิ ใจในการแกป้ ัญหาที่เกดิ ข้นึ ในระหวา่ งการศึกษาคน้ คว้า 3. นกั เรยี นได้เรียนรวู้ ธิ กี ารทางานร่วมกับผูอ้ ืน่ อย่างสนั ติ เช่น การอภปิ รายแลกเปลี่ยน ความคิดเห็น การทางานเปน็ ทมี การร่วมมือชว่ ยเหลือแบ่งปนั และความเสียสละ 4. นักเรยี นได้ฝึกการพัฒนาความเปน็ ผู้นาและผ้ตู ามที่ดี รู้จักความยดื หยนุ่ การปรับตวั เขา้ กับสังคม การเสนอแนะความคิด 5. นกั เรยี นมอี สิ ระทางดา้ นความคดิ ในการสร้างสรรคง์ านที่เกิดจากการศึกษาค้นควา้ หาความรดู้ ้วยตนเอง 6. นักเรยี นเกดิ ความภาคภูมใิ จ มองเห็นคณุ คา่ และความสามารถของตนเอง 7. นักเรียนมีโอกาสไดใ้ ชท้ ้ังความรู้ (Knowledge) และทกั ษะความสามารถ (Skill/Process) และคณุ ลกั ษณะอนั พงึ ประสงค์ (Attribute) ในการสร้างงาน ในความรบั ผิดชอบของตนเองอยา่ งอิสระ 8. นกั เรยี นรจู้ ักการบรหิ ารจัดการเวลาในการสร้างงานอยา่ งเหมาะสม 9. นักเรยี นไดพ้ ัฒนาทกั ษะการสอ่ื สาร การคดิ วเิ คราะห์ และความคดิ สร้างสรรค์ เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 48

10. นักเรยี นมีโอกาสพฒั นาความสามารถในการใช้ขอ้ มลู สารสนเทศและส่ือเทคโนโลยี 11. นักเรียนสามารถแสวงหาความรู้และตอ่ ยอดองค์ความรู้ใหมไ่ ดด้ ว้ ยตนเอง 12. นกั เรียนได้ฝกึ หดั การเป็นผู้เสียสละและใสใ่ จต่อการอยู่รว่ มกนั ในสงั คม รวมทงั้ ได้รับ การพัฒนาให้เปน็ ผ้มู จี ิตสาธารณะและเหน็ แก่ประโยชน์สว่ นรวม สรุปได้วา่ ความรู้และองค์ความรมู้ คี วามหมายแตกต่างกนั ความรู้ หมายถึง การเรียนรู้ที่เกิดจาก การจดจาสาหรับองค์ความรู้ หมายถึง ความรู้ที่เป็นแนวคิด ทฤษฎี หลักการที่ผ่านการประมวล คัดเลือก จัดหมวดหมู่ หรือผ่านการวิเคราะห์อย่างมีแบบแผนและได้รับการพัฒนาจนมีความชัดเจน และสมบูรณ์ สามารถนาข้อมลู น้นั ไปใชป้ ระโยชน์ได้ ซง่ึ ในการสังเคราะหแ์ ละสรุปองค์ความรู้นักเรียนควรทาความเข้าใจ เกี่ยวกับ หลักการ วิธีการให้ถ่องแท้เสียก่อน ซึ่งส่ิงเหล่านี้จะส่งผลให้นักเรียนสามารถสังเคราะห์และสรุป องค์ความร้ไู ดอ้ ยา่ งถกู ต้อง เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 49

บทท่ี 7 การเขียนรายงานวชิ าการ หลังจากที่นักเรียนได้เรียนรู้เรื่องส่วนประกอบของรายงานวิชาการมาแล้ว นับว่านักเรียนมีความ พร้อม ที่จะเข้าสู่ข้ันตอนและวิธีการเขียนรายงานวิชาการได้ ซึ่งขั้นตอนและวิธีการเขียนรายงานวิชาการ ถือเป็นหัวใจสาคัญในการทารายงานวิชาการ เพราะหากนักเรียนไม่ทราบว่าจะต้องทาอะไรก่อนหลัง ต่อไป จะเร่ิมหัวข้อใด และไม่รู้วิธีการเขียนหรือจัดทารายงาน ก็จะเกิดอุปสรรคต่อการทางานจนอาจกล่าวได้ว่า ท่านจะไม่สามารถทารายงานวิชาการได้สาเร็จ ในขณะเดียวกันหากนักเรียนรู้ว่าจะต้องปฏิบัติอย่างไร จัดทาหรือเขียนอย่างไรก็จะทาให้การเขียนรายงานของนักเรียนราบร่ืนไปด้วยดี สาเร็จตามวัตถุประสงค์และ ตรงตามเวลาท่กี าหนดไว้อยา่ งแน่นอน การเขียนรายงานมีขั้นตอนท่ีต้องปฏิบัติตาม โดยอาศัยระบบระเบียบซ่ึงได้มีการวางแผนไว้เป็น อย่างดี รายละเอียดบางอย่างของการปฏิบัติตามขั้นตอนอาจต้องใช้เวลามากเกือบถึงคร้ังหน่ึงของ กระบวนการเขียนรายงานทั้งหมด เช่น การกาหนดเอง การเขียนโครงเร่ือง การสืบค้นสารนิเทศ การอ่าน และจัดทาบัตรบนั ทกึ การอ่าน เป็นต้น การเลอื กเรอ่ื ง ในการเลือกเรื่องเพื่อจัดทารายงานวิชาการน้ัน นักวิชาการหลายท่านได้กล่าวถึงการเลือกเร่ืองไว้ เปน็ ไปในทางเดยี วกัน ทงั้ นี้นักเรียนควรจะพจิ ารณาเลือกทานน้ั ควรมีลักษณะดงั น้ี 1. เป็นเรื่องท่นี ่าสนใจและมีประโยชน์ต่อตนเองและผู้อ่ืน สามารถนาผลจากการศึกษาค้นคว้าไป ปรับใชใ้ นชีวิตประจาวนั ไดเ้ ปน็ อยา่ งดี 2. เปน็ เรื่องท่ีเหมาะสมกบั ระดบั ความร้แู ละความสามารถของผู้ทา 3. เปน็ เรือ่ งท่เี หมาะกับระดบั ความร้แู ละความสามารถของผ้ทู า 4. เป็นเร่ืองท่เี หมาะกับระยะเวลาที่มีอยู่ เพ่อื จะได้เสร็จตามกาหนดส่ง 5. เป็นเร่ืองที่สามารถสืบค้นข้อมูลสารนิเทศจากแหล่งต่าง ๆ โดยแน่ใจว่ามีข้อมูลมากพอในการ อา้ งองิ 6. เป็นเร่ืองที่ใชง้ บประมาณอยา่ งสมเหตุสมผล 7. เปน็ เร่อื งท่ีมสี ว่ นสง่ เสรมิ ความรใู้ นวงวชิ าการให้กว้างมากข้ึน เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 50

ท้งั น้ีนอกจากจะพิจารณาในหลกั การเลอื กเลอื กท้งั 7 ขอ้ ข้างต้นแล้ว นักเรียนควรปรึกษาครูผู้สอน หรือครูที่ปรึกษารายงานวิชาการ เพ่ือให้แน่ใจว่าหัวข้อเรื่องของเราเหมาะสมกับการศึกษาค้นคว้าโดยความ ยินยอมของครูผสู้ อนด้วย และเราจะไดร้ บั ประโยชน์จากการแนะนาการให้คาปรึกษาจากครูผู้สอนทาให้การ เลือกเรื่องซึ่งเป็นข้ันตอนท่ีไม่น่าจะใช้เวลามากนัก ผ่านไปด้วยความรวดเร็ว และบรรลุตามความพึงพอใจ ของทั้งสองฝา่ ย การจากัดขอบเขตของเรอ่ื ง เม่อื นักเรยี นไดเ้ ลือกเรอื่ งแลว้ ก่อนทจี่ ะต้ังเป็นชอื่ เรือ่ งควรจากัดของเขตของเรื่องก่อน เพื่อให้เรื่อง นั้นกว้างหรือแคบจนเกินไป ซ่ึงหากกว้างเกินไปอาจจะส่งผลต่อการรวบรวมข้อมูล การเรียบเรียงรายงาน อาจไมเ่ สร็จตามเวลาที่กาหนด หรืองบประมาณอาจบานปลายได้ การจากัดขอบเขตและขยายขอบเขตของ เรื่องทาได้ ดังนี้ 1. การจากัดขอบเขตโดยหวั ข้อย่อย หรอื ประเดน็ สาคัญ เช่น กีฬา กีฬากลางแจ้ง กีฬาฟตุ บอล กีฬาฟตุ บอลโลก 2. การจากดั ขอบเขตโดยบุคคลเป็นหลัก เช่น การเรยี นของเยาวชน การเรียนของเด็ก การเรียนของเดก็ เลก็ การเรยี นของเด็ก อนุบาล 3. การขยายขอบเขตหัวข้อย่อยหรือประเดน็ สาคัญให้กวา้ งขน้ึ เช่น การรกั ษาโรคหวัด การรักษาโรคติดเชอ้ื ทางเดินหายใจ การรกั ษาโรคติดตอ่ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 51

4. การขยายขอบเขตดว้ ยตัวบุคคล เชน่ ชาวเขาเผา่ กะเหรี่ยง ชาวไทยภูเขา ชาวภูเขา การเขียนรายงานวิชาการต้องมีจุดมุ่งหมายในการเขียน ว่าจะนาเสนอเก่ียวกับอะไร เพ่ืออะไร และมีขอบเจตท่ีจะศึกษามากน้อยแค่ไหน ซึ่งการกาหนดจุดมุ่งหมายและขอบเขตจะช่วยให้การทารายงาน สะดวกข้ึน และลดข้ันตอนในการค้นคว้าข้อมูลให้สะดวกรวดเร็ว และยังเป็นสิ่งท่ีตีกรอบผู้เขียนให้สามารถ เรียบเรียงเนื้อหาได้ถกู ตอ้ งตามความสนใจ กล่าวโดยสรุป การจากัดขอบเขตเป็นข้ันตอนท่ีจาเป็นข้ันตอนหน่ึง รายงานของเราจะยาว ส้ัน หนา บาง ใช้เวลามาก น้อย ใช้งบประมาณ สูง ต่า อยู่ท่ีการจากัดขอบเขตของเร่ืองให้เป็นไปอย่างเหมาะสม ดงั ท่ีได้เสนอตัวอย่างไว้แล้ว และในขณะเดียวกัน หากเราทารายงานท่ีมีขอบเขตแคบจนเกินไปก็จะไม่ได้รับ ประโยชน์อย่างเต็มท่ี เสียเวลา เสียงบประมาณโดยใช่เหตุ นักเรียนจึงควรพิจารณาในเรื่องดังกล่าวให้ รอบคอบ การรวบรวมข้อมูลสารสนเทศ เม่ือนักเรียนได้หัวข้อที่จะทารายงานแล้ว ขั้นต่อไปนักเรียนจะต้องศึกษาค้นคว้าเพ่ือให้มีความรู้ พน้ื ฐานสาหรับการเขียนเร่อื งนั้น ๆ โดยการใช้เครื่องมอื สบื คน้ ชนิดตา่ ง ๆ ทม่ี ใี นแหลง่ ทรัพยากรสารสนเทศ 1. การรวบรวม สารสนเทศ การรวบรวมสารนเิ ทศ อาจสืบค้นข้อมลู ได้จากแหลง่ สารนิเทศ ต่อไปน้ี 1) ห้องสมุด 2) ศูนย์สารนเิ ทศของหน่วยงาน 3) หอจดหมายเหตุ 4) สานกั ขา่ ว 5) พิพิธภัณฑ์ 6) โบราณสถาน 7) บคุ คล 8) แหลง่ สารนิเทศอน่ื ๆ เช่น ส่อื โสตทัศนวสั ดุ ในการค้นคว้าข้อมูลในข้ันนี้ เป็นขั้นแรกของการเข้าถึงสารนิเทศ เราอาจใช้วิธีการต่าง ๆ ใน การได้มาซึ่งข้อมูล เช่น การค้นบัตรรายการ บัตรดรรชนีวารสาร หนังสืออ้างอิง สารวจดูไมโครฟิล์ม ภาพยนตร์ ซีดี-รอม หรือแม้กระทั่งอินเทอร์เน็ต ซ่ึงการค้นคว้าดังกล่าวจะส่งผลให้นักเรียนได้รับประโยชน์ โดยตรง 2. ประโยชน์ในการรวบรวมสารสนเทศ การที่นักเรียนได้อ่านเอกสาร สิ่งพิมพ์ หรือได้เข้าถึงสารสนเทศเบ้ืองต้น โดยวิธีการต่าง ๆ แลว้ จะพบว่าได้ประโยชนส์ าหรบั การเขยี นรายงาน ดังต่อไปนี้ 1) ทาให้มองเหน็ ภาพของหัวขอ้ เร่อื งรายงานไดช้ ัดเจนย่ิงข้ึน 2) ทาใหท้ ราบวา่ เรือ่ งที่เราเลือกทาเคยมผี ทู้ ามาก่อนหน้าน้หี รือไม่ 3) สร้างความเข้าใจอย่างกวา้ งขวางและลกึ ซ้ึงในหัวข้อที่จะศึกษา 4) ทาให้ทราบว่าสารสนเทศมีเพียงพอต่อการศึกษาค้นคว้าต่อไปหรือไม่เพียงใด หาก ไมพ่ อจะได้เปลี่ยนหัวข้อใหม่ 5) เปน็ การรวบรวมขอ้ มลู ท่เี กย่ี วข้องไว้ด้วยกนั เพือ่ สะดวกในการศึกษาคน้ คว้าต่อไป 6) เป็นแนวทางในการเขียนโครงเรื่องรายงาน 7) เปน็ ประโยชนต์ ่อการอ่านและทาบัตรบันทึกการอ่านในขั้นตอนต่อไป เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 52

ฉะน้ัน ขั้นตอนการรวบรวมสารสนเทศเบื้องต้นจึงเป็นขั้นตอนท่ีสาคัญใน การช่วยให้นักเรียน ได้มองเห็นแนวทางในการรวบรวมและเรยี บเรยี งข้อมูลของตนเอง 3. การประเมนิ สารสนเทศ • มจี านวนมาก ใช้ไม่ได้ • ไดส้ ารสนเทศที่ • พิจารณา อา่ นและ • จดั กลุ่มและสร้าง ทกุ รายการ สามารถนาไปใช้งาน บนั ทกึ เนื้อหาของ ความสมั พันธข์ อง ได้จริง สารสนเทศ สารสนเทศท่ีอยู่ใน เรือ่ งเดียวกนั สารสนเทศทไ่ี ด้ ประเมนิ วเิ คราะห์ สังเคราะห์ จากการสืบคน้ 3.1 พจิ ารณาว่าเป็นเรือ่ งท่ตี รงกับความต้องการของเราอย่างแทจ้ รงิ หรือไม่? เลือกเฉพาะรายการท่เี กีย่ วข้องกับเรอ่ื งทีเ่ ราศกึ ษาเท่านัน้  วิธีการ การอ่านชื่อเร่ือง คานา หน้าสารบัญ หรือเนื้อเร่ืองย่อๆ สิ่งเหล่าน้ีช่วยให้ เราทราบวา่ เป็นเรื่องทเ่ี ก่ยี วขอ้ งหรือไม่ 3.2 พจิ ารณาว่าเป็นสารสนเทศท่ีมีความน่าเช่ือถือหรือไม่? ไดม้ าจากแหล่งท่ีนา่ เชอื่ ถอื  ตัวอย่าง สารสนเทศทไ่ี ดจ้ ากห้องสมดุ มคี วามนา่ เชือ่ ถือมากกว่าที่ได้มาจากเว็บไซต์ ไดม้ าจากทรพั ยากรสารสนเทศ ทีน่ ่าเชอ่ื ถอื หรอื ไม่  ตวั อย่าง บทความท่ีได้จากวารสารวชิ าการมีความน่าเช่ือถอื มากกวา่ นิตยสาร หรอื หนังสือพิมพ์ ผู้เขยี นมีคุณวฒุ ิ ความรู้ ความสามารถและประสบการณ์ สอดคล้องกบั เร่อื งที่เขียนหรอื ไม่  ตัวอย่าง สารสนเทศเก่ียวกับคอมพิวเตอร์ท่ีแต่งโดย รศ.ยืน ภู่วรวรรณ มีความนา่ เชอื่ ถอื มากกวา่ ท่แี ตง่ โดยผทู้ ่ีใช้นามแฝงวา่ หนมุ่ ไอที  หากเปน็ บทความวชิ าการ ให้พิจารณาว่า ตีพมิ พใ์ นวารสารชือ่ ใด  เป็นวารสารทเ่ี ก่ียวข้องกับบทความน้ัน  มีช่ือเสยี งทางวิชาการ  ผจู้ ดั ทาวารสารมีความน่าเชอ่ื ถือ  มีความต่อเน่ืองในการเผยแพร่  เป็นท่ีรจู้ กั และแพร่หลาย พจิ ารณาความทันสมัย  ตัวอย่าง เลือกรายการท่ีพิมพใ์ นปีปัจจุบัน หรือพมิ พ์ครง้ั ใหม่ เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วิชาการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 53

3.3 พิจารณาว่าเนื้อหาของสารสนเทศอยู่ในระดบั ใด? สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information) มีความน่าเชอ่ื ถอื มากทส่ี ุด  งานต้นฉบับหรืองานที่ผู้เขียนเผยแพร่ครั้งแรกมักปรากฏในวารสาร รายงานการ วิจัย สารสนเทศทตุ ยิ ภมู ิ (Secondary Information)  เปน็ การนาสารสนเทศปฐมภูมิมาเขียนใหม่หรือเป็นเครื่องมือช่วยค้นหรือติดตาม สา ร สนเ ทศป ฐมภู มิ เช่น บท คัดย่ องา นวิ จัย บทวิ จา ร ณ์หนั งสื อ ดรรชนีวารสารและวารสารสาระสังเขป เปน็ ต้น ฉะน้ันการประเมินสารสนเทศเป็นข้ันตอนในการประเมินเพื่อคัดเลือกสารสนเทศที่เราได้ จาก การสืบค้น จากแหล่งต่าง ๆ ซ่ึงอาจจะใช้ไม่ได้ทุกรายการ เช่น ไม่ตรงกับท่ีเราต้องการ เน้ือหาเก่าเกินไป หรอื ไมม่ ีความนา่ เชือ่ ถือในทางวชิ าการ เพื่อใหไ้ ดส้ ารสนเทศทม่ี ีคุณคา่ และนาไปใช้งานได้อย่างแท้จริง การวางโครงเรื่อง เมือ่ นกั เรียนผ่านข้นั ตอนการรวบรวมสารสนเทศเบ้ืองต้นแล้ว จะพบว่า เราจะเกิดความคิดในการ ลาดับเรื่องที่จะเขียน ซ่ึงการลาดับเร่ืองนั้นบางครั้งอาจสลับสันสนบ้าง ฉะนั้นเพื่อให้เน้ือหาในรายงานมี ความสัมพันธ์กันเป็นลาดับต้ังแต่ต้นจนจบเรื่อง จึงควรเขียนโครงเร่ืองเพื่อใช้เป็นแนวทางในการเรียบเรียง รายงานก่อน ทงั้ นีอ้ าจมีการปรบั ลดหรอื เพิ่มเติมหัวข้อโครงเรื่องภายหลังได้ เพราะเม่ือเข้าสู่ขั้นการอ่านและ การทาบัตรบันทึก ผูศ้ กึ ษา อาจมองเห็นประเด็นชัดมากขึ้น การทาเช่นน้ีจะทาให้โครงเรื่องมีความสมบูรณ์ และส่งผลตอ่ คณุ ภาพของเน้ือหา ธนู ทดแทนคุณ (2553) เปรียบเทียบโครงเร่ืองรายงานเหมือนกับเข็มทิศของทหาร ในการเข้าป่า นน้ั หากไม่มเี ข็มทศิ ทหารจะไม่สามารถทราบตาบลพิกัดของตนเอง และไม่ทราบว่าจะต้องเดินทางต่อไปใน ทิศทางใด ทาให้หลงป่าได้ ผู้เขียนรายงานวิชาการก็เช่นเดียวกัน ดังน้ันหากนักเรียนไม่ประมวลความคิด จากการอ่านและการรวบรวมสารสนเทศเทศเบ้ืองต้น เพื่อมาจัดทาโครงเรื่องรายงานแล้วนักเรียนก็อาจจะ หลงทางได้ ในทีน่ ้คี ือไมส่ ามารถจะเรียบเรียงให้เป็นลาดับอย่างมีเอกภาพและสมั พนั ธภาพได้ เอกภาพ หมายถึง การเรียงลาดับเร่ืองราวโดยท่ีสามารถสรุปประเด็นหัวใจท่ีสาคัญได้เพียง ขอบเขตทชี่ ัดเจนเพยี งหนงึ่ เดียว หรอื มองเหน็ เป้าหมายและวตั ถุประสงค์ใหญ่ ๆ ไดช้ ดั เจนทสี่ ุด สัมพันธภาพ หมายถึง การเรียงลาดับเรื่องราวโดยท่ีสามารถทาให้แต่ละเร่ืองที่แยกกันอยู่ มคี วามเชอ่ื มโยงต่อเนื่องกันจนเกิดความคิดรวบยอดตอ่ เรอื่ งนัน้ เปน็ หน่ึงเดียว (เอกภาพ) กล่าวโดยสรุป การเขียนโครงเรื่องท่ีดีควรต้องพิจารณาถึงลักษณะดังต่อไปนี้ (อุษา เช้ือหอม, 2540: 31) 1) ควรมีประเด็นครบถ้วนและครอบคลมุ ช่ือรายงาน 2) หัวข้อในแต่ละบทสอดคล้องกับชือ่ รายงาน 3) การกาหนดหัวข้อในบทต่าง ๆ มีความเชื่อมโยมต่อเน่ืองกันเป็นลาดับอย่างเหมาะสมทา ให้เหน็ ภาพรวมของรายงานชัดเจนขึน้ และต้องดงึ จดุ เดน่ เฉพาะตวั ของเรื่องออกมาใหผ้ อู้ ่านมองเหน็ ใหไ้ ด้ 4) หัวข้อทุกระดับ คือหัวข้อใหญ่ (ช่ือบท) หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย สอดคล้องสัมพันธ์กัน ทงั้ หมด โดยไม่ซ้าซ้อนกัน 5) การต้งั ช่ือเร่อื ง ชอื่ บท ชอื่ หวั ข้อระดับตา่ ง ๆ ตรวจกะทดั รัดและสอื่ ความหมายไดช้ ดั เจน เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2565 54

วาณี ฐาปนวงศศ์ านติ (2539: 127) กล่าวถึงหลักการวางโครงเรื่องไว้ดงั นี้ 1) นาข้อมลู ทีศ่ กึ ษาจากการรวบรวมสารนิเทศเบื้องตน้ มาลาดับความสาคัญเพื่อวางโครงรา่ ง 2) ในข้นั แรกควรกาหนดเปน็ หวั เรอ่ื งกวา้ ง ๆ กอ่ น 3) การใช้ช่ือควรกะทดั รัด ไมย่ าวไป และตอ้ งสัมพนั ธ์กนั ทุกระดบั หัวขอ้ 4) ไม่ควรแบ่งหัวขอ้ ย่อยมาก ให้พิจารณาหัวข้อทม่ี คี วามสาคัญเก่ียวขอ้ งกันเท่านน้ั 5) ใชร้ ะบบตวั เลขในการแบ่งหัวข้อต่าง ๆ เพื่อปอ้ งกันความสบั สน การกาหนดใช้ระบบตัวเลขและทศนิยมในการลาดับหัวข้อโครงเร่ืองจะสร้างความเข้าใจต่อ การเรียงลาดับหัวข้อได้อย่างเป็นรูปธรรม การใช้ตัวเลขและทศนิยมในการวางโครงเร่ืองจะช่วยให้ผู้เขียน รายงานไม่สับสัน สามารถเชื่อมต่อความคิดได้อย่างมีระบบและต่อเน่ือง ไม่หลงประเด็น ไม่ลืมที่จะกล่าวถึง เน้ือหาใด ๆ ตลอดจนสามารถตรวจสอบได้บ่อยครั้งเท่าท่ีต้องการ และท่ีสาคัญการปรับลดหรือเพ่ิมเติม หัวข้อในโครงเร่ืองก็สามารถทาได้ง่าย ส่งผลดีต่อเน้ือหาโดยรวมของรายงาน ท้ังนี้โครงเร่ืองจะเป็นที่มาของ สารบัญเรื่องด้วย แนวทางการเขียนโครงเร่อื ง 1. โครงเรื่อง ประกอบด้วย ชื่อเร่ือง หัวข้อใหญ่ หัวข้อรอง และหัวข้อย่อย ที่มีความสาคัญ มากและรองลงมาตามลาดับ 2. ไม่ควรแบ่งเนื้อเร่ืองออกเป็นหัวข้อย่อยหลายชั้นจนเกินไป การตั้งหัวข้อย่อย ๆ ควร พิจารณาแลว้ ว่าจะเปน็ ประโยชน์ต่อการเสนอความคิดและผลการศึกษาค้นคว้าเฉพาะเรื่องนั้น ๆ เพราะการ ใช้หวั ขอ้ ยอ่ ยมากเกนิ ไปจะทาให้เรื่องสับสนได้งา่ ย 3. การเขียนหัวข้อไม่ควรยาวเกินไป ควรเป็นข้อความกะทัดรัด ได้ใจความที่ครอบคลุม เนื้อหาในตอนนั้น ๆ และไม่ควรเป็นประโยคคาถาม เช่น เศรษฐกิจพอเพียงคืออะไร ทาไมต้องลดโลกร้อน เปน็ ตน้ 4. เพ่ือความสะดวกและเป็นระเบียบในการทาโครงเร่ือง ควรแบ่งหัวข้อเป็นระบบท่ีสะดวก และนิยมกนั มากคอื ระบบตวั เลขท่ไี มใ่ ช้เครื่องหมายมหัพภาค (.) กากับ หรืออาจใช้ตัวเลขผสมกับตัวอักษรก็ ได้ เชน่ แบบที่ 1 ใชต้ ัวเลขสลบั กบั ตัวอักษร ชอื่ เรอื่ ง/ช่ือรายงาน 1. 2. ก. ข. 3 ก. ข. 1) 2) 11 เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 55

แบบที่ 2 ใชต้ ัวเลขล้วน ชอ่ื เรอ่ื ง/ชอื่ รายงาน 1. 2. 2.1 2.2 2.2.1 2.2.2 2.2.3 ff ประโยชน์ของโครงเร่ือง การวางโครงเรื่องกอ่ นลงมือเขียนมปี ระโยชน์หลายประการ คอื 1. ช่วยในการตัดสินใจเกี่ยวกับวิธีที่จะนาเสนอเนื้อหา คือ ช่วยให้เราทราบ จุดมุ่งหมายใน การเขียน รู้จักกาหนดขอบข่ายของเน้ือหา สามารถกาหนดความคิดหลักและความคิดสนับสนุนของเนื้อหา ได้ชัดเจน และช่วยในการติดสินใจที่จะลาดับความคิดท่ีจะกล่าวก่อน หรือหลังออย่างไร รวมทั้งช่วยให้เห็น แนวทางการเรยี บเรยี งความคดิ วา่ ควรจะใชแ้ บบใด เช่น เรียบเรียงตามวัน เวลา ตามเน้ือที่ หรือตามเหตุผล เป็นตน้ 2. ช่วยให้ตัดสินใจในการเตรียมเนื้อหาได้อย่างเพียงพอ เม่ือบรรจุหัวข้อต่าง ๆ ลงใน โครงเรื่องทาให้เราทราบว่าต้องการเน้ือหาอะไรบ้าง และมีเนื้อหาในประเด็นหรือหัวข้อใดที่เรายัง ไม่รู้ดีพอ หรือยงั หารายละเอียดไม่ได้เรากส็ ามารถเตรียมความรเู้ หลา่ นี้เพม่ิ เติมได้อกี จนเพียงพอ 3. ช่วยในการวางสัดส่วนของเรื่องได้เหมาะสม โครงเร่ืองช่วยบอกให้ทราบว่าควรพูดใน ประเด็นอะไรบ้างมปี ระเด็นใดท่ไี มค่ วรพูดนั้น ควรนาความคิดหรือรายละเอียดมาสนับสนุนมากหรือน้อยแค่ ไหน จึงจะพอเหมาะกับความยาว ซง่ึ จะชว่ ยให้สัดส่วนของเรื่องงดงามตา 4. ช่วยให้เขียนเร่ืองอย่างมีเหตุผล คือมองเห็นความสัมพันธ์ของประเด็นต่าง ๆ ของเน้ือหา จากโครงเรอ่ื งได้ชัดเจนว่ามีประเด็นหรือหัวข้อใดเกี่ยวข้องกันบ้าง และจะโยงสัมพันธ์ ความคิดของประเด็น ต่าง ๆ เหลา่ นน้ั อยา่ งไร จงึ จะทาใหเ้ นอื้ หาหามนี า้ หนักและสมเหตุสมผล เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 56

ตัวอยา่ งโครงเรือ่ ง 1 ววิ ฒั นาการของวรรณกรรมไทย 1. ความหมายของวรรณกรรมไทย 2. วรรณกรรมไทยสมยั สุโขทัย 2.1 ลักษณะท่ัวไปของวรรณกรรม 2.2 ลกั ษณะคาประพันธ์ 2.3 จุดมงุ่ หมายการแต่ง 2.4 เนื้อเรื่องยอ่ 2.5 แง่คิดท่ีได้รับ 3. วรรณกรรมไทยสมัยอยธุ ยา 3.1 ลักษณะทว่ั ไปของวรรณกรรม 3.2 ลกั ษณะคาประพนั ธ์ 3.3 จุดมงุ่ หมายการแตง่ 3.4 เนอ้ื เรอ่ื งยอ่ 3.5 แง่คิดทไี่ ด้รับ 4. วรรณกรรมไทยสมยั ธนบุรี 4.1 ลกั ษณะทว่ั ไปของวรรณกรรม 4.2 ลกั ษณะคาประพันธ์ 4.3 จุดม่งุ หมายการแต่ง 4.4 เน้ือเรื่องย่อ 4.5 แง่คดิ ทไ่ี ดร้ ับ 5. วรรณกรรมไทยสมยั รัตนโกสินทร์ 5.1 ลักษณะท่ัวไปของวรรณกรรม 5.2 ลกั ษณะคาประพนั ธ์ 5.3 จุดมุ่งหมายการแตง่ 5.4 เนอื้ เรื่องย่อ 5.5 แง่คดิ ทไ่ี ดร้ ับ สรุป เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 57

ตัวอยา่ งโครงเร่ือง 2 การเล่นฟตุ บอล บทที่ 1 บทนา 1.1 ประวตั คิ วามเปน็ มาของกฬี าฟตุ บอล 1.2 ฟตุ บอลในต่างประเทศ 1.3 กฬี าฟุตบอลในประเทศไทย บทที่ 2 อุปกรณก์ ารเล่นกีฬาฟุตบอล 2.1 ลกู ฟตุ บอล 2.2 เสอื้ ผ้า 2.3 รองเทา้ 2.4 สนามฟุตบอล 2.5 อปุ กรณ์อนื่ ๆ บทท่ี 3 วธิ ีการเล่นกีฬาฟตุ บอล 3.1 เทคนคิ การเล่นฟุตบอล 3.2 การเล่นเมือ่ เปน็ ฝา่ ยรุก 3.3 การเล่นเมื่อเปน็ ฝ่ายป้องกัน 3.4 การเล่นฟุตบอลอาชพี บทท่ี 4 กตกิ าในการเลน่ กฬี าฟตุ บอล 4.1 จานวนผู้เชน่ 4.2 ระยะเวลาในการแขง่ ขัน 4.3 การนับประตู 4.4 การแตะลูกโทษ 4.5 กตกิ าสากล 4.6 คาศัพท์เกยี่ วกบั กฬี าฟตุ บอล บทที่ 5 บทสรุป เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 58

การเรียบเรยี งเนอื้ หา การเรียบเรียงเน้ือหาน้ันต้องอาศัยข้อมูลที่ได้จากการค้นคว้าและบันทึกไว้ในข้ันตอนที่แล้ว นามา เรียบเรียงโดยใช้ภาษาของตนเอง ทั้งนี้ในการใช้ภาษานักเรียนจะต้องคานึงถึงภาษาในการเขียนรายงาน วิชาการ บางคร้ังอาจต้องคัดลอกมาจากหนังสือเล่มอ่ืนด้วยการอ้างอิงอย่างถูกต้อง การลาดับเรื่องต้อง เป็นไปตามโครงเรือ่ งที่กาหนดไวด้ ้วย ในการเขียนรายงานทุกคร้ังต้องอาศัยข้อมูลหรือสารสนเทศเพ่ือการอ้างอิ งให้เน้ือหามีความ น่าเช่ือถือ ฉะนั้นเพ่ือเป็นการให้เกียรติผู้เขียนหรือเจ้าของสารสนเทศน้ันจึงต้องจัดทารายการอ้างอิงและ บรรณานุกรม เพ่ือรวบรวมรายการสารสนเทศเข้าไว้ด้วยกัน ตามหลักการและรูปแบบการพิมพ์รายการ บรรณานุกรม ทั้งนี้ การจัดทารายการบรรณานุกรมแต่ละประเภทต้องเป็นไปตามรูปแบบที่ถูกต้องของ ประเภทน้ัน ๆ ด้วย การพิมพร์ ายงานเป็นขน้ั ตอนท่ีมีความสาคญั ขนั้ ตอนหน่ึง เพราะเป็นขั้นตอนแสดงความคิดซ่ึงผ่าน การเรยี บเรยี งและนามาพมิ พ์เป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อส่ือความรู้ความคิดเห็นทางวิชาการไปสู่ผู้อ่าน แม้ว่า การเรียบเรียงรายงานจะทาได้ดีเพียงใด แต่ถ้ากระบวนการพิมพ์ผิดพลาด รูปแบบการพิมพ์ผิดหลักเกณฑ์ ก็อาจทาให้รายงานนั้นด้อยคุณภาพไปอย่างน่าเสียดาย จึงจาเป็นอย่างย่ิงท่ีนักเรียนจะต้องให้ความสาคัญ และประณีตในการพิมพ์เพื่อใหร้ ายงานมคี ุณภาพดีสมตามความมุ่งหมาย การจดั ทาบรรณานกุ รม ในการเขียนรายงานทุกคร้ังต้องอาศัยข้อมูลหรือสารสนเทศเพ่ือการอ้างอิงให้เนื้อหามีความ น่าเช่ือถือ ฉะน้ันเพ่ือเป็นการให้เกียรติผู้เขียนหรือเจ้าของสารสนเทศนั้นจึงต้องจัดทารายการอ้างอิงและ บรรณานุกรม เพ่ือรวบรวมรายการสารสนเทศเข้าไว้ด้วยกัน ตามหลักการและรูปแบบการพิมพ์รายการ บรรณานุกรม ท้ังน้ีการจัดทารายการบรรณานุกรมแต่ละประเภทต้องเป็นไปตามรูปแบบที่ถูกต้องของ ประเภทนนั้ ๆ ดว้ ย การจัดพมิ พร์ ายงาน การพมิ พ์รายงานเป็นขั้นตอนที่มีความสาคญั ข้ันตอนหน่ึง เพราะเป็นข้ันตอนแสดงความคิดซ่ึงผ่าน การเรยี บเรียงและนามาพมิ พเ์ ป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อส่ือความรู้ความคิดเห็นทางวิชาการไปสู่ผู้อ่าน แม้ว่า การเรียบเรียงรายงานจะทาได้ดีเพียงใด แต่ถ้ากระบวนการพิมพ์ผิดพลาด รูปแบบการพิมพ์ผิดหลักเกณฑ์ ก็อาจทาให้รายงานนั้นด้อยคุณภาพไปอย่างน่าเสียดาย จึงจาเป็นอย่างยิ่งท่ีนักเรียนจะต้องให้ความสาคัญ และประณีตในการพิมพ์เพ่ือให้รายงานมีคุณภาพดีสมตามความมงุ่ หมาย เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 59

บทที่ 8 การเขยี นอ้างอิงและบรรณานกุ รม การเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมเป็นเร่ืองท่ีจาเป็นในการจัดทารายงานวิทยานิพนธ์ และ การค้นคว้าอิสระ เพราะผู้เขียนต้องมีการศึกษาค้นคว้าจากแหล่งความรู้ต่าง ๆ เพ่ือสร้างความน่าเช่ือถือ ใหแ้ ก่ผอู้ ่าน ว่าเปน็ ผลงานที่ได้ผา่ นการศกึ ษาค้นคว้าอย่างมหี ลักฐาน เมอ่ื นาข้อความของผู้อื่นมาไว้ในเน้ือหา ไม่วา่ จะคดั ลอกข้อความหรือสรุปความคิดเห็น ต้องให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน ด้วยการระบุว่าเป็นงานของ ใคร แทรกไว้ในเน้อื หาหรือลงเชงิ อรรถไว้ และต้องลงไว้เป็นหลักฐานในบรรณานุกรมให้ถูกต้องตามหลักการ อ้างองิ และการลงรายการในบรรณานกุ รม ตามลักษณะผลงานทางวชิ าการนัน้ ๆ ด้วย การอา้ งอิงเชงิ วิชาการ ในการเขยี นเอกสารทางวิชาการ ต้องมีการเขียนอ้างอิงเอกสารหรือเขียนบรรณานุกรม เพ่ือแจ้ง แหลง่ ทีม่ าของสารสนเทศ ซึ่งแสดงวา่ งานเขียนนนั้ ไดม้ กี ารศกึ ษาค้นคว้ามาเปน็ อยา่ งดี การอ้างอิง (Citation) หมายถึง การแสดงแหล่งที่มาของข้อมูลหรือหลักฐานที่นามาใช้ ประกอบการเขียนรายงานหรือเอกสารทางวิชาการ ความสาคญั ของการอา้ งองิ เชงิ วชิ าการ การอา้ งอิงมีความจาเป็นและความสาคัญหลายประการดว้ ยกนั ดงั ตอ่ ไปน้ี 1. เป็นการระบุที่มาของขอ้ ความในเนอื้ เร่อื ง บอกใหท้ ราบวา่ ไดข้ อ้ มลู มาจากท่ใี ด เพ่ิมความน่าเชื่อถือ ให้แก่รายงานหรอื เอกสารทางวชิ าการเรอื่ งน้นั สามารถตรวจสอบหลกั ฐานเดมิ ได้ 2. เป็นการให้เกียรติแก่เจ้าของข้อมูล แสดงถึงความเคารพในความรู้ความสามารถของเจ้าของข้อมูล นับเป็นมารยาททดี่ ี และไมถ่ ือเป็นการละเมดิ ลิขสทิ ธ์ิ 3. เป็นการแนะนาแหล่งสารสนเทศสาหรับผู้อ่านท่ีสนใจจะศึกษาหาข้อมูลเพิ่มเติม นอกเหนือจาก ที่นามากล่าวไวใ้ นรายงานหรอื เอกสารทางวิชาการเร่อื งนั้น 4. เป็นการแสดงให้เห็นว่ารายงานหรือเอกสารทางวิชาการเรื่องน้ัน เป็นผลงานท่ีผ่านการศึกษา คน้ ควา้ การรวบรวมและเรียบเรยี งอยา่ งมีระบบและมหี ลักฐาน เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 60

รปู แบบการเขียนอ้างอิงเชงิ วิชาการ รปู แบบการเขียนอ้างองิ และบรรณานกุ รม จะปรากฏอยทู่ ัง้ สว่ นเนอ้ื หาและทา้ ยเลม่ คอื 1. ส่วนเนื้อหา คือ รายการอ้างอิง (Reference List) ซ่ึงจะมีรูปแบบการอ้างอิงที่ใช้อยู่ ทัว่ ไป 3 แบบ ได้แก่ แบบเชงิ อรรถ แบบแทรกในเนอ้ื หา และแบบอา้ งองิ ทา้ ยบท 2. ส่วนท้ายเล่ม คือ บรรณานุกรม (Bibliography) ซึ่งได้แก่ รายละเอียดของแหล่ง สารสนเทศที่ใช้อ้างอิงในเนื้อหาทุกรายการ ทั้งที่ปรากฏชัดเจนโดยเขียนอ้างอิงไว้ และส่วนท่ีไม่ปรากฏ ชดั เจน แต่อาจจะเป็นเพียงการรวบรวมความคดิ หลายๆ แนวแลว้ นามาเรียบเรียงใหม่ หมายเหตุ รูปแบบการเขียนอ้างอิงและบรรณานุกรมในเอกสารฉบับนี้ จะอ้างอิงตามแบบ APA Style ซง่ึ เปน็ สไตล์ในการลงรายการอ้างองิ ทไี่ ด้รับความนิยมมากทางด้านสงั คมศาสตร์ การเขียนอ้างอิง การอ้างอิง คือ การระบุถึงแหล่งสารสนเทศที่นามาใช่อย่างสั้น ๆ ซึ่งมีข้อมูลเพียงพอท่ีผู้ใช้ สามารถนาไปหาแหลง่ สารสนเทศดังกล่าวจากแหล่งต่าง ๆ ได้ วตั ถปุ ระสงคข์ องการอ้างองิ 1. เพ่ือเปน็ หลกั ฐานในการศกึ ษาค้นควา้ 2. เพอื่ เปน็ การใหเ้ กียรตเิ จ้าของข้อมลู เดิม 3. เพ่ือปอ้ งกนั การถกู ฟอ้ งร้องเรื่องลขิ สทิ ธ์ิ ความจาเป็นในการอ้างองิ การอ้างอิงมีความจาเป็นต้องทาทุกครั้งท่ีมีการนาสารสนเทศหรือข้อมูลจากแหล่งต่าง ๆ มาใช้ในงานเขียน เน่ืองจากผู้อ่านอาจทราบว่าใครเป็นผู้เขียนหรือพูดถึงไว้และจะหาต้นฉบับได้จากท่ีใด ซง่ึ มหี ลักเกณฑ์ท่ใี ชส้ าหรับการอา้ งองิ คือ 1. เม่ือมีการยกคาพูด ความคิด ข้อความ ฯลฯ ของผู้อื่นมา อาจเป็นเพียง 2 คา หรือ มากกว่าและผูอ้ า่ นทราบได้วา่ ข้อความดงั กล่าวเป็นการนาของผู้อน่ื มา ต้องทาการอา้ งองิ เสมอ 2. ถา้ มีการกลา่ วถงึ สง่ิ ท่อี ้างมาแลว้ ซ้าอกี ไมจ่ าเปน็ ตอ้ งทาการอา้ งอิงซา้ ทุกครั้ง 3. การสรุปความคิด ความคิดเห็น การตีความ ที่เขียนโดยบุคคลอ่ืน จะต้องทาการอ้างอิง ทุกครง้ั เพอ่ื ให้ผอู้ า่ นสามารถตรวจสอบต้นฉบบั ได้ 4. กรณีท่ีเป็นเครื่องที่เป็นเร่ืองท่ีทราบกันโดยท่ัวไป เป้นความรู้ท่ีสามารถหาได้ง่ายจาก แหลง่ ต่าง ๆ เป็นที่ยอมรับกันทวั่ ไปและไม่ต้องอาศัยการตีความ ไม่ต้องทาการอ้างอิง เช่น การกล่าวถึงวัน เฉลิมพระชนมพรรษา หรือ จงั หวดั ลพบรุ ีอยูใ่ นภาคกลาง เปน็ ตน้ 5. กรณีที่ไมแ่ น่ใจวา่ อะไรเปน็ เร่ืองท่ีทราบกนั โดยทว่ั ไป ให้ทาการอา้ งองิ ไวด้ ว้ ย เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 61

รปู แบบการอา้ งองิ การอ้างอิงมีหลายวิธีการ เช่น การอ้างอิงท้ายหน้า (เชิงอรรถ) การอ้างอิงท้ายบท การอา้ งอิงแทรกในเนือ้ หา (นาม-ป)ี ซ่งึ ในการศกึ ษาวิชา IS2 การส่อื สารและการนาเสนอ จะสอนการเขียน อ้างองิ แทรกเนอื้ หา (นาม-ป)ี เพราะเป็นการอา้ งองิ ทีน่ ิยมใช้กนั ปจั จุบัน 1. การอา้ งอิงท้ายหน้า (เชิงอรรถ) 1.1 เชิงอรรถอ้างอิง (citation footnote) คือ เชิงอรรถที่อ้างถึงแหล่งท่ีมาของข้อมูล ในเนื้อเรือ่ ง ดังตัวอยา่ ง หากจะพดู ถงึ ภาษา …………………………………………………………………................................. ........................................................................................................................................................... .....................................................................................................................เปน็ ต้น1 _______________________________ 1 จรัลวิไล จรูญโรจน,์ ม.ล. (2548). ภาษาศาสตร์เบือ้ งตน้ , (กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร,์ หนา้ 90. 1.2 เชิงอรรถเสริมความ (content footnote) คือ เชิงอรรถที่อธิบายขยายความคา หรอื ข้อความในเนอื้ เรื่อง ดงั ตวั อย่าง ภาษา …………………………………………………………………....................................................... ……………….…………………………………………………………………………...................................................... …............................………เช่นกนั 2 _______________________________ 2 นักภาษาศาสตร์เชื่อวา่ ภาษาญ่ปี ่นุ และภาษาเกาหลเี ปน็ ภาษาร่วมเชือ้ สายกันและอยู่ ตระกูล Altaic 1.3 เชิงอรรถเช่ือมโยง (cross reference footnote) คือ เชิงอรรถท่ีโยงให้ดูข้อความ ท่มี ีความสัมพันธ์กนั หรอื ท่ีได้กลา่ วรายละเอยี ดไวแ้ ลว้ ในบทอ่นื หรือหนา้ อื่น ๆ ของงานช้ินน้ัน ดงั ตวั อย่าง การสื่อสาร ………………………………….........………………………………...................................... ……………….……………………………………………………..........……………………............................................. มารูจ้ กั ภาษา3 ดงั กลา่ ว ..................................................................................................................... _______________________________ 3 ดรู ายละเอียดเกย่ี วกับการเรียนรู้ภาษา หนา้ 40 เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 62

วิธีการอา้ งอิงทา้ ยหน้า (เชงิ อรรถ) 1) เชิงอรรถจะอยู่สว่ นท้ายของหนา้ หรอื ท้ายบท 2) ก่อนลงรายการเชิงอรรถในแต่ละหน้าจะต้องขีดเส้นค่ันส่วนเน้ือหากับเชิงอรรถ โดยมีความยาวประมาณ 2 นวิ้ 3) ข้อความในเชงิ อรรถให้เร่ิมตรงกบั การยอ่ หน้า 4) การเรียงลาดับเชงิ อรรถใหน้ บั หน่ึงใหมเ่ มอื่ ขึน้ หนา้ ใหม่ เชงิ อรรถในแต่ละหน้าต้องลง รายการให้จบและครบถ้วนในหน้านั้น ผู้พิมพ์จะต้องกะเน้ือท่ีสาหรับการพิมพ์เชิงอรรถในแต่ละหน้าให้ เพยี งพอ 5) หมายเลขกากับข้อความทีต่ อ้ งการทาเชิงอรรถ ให้พิมพ์สงู กว่าขอ้ ความปกติ (ตวั ยก) 2. การอ้างองิ ทา้ ยบท เป็นการอ้างอิงท่ีสะดวก เนื่องจากไม่ต้องพะวงการกะระยะเนื้อท่ีแต่ละหน้าของบท นิพนธ์เพื่อเผื่อเขียนอ้างอิงเหมือนการอ้างอิงแบบเชิงอรรถ เพราะการอ้างอิงท้ังหมดจะไปรวมอยู่หน้า สดุ ทา้ ยของแต่ละบท 3. การอา้ งอิงแทรกเนื้อหา (อา้ งอิงนาม-ปี) เป็นการอ้างอิงที่อยู่รวมกันกับเนื้อหา ไม่แยกกันคนละส่วนเหมือนการอ้างอิงแบบ เชิงอรรถหรือแบบการอ้างอิงท้ายบท ทาให้รูปแบบการอ้างอิงกะทัดรัด และยืดหยุ่นกว่า เพราะสามารถ เขยี นชือ่ ผแู้ ต่งใหก้ ลมกลนื ไปกบั เนื้อหาได้ หรือจะแยกใสไ่ วใ้ นวงเลบ็ ก็ได้ การลงรายการอา้ งองิ แทรกเน้อื หา (อา้ งอิงนาม-ปี) (ช่อื /นามสกุล,/ปีทพ่ี มิ พ์:/หนา้ ท่ีอา้ งอิง) 3.1 ตาแหน่งการอา้ งองิ ทา้ ยข้อความ รางวัลวรรณกรรมไทยบัวหลวงไดัรับพระมหากรุณาธิคุณจากสมเด็จพระเทพ รัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี ทรงรับเป็นองค์อุปถัมภ์ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2531 และได้ ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า พระราชทานพระวินิจฉัยวรรณกรรมที่ประกวด และพระราชทาน รางวลั ในการประกวดทกุ ครงั้ อีกด้วย (เฉลยี ว สงั ฆมณ,ี 2541: หน้า 4) 3.2 ตาแหน่งการอา้ งอิงไวก้ อ่ นข้อความ วิภา กงกะนนั ทน์ (2540, หน้า 14) กล่าวถึง ลักษณะทางวรรณศิลป์ที่เหมือนกันของ เร่ืองสนั้ และนวนยิ ายไว้ดังนี้ .................. เกนหลง สนิทวงศ์ ณ อยุธยา (2542: หน้า 20) ได้รวบรวมรายการรางวัลและ เหรียญสดุดีพระเกียรติคุณที่มีผู้ทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวไว้ ดังตอ่ ไปน้ี ........................... เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 63

การลงรายการอา้ งอิง 1) การอ้างเอกสารทม่ี ีผแู้ ตง่ คนเดียว 1.1) ผู้แต่งชาวไทย ใส่ ชื่อ-ชื่อสกุล โดยไม่ต้องใส่คานาหน้านาม ยศ หรือ ตาแหน่งทาง วิชาการ (อัมพิกา เสนาวงศ์, 2535: หนา้ 60-64) 1.2) ผแู้ ต่งชาวต่างประเทศ ใส่ เฉพาะชือ่ สกลุ และตามด้วยเครอื่ งหมายจลุ ภาค (,) (Jensen, 1991: p. 8) 1.3) ผู้แต่งท่มี ฐี านันดรศักด์ิ บรรดาศักดิ์ สมณศักด์ิ (คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว., 2528: หนา้ 17) (ภมู เี สวิน, พระยา, 2511: หน้า 53) 2) การอา้ งเอกสารทมี่ ผี ู้แต่ง 2 คน ใสช่ ือ่ ผู้แต่งทั้งสอง คนั่ ด้วยคาวา่ “และ” สาหรับภาษาไทย ส่วนภาษาอังกฤษใช้ “&” (รัฐพล ศรีบูรณะพิทักษ์ และ อรณี ขวญั ตา, 2547: หน้า 45) (Samit & Miller, 1997: p. 38) 3) การอา้ งเอกสารท่มี ีผู้แตง่ 3 คน ใส่ชื่อผู้แต่งท้ัง 3 คน โดยคั่นคนที่ 1-2 ด้วยเครื่องหมายจุลภาค (,) และคนรองสุดท้ายกับ คนสดุ ทา้ ย คั่นดว้ ยคาวา่ “และ” สาหรบั ภาษาไทย สว่ นภาษาองั กฤษใช้ “&” (พัชรี เนตรนอ้ ย, ปวติ ตา ทองลอง และธนวัฏ ปรชี าจารย์, 2551: หน้า 42) (Chao Wu-chi, Yoshida Shigeru. And Stephen V.Ballou, 1997: p.48) 4) การอ้างเอกสารที่มผี แู้ ตง่ จานวนมากกว่า 3 คนขน้ึ ไป ให้ใส่เฉพาะผู้แต่งคนแรก และตามด้วยคาว่า “และคณะ” สาหรับภาษาไทย ส่วน ภาษาอังกฤษใช้คาวา่ “et al.” (ธมลวรรณ หลิมวงศ์ และคณะ, 2539: หน้า 69) (Sheridon, Marion C, et al., 1999: pp. 4-7) 5) การอ้างเอกสารทม่ี ีผแู้ ต่งเปน็ สถาบัน 5.1) กรณีท่ีผ้แู ต่งเป็นสถาบนั ใสช่ อ่ื เตม็ ของสถาบนั นน้ั ๆ ตามทป่ี รากฏ (สมาคมครภู าษาไทยแห่งประเทศไทย, 2549: หนา้ 107) (วดั บวรนเิ วศวหิ าร, 2536: หน้า 2-5) 5.2) สถาบนั ทีม่ ีผลงานมาก ใหล้ งชื่อเฉพาะของสถาบันน้ัน (หอสมุดแห่งชาติ, 2540: หนา้ 16) (ราชบัณฑติ ยสถาน, 2554: หนา้ 52) 5.3) สถาบันที่มีอักษรย่อของสถาบันที่เป็นทางการ หรือเป็นที่ยอมรับกันแพร่หลายให้ใช้ อกั ษรย่อของสถาบนั นั้นได้ เพ่ือไมใ่ หข้ อ้ ความในวงเล็บยาวเกนิ ไป (ก.พ., 2538: หนา้ 10-16) (ร.ส.พ., 2540: หนา้ 49) เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 64

6) การอ้างเอกสารท่ีไมป่ รากฏชอ่ื ผู้แต่ง 6.1) ไม่ปรากฏช่อื ผแู้ ตง่ แต่มีชื่อผรู้ วบรวม หรอื บรรณาธิการ (คณภิ า ต้ังถาวรกุลเดช, บรรณาธิการ. 2549: หน้า 60-68) (Licherman, Ed. 1988: p. 55) 6.2) ไมป่ รากฏชอื่ ผแู้ ต่ง บรรณาธกิ าร หรอื ผู้รวบรวม ใส่ช่อื เรื่องแทน (“คมั ภรี ์ฉันทศาสตร์”, 2500: หน้า 49-62) (“Cooperative Learning”, 1983: p. 315) 7) การอ้างการสือ่ สารระหว่างบคุ คล การบรรยาย ปาฐกถา สมั ภาษณ์ ใหล้ งช่ือผู้บรรยาย ผ้แู สดงปาฐกถา ผู้ให้สัมภาษณ์ (กลุ ทรพั ย์ เกษแมน่ กจิ , คณุ หญิง, สัมภาษณ์, 2542) (Erith, สัมภาษณ์, 2000) 8) การอ้างเอกสารพิเศษหรือสื่อลกั ษณะอ่นื ๆ เอกสารที่นามาอ้างซึ่งไม่ใช่วัสดุส่ิงพิมพ์ ได้แก่ ต้นฉบับตัวเขียน รายการวิทยุโทร-ทัศน์ แผนที่ ภาพยนตร์ สไลด์ ฟิล์มสตริป เทป ตลับแผ่นเสียง เป็นต้น ให้ลงรายการช่ือเร่ืองแล้วค่ันด้วย เครือ่ งหมายจุลภาค (Comma) “ , ” ตามด้วยคาระบปุ ระเภทของวัสดุน้นั ๆ และปที จี่ ัดทา เลขหนา้ (ถ้ามี) 8.1) รายการวทิ ยโุ ทรทศั น์ (กรมพระยาดารงราชานภุ าพ, รายการโทรทศั น์ ชดุ “มรดกไทย”) 8.2) แผนท่ี ภาพยนตร์ สไลด์ ฟลิ ์มสตริป เทป ตลบั แผน่ เสียง (กรมส่งเสรมิ การเกษตร, สไลด)์ (“การสอ่ื สารดว้ ยไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์,” เทปโทรทัศน์, 2540) 8.3) ข้อมูลหรือเอกสารจากอินเทอร์เนต็ (รฐั พล ศรบี รู ณะพิทกั ษ,์ 2552) บรรณานกุ รมและเอกสารอ้างอิง บรรณานุกรม หรือ รายการเอกสารอ้างอิง หรือ เอกสารอ้างอิง ซ่ึงอาจก่อให้เกิดข้อสงสัยว่า ท้งั สองคานนั้ หมายความว่าอย่างไร เหมือนหรือต่างกันประการใด และควรเลือกใช้คาไหน ซ่ึงจากหนังสือ Publication Manual of the American Psychological Association (APA, 2009, p.215) ได้ให้ คาอธบิ ายดงั ต่อไปน้ี รายการเอกสารอ้างอิง (Reference List) คือ รายชื่อหนังสือ เอกสาร หรือแหล่งสารสนเทศ ใชค้ ้นควา้ และนามาอา้ งองิ ในงานเขยี นทางวชิ าการทกุ ประเภท บรรณานกุ รม (Bibliography) คอื รายชื่อหนังสอื เอกสาร หรอื แหลง่ สารสนเทศท่ีนอกจากจะ ใช้ประกอบการคน้ คว้าแลว้ ยังอาจให้ข้อมลู เพ่ิมเตมิ สาหรับการติดตามอ่านและศึกษาคน้ ควา้ ต่อไป เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 65

หลกั เกณฑท์ ่วั ไปในการพมิ พ์บรรณานุกรม หลักเกณฑ์ทั่วไปในการพิมพอ์ ้างองิ ท้ายเล่ม 1. ก่อนถึงหน้าบรรณานุกรมจะต้องมีหน้าบอกตอน โดยพิมพ์คาว่า “บรรณานุกรม” อยู่กลางหนา้ กระดาษ หรือ “ REFERENCE” ดว้ ยตัวอักษรพมิ พ์ใหญ่ท้งั หมด 2. หน้าแรกของบรรณานุกรมพิมพ์คาว่า “บรรณานุกรม” หรือ “REFERENCE” ไว้ กลางหนา้ กระดาษตอนบน หา่ งจากรมิ กระดาษขอบบน 1.5 นิว้ 3. เร่ิมรายการอ้างอิงแต่ละรายการให้พิมพ์ชิดขอบซ้าย หากรายการอ้างอิงมีความยาว เกนิ บรรทัดใหข้ ึน้ บรรทัดใหม่โดยยอ่ หน้าเขา้ ไป 7 ตวั อกั ษร เริ่มพิมพ์ในช่วงอักษรตัวที่ 8 เท่ากันทุกบรรทัด จนจบรายการอา้ งองิ แตล่ ะรายการ 4. ถ้ารายการอ้างอิงน้ันมีผู้แต่งซ้ากันให้ขีดเส้น 7 ตัวอักษร แล้วจุด (.) ( .) ไมต่ ้องลงชอ่ื ผู้แต่งอกี 5. ไม่ต้องใส่เลขลาดบั รายการอ้างองิ 6. การเรยี งลาดับรายการอา้ งอิง (1) เรียงรายการอ้างอิงตามลาดับอักษรตัวแรกของผู้แต่ง หรือของบรรณานุกรม รายการนนั้ และเรยี งภาษาไทยก่อนภาษาองั กฤษ (2) กรณีรายการอ้างอิงที่มีผู้แต่งคนแรกเหมือนกัน ยึดหลักดังน้ี ผู้แต่งคนเดียว เรียงไว้ก่อนผู้แต่งหลายคน ผแู้ ตง่ คนแรกเหมอื นกนั ใหเ้ รียงลาดับอกั ษรของผูแ้ ตง่ คนต่อมา (3) ผู้แต่งซา้ กันท้ังหมด ใหเ้ รียงตามปที ่ีพมิ พ์จากปีน้อยไปหาปีมาก กรณีไม่ปรากฏปี ทพี่ มิ พ์ ใหใ้ ส่ ม.ป.ป. และเรียงไวอ้ นั ดับหลัง (4) ถ้าปีที่พิมพซ์ า้ กัน ให้เรยี งตามลาดับอกั ษรตวั แรกของช่ือเร่อื ง (5) สาหรับภาษาอังกฤษ หากมีคาที่ข้ึนต้นเป็น Article (A, An, The) ไม่ต้อง นามาใช้ในการเรยี ง ให้เรยี งตามลาดับอกั ษรของคาถดั มา 7. การเว้นระยะหลงั เครอ่ื งหมายวรรคตอน มดี ังนี้ (1) หลังเครื่องหมายมหพั ภาค (. period) เวน้ 1 ระยะ (หลัง) (2) หลงั เครอ่ื งหมายจุลภาค (, comma) เว้น 1 ระยะ (หลัง) (3) หลังเครอ่ื งหมายอฒั ภาค (; semi-colon) เวน้ 1 ระยะ (หลงั ) (4) หลังเคร่ืองหมายมหพั ภาคคู่ (: colons) เว้น 1 ระยะ (หลงั ) วิธีการเรียงบรรณานุกรม การเรยี งบรรณานุกรมใช้หลกั เดียวกันกับการเรียงคาในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน โดย คาทม่ี ีตวั สะกดจดั เรียงไว้กอ่ นคาทมี่ ีรูปสระตามลาดบั ตงั้ แต่ กก - กฮ ดังนี้ กขคฅฆงจฉชซฌญฎฏฐฑฒณดตถทธนบปผฝพฟภม ย ร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ คาทช่ี ้ึนตน้ ด้วยพยัญชนะตัวเดยี วกนั เรยี งลาดบั ตามรูปสระ ดังน้ี อะ อวั อวั ะ อา อา อิ อี อื อุ อู เอะ เอ เอาะ เอา เอนิ เอีย เอียะ เอือ เออื ะ แอ แอะ โอ โอะ ใอ ไอร ฤ ฤๅ ล ฦ ฦๅ ว ศ ษ ส ห ฬ อ ฮ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 66

สว่ นประกอบในบรรณานกุ รม บรรณานุกรมของสื่อประเภทต่างๆ ทั้งสื่อสิ่งพิมพ์ ส่ิงไม่ตีพิมพ์และส่ืออิเล็กทรอนิกส์จะมี รูปแบบและหลักเกณฑ์การเขียนบรรณานุกรมที่คล้ายคลึงกัน แต่ละมีรายละเอียดแตกต่างกันไปตาม รูปแบบและประเภทของส่ือ ซง่ึ หลักเกณฑ์ในการลงบรรณานุกรมจะยึดตามรูปแบบการลงรายการหนังสือ เปน็ มาตรฐาน สว่ นส่ือประเภทอน่ื ตะแตกตา่ งออกไปตามตัวอย่างที่จะนาเสนอตอ่ ไป 1. ชอื่ ผแู้ ตง่ (Author) ช่ือ-ช่ือสกุล ผู้แต่งที่เป็นชาวไทย ไม่ต้องใส่คานาหน้า ถ้าผู้แต่งท่ีเป็นชาวต่างประเทศ ให้ลงชอ่ื สกุลกอ่ นคั่นด้วยจลุ ภาค ( , ) ตามดว้ ยชือ่ ต้น และช่อื กลาง หากผู้แต่งชาวต่างประเทศที่มีคากากับ ชื่อแสดงลาดับชั้นตระกูล เช่น Sr. (Senior) Jr. (Junior) ให้ถือว่าคาเหล่าน้ันเป็นส่วนหน่ึงของช่ือด้วย และปดิ ทา้ ยส่วนน้ีดว้ ยเครอ่ื งหมายมหพั ภาค ( . ) รฐั พล ศรีบรู ณะพิทกั ษ.์ Jensen, David L. วธิ กี ารในการอ้างองิ ชอ่ื ผู้แตง่ ศกึ ษาตัวอยา่ งดังนี้ 1) ช่อื ผ้แู ตง่ ที่มฐี านันดรศกั ดิ์ เช่น ม.ร.ว. คณุ หญิง หลวง พระยา คึกฤทธิ์ ปราโมช, ม.ร.ว. ภูมเี สวนิ , พระยา. 2) ช่ือผู้แต่งท่ีเป็นพระสังฆราชท่ีเป็นเชื้อพระวงศ์ ให้ลงนามจริงก่อน แล้วกลับเอา คานาหนา้ แสดงลาดับช้นั พระวงศ์ไวข้ ้างหลงั โดยคนั่ ดว้ ยจลุ ภาค ( , ) ปรมานชุ ติ ชิโนรส, สมเด็จพระมหาสมณเจา้ กรมสมเด็จพระ. 3) ช่ือผู้แต่งที่เป็นพระสังฆราชที่มาจากสามัญชน พระราชาคณะช้ันต่าง ๆ เช่น พระครู พระมหา ใหล้ งพระนามหรือนามตามท่ีปรากฏในหนังสอื แลว้ วงเล็บนามเดมิ พระธรรมโกศาจารย์ (ปัญญานนั ทภกิ ข)ุ . สมเด็จพระสังฆราช (วาสน์ วาสโน). 4) ชื่อผู้แต่ง 2 คน ให้ลงทั้งสองชื่อตามลาดับท่ีปรากฏ โดยเช่ือมด้วยคาว่า “และ” สาหรับภาษาอังกฤษให้เชือ่ มดว้ ยคาวา่ “&” สโิ รตม์ อนจุ ันทร์ และพิมพสิ ุทธิ์ พันธ์ุมณี Mayor, J., & Lionel Stebbing. 5) ชอ่ื ผแู้ ตง่ ทง้ั 3 คน โดยคัน่ คนที่ 1-2 ดว้ ยเครื่องหมายจุลภาค ( , ) และคนรองสุดท้าย กับ คนสุดทา้ ย คน่ั ดว้ ยคาวา่ “และ” สาหรับภาษาอังกฤษให้เชื่อมดว้ ยคาวา่ “&” ศิรนิ ภา ศิรริ าช, นภิ าพร ภาคภูมิ และศภุ กร สิทธิทา Hart, Davies, Arnold, Linden & Morgan. 6) ชื่อผู้แต่งท่ีมากกว่า 3 คน ให้ลงช่ือผู้แต่งคนแรก และตามด้วยคาว่า “และคณะ” สาหรับภาษาอังกฤษให้ใชค้ าวา่ “et al.” จริ ายุ ชอู ิน และคนอืน่ ๆ. Jensen, David, et al. 7) ชื่อผู้แต่งท่ีเป็นผู้รวบรวมหรือบรรณาธิการให้ระบุไว้ท้ายช่ือโดยใส่เครื่องหมาย มหัพภาค ( . ) คน่ั สาหรับภาษาองั กฤษใหใ้ ช้ “ed(s). (editor(s) - บรรณาธกิ าร)” เสาวลักษณ์ ศรีภกั ด.ี (บรรณาธิการ). Buck, Pearl S. (Ed.). เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 67

8) ช่ือผู้แต่งที่เป็นสถาบัน กรณีหน่วยงานราชการระดับกระทรวง ถ้าเน้ือหาน้ันกล่าว ครอบคลุมงานส่วนใหญ่ให้ลงชื่อกระทรวงนั้นเป็นผู้แต่ง หากเจาะจงเฉพาะหน่วยงานย่อยที่รับผิดชอบมา ด้วยให้ลงช่ือหน่วยงานใหญ่ และค่ันด้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) ตามด้วยหน่วยงานย่อย หรือกรณีท่ี หน่วยงานน้นั เป็นหนว่ ยงานอสิ ระ ให้ลงช่อื หนว่ ยงานน้นั ได้ กระทรวงศกึ ษาธกิ าร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลยั , คณะครศุ าสตร์. ธนาคารแห่งประเทศไทย. 2. ปีท่พี มิ พ์ ปีท่ีพิมพ์ให้ลงรายการเฉพาะตัวเลขในเครื่องหมายวงเล็บ (......) และปิดท้ายส่วนน้ีด้วย เคร่อื งหมายมหพั ภาค ( . ) หากในตวั เล่มของหนังสือไมไ่ ดร้ ะบุปที พ่ี ิมพ์ใหป้ ระมาณว่าหนังสือเล่มน้ันน่าจะ พิมพป์ ระมาณช่วงปีใด ให้ใส่เครื่องหมายคาถามไว้หลังปีพิมพ์ท่ีประมาณในวงเล็บ (...?) กรณีท่ีไม่ปรากฏ ปีพมิ พ์ และไมส่ ามารถตรวจสอบได้อยา่ งชดั เจนใหล้ งรายการ คาว่า “ม.ป.ป.” ซึ่งย่อมาจาก ไม่ปรากฏปีท่ี พิมพ์ สาหรับภาษาอังกฤษให้ลงรายการคาว่า “n.d.” ซึง่ ยอ่ มาจาก no date (2542) (2539?) (ม.ป.ป.) (n.d.) 3. ช่อื หนังสอื (Title) ให้ลงรายการตามท่ีปรากฏในหน้าปกในของหนังสือ ชื่อหนังสือภาษาไทยหากมีชื่อรอง (Sub-Title) ซึ่งเป็นคาอธิบายให้ลงรายการดว้ ยโดยค่นั ดว้ ยเครอ่ื งหมายมหัพภาคคู่ ( : ) แต่ถ้ามีการระบุช่ือ ภาษาอังกฤษควบคู่ด้วย ให้ลงรายการชื่อภาษาอังกฤษต่อท้ายชื่อภาษาไทย โดยคั่นด้วยเคร่ืองหมาย เท่ากับ (=) สาหรับชื่อเร่ืองของหนังสือภาษาอังกฤษต้อง ข้ึนต้นด้วยอักษรตัวพิมพ์ใหญ่ในคาแรก และ คาต่อไปให้ใช้อักษรตัวพิมพ์เล็ก ยกเว้นช่ือเฉพาะ และส่วนของช่ือหนังสือน้ีจะใช้อักษร ตัวเอน และ ปิดทา้ ยส่วนนดี้ ว้ ยเครอ่ื งหมายมหัพภาค ( . ) การอา่ นเพือ่ พัฒนาปญั ญา การเขยี น: ทักษะสมั พนั ธ์. การอ่าน = Reading 4. ครง้ั ท่ีพิมพ์ (Edition) ให้ลงรายการคร้ังที่พิมพ์ของหนังสือท่ีพิมพ์ต้ังแต่ครั้งท่ี 2 ข้ึนไป โดยลงรายการต่อท้าย ชื่อหนังสือ โดยใช้คาว่า “พิมพ์ครั้งที่/X.” สาหรับหนังสือภาษาอังกฤษให้ลงรายการคาว่า “2 nd ed.”, “3 rd ed.” และ “..th ed.” ปดิ ทา้ ยส่วนนีด้ ้วยเครื่องหมายมหัพภาค ( . ) พมิ พ์ครงั้ ท่ี 2. 2 nd ed. 5. เมืองทพ่ี มิ พ์ (Place) ให้ลงรายการช่ือเมืองซึ่งเป็นที่ต้ังของสานักพิมพ์ตามที่ปรากฏ ในกรณีชื่อเมือง ต่างประเทศถ้ามีหลายเมืองให้ใช้ชื่อเมืองแรก ถ้าช่ือเมืองซ้ากันให้ลงชื่อเมืองคั่นด้วยเคร่ืองหมายจุลภาค ( , ) และต่อดว้ ยอกั ษรย่อชือ่ รัฐ ถา้ ในกรณีไม่ปรากฏชอื่ เมืองถ้าให้ลงรายการคาว่า “ม.ป.ท.” ซึ่งย่อมาจาก ไม่ปรากฏสถานท่ีพิมพ์ สาหรับหนังสือภาษาอังกฤษให้ลงรายการคาว่า “n.p.” ซึ่งย่อมาจาก no place และปดิ ทา้ ยดว้ ยเคร่อื งหมายมหพั ภาคคู่ (:) กรงุ เทพฯ: ม.ป.ท. Englewood Cliffs, NJ: n.p. เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 68

6. สานักพิมพ์หรอื ผู้จดั พมิ พ์ (Publisher) ใสล่ งรายการชอ่ื ของสานักพมิ พ์ตามทีป่ รากฏในหน้าปกใน ถ้ามีหลายสานักพิมพ์ให้ใส่ช่ือ สานักพิมพ์แรก สานักพิมพ์ของหนังสือภาษาอังกฤษก็เช่นเดียวกัน กรณีท่ีไม่ปรากฏช่ือสานักพิมพ์ให้ลง รายการคาวา่ “ม.ป.พ.” ซึ่งย่อมาจาก ไม่ปรากฏสานักพิมพ์ สาหรับหนังสือภาษาอังกฤษให้ลงรายการ คา ว่า “n.p.” ซึ่งย่อมาจาก no place กรณที ี่เป็นสิ่งพิมพร์ ฐั บาลใชช้ อื่ ของหนว่ ยราชการ สถาบันที่จัดพิมพ์ ในรายการสานักพมิ พ์ และปดิ ทา้ ยสว่ นนดี้ ้วยเครือ่ งหมายมหัพภาค ( . ) คาที่ประกอบกับช่ือสานักพิมพ์ ซึ่งได้แก่ สานักพิมพ์ บริษัท ห้างหุ้นส่วน จากัด Incorporation Inc, Limited, Ltd. ให้ตัดออก ในกรณีท่ีไม่ปรากฏท้ังเมืองที่พิมพ์และสานักพิมพ์ ให้ลง รายการ ม.ป.ท. หรือ n.p. รวมกันเพยี งครง้ั เดียว ไทยวฒั นาพานิช. Longman Group. การลงรายการบรรณานุกรม หนังสอื ท่วั ไป (หนงั สือเลม่ ) ผแู้ ต่ง./(ปีที่พิมพ์)./ชอ่ื เรื่อง./ครัง้ ท่พี ิมพ์./เมืองทพ่ี ิมพ์:/สานักพิมพ์. การอา้ งองิ (รัฐพล ศรบี ูรณะพทิ กั ษ,์ 2554: หน้า 9) บรรณานุกรม รฐั พล ศรีบูรณะพทิ ักษ.์ (2554). การเขยี นเพอ่ื การสอ่ื สาร. พิมพ์ครั้งท่ี 5. กรุงเทพฯ: ไทยปรน้ิ ท์. นิตยสาร/วารสาร ผู้เขยี นบทความ./(ปีที่พิมพ์),/วัน,/เดือน/ “ชื่อบทความ”/ชือ่ วารสาร. ปีท่ี (ฉบับที)่ :/หนา้ ท่อี า้ งอิง. การอ้างองิ (อัมพิกา เสนาวงศ์, 2558: หนา้ 16) บรรณานุกรม อมั พกิ า เสนาวงศ.์ (2558), 14 กมุ ภาพนั ธ.์ “การล้างพิษในร่างกาย” หมอชาวบา้ น. 18 (2): 24-25. อินเทอรเ์ นต็ หรือเวบ็ ไซต์ ผูแ้ ตง่ ./(ปีทข่ี ้อมลู )./ช่ือเร่ือง./สืบคน้ เมื่อ/วนั /เดือน/ป,ี จาก/ช่ือย่อยหรือแหล่งที่มา หรอื URL. การอ้างองิ (กรมอตุ ุนยิ มวิทยา, 2554) บรรณานกุ รม กรมอุตนุ ิยมวิทยา. (2554). ภาวะเรอื นกระจก. สบื คน้ เม่อื 21 เมษายน 2563, จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=20. เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วิชาการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 69

หนงั สือพมิ พ์ ผู้เขยี นบทความ./ปีท่ีพิมพ,์ /วนั ท/่ี เดอื น./ “ชอ่ื บทความ”/ชื่อหนังสือพิมพ์. หนา้ ท่อี ้างอิง. การอา้ งอิง (นรภทั ร อเนกธนโชติ, 2553: หนา้ 12) บรรณานกุ รม นรภทั ร อเนกธนโชต.ิ (2553), 23 มิถนุ ายน. “อาเซยี นในเร็ววนั ” ไทยรัฐ. หน้า 2. ซีด-ี รอม ชอื่ ผู้บรรยาย./ปที ี่ผลิต./ช่ือเรอ่ื ง./(ซีดี-รอม)./สถานท่ีผลติ :/ผ้ผู ลิต การอา้ งองิ (ขวัญชัย อุบลโพธิ์, 2554) บรรณานุกรม ขวัญชัย อุบลโพธ์ิ. (2554). การละเล่นพนื้ บ้านลพบรุ ี. (ซดี ี-รอม). ลพบรุ ี: สานักงานวัฒนธรรมจังหวดั ลพบรุ .ี รายการวิทย/ุ โทรทัศน์ ชื่อผผู้ ลิต./(หน้าทใ่ี นการผลติ )./(ป,ี /เดือน/วนั ทีเ่ ผยแพร)่ ./ช่ือเรื่อง-รายการ. สถานที่ตั้งสถานี:/ช่อื สถาน.ี การอา้ งองิ (ณธพสิษฐ์ กมลสินมหดั : 2555) บรรณานุกรม ณธพสิษฐ์ กมลสนิ มหดั . (ดาเนินรายการ). (2555, มถิ นุ ายน 16). ทงุ่ แสงตะวัน. กรงุ เทพฯ: สถานโี ทรทัศน์ช่อง 3. การสมั ภาษณ์ ผู้ให้สมั ภาษณ.์ /(ปี,/เดือน/วันท่สี มั ภาษณ)์ . ตาแหน่งหรือที่อย.ู่ / สมั ภาษณ.์ การอ้างอิง (คณุ านนท์ แซ่ลี้, 2555) บรรณานุกรม คณุ านนท์ แซ่ล.้ี (2555, มถิ นุ ายน 26). นายอาเภอเมืองลพบรุ .ี สมั ภาษณ.์ หรอื คุณานนท์ แซ่ล.้ี (2555, มิถุนายน 26). 116 ถนนเจริญกรงุ 58 แขวงวัดพระยาไกร เขตสาทร กรงุ เทพฯ. สัมภาษณ์. การเขียนอ้างอิง บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง ช่วยให้งานเขียนทางวิชาการ มี ความนา่ เชือ่ ถือ และเพื่อแสดงความเคารพเจ้าของข้อมูล รวมท้ังเป็นหลักฐาน ท่ีระบุว่าสารสนเทศที่นามา เรียบเรียงเป็นรายงานหรือเอกสารทางวิชาการนั้น ได้มาจากการศึกษาค้นคว้า รวบรวม และคัดลอกมา จากแหล่งใด ดังนั้นจึงต้องเรียนรู้รูปแบบในการเขียนอ้างอิง บรรณานุกรมหรือเอกสารอ้างอิง ที่เป็นแบบ มาตรฐานสากล ซ่ึงมีอยู่หลายแบบด้วยกัน ข้อสาคัญคือเม่ือเลือกใช้แบบใดแล้วต้องใช้แบบนั้นให้ตลอดใน รายงานเร่อื งนั้น เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 70

บทที่ 9 ส่วนประกอบและการจัดพิมพ์ การเขียนรายงานวิชาการนั้นไม่ว่าจะเป็นรายงานประเภทใดเน้นในเร่ืองส่วนประกอบและ การจัดรูปเล่มมาก ดังน้ันผู้ที่จะเขียนรายงานจึงจาเป็นต้องทราบถึงรูปแบบ ส่วนประกอบต่าง ๆ ท่ีเป็น มาตรฐาน เพื่อจะได้เขียนรายงานได้ถูกต้องตามแบบแผนอีกท้ังยังช่วยให้รายงานนั้นมีความสมบูรณ์เพ่ิม คณุ ค่าย่ิงข้นึ การเขยี นรายงานวชิ าการแตล่ ะประเภทมสี ว่ นประกอบ แตกตา่ งกนั ออกไป ซ่ึงสถานศึกษาแต่ ละแห่งจะเป็นผู้กาหนดรายละเอียดย่อยเฉพาะข้ึนเอง นักเรียนต้องปฏิบัติตามท่ีกาหนด ซ่ึงส่วนประกอบ ของรายงานทางวิชาการ และรายงานการค้นคว้าทั่วไป ท้ังน้ีในบทที่ 5 ส่วนประกอบและการจัดพิมพ์ รายงาน ประกอบด้วยองค์ประกอบและรูปแบบตามวิชา IS2 การสื่อสารและการนาเสนอ ของกลุ่มสาระ การเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรียนวดั สุทธวิ รารามดงั จะได้อธบิ ายต่อไป ส่วนประกอบของรายงาน รปู แบบของรายงานวิชาการมสี ว่ นประกอบ 3 ส่วนคือ ส่วนประกอบนา ส่วนประกอบเน้ือหาและ ส่วนอา้ งอิง (วัฒนา ก้อนเชื้อรัตน์, 2535: หน้า 133-135) ในบทนี้จะกล่าวถึงวิธีเขียน ส่วนประกอบตอนต้น ส่วนประกอบเนื้อหา ส่วนสุดท้าย คือ ส่วนประกอบตอนท้ายหรือส่วนอ้างอิง ตามวิชา IS2 การสื่อสาร และการนาเสนอ ของกล่มุ สาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรยี นวัดสุทธวิ ราราม ดังน้ี 1. สว่ นประกอบตอนตน้ 1.1 ปกนอก ควรจัดทาด้วยกระดาษเน้ือหนากว่ากระดาษด้านในท่ีเป็นเนื้อหารายงาน โดย มีรูปแบบและรายละเอียดที่ขึ้นอยู่กับสถาบันและผู้สอนกาหนด แต่โดยท่ัวไปหน้าปกรายงานจะ ประกอบด้วยช่ือรายงาน ช่ือผู้จัดทา ชื่อวิชา ชื่อสถาบัน ภาคเรียน และปีการศึกษา โดยจัดวางรูปแบบให้ เหมาะสม นอกจากน้ีในบางสถาบันก็กาหนดให้ระบุช่ืออาจารย์ผู้สอนในหน้าปกด้วย หรือบางแห่งให้ระบุ เพียงชื่อรายงานเท่านั้น ส่วนรายละเอียดอื่น ๆ ให้ใส่ไว้ในหน้าปกใน สาหรับกรณีที่ชื่อเรื่องยาวเกินหนึ่ง บรรทดั ให้จัดพมิ พใ์ นรปู แบบสามเหลยี่ มหวั กลับเพื่อความสวยงาม เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 71

1.2 ใบรองปก ใบรองปกเป็นกระดาษเปล่าท่ีวางเรียงต่อจากปกนอก ผู้จัดทารายงานส่วนใหญ่มัก ไม่มีใบรองปก เนื่องจากเป็นกระดาษไม่มีข้อมูลใด ๆ ในการทารายงานวิชาการจะปรากฏการแทรกใบรอง ปกในตาแหน่ง ต่อจากปกหน้าและก่อนปกหลัง แม้จะเป็นเพียงหน้ากระดาษเปล่า แต่ใบรองปกก็เป็น ส่วนประกอบท่ที าใหร้ ายงานวิชาการมีองค์ประกอบสมบรู ณ์ 1.3 ปกใน ปกในจะนาเสนอข้อมูลเหมือนกับปกนอกทุกประการ แต่พิมพ์ข้อมูลลงบนกระดาษ สีขาวเหมือนการพิมพ์เนื้อหารายงาน ปกในมีประโยชน์เพราะหากปกนอกชารุดหรือขาดหาย ข้อมูลของ ผู้จัดทารายงานก็ยงั ปรากฏอยูใ่ นปกใน 1.4 บทคดั ยอ่ บทคัดย่อ เป็นส่วนแสดงเนื้อหาสาคัญ โดยกล่าวถึงหัวข้อเร่ือง จุดประสงค์ ขอบเขต ของเร่ือง และผลการศึกษา รวมถึงระบุประเด็นปัญหาในการศึกษาและข้อเสนอแนะในการศึกษาครั้งต่อไป การเขียนบทคดั ย่อทด่ี ตี ้องกระชับ สือ่ ความหมายให้เข้าใจได้ง่าย 1.5 กติ ตกิ รรมประกาศ กิตติกรรมประกาศ เป็นส่วนที่นักเรียนเขียนขอบคุณผู้มีส่วนช่วยเหลือ ร่วมมือ ในการสอน หรือการเขียนรายงาน ได้แก่ ครู อาจารย์ท่ีเคยสอน บุคคลท่ีปรากฏช่ือในบรรณานุกรม ซง่ึ นกั เรยี นนาแนวคิดมาใช้ ผู้ให้คาปรึกษา ผ้ชู ่วยให้ข้อมูล รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล เพ่ือนร่วมงาน ตลอดจนผู้สนบั สนุนทนุ ในการจดั ทารายงาน ท้ังน้ีนักเรยี นจะต้องเขยี นข้อความสั้น ๆ ชื่อ-สกุล ตาแหน่งของ ผ้ทู ก่ี ลา่ วถึง ต้องเขยี นใหถ้ กู ต้อง ระมัดระวังตัวสะกดการันต์ ไม่ควรอ้างชื่อใคร โดยท่ีผู้นั้นไม่มีส่วนเก่ียวข้อง ตามทอ่ี า้ ง 1.6 คานา คานาเป็นส่วนที่แสดงถึงความสาคัญ อาจแบ่งการเขียนออกเป็นย่อหน้า ดังน้ี ย่อหน้าที่ 1 ความมุ่งหมายของการจัดทารายงาน วัตถุประสงค์ ขอบเขตของเนื้อหา ย่อหน้าท่ี 2 เน้ือหาใน รายงาน ประกอบด้วยอะไรบ้าง ย่อหน้าที่ 3 การออกตัวและขอบคุณผู้ที่ช่วยเหลือให้การทารายงานสาเร็จ เรยี บรอ้ ยดว้ ยดี ทงั้ นี้การเขียนคานาไมค่ วรกลา่ วถึงขอ้ บกพรอ่ งหรือคาขอโทษที่จัดทารายงานไม่เรียบร้อยใน ส่วนท้ายของคานา จะระบุ ชื่อ-นามสกุลของผู้จัดทารายงาน และวัน เดือน ปี แต่ถ้าผู้จัดทามีหลายคนให้ เขยี นว่า คณะผจู้ ดั ทา แทน 1.7 สารบญั สารบญั ทาหนา้ ทบ่ี อกหวั เรื่องตา่ ง ๆ ท่ีมีอยู่ในรายงาน เรียงลาดับต้ังแต่ต้นจนจบ โดย ระบุเลขหน้ากากับหัวข้อเรื่องนั้นไว้ เร่ิมต้นหน้าที่ 1 เมื่อเป็นส่วนเน้ือเรื่อง ส่วนหน้าท่ีเป็นส่วนประกอบ รายงาน ได้แก่ คานา สารบัญ สารบัญภาพ สารบัญตาราง จะใช้ตัวเลขหรือตัวอักษรภายในวงเล็บ ในกรณี ที่เน้ือหาของรายงาน มีภาพประกอบและตารางแสดงข้อมูลจานวนมาก ก็อาจจัดทาสารบัญภาพและ สารบัญตารางเรยี งตอ่ สารบัญเน้ือหา ข้อควรระวังในการจัดทาสารบัญ การจัดทาสารบัญไม่ใช่เรื่องยากแต่มีข้อควรระวัง ดังน้ี 1) หัวข้อในสารบัญไม่ครบตามหัวเรื่องในเล่มรายงาน ฉะน้ันควรตรวจสอบหัวข้อให้ ถกู ตอ้ ง เพอื่ ทาให้สารบญั สามารถแสดงเนอ้ื หาภายในเล่มได้สมบูรณ์ท่ีสุด และการพิมพ์หัวข้อในสารบัญอาจ พิมพ์ท้ังหัวข้อหลักกับหัวข้อรอง หรือหัวข้อหลักอย่างเดียว อย่างไรก็ตามหากพิมพ์ท้ังหัวข้อหลักและหัวข้อ รอง ควรพิมพ์หวั ข้อรองเยื้องไปดา้ นขวาของหัวข้อหลักเพื่อแสดงลาดบั ชัดเจน เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 72

2) ชื่อหัวข้อในเล่มรายงานไม่ตรงกับหัวข้อในสารบัญ อาจเน่ืองมาจาก การเปล่ียนแปลงหวั ขอ้ ในเนอ้ื หาภายหลังการจัดทาสารบัญแล้ว แตไ่ ม่ได้ปรับเปล่ียนในหนา้ สารบญั ดว้ ย 3) เลขหน้าไม่ตรงกับเน้ือหาภายในเล่ม หรือบางครั้งไม่มีเลขหน้าตามที่กาหนด ในสารบญั ต้องมีการตรวจสอบใหด้ ีก่อนจัดพิมพ์ 2. ส่วนเน้อื หา 2.1 บทนา บทนาหรอื ความนา เปน็ ขอ้ ความเริ่มต้นในส่วนเน้ือหา ซึ่งบทนาอาจเป็นเพียงย่อหน้า เดียวหรอื ขึ้นบทใหม่ทัง้ บทกไ็ ด้ ทง้ั นข้ี ้ึนอยูก่ ับขนาดของรายงาน หากเป็นรายงานฉบับเล็ก อาจมีบทนาเพียง ย่อหน้าเดยี ว เป็นเพียงย่อหน้านา ซึ่งการเขียนบทนาสาหรับรายงานท่ัวไป ผู้จัดทาอาจกล่าวถึงความสาคัญ ของประเด็นที่ศึกษา หรืออาจเสนอข้อมูลทั้งหมดที่จาเป็นอันนาไปสู่ประเด็นในเนื้อเร่ืองแต่หากผู้จัดทา ต้องการนาเสนอข้อมูลเบื้องหลังการจัดทารายงานก็ควรให้รายละเอียดในประเด็นต่าง ๆ มากข้ึน ซึ่งการเขียนในลักษณะนี้อาจทาเป็นบทนา 1 บทต่างหาก โดยกล่าวถึงความสาคัญของประเด็นที่ศึกษา วัตถุประสงค์ ขอบเขตของการศึกษา วิธีการศึกษา คานิยามเฉพาะที่ใช้ในรายงาน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ (ถา้ ม)ี ปัญหาทีพ่ บในการเก็บข้อมูล และประโยชน์ท่ีคาดว่าจะไดร้ บั 2.2 เนอื้ หา การเรียบเรียงส่วนเนื้อหาในรายงานประกอบด้วยส่วนที่เป็นเน้ือความ การอ้างอิง ในเนือ้ หาการเขยี นอญั ประภาษ และเชิงอรรถ ในสว่ นเนื้อความ เม่ือผู้จัดทารายงานได้ผ่านกระบวนการค้นคว้า รวบรวมและบันทึก ข้อมูลได้ตามท่ีต้องการแล้ว ก่อนอื่นต้องตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเช่ือถือของข้อมูลก่อน โดย พิจารณาถงึ แหลง่ ข้อมลู ทีน่ ามา บุคคลหรือหน่วยงานทจ่ี ดั ทาข้อมูลนั้น เช่น ถ้าผู้เขียนเป็นผู้เชี่ยวชาญเฉพาะ ในสาขาวิชาย่อมน่าเช่ือถือกว่าบุคคลท่ีไม่ใช่ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาน้ัน หรือเรื่องเก่ียวกับการศึกษา ควรอ้างอิงแหล่งท่ีมาจากกระทรวงศึกษาธิการมากกว่ากระทรวงวัฒนธรรม เป็นต้น ปัจจุบันการนาข้อมูล จากอินเทอร์เน็ตมาใช้ประกอบในรายงานมีจานวนมากข้ึน เนื่องจากการสืบค้นสะดวก ไม่เสียเวลาและ ค่าใช้จา่ ยมากเท่ากับการเข้าใช้บริการห้องสมุดต่าง ๆ แต่ข้อควรระวังในการนาข้อมูลจากอินเทอร์เน็ตมาใช้ คือควรพิจารณาแหล่งข้อมูลท่ีเช่ือถือได้ เช่น เลือกใช้ฐานข้อมูลของมหาวิทยาลัย หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (e-book) หรือเนื้อหาท่ีแสดงข้อมูลผู้เขียนชัดเจน น่าเช่ือถือ และเราสามารถนามาอ้างอิงได้ ย่อมดีกว่า การนาขอ้ มลู ของใครก็ไดท้ ่แี สดงไวใ้ นเว็บไซต์ทวั่ ๆ ไป มาใชป้ ระกอบการทารายงาน เพราะข้อมูลน้ันอาจจะ เป็นเพียงการถ่ายทอดความรู้ ประสบการณ์ ข้อคิดเห็น ของบุคคลท่ัวไป แต่บังเอิญเป็นข้อมูลที่ ตรงกับ ประเดน็ ในรายงานของเราเท่าน้ัน เมื่อพิจารณาและคัดเลือกข้อมูลทั้งหมดแล้ว ให้นาข้อมูลทั้งหมดมาเรียบเรียง โดยมี การนาแนวคดิ หรอื ทฤษฎีตามหลกั วิชานั้น ๆ มาใช้ในการศกึ ษาและวเิ คราะห์ข้อมูล ส่งิ ทีผ่ ู้จดั ทารายงานควรตระหนกั กค็ อื การนาขอ้ มลู ของผู้อ่ืนมาใช้ในรายงาน ไม่ควรใช้ วิธีคัดลอก หรือนามาตัดต่อ แต่ควรเป็นการเรียบเรียงใหม่โดยใช้สานวนภาษาของผู้ทารายงานเอง อาจใช้ การบรรยาย การอธิบาย การยกตวั อยา่ งประกอบ และการนาเสนอผลในรูปแบบของตาราง รูปภาพ แผนภูมิ แผนภาพ ฯลฯ เพ่ือให้ผู้อ่านเข้าใจเหมือนที่ผู้จัดทาเข้าใจ เรียงลาดับเนื้อหาไปตามลาดับของโครงเรื่องท่ีได้ กาหนดไว้ และในแต่ละย่อหน้าต้องคานึงถึงสารัตถภาพท่ีอาจจะเป็นข้อเท็จจริง การวิเคราะห์ข้อมูล การแสดงความคดิ เห็น หรือขอ้ เสนอแนะ โดยเรียบเรียงให้มีเอกภาพและสัมพันธภาพ ต้ังแต่ต้นจนจบแต่ละ หวั ข้อเรื่อง เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 73

2.3 บทสรปุ บทสรุป เป็นข้อความที่อยู่ตอนท้ายของเนื้อหา อาจเป็นเพียงย่อหน้าเดียวหรือแยก เป็นบทต่างหากก็ได้ ซึ่งขนาดของบทสรุปจะสัมพันธ์กับขนาดของบทนา ข้อความในส่วนนี้เป็นการสรุป รายละเอียดงานวิชาการที่ได้เรียบเรียงไว้ ประเด็นที่นามาสรุปอาจเป็นผลการศึกษาที่ได้จากการค้นคว้า ข้อมูล หรือเป็นข้อมูลเพื่อตอบคาถามประเด็นต่าง ๆ เก่ียวกับรายงานได้ครบถ้วนชัดเจน บทสรุป มปี ระโยชน์ในการทาใหผ้ ูอ้ า่ นจับประเด็นของเรื่องทงั้ หมดไดง้ า่ ยข้ึน 3. สว่ นประกอบตอนทา้ ย 3.1 บรรณานุกรม ส่วนท่ีแสดงรายช่ือหนังสือหรือสิ่งพิมพ์อื่น ๆ ท่ีใช้สาหรับการค้นคว้าอ้างอิง ประกอบการเขียนรายงาน โดยจะวางอยู่ต่อจากส่วนเน้อื หาและก่อนภาคผนวก 3.2 ภาคผนวก ภาคผนวก เป็นข้อความท่ีเก่ียวข้องกับเนื้อหาในรายงาน อาจช่วยขยายเน้ือหาของ รายงาน หรือเป็นข้อความท่ียาวเกินกว่าจะนาไปใส่เป็นเชิงอรรถได้ นอกจากน้ันอาจเป็นเอกสาร ที่เก่ยี วขอ้ งกับกบั การทารายงาน เช่น แบบทดสอบ แบบสอบถาม แผนท่ี แต่ถ้าข้อมูลนั้นไม่จาเป็นก็ไม่ควร นามาประกอบในรายงาน เพยี งเพือ่ ให้ตัวเล่มมีปริมาณหนา้ เพิ่มข้ึน 3.3 ประวัติผูเ้ ขยี น ส่วนสุดท้ายของ รายงาน ซึ่งเป็นการเขียนแนะนาประวัติส่วนตัวของผู้เขียนเท่าที่ จาเปน็ ให้ผูอ้ ื่นทราบ การเขียนประวัตผิ ้เู ขยี น ให้เขยี นโดยจาแนกเป็นหัวข้อ ดังน้ี 1) ชอ่ื -นามสกลุ 2) สถานท่ีติดต่อ 3) ประวัติการศึกษา ตั้งแต่ระดับมัธยมศึกษาหรือเทียบเท่าเป็นต้นไป โดยระบุช่ือ สถานศกึ ษา และปกี ารศกึ ษาทสี่ าเร็จในแต่ละระดบั ด้วย เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 74

ตวั อย่างปกนอก ชอื่ เรอ่ื ง ฟอนตข์ นาด 20 หนา ฟอนตข์ นาด 18 หนา โดย นาย .................................................... เลขที่ .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขที่ .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขที่ .......... ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 5 / ....... ฟอนต์ขนาด 18 หนา รายงานฉบบั นีเ้ ปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาวชิ า I30202 IS2 การสอ่ื สารและการนาเสนอ ภาคเรียนที่ 2 ปกี ารศกึ ษา 2565 กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย โรงเรยี นวดั สุทธวิ ราราม การตัง้ ค่าหนา้ กระดาษ ขอบบน 1 นว้ิ ขอบลา่ ง 1 น้ิว ขอบซ้าย 1 นว้ิ ขอบขวา 1 นิ้ว เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 75

ตัวอย่างปกใน ฟอนต์ขนาด 20 หนา ชอ่ื เรอื่ ง โดย นาย .................................................... เลขที่ .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขท่ี .......... นาย .................................................... เลขที่ .......... ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 / ....... ฟอนตข์ นาด 18 หนา เสนอ ครูรัฐพล ศรบี รู ณะพทิ ักษ์ รายงานฉบบั น้ีเปน็ สว่ นหนงึ่ ของการศกึ ษาวชิ า I30202 IS2 การสอ่ื สารและการนาเสนอ ภาคเรยี นท่ี 2 ปกี ารศึกษา 2565 กลมุ่ สาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย โรงเรยี นวดั สทุ ธิวราราม การตัง้ ค่าหนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 นวิ้ ขอบลา่ ง 1 นิว้ ขอบซ้าย 1.5 น้วิ ขอบขวา 1 นวิ้ เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วชิ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 76

ตวั อย่างบทคัดย่อ บทคัดยอ่ ฟอนต์ขนาด 20 หนา ฟอนต์ขนาด 16 ------------ เว้น 1 บรรทัด ------------ ชอ่ื เร่ือง ............................................................................................. สมาชิก นาย ................................................. เลขท่ี นาย ................................................. เลขที่ ครทู ี่ปรกึ ษา นาย ................................................. เลขท่ี ปีการศกึ ษา นาย ................................................. เลขท่ี นกั เรียนชั้นมัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 / ..... นายรฐั พล ศรบี รู ณะพิทักษ์ 2563 ------------ เวน้ 1 บรรทัด ------------ รายงานเรอ่ื ง ...................................................................... มจี ดุ มงุ่ หมายเพ่ือ ศึกษาคน้ ควา้ และนาเสนอขอ้ มลู เกยี่ วกบั ..................................................................... ............................................................................................................................. ......... ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......... จากการศึกษาพบวา่ ....................................................................................... ............................................................................................................................. ......... ...................................................................................................................................... ............................................................................................................................. ......... ------------ เว้น 2 บรรทดั ------------ ลายมอื ชอ่ื ครูทีป่ รึกษา ............................ ลายมือชื่อนักเรยี น 1. ........................ 2. ....................... 3. . ....................... 4. ........................ 5. ....................... . การต้ังคา่ หนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 น้ิว ขอบล่าง 1 น้ิว ขอบซา้ ย 1.5 น้วิ ขอบขวา 1 นวิ้ เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 77

ตวั อย่าง กิตติกรรมประกาศ ฟอนต์ขนาด 20 หนา ฟอนต์ขนาด 16 กติ ติกรรมประกาศ ------------ เว้น 1 บรรทดั (ขนาด 16)------------ รายงาน เรื่อง ........................................................... ฉบับน้ี สาเร็จได้ด้วย ความเมตตาจาก ครูรัฐพล ศรีบูรณะพิทักษ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียน วัดสุทธิวราราม ครูผู้สอนวิชา I30202 IS2 การส่ือสารและการนาเสนอ ที่ให้ ความกรณุ าเปน็ ครูทป่ี รึกษา ประสทิ ธป์ิ ระสาทความรแู้ ละทักษะด้านการเขียนรายงาน อีกท้ังได้สละเวลาให้คาแนะนา ข้อเสนอแนะ ตรวจและแก้ไขข้อบกพร่องต่าง ๆ ด้วย ความเอาใจใส่อย่างดีย่ิง ซึ่งทางคณะผู้จัดทารู้สึกซาบซ้ึงในพระคุณ จึงขอกราบ ขอบพระคุณเปน็ อยา่ งสูงไว้ ณ โอกาสน้ี ขอขอบคุณบิดา มารดา พี่ น้อง ตลอดจนเพ่ือนนักเรียนทุกคน ที่คอยเป็น แรงผลักดนั และแรงใจในการจดั ทารายงานวิชาการฉบับน้จี นสาเร็จลุล่วงไดด้ ว้ ยดี คุณค่าและประโยชน์ของ รายงาน เร่ือง .......................... ฉบับนี้ ทางคณะ ผู้จัดทาขอมอบให้แก่คณะครูท่ีมีส่วนในการวางรากฐานทางการศึกษา และประสิทธิ์ ประสาทวชิ าความรแู้ กค่ ณะผูจ้ ัดทาตลอดมา ------------ เวน้ 1 บรรทดั (ขนาด 16)------------ คณะผจู้ ดั ทา 18 กมุ ภาพนั ธ์ 2566 . การตง้ั ค่าหนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 นวิ้ ขอบลา่ ง 1 นว้ิ ขอบซา้ ย 1.5 นว้ิ ขอบขวา 1 นิว้ เอกสารประกอบการเรยี น กล่มุ วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 78

ตัวอย่าง คานา คานา ฟอนต์ขนาด 20 หนา ฟอนตข์ นาด 16 ------------ เวน้ 1 บรรทดั (ขนาด 16)------------ รายงาน เรื่อง ................................................................. ฉบับน้ี เป็นส่วนหน่ึง ของการศึกษาวิชา I30202 IS2 การส่ือสารและการนาเสนอ ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2563 จดั ทาขน้ึ โดยมวี ตั ถปุ ระสงค์เพอ่ื นาเสนอผลที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าอย่างเป็นระบบ พฒั นาทักษะการแสวงหาความรู้ อนั เป็นพ้นื ฐานสาคญั ต่อการศึกษาในระดับทีส่ งู ขึ้นต่อไป รายงาน เรื่อง ................................................................. ฉบับนี้ มีความมุ่งหวัง นาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับ ...................................... ..................................... . ...................................... ...................................... ซ่ึงทางคณะผู้จัดทาได้เรียบเรียงข้ึน จากการศกึ ษาคน้ ควา้ อยา่ งเปน็ ระบบ คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างย่ิงว่า รายงานเร่ืองนี้จะเอ้ือประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้าแก่ผู้ที่สนใจได้เป็นอย่างดี ขอขอบคุณครูที่ปรึกษาและท่านผู้รู้ที่กรุณาให้คาแนะนา จนเขียนรายงานได้สาเร็จและสมาชิกผู้จัดทาที่ให้ความร่วมมือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ จนงาน สาเรจ็ ลลุ ว่ ง และสามารถผ่านอปุ สรรคได้ด้วยดี ------------ เว้น 1 บรรทัด (ขนาด 16)------------ คณะผจู้ ัดทา 18 กุมภาพันธ์ 2566 . การตั้งค่าหนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 นิ้ว ขอบล่าง 1 นวิ้ ขอบซ้าย 1.5 นิ้ว ขอบขวา 1 นิว้ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 79

ตวั อย่าง สารบญั สารบัญ ฟอนต์ขนาด 20 หนา ฟอนต์ขนาด 16 ------------ เว้น 1 บรรทัด (ขนาด 16)------------ เรอื่ ง หนา้ บทคดั ยอ่ ........................................................................................................ ก กติ ติกรรมประกาศ .......................................................................................... ข คานา .............................................................................................................. ค สารบัญ ........................................................................................................... ง สารบญั ตาราง (ถ้ามี) ....................................................................................... จ สารบญั ภาพ (ถ้าม)ี .......................................................................................... ฉ บทนา ............................................................................................................. 1 เนื้อเรือ่ ง .......................................................................................................... 2 3 1. ............................................................................................... 4 1.1 .................................................................................... 5 1.2 .................................................................................... 6 7 2. ............................................................................................... 8 2.1 .................................................................................... 9 2.2 .................................................................................... 10 11 3. ............................................................................................... 12 3.1 .................................................................................... 13 3.2 .................................................................................... 14 15 บทสรุป ........................................................................................................... บรรณานกุ รม ……………………………………………………………………………………… ภาคผนวก ………………………………………………………………………………………….. ประวตั ิผู้เขยี น ................................................................................................. การต้ังค่าหนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 นวิ้ ขอบลา่ ง 1 น้วิ ขอบซ้าย 1.5 นว้ิ ขอบขวา 1 นว้ิ เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 80

ตวั อย่าง สว่ นเน้ือหา ฟอนตข์ นาด 18 หนา้ ฟอนตข์ นาด 20 หนา หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพยี ง ------------ เวน้ 1 บรรทัด ------------ ฟอนตข์ นาด 16 บทนา ......................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............. 1.//หลกั ปรัชญาเศรษฐกจิ พอเพียง ......................................................................................................................... ................................................................................................ .......................................... 1.1// ......................................................... 1.1.1// ......................................................... ------------ เวน้ 1 บรรทดั ------------ 2.//การปรบั ใชห้ ลกั ปรชั ญาเศรษฐกิจพอเพียงในการ .......................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 2.1// ......................................................... 2.1.1// ......................................................... ------------ เว้น 1 บรรทดั ------------ 3.//ผลของการปรบั ใช้ปรชั ญาเศรษฐกจิ พอเพียง .......................... ......................................................................................................................... .......................................................................................................................................... 3.1// ......................................................... 3.1.1// ......................................................... ------------ เวน้ 1 บรรทัด ------------ บทสรปุ ......................................................................................................................... ............................................................................................................................. ............. การต้ังคา่ หนา้ กระดาษ ขอบบน 1.5 น้ิว ขอบล่าง 1 นิ้ว ขอบซา้ ย 1.5 น้ิว ขอบขวา 1 น้ิว เอกสารประกอบการเรียน กล่มุ วชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 81

ตัวอยา่ ง บรรณานุกรม ฟอนต์ขนาด 20 หนา บรรณานกุ รม ฟอนต์ขนาด 16 ------------ เว้น 1 บรรทัด ------------ กรมอตุ ุนยิ มวิทยา. (2554). ภาวะเรอื นกระจก. สืบค้นเมื่อ 18 ตุลาคม 2563, จาก https://www.tmd.go.th/info/info.php?FileID=20. จริ ายุ ชูอนิ . 2550. การอ่านเพอื่ พัฒนาปญั ญา. พมิ พ์ครั้งท่ี 4. กรุงเทพฯ: ไทยปร้ินท์. รัฐพล ศรีบรู ณะพิทักษ.์ 2554. การเขียนเพอื่ การสอ่ื สาร. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรงุ เทพฯ: ไทยปรนิ้ ท์. อรณี ขวัญตา. (2560). วรรณกรรมไทยปัจจุบนั . พมิ พ์ครง้ั ท่ี 2. กรุงเทพฯ: ไทยศึกษา. อัมพิกา เสนาวงศ.์ 2558, 14 กมุ ภาพนั ธ์. “การล้างพษิ ในร่างกาย” หมอชาวบา้ น. 18 (2): 24-25. การตง้ั คา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นว้ิ ขอบล่าง 1 น้วิ ขอบซา้ ย 1.5 นว้ิ ขอบขวา 1 นวิ้ เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 82

ตัวอย่าง ภาคผนวก ฟอนตข์ นาด 20 หนา ภาคผนวก การตงั้ คา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นวิ้ ขอบลา่ ง 1 นวิ้ ขอบซ้าย 1.5 นิ้ว ขอบขวา 1 นิ้ว เอกสารประกอบการเรยี น กลุม่ วิชาการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 83

ตวั อย่าง ภาคผนวก ฟอนต์ขนาด 20 หนา ภาคผนวก ก ภาพนิ่งประกอบการนาเสนอ การตัง้ คา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 นว้ิ ขอบล่าง 1 น้วิ ขอบซา้ ย 1.5 นิ้ว ขอบขวา 1 น้ิว เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 84

ตวั อยา่ ง ประวตั ผิ เู้ ขยี น ฟอนต์ขนาด 20 หนา ฟอนต์ขนาด 16 ประวัติผู้เขียน ------------ เวน้ 1 บรรทดั ------------ ช่อื นายสุทธิ รักดี การศึกษา มธั ยมศกึ ษาปีที่ 5/7 แผนการเรียนภาษาองั กฤษ-คณติ ศาสตร์ โรงเรียนวดั สุทธวิ ราราม ช่อื นายสทุ ธิ รอบรู้ การศกึ ษา มัธยมศกึ ษาปีท่ี 5/7 แผนการเรียนภาษาองั กฤษ-คณิตศาสตร์ โรงเรียนวัดสทุ ธิวราราม ชื่อ นายสทุ ธิ สร้างสรรค์ การศกึ ษา มัธยมศกึ ษาปีที่ 5/7 แผนการเรียนภาษาองั กฤษ-คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นวดั สุทธิวราราม ช่อื นายสุทธิ กลา้ หาญ การศึกษา มธั ยมศึกษาปที ี่ 5/7 แผนการเรียนภาษาองั กฤษ-คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นวดั สุทธวิ ราราม ชอื่ นายสทุ ธิ รม่ เยน็ การศึกษา มธั ยมศกึ ษาปีท่ี 5/7 แผนการเรียนภาษาองั กฤษ-คณติ ศาสตร์ โรงเรยี นวัดสทุ ธิวราราม การต้ังคา่ หน้ากระดาษ ขอบบน 1.5 น้วิ ขอบลา่ ง 1 นิว้ ขอบซา้ ย 1.5 นว้ิ ขอบขวา 1 นิว้ เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวิชาการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2565 85

การจดั พมิ พร์ ายงาน การเขยี นหรอื พิมพ์รายงาน 1. ใช้กระดาษสขี าว คุณภาพดี ขนาด A4 ไม่มเี สน้ บรรทัด 2. ในการเขยี นหรอื พิมพใ์ ช้กระดาษหน้าเดียว 3. การจดั เว้นระยะพิมพ์ 3.1 เวน้ ห่างจากขอบกระดาษด้านบน ถงึ ตวั อักษรบรรทัดแรกให้หา่ งลงมา 1.5 นิว้ 3.2 เว้นจากขอบกระดาษด้านซา้ ย 1.5 น้ิว เผ่อื การเย็บเล่ม 3.3 เวน้ จากขอบกระดาษด้านขวา 1 นวิ้ 3.4 เว้นจากขอบกระดาษดา้ นล่าง 1 นิ้ว ตัวอย่างการเวน้ ท่ีวา่ งขอบกระดาษ (หน้าปก) 1 น้วิ 1 นวิ้ เอกสารประกอบการเรียน กลุม่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 86

ตวั อยา่ งการเวน้ ที่ว่างขอบกระดาษหน้าปกติ 1.5 นิว้ 1.5 นิว้ 1 น้ิว 1 น้ิว การพิมพ์ 1. กระดาษ ให้ใช้กระดาษสีขาว ไม่มีเส้นบรรทัด ขนาดกระดาษ A4 มีความหนา 80 แกรม ยกเวน้ ตารางหรอื ภาพประกอบอื่นๆ ท่จี าเปน็ ตอ้ งใช้กระดาษขนาดต่างไปจากนี้ และพมิ พห์ น้าเดียว 2. ตวั พิมพ์ ให้ใช้ตวั พิมพ์เป็นตัวอกั ษรสีดา โดยทาใหม้ ีลกั ษณะเดยี วกันตลอดทงั้ เลม่ 3. การทาสาเนา โดยวธิ กี ารถ่ายเอกสารหรอื วิธอี ่นื ใดทีม่ ีคณุ ภาพเทียบเคยี ง 4. ตัวอกั ษร และขนาดตัวอักษร รายงานการศึกษาค้นคว้าให้พิมพ์ได้ทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ใช้รูปแบบตัวอักษร TH SarabunPSK , Cordia New หรือ Browallia New ให้นักเรียนเลือกใช้รูปแบบอักษรรูปแบบใด รูปแบบหน่ึงตลอดท้ังเล่ม โดยมีระยะห่างระหว่างบรรทัด (Line spacing) เป็นแบบ Single ขนาด (Font size) และรปู แบบตัวอักษร (Font style) ดงั น้ี 1) ชอ่ื บท และคาวา่ “บทท.่ี ..” ขนาด 20 points. ตวั พมิ พ์หนา (Bold) 2) หัวข้อใหญ่ ขนาด 18 points. ตวั พิมพห์ นา (Bold) 3) หัวข้อย่อย ขนาด 16 points. ตัวพิมพห์ นา (Bold) 4) ส่วนเน้ือเร่ืองและรายละเอียด ขนาด 16 points. ตวั พมิ พธ์ รรมดา (Normal) เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 87

กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ รายวิชาการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง เอกสารประกอบการเรยี น กลุ่มวิชาการศกึ ษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 88

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม รายวชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) กลุ่มสาระการเรยี นร้ภู าษาไทย กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรทู้ ี่ 1 ช่อื กิจกรรม กิจกรรมกลุ่มสัมพนั ธแ์ ละการบรหิ ารงานกลุม่ ประเภทกิจกรรม  กจิ กรรมรายบคุ คล  กจิ กรรมกลุ่ม คาช้แี จง ให้นักเรยี นทาความร้จู กั และสร้างปฏสิ ัมพันธก์ บั เพื่อนสมาชกิ ในหอ้ งเรียน จากนั้นใหน้ กั เรยี นเขา้ กลุม่ สัมพนั ธ์ โดยมกี ารบริหารจดั การสมาชกิ โดยใช้กระบวนการ กลุ่ม และการเลอื กต้งั ประธาน รองประธาน กรรมการ และเลขานกุ ารกล่มุ ลาดบั ท่ี เลข ช่อื -สกลุ ช้ัน/ห้อง เลขท่ี ตาแหนง่ ประจาตัว ประธาน 1 รองประธาน เลขานุการ 2 กรรมการ กรรมการ 3 กรรมการ กรรมการ 4 5 6 7 เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 89

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม รายวชิ าการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรทู้ ่ี 2 ชือ่ กจิ กรรม การตัง้ ประเด็นปญั หา - ประเดน็ ทีส่ นใจ ประเภทกจิ กรรม  กิจกรรมรายบคุ คล  กิจกรรมกลุ่ม คาช้ีแจง ให้นกั เรยี นต้งั ประเด็นปญั หาหรอื ประเดน็ คาถามในประเด็นท่นี กั เรยี นสนใจ ทัง้ จากตนเอง โรงเรยี น ชุมชน สถานการณ์ปัจจุบนั และสงั คมโลก คนละ 3 ประเด็น ลาดับ ประเด็น (Topic) เหตผุ ลสาคญั ระดับคณุ ภาพ 1 ……………………………………………………… …………………………………………………   ดีมาก ……………………………………………………… …………………………………………………   ดี   พอใช้ ……………………………………………………… …………………………………………………   ปรับปรงุ ……………………………………………………… ………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………… 2 ……………………………………………………… …………………………………………………   ดมี าก ……………………………………………………… …………………………………………………   ดี   พอใช้ ……………………………………………………… …………………………………………………   ปรับปรงุ ……………………………………………………… ………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………… 3 ……………………………………………………… …………………………………………………   ดีมาก ……………………………………………………… …………………………………………………   ดี   พอใช้ ……………………………………………………… …………………………………………………   ปรบั ปรุง ……………………………………………………… ………………………………………………… ……………………………………………………… ………………………………………………… ข้อคดิ เห็นและข้อเสนอแนะของครูที่ปรึกษาประจาวิชา ............................................................................................................................. .......................................... ..................................................................................................................................................................... .. ลงชอ่ื ครทู ่ปี รึกษาประจาวชิ า () ลงชอ่ื ครทู ีป่ รึกษาประจาวิชา () เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 90

โรงเรยี นวดั สุทธวิ ราราม รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) กลุ่มสาระการเรียนรูภ้ าษาไทย กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ท่ี 3 ช่ือกจิ กรรม การตัง้ สมมติฐาน ประเภทกิจกรรม  กจิ กรรมรายบคุ คล  กิจกรรมกลุ่ม คาชี้แจง ให้นกั เรยี นตัง้ สมมตฐิ านจากประเดน็ ทนี่ ักเรียนสนใจ ทงั้ จากตนเอง โรงเรียน ชมุ ชน สถานการณป์ จั จุบันและสงั คมโลก คนละ 3 ประเดน็ ประเด็นละ 2 สมมตฐิ าน ประเดน็ ประเด็น (Topic) สมมติฐาน ระดบั คุณภาพ ประเดน็ ……………………………………………… สมมติฐานที่ 1   ดมี าก 1 ……………………………………………… ………………………………………………….........   ดี   พอใช้ ……………………………………………… ………………………………………………….........   ปรบั ปรงุ ……………………………………………… สมมตฐิ านท่ี 2 ……………………………………………… …………………………………………………......... ……………………………………………… …………………………………………………......... ประเด็น ……………………………………………… สมมติฐานที่ 1   ดีมาก 2 ……………………………………………… ………………………………………………….........   ดี   พอใช้ ……………………………………………… ………………………………………………….........   ปรับปรุง ……………………………………………… สมมตฐิ านท่ี 2 ……………………………………………… …………………………………………………......... ……………………………………………… …………………………………………………......... ประเดน็ ……………………………………………… สมมตฐิ านที่ 1   ดมี าก 3 ……………………………………………… ………………………………………………….........   ดี ……………………………………………… ………………………………………………….........   พอใช้ ……………………………………………… สมมตฐิ านท่ี 2   ปรบั ปรุง ……………………………………………… …………………………………………………......... ……………………………………………… …………………………………………………......... ขอ้ คดิ เหน็ และข้อเสนอแนะของครทู ปี่ รกึ ษาประจาวิชา ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................ ............................................................................... ลงชอื่ ครูท่ปี รกึ ษาประจาวิชา () ลงชอื่ ครูท่ปี รึกษาประจาวชิ า () เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศกึ ษาค้นควา้ ดว้ ยตนเอง ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2565 91

โรงเรยี นวัดสุทธิวราราม รายวิชาการศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรทู้ ่ี 4 ชอ่ื กจิ กรรม สงสยั ใคร่รู้ ประเภทกจิ กรรม  กจิ กรรมรายบคุ คล  กิจกรรมกลุ่ม คาชแี้ จง ให้นกั เรียนและสมาชิกในกลมุ่ เลือกประเดน็ ปัญหา หรอื ประเดน็ คาถามที่เพ่อื นสมาชกิ ในกลุม่ นาเสนอมา 3 ประเด็น ทีก่ ลุม่ ของนักเรยี นสนใจมากทีส่ ุด พร้อมเหตผุ ลสาคญั ท่ตี ัดสินใจเลอื ก ลาดบั ท่ี ประเด็น (Topic) เหตผุ ลสาคัญ ประเด็นที่ 1 ………………………………………………………… …………………………………………………………… ประเดน็ ที่ 2 ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ประเด็นท่ี 3 ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะของครทู ่ีปรกึ ษาประจาวิชา ............................................................................................................................. .......................................... ..................................................................................................................................................................... .. ลงชื่อ ครูทป่ี รึกษาประจาวิชา () ลงชอื่ ครทู ปี่ รกึ ษาประจาวชิ า () เอกสารประกอบการเรียน กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2565 92

โรงเรียนวัดสุทธวิ ราราม รายวชิ าการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) กลุ่มสาระการเรยี นรูภ้ าษาไทย กจิ กรรมพัฒนาการเรยี นรทู้ ่ี 5 ช่ือกิจกรรม Discuss & Debate สนทนาโตต้ อบและการอภปิ รายอย่างมีเหตผุ ล ประเภทกจิ กรรม  กจิ กรรมรายบุคคล  กิจกรรมกลุ่ม คาชี้แจง ให้นักเรียนอภิปรายแสดงความคดิ เหน็ ในประเดน็ ท่ีกลุ่มนาเสนอมาทั้ง 3 ประเด็น พรอ้ มเหตผุ ลสนบั สนุน ลาดับท่ี ประเดน็ (Topic) อภิปรายแสดงความคดิ เหน็ เกีย่ วกับ ประเดน็ ที่ 1 ประเดน็ ทีก่ ลุม่ เลือก ประเด็นที่ 2 ………………………………………………………… (ทงั้ 3 ประเด็น) ประเด็นท่ี 3 ………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… ………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… …………………………………………………………… การอภิปรายแสดงความคิดเหน็ แสดงความคิดเห็น เห็นด้วย - ไม่เห็นด้วย - เหมาะสม - ไม่เหมาะสม อย่างไร พร้อมอธบิ ายเหตุผลประกอบใหค้ รอบคลุมชัดเจน ข้อคิดเห็นและข้อเสนอแนะของครูทปี่ รึกษาประจาวิชา ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................ ............................................................................... ลงช่อื ครูทป่ี รกึ ษาประจาวชิ า () ลงชอื่ ครทู ่ปี รึกษาประจาวิชา () เอกสารประกอบการเรยี น กลมุ่ วิชาการศึกษาคน้ ควา้ ด้วยตนเอง ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2565 93

โรงเรียนวัดสุทธิวราราม รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กจิ กรรมพฒั นาการเรียนรทู้ ี่ 6 ชือ่ กจิ กรรม ประเด็นที่กล่มุ สนใจรว่ มกัน ประเภทกจิ กรรม  กจิ กรรมรายบุคคล  กิจกรรมกลุ่ม คาช้ีแจง ใหน้ กั เรยี นและสมาชกิ ในกลุม่ เลือกประเดน็ ปัญหา หรือประเด็นคาถามท่ีเพือ่ นสมาชกิ ในกลุ่มสนใจรว่ มกนั เพียงประเดน็ เดียว พร้อมเหตผุ ลประกอบ ประเด็นท่ีกลมุ่ สนใจรว่ มกัน สมมตฐิ าน เหตุผลท่ตี ัดสินใจเลือกประเดน็ ท่เี สนอ ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................ ............................................................................... ขอ้ คิดเหน็ และข้อเสนอแนะของครูที่ปรึกษาประจาวิชา ............................................................................................................................. .......................................... ........................................................................................ ............................................................................... ลงช่อื ครทู ปี่ รึกษาประจาวิชา () ลงช่ือ ครทู ีป่ รึกษาประจาวชิ า () เอกสารประกอบการเรียน กลุ่มวชิ าการศกึ ษาค้นคว้าด้วยตนเอง ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2565 94