เอกสารประกอบการเรียน ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2564 ตามหลกั สตู รโรงเรียนมาตรฐานสากล ระดบั ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 ชอ่ื -สกลุ ________________________________________ ชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 / ______ เลขที่ ______ ครปู ระจาวชิ า _____________________________________
คำนำ โรงเรียนวัดสทุ ธวิ ราราม เป็นโรงเรียนท่ีได้รับคัดเลือกเขา้ รว่ มโครงการโรงเรียนมาตรฐานสากล (World-Class Standard School) เป็นนวัตกรรมการจัดการศกึ ษาทใี่ ชเ้ ป็นยุทธศาสตร์ในการขับเคลื่อน การพัฒนายกระดับการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพมาตรฐานเทียบเท่าสากล นักเรียนมีศักยภาพและ ความสามารถทดั เทยี มกบั ผ้เู รียนนานาประเทศ รายวชิ า I30201 IS1 การศกึ ษาคน้ ควา้ และสร้างองค์ความรู้ เปน็ รายวิชาท่ีอย่ใู นความรับผิดชอบ ของกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย โรงเรียนวัดสุทธิวราราม เป็นการจัดการเรียนรู้ในสาระการศึกษา ค้นควา้ ด้วยตนเอง (Independent Study: IS) นับเปน็ วธิ ีการทม่ี ปี ระสทิ ธภิ าพวธิ หี นึ่งทีใ่ ชอ้ ย่างกว้างขวาง ในการพัฒนานักเรียน เพราะเป็นการเปิดโลกกว้างให้ผู้เรียนได้ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องหรือ ประเด็นท่ีตนสนใจ รายวิชา IS1 การศึกษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสาระทมี่ ุ่งให้ผเู้ รยี นกาหนดประเด็นปญั หา ตั้งสมมติฐาน ค้นควา้ แสวงหาความรู้และฝึก ทักษะการคิดวเิ คราะห์ สงั เคราะห์ และสร้างองคค์ วามรู้ เริ่มต้ังแต่การกาหนดประเด็นปัญหาซ่ึงอาจเป็น Public Issue และ Global Issue และดาเนินการค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย มีการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น เพื่อนาไปสู่การสรุปองค์ค วามรู้ จากนั้นก็หาวิธีการท่ีเหมาะสมในการส่ือสารนาเสนอให้ผู้อื่นได้รับทราบ และสามารถนาความรู้หรือ ประสบการณ์ท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทาประโยชน์แก่สาธารณะ ซึ่งส่ิงเหล่านี้เป็นกระบวนการที่ เชื่อมโยงตอ่ เน่ืองกันตลอดแนว ดังนัน้ เพ่อื ใหก้ ารจดั การเรยี นสอนในรายวิชา IS1 การศกึ ษาคน้ คว้าและสร้างองค์ความรู้ เป็นไป ในทิศทางเดียวกัน กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยจึงจัดทาเอกสารประกอบการเรียนวิชา I30201 IS1 การศึกษาคน้ คว้าและสร้างองคค์ วามรู้ เพอื่ เป็นเอกสารประกอบการศกึ ษาคน้ คว้าสาหรับรายวชิ า รฐั พล ศรบี ูรณะพทิ กั ษ์ เรียบเรยี ง
สารบัญ หนา้ การศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) 1 คาอธบิ ายรายวิชา 2 บทนา การแสวงหาความรู้ 3 3 ความหมายของการแสวงหาความรู้ 4 ความรแู้ ตล่ ะระดับ 5 การเรียนรู้ 7 วิธกี ารแสวงหาความรู้ 8 การพฒั นาทกั ษะการแสวงหาความรู้ดว้ ยตนเอง 9 บทที่ 1 การตัง้ ประเดน็ ปัญหา 9 ระดับของการตัง้ คาถาม 12 คาถามท้ายบท 13 บทท่ี 2 การตั้งสมมตฐิ าน 13 ความหมายของสมมตฐิ าน 13 ลกั ษณะของสมมตฐิ าน 14 ความแตกต่างของสมมติฐานกับการพยากรณ์ 14 การตั้งสมมตฐิ านท่ีดี 14 หลักการต้ังสมมุติฐาน 15 คาถามท้ายบท 16 บทที่ 3 ขอ้ มลู และการรวบรวมขอ้ มลู 16 ความหมายของขอ้ มลู 17 ประเภทของข้อมูล 19 กระบวนการเก็บรวบรวมขอ้ มลู 21 วิธเี กบ็ รวบรวมข้อมลู 23 ปญั หาในการใชข้ อ้ มลู 24 บทท่ี 4 แหลง่ สารสนเทศ 24 ความหมายและประเภทของแหลง่ สารสนเทศ 25 สถาบันบรกิ ารสารสนเทศ 28 คาถามท้ายบท 29 บทท่ี 5 ทรพั ยากรสารสนเทศ 29 ความหมายและประเภทของทรัพยากรสารสนเทศ 35 การเลอื กใชท้ รพั ยากรสารสนเทศ 36 บทที่ 6 การใช้อินเทอรเ์ นต็ เพือ่ การสบื ค้น 36 รปู แบบการสบื ค้น 36 ระดบั การคน้ หาขอ้ มลู (Search Engine)
สารบญั (ต่อ) หน้า บทท่ี 7 การประเมนิ สารสนเทศ 41 คณุ ลักษณะของสารสนเทศท่ดี ี 41 การประเมินสารสนเทศ 42 หลกั การประเมินสารสนเทศ 42 การประเมินสารสนเทศจากเว็บไซต์ 43 การประเมนิ คณุ ภาพเวบ็ ไซตข์ อ้ มูลสารสนเทศ 43 การวิเคราะหส์ ารสนเทศ 45 วตั ถุประสงค์ของการวเิ คราะหส์ ารสนเทศ 45 หลักการวเิ คราะห์สารสนเทศ 45 องค์ประกอบของสถิติที่ใชใ้ นการวิเคราะหส์ ารสนเทศ 46 การสงั เคราะห์สารสนเทศ 46 47 บทท่ี 8 การสังเคราะห์และสรุปองคค์ วามรู้ 47 ความหมายขององคค์ วามรู้ 48 แหล่งกาเนดิ ขององคค์ วามรู้ 48 ประเภทขององคค์ วามรู้ 48 การจดั การองคค์ วามรู้ 48 การสงั เคราะห์และสรุปองคค์ วามรู้ 49 ประโยชน์และคณุ ค่าของการศึกษาค้นควา้ และสรา้ งองคค์ วามรู้ด้วยตนเอง 51 63 กจิ กรรมพฒั นาการเรยี นรู้รายวชิ าการศึกษาค้นควา้ ด้วยตนเอง (IS1) บรรณานกุ รม
การศกึ ษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (Independent Study: IS) การจัดกระบวนการเรียนรู้ตามบันได 5 ข้ัน สามารถดาเนินการได้หลากหลายวิธีและการให้ เรียนได้ เรียนรู้ สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study: IS) นับเป็นวิธีการที่มี ประสิทธิภาพวิธีหน่ึงท่ีใช้อย่างกว้างขวางในการพัฒนาผู้เรียน เพราะเป็นการเปิดโลกกว้างให้ผู้เรียนได้ ศึกษาค้นคว้าอย่างอิสระในเรื่องหรือประเด็นท่ีตนสนใจ เริ่มต้ังแต่การกาหนดประเด็นปัญหาซึ่งอาจเป็น Public Issue และ Global Issue และดาเนินการค้นคว้าแสวงหาความรู้จากแหล่งข้อมูลท่ีหลากหลาย มีการวิเคราะห์ การสังเคราะห์ การอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็น เพื่อนาไปสู่การสรุปองค์ความรู้ จากนั้นก็หาวิธีการที่เหมาะสมในการสื่อสารนาเสนอให้ผู้อื่นได้รับทราบ และสามารถนาความรู้หรือ ประสบการณ์ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าไปทาประโยชน์แก่สาธารณะ ซ่ึงส่ิงเหล่านี้เป็นกระบวนการ ท่ีเชื่อมโยงต่อเนื่องกันตลอดแนว ภายใต้สาระการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ซึ่งแบง่ เปน็ 3 สาระ ประกอบด้วย IS 1 การศกึ ษาค้นควา้ และสร้างองคค์ วามรู้ (Research and Knowledge Formation) เป็นสาระท่ีมุ่งให้ผเู้ รยี นกาหนดประเดน็ ปัญหา ตงั้ สมมตฐิ าน คน้ ควา้ แสวงหาความรู้และ ฝกึ ทักษะการคดิ วิเคราะห์ สังเคราะห์ และสรา้ งองค์ความรู้ IS 2 การสอื่ สารและการนาเสนอ (Communication and Presentation) เป็นสาระที่มุ่งให้ผู้เรียนนาความรู้ท่ีได้รับ มาพัฒนาวิธีการถ่ายทอด/สื่อสารความหมาย/ แนวคิด ขอ้ มลู และองค์ความรู้ ด้วยวธิ ีการนาเสนอที่เหมาะสมหลากหลายรปู แบบ และมีประสิทธิภาพ IS 3 การนาองคค์ วามรู้ไปใชบ้ ริการสงั คม (Social Service Activity) เป็นสาระท่ีมุ่งให้ผู้เรียน นาองค์ความรู้/ประยุกต์ใช้องค์ความรู้ไปสู่การปฏิบัติ หรือ นาไปใชใ้ ห้เกดิ ประโยชนต์ ่อสังคม เกิดบรกิ ารสาธารณะ (Public Service) โรงเรียนต้องนาสาระ การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (Independent Study : IS) ไปสู่การเรียน การสอน ด้วยการจัดทารายวิชา ออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ตามแนวทาง ท่ีกาหนด โดยพิจารณาให้สอดคล้องกับบริบท วัยและพัฒนาการของผู้เรียน ซ่ึงอาจแตกต่างกันในระดับ ประถมศึกษา มธั ยมศึกษาตอนตน้ และมัธยมศกึ ษาตอนปลาย เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 1
คำอธบิ ำยรำยวชิ ำ รหสั วิชา I30201 รายวชิ า IS1 การศกึ ษาค้นคว้าและสร้างองค์ความรู้ กลมุ่ สาระการเรียนร้ภู าษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 5 จานวน 1.0 หน่วยกติ เวลา 40 ช่ัวโมง คาอธบิ ายรายวิชา การศึกษา วิเคราะห์ ฝึกทักษะ ตั้งประเด็นปัญหา/ตั้งคาถามเกี่ยวกับสถานการณ์ปัจจุบันและ สงั คมโลก ตง้ั สมมตฐิ านและใหเ้ หตุผลท่สี นบั สนุนหรอื โตแ้ ยง้ ประเด็นความรู้ โดยใชค้ วามร้จู ากศาสตร์สาขา ต่าง ๆ และมีทฤษฎีรองรับออกแบบ วางแผน รวบรวมข้อมูล ค้นคว้าแสวงหาความรู้เกี่ยวกับสมมติฐาน ที่ตั้งไว้จากแหล่งเรียนรู้ท้ังปฐมภูมิและทุติยภูมิและสารสนเทศ อย่างมีประสิทธิภาพและพิจารณา ความนา่ เชอื่ ถอื ของแหลง่ เรยี นร้อู ย่างมีวจิ ารณญาณเพื่อให้ได้ข้อมูลท่ีครบถ้วนสมบูรณ์ วิเคราะห์ข้อมูลโดย ใช้วิธีการท่ีเหมาะสม สังเคราะห์ สรุปองค์ความรู้ร่วมกัน มีกระบวนการกลุ่มในการวิพากษ์ แลกเปล่ียน ความคิดเห็นโดยใช้ความรู้จากสาขาวิชาต่าง ๆ เสนอแนวคิด วิธีการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบด้วย กระบวนการคดิ ฝึกกระบวนการแก้ปัญหา กระบวนการปฏิบัติ เพ่ือให้เกิดทักษะในการค้นคว้า แสวงหาความรู้ สังเคราะห์ สรุป อภิปรายผลเปรียบเทียบเชื่อมโยงความรู้ ความเป็นมาของศาสตร์ เข้าใจหลักการและ วธิ ีคดิ ในส่งิ ที่ศึกษา เหน็ ประโยชน์และคณุ คา่ ของการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง เพ่ือให้เกิดความรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่เรียนรู้ มีความคิดสร้างสรรค์ มีมารยาท ในการสื่อสารและการสร้างสรรค์ผลงานเพอ่ื ให้เห็นประโยชน์และคณุ ค่าของการศกึ ษาคน้ คว้าด้วยตนเอง ผลการเรยี นรู้ 1. ตงั้ ประเดน็ ปญั หา จากสถานการณ์ปจั จบุ นั และสงั คมโลก 2. ตั้งสมมติฐานและใหเ้ หตุผลท่สี นับสนุนหรอื โต้แย้งประเดน็ ความรโู้ ดยใชค้ วามรู้ จากสาขาวิชาตา่ ง ๆ และมีทฤษฎีรองรับ 3. ออกแบบ วางแผน ใชก้ ระบวนการรวบรวมขอ้ มูลอย่างมีประสิทธิภาพ 4. ศึกษา คน้ คว้า แสวงหาความรูเ้ กีย่ วกับประเด็นท่ีเลอื กจากแหลง่ เรียนรู้ท่ีมีประสิทธภิ าพ 5. ตรวจสอบความน่าเชือ่ ถือของแหลง่ ทีม่ าของข้อมลู 6. วเิ คราะห์ข้อค้นพบด้วยสถิติที่เหมาะสม 7. สงั เคราะห์ สรปุ องคค์ วามรดู้ ้วยกระบวนการกลุ่ม 8. เสนอแนวคิด การแก้ปญั หาอยา่ งเปน็ ระบบด้วยองคค์ วามรจู้ ากการคน้ พบ รวม 8 ผลการเรียนรู้ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ด้วยตนอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 2
บทท่ี บทนำ การแสวงหาความรู้ ทกุ คนมโี อกาสในการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง การเปิดโอกาสให้มนุษย์แสวงหาความรู้โดยมี แหล่งความรู้ไว้รองรับในแต่ละชุมชน เช่น ห้องสมุด ศูนย์ข้อมูล เป็นการสร้างสังคมแห่งภูมิปัญญา ในระบอบประชาธิปไตย การสร้างสังคมแห่งภมู ิปัญญามที ง้ั การศกึ ษาในระบบ นอกระบบ และการศึกษา ตามอธั ยาศัย การรู้วิธีแสวงหาความรู้ การรักการเรียนรู้กับการมีแหล่งความรู้ที่ดีจึงเป็นเสมือนไก่กับไข่ ว่าสง่ิ ใดควรเกิดก่อน ควรใหค้ วามสาคัญกับสง่ิ ใด แมว้ ่าท้งั สามสงิ่ จะมีความสาคญั เหมอื นกัน ความหมายของการแสวงหาความรู้ การแสวงหาความรู้ คอื ทักษะที่จะต้องอาศัยการเรียนรู้และวิธีการฝึกฝนจนเกิดความชานาญ ช่วยทาให้เกิดแนวความคิดความเข้าใจท่ีถูกต้องและกว้างขวางย่ิงข้ึน เพราะผู้เรียนจะเกิดทักษะใน การค้นคว้า สิ่งท่ีต้องการและสนใจใคร่รู้จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ จะทาให้ทราบข้อเท็จจริง และสามารถ เปรียบเทยี บขอ้ เท็จจริงท่ไี ด้มาวา่ ควรเช่อื ถือหรือไม่ เกษม วัฒนชัย (2544) กล่าวถึงความรู้ว่าเป็นกระบวนการรวบรวมความคิดของมนุษย์ จัดให้ เปน็ หมวดหมู่และประมวลสาระท่สี อดคลอ้ งกัน โดยนามาใชใ้ ห้เกิดประโยชน์ ดังนั้นส่งิ ที่เปน็ สาระในระบบ ข้อมลู ข่าวสาร คือ ความรู้ ความรู้ใหม่ตอ้ งสร้างขึ้นบนฐานของความรู้เดมิ ทม่ี ีอยู่ ความรู้ใหมจ่ งึ เกดิ จากฐาน การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่ จากรูปแสดงความสัมพันธ์ของความรู้ ปัญหาและการวิจัย (สุภางค์ จนั ทวานิช, 2545: 3) ความรูเ้ ดมิ ปัญหา (กระบวนการวิจยั ) ความรู้ใหม่ การแสวงหาความรูใ้ หม่ จงึ ควรศึกษาฐานความรเู้ ดิมกอ่ น เพ่ือไม่ให้การศึกษาค้นคว้าใด ๆ ต้อง เร่ิมต้นใหมท่ กุ ครง้ั เป็นการประหยัดเวลาและค่าใช้จ่าย จากรูปแสดงถึงความรู้ใหม่ที่ได้จะผนวกเข้ากับ ความรู้เดิม และเกิดปัญหาขึ้นใหม่ ทาให้มีการวิจัยเพ่ือตอบปัญหาต่อไปอีก วิธีการหรือกระบวนการ แสวงหาความร้ทู ่ีเป็นท่ยี อมรับในทางวชิ าการ เชน่ วิธีการเชิงวิทยาศาสตร์และวิธีการถกเถียงกันอยู่ เช่น การคาดคะเน การหย่ังรู้ เป็นต้น กระบวนการหรือวิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ เป็นการใช้ความคิดและ เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 3
การกระทาเพื่อค้นหาประจักษพ์ ยาน หรือข้อมลู แลว้ นามาแปลความ ตีความ และสร้างคาอธิยาย จงึ ต้องมี การวางแผน การออกแบบสารวจ การจัดสถานการณ์ การทดลอง เพอื่ ใหไ้ ดค้ วามรู้ใหม่ ซ่งึ ได้มาจากการใช้ ประจักษพ์ ยาน จากการสังเกต การคน้ คว้า นามาแปลความให้สอดคลอ้ งกับส่งิ ทส่ี ังเกตได้ สรุปออกมาเปน็ ความรู้ท่ีนาเอามาใช้ประโยชน์ได้ ความรู้จากตาราเป็นความรู้ท่ีมีการศึกษาไว้แล้ว ตาราจึงมีไว้ใช้เป็น ฐานความรู้เดมิ ทจ่ี ุดประกายความคิดท่ีจะค้นคว้าหาความรู้ต่อไป (สุนีย์ คล้ายนิล, 2546: 5) อาจกล่าว ไดว้ า่ ความร้ใู หมเ่ ป็นความรนู้ อกตารา ดงั นั้นการคดิ ค้นสงิ่ ใหมห่ รือความคดิ ใหมไ่ ม่ได้หมายถึงเพียงการประดิษฐ์สิ่งใหม่ในรูปแบบของ เครือ่ งยนต์กลไกเทา่ นั้น แตย่ ังรวมถงึ วธิ กี ารทาสง่ิ ตา่ ง ๆ ท่ตี า่ งไปจากเดมิ เช่น การมีมุมมองใหม่ ๆ การจัด ระเบียบสงิ่ ตา่ ง ๆ ในแบบใหม่ วธิ กี ารใหม่ในการนาเสนอ รวมถงึ การมคี วามคิดใหม่ ๆ ดว้ ย ซง่ึ สามารถชว่ ย เพม่ิ ประสิทธิภาพการทางานได้เช่นกนั ความรแู้ ต่ละระดบั ความแตกต่างของภูมิปัญญาและความรู้มีหลายระดับ การมีปัญญาแตกต่างจากการมีความรู้ เพราะปัญญาเกิดจากการคดิ การรอบรู้ การแสวงหาความรู้รอบด้าน รู้เหตุ รู้ผล และเช่ือมโยงภาพรวม ของทุกสิ่งท่ีสัมพันธ์กันได้ การแสวงหาความรู้เป็นขั้นตอนแรกของการจัดการความรู้ของแต่ละบุคคล เพ่อื ให้เกิดแนวคิดใหมห่ รือการประดษิ ฐค์ ดิ คน้ ส่งิ ใหม่ ท่เี รยี กวา่ นวตั กรรม (Innovation) ภูมิปัญญา หมายถึง ความรู้ ความชานาญ และความสามารถในการเรียนรู้ การคิด และ การนาไปใช้ใหเ้ กิดประโยชน์ ความรู้มีอยมู่ ากมายรอบ ๆ ตวั เรา และสามารถจัดแบ่งออกได้เป็น 4 ระดับ (มนตรี จุฬาวฒั นทล, 2537: 2) ได้แก่ ระดับแรก ความรู้เก่ียวกับสิ่งรอบตัวเรา ซึ่งสามารถรับรู้ได้โดยประสาทสัมผัส มองเห็น ได้ยิน ดมกล่ิน และลิ้มรสสัมผัส เช่น ความร้อน-ความเย็น ความสว่าง-ความมืด เสียงดัง-เสียงเบา กลน่ิ หอม-กล่ินเหม็น และรสเค็ม-รสหวาน เปน็ ต้น ความรรู้ ะดบั ต้นนอี้ าจเรียกว่า ความรสู้ ึก ระดับทสี่ อง ไดแ้ ก่ ความรู้ด้านภาษา ซง่ึ จะทาให้อา่ นและเขียนหนังสือได้ ฟังเข้าใจ ฟังวิทยุ และดูโทรทศั นร์ ู้เรอ่ื ง ตลอดจนมภี ูมปิ ัญญาทอ้ งถนิ่ ท่ีได้สะสมและตกทอดกันมา ระดับท่ีสาม ได้แก่ ความรู้ด้านวิชาการ ซ่ึงได้จากการศึกษาเล่าเรียน ทาให้คิดเลขเป็น คานวณดอกเบยี้ ได้ ออกแบบอาคารได้ เขียนบทละครได้ ใช้คอมพิวเตอร์เป็น รู้กฎหมายบ้านเมือง รู้จัก กฎเกณฑ์ เป็นต้น ความรู้วิชาการเหล่านี้ มกั จะต้องเรยี นรจู้ ากครู อาจารย์ เอกสาร ตาราทางวชิ าการ หรือ ผู้ที่รู้เรอ่ื งนัน้ ๆ มาก่อน ระดับที่ส่ี ได้แก่ ความรู้ใหม่ เป็นความรู้ท่ีไม่เคยมีอยู่ก่อน ได้มาโดยการค้นคว้า วิจัย การคิดคน้ กระบวนการใหม่ และควรจะหาแนวทางในการนาความรู้ใหม่ไปใช้ให้เป็นประโยชน์เพ่ือให้เกิด การพัฒนา สังคมไทยจาเปน็ ตอ้ งพฒั นาการศึกษาให้มีความก้าวหน้าทางวิชาการและการสร้างองค์ความรู้ ศาสตราจารย์ ดร.วิจิตร ศรีสอ้าน (2546: 17) กล่าวว่า “...ถ้าการศกึ ษาไมส่ รา้ งคนให้ทาได้ ไม่สรา้ ง องคค์ วามร้ใู หร้ พู้ อที่จะแก้ปัญหาของเราเอง เราจะแข่งกับใครได้ คนท่ีพึ่งตนเองไม่ได้ทาง ภูมปิ ญั ญา แข่งกบั ใครไมไ่ ด.้ ..” เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 4
การสร้างองค์กรหรือชุมชนแห่งการเรียนรู้จาเป็นต้องพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้ของคนใน องคก์ ร เพื่อใหร้ ู้ว่าความรู้พน้ื ฐานที่ตนมีหรอื องค์กรมนี ้ันมอี ะไรบ้าง จะใชป้ ระโยชนจ์ ากสิง่ ทมี่ ีอยไู่ ดอ้ ย่างไร การรวบรวมความร้ไู ว้ในคลังความรู้ เชน่ หอ้ งสมุด ศนู ยข์ อ้ มูล ศูนยส์ ารสนเทศ ช่วยใหค้ ้นหาความรู้เดิมได้ ง่ายและเป็นการตอ่ ยอดความรใู้ หม่ ปจั จบุ นั การร้วู ิธีการแสวงหาความรใู้ หม่ ๆ มคี วามสาคัญยง่ิ เพราะความร้มู ีการเปลย่ี นแปลงอย่าง รวดเร็วตามสังคมโลกาภิวัตน์ และความก้าวหน้าของเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร การรู้วิธี การแสดงความความรู้จงึ มีความสาคัญกวา่ การใหค้ วามร้เู พียงอย่างเดียว ดังคากล่าวท่ีว่า “ถ้าเราให้ปลา เขากนิ อิ่มได้เพียงม้อื เดยี ว ถ้าเราสอนวิธหี าปลา เขาจะหาปลารบั ประทานได้เองตลอดชีวิต” (Give a man a fish, he can eat for a day. Teach a man to fish, he can eat for the rest of his life.) การแสวงหาความรู้ใหม่และการใฝ่รู้เป็นทักษะที่จาเป็นสาหรับการทางานยุคใหม่ เพราะ การเรียนรู้เป็นพ้ืนฐานของการดาเนินชีวิต คนเราสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ต่ังแต่เกิดจนตาย ดังคา กล่าวที่ว่า ไม่มีใครแก่เกินเรียน (No one is too old too learn) ซึ่งการเรียนรู้ช่วยให้เกิดความคิด สรา้ งสรรค์ เปน็ การสง่ เสรมิ การคิดให้ได้มาซ่ึงส่ิงแปลก ๆ ใหม่ ๆ ไม่ซ้าเดิมและมีการพัฒนาตัวเองอย่าง สม่าเสมอ การเรียนรู้มีหลายวิธี นอกจากการเรียนในสถานบันการศึกษาแล้ว ยังสามารถเรียนรู้ได้จาก การอ่าน การได้ยิน การได้ลงมือทา การสังเกต การมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งต่าง ๆ การมีประสบการณ์ตรง การเลียนแบบผ้อู น่ื การศึกษาคน้ ควา้ การเรียนรู้ด้วยตนเองโดยไม่ผ่านการสอนนี้ ทาให้มีผลต่อการรับรู้ หรอื การจาหรอื การเกิดความคิดในเชิงจินตนาการและสร้างสรรค์มากกว่า (อุทัย ดุลยเกษม, 2542: 86) เหนือสงิ่ อน่ื ใด คอื การมีความรจู้ ากการเรยี นรู้ นอกจากน้กี ารแสวงหาความรูใ้ หม่มหี ลายระดบั ไดแ้ ก่ การศึกษาค้นคว้า หมายถึง การหาข้อมูลหรือการหาความรู้เพ่ิมเติม เพ่ือหาคาตอบจาก ปัญหาใดปัญหาหน่ึงโดยมีจุดมุ่งหมายเพ่ือให้ได้รับความรู้ในเร่ืองนั้น ๆ การศึกษาค้นคว้า จึงเป็นการ แสวงหาความรู้ เพือ่ ให้ไดค้ าตอบหรือเพ่ือนาความรนู้ ้ันไปใช้ในการแก้ไขปญั หาและประกอบการตดั สนิ ได้ การวิจยั (Research) หมายถึง การสืบสวนตรวจตรา (Investigate) เพอ่ื หาคาตอบในเรื่อง ใดเรอื่ งหนึง่ อย่างมีระเบียบแบบแผนและมีขั้นตอน ตามระเบียบวิธีการวิจัย การศึกษาค้นคว้าอย่างเป็น ระบบ คือ ทม่ี าของการวจิ ัย ความสงสยั ในเร่อื งท่ีตอ้ งการหาคาตอบ คอื ปัญหาในการวิจยั หารหาคาตอบ เปน็ การเตมิ ช่องว่างระหวา่ งระบบความคดิ กบั ระบบข้อเทจ็ จริง รายงาน (Report) เป็นผลท่ีได้จากการศึกษาค้นคว้า วิจัย มีการเรียบเรียงตามระเบียบ ขนั้ ตอนทางวิชาการ ตามรูปแบบการเขยี นรายงาน การเรยี นรู้ การเรยี นรู้ (Learning) เปน็ กระบวนการในการเปลย่ี นพฤติกรรมอันเนื่องมาจากประสบการณ์ ทีแ่ ตล่ ะบุคคลได้รบั มา (มาลี จฑุ า, 2544: 64) ดังน้ันการเรยี นรจู้ ึงเปน็ การเปลย่ี นแปลงพฤติกรรมในทางที่ ดขี น้ึ โดยการเรียนรู้ทาใหเ้ กดิ ประสบการณ์ และประสบการณ์ทาใหเ้ กิดการพฒั นาคณุ ภาพชีวติ วิธกี ารเรยี นรู้ จึงเป็นการใช้พลงั งานของสมาธิ ความจาและความคิด เพ่ือให้เกดิ ความเข้าใจ ขน้ั ท่ี 1 เปิดใจรบั ข้อมลู โดยการฟัง การอา่ น การสังเกต ขน้ั ท่ี 2 คิด วิเคราะห์ ไตร่ตรองจนเขา้ ใจ ขัน้ ที่ 3 ประยุกตใ์ ช้ในทางสร้างสรรค์ หรอื เปลย่ี นแปลงทศั นคติ คา่ นยิ ม เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 5
ข้ันตอนของการคิดเป็น เป็นข้ันตอนสาคัญของการเรียนรู้ การคิดเป็นการใช้สมองของแต่ละ บุคคล โดยการคิดมีหลายลักษณะ เช่น การคิดแนวต้ังหรือการคิดแบบปกติ และการคิดแนวขวางหรือ การคิดนอกกรอบ กระบวนการเรียนรู้โดยใช้ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง มีลักษณะที่ให้ผู้เรียนมีอิสรภาพในการเรียนรู้ ท้งั ทางร่างกายและจติ ใจ โดยใหผ้ ู้เรยี นมพี ฤติกรรม ดงั นี้ 1. ทางานเปน็ ทมี 2. แสดงออกอิสระ 3. ปฏิบัตจิ ริง 4. มสี ว่ นรว่ ม 5. คดิ ดว้ ยตนเอง การท่ีผ้เู รียนจะเกดิ ปญั ญานั้น ผู้เรยี นจะตอ้ งคดิ เป็น และคิดด้วยตัวเอง 6. การแสวงหาความรู้อย่างอิสระ เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ส่ิงต่างๆ จาก ธรรมชาติ จนิ ตนาการ ความงาม ความจรงิ และการแสวงหาความรวู้ ธิ ีทง่ี ่ายทีส่ ุด คือ การอ่านหนังสอื พ้ืนฐานของการแสวงหาความรู้ 4 ประการ ซ่ึงเป็นพ้ืนฐานของการเรียนรู้ตลอดชีวิต ได้แก่ การอา่ น การฟงั การไตถ่ าม และการจดบนั ทึก ซึ่งสอดคล้องกับหลกั หวั ใจนักปราชญ์ คือ สุ จิ ปุ ลิ สุ ได้แก่ สดุ คือ การฟัง การฟงั เปน็ การเปิดใจเพ่ือรบั ฟังขอ้ มูลข่าวสารก่อนทีจ่ ะคดิ ว่าเรื่องท่ี รับฟงั นน้ั มเี หตุผลนา่ เช่อื ถือหรอื ไม่เพียงใด การฟงั เปน็ เครอ่ื งมอื ของการแสวงหาความรู้เช่นกัน จิ ไดแ้ ก่ จนิ ตนะ คือ การคิด การคิดเป็นการทางานของสมอง สมองของคนเรามี 2 ซีก ซีก ซ้ายและซีกขวาทาหนา้ ที่แตกต่างกัน โดยซีกซ้าย ทาหน้าที่ควบคุมการใช้เหตุผล ใช้ตรรกะ การคานวณ เปรียบเทยี บ การแจงนบั การวิเคราะห์เจาะลกึ ส่วนซกี ขวาทาหนา้ ท่ีควบคุมความคิดสร้างสรรค์ อารมณ์ จิตใจ สญั ชาตญาณและลางสังหรณ์ ปุ ได้แก่ ปุจฉา คือ คาถาม การซักถามเรื่องที่สงสัยและต้องการข้อมูลเพ่ิมเติม เป็น การแสวงหาความรู้ หลังจากการอ่านและการฟงั เพอ่ื ช่วยใหเ้ กดิ ความเขา้ ใจไดช้ ดั เจนขนึ้ เพือ่ ให้เกิดความ กระจ่าง และความเขา้ ใจทถี่ กู ต้อง ลิ ได้แก่ ลิขิต คือ การเขียน การเขียนหรือจดบันทึก เป็นการบันทึกข้อความเพ่ือเตือน ความจา เพ่ือประโยชน์ในการนาบันทึกน้ันมาทบทวนภายหลัง ควรจดเฉพาะใจความสาคัญเป็นการจด สรุปความ เพ่อื ความเขา้ ใจอีกช้นั หน่ึง และปอ้ งกันการสบั สนหรือหลงลมื หากเราใชห้ ลกั หัวใจนักปราชญ์ในการแสวงหาความรยู้ อ่ มทาใหผ้ ลของการเรยี นรู้บรรลเุ ปา้ หมาย ผลที่ไดจ้ ากการเรยี นรูค้ ือความใฝร่ ู้ ได้แก่ 1. ความคดิ คอื ความคดิ ความเขา้ ใจ และความจาในเน้ือหาสาระ ความรู้มี 2 ส่วน คือ ส่วน แรกเป็นความรใู้ นเนือ้ หาของเรือ่ งนนั้ ๆ อกี ส่วนหนึ่ง คอื ความร้วู า่ จะหาความรูน้ นั้ ได้จากทใ่ี ด 2. ทกั ษะ เช่น การพูด การกระทา การเคล่ือนไหว เป็นตน้ 3. เจตคติ หรือ ความรู้สกึ เชน่ 3.1 คุณธรรม หมายถึง การยึดม่ันในความจรงิ ความดงี าม ความถูกตอ้ ง 3.2 จริยธรรม หมายถงึ ความรับผิดชอบในหนา้ ท่ี และปฏบิ ัติตามสัญญา 3.3 ค่านยิ ม หมายถึง ความคิด ความเช่อื เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564 6
วิธกี ารแสวงหาความรู้ ความรู้ ของมนษุ ย์ ประกอบดว้ ย ข้อเท็จจรงิ และทฤษฎตี ่าง ๆ การแสวงหาความรขู้ องมนุษย์เป็น กระบวนการท่ตี อ้ งอาศัยสติปัญญาและการฝกึ ฝนตา่ ง ๆ วธิ ีเสาะแสวงหาความรขู้ องมนษุ ย์ จาแนกได้ดังนี้ 1. การสอบถามจากผรู้ ู้ (Authority) เช่น ในสมยั โบราณ เมอ่ื เกิดน้าทว่ มหรือโรคระบาด ผคู้ น กจ็ ะถามผูท้ ่เี กดิ กอ่ นวา่ จะทาอย่างไร ซึ่งในสมัยนั้นผู้ที่เกิดก่อนก็จะแนะนาให้ทาพิธีสวดมนต์อ้อนวอนส่ิง ศกั ดิ์สทิ ธิต์ ่าง ๆ ปจั จบุ นั กม็ ีการแสวงหาความรู้ทใ่ี ชว้ ิธกี ารสอบถามจากผรู้ ู้ เชน่ ผูพ้ พิ ากษาในศาลเวลาตดั สนิ คดเี กี่ยวกบั การปลอมแปลงลายมือยังต้องอาศัยผู้เช่ียวชาญทางด้านลายมือให้ช่วยตรวจสอบให้ ข้อควร ระมัดระวังในการเสาะแสวงหาความรู้โดยการสอบถามจากผู้รู้คือต้องม่ันใจว่าผู้รู้นั้นเป็นผู้รู้ในเรื่องที่จะ สอบถามอย่างแทจ้ ริง 2. การศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณี (Tradition) วธิ ีการเสาะแสวงหาความรู้ของมนุษย์ อกี วิธหี น่งึ ท่ีใกลเ้ คียงกนั กบั การสอบถามจากผ้รู ้กู ค็ อื การศึกษาจากขนบธรรมเนียมประเพณีหรอื วัฒนธรรม ตา่ ง ๆ เช่น ในการศึกษาความรูเ้ กี่ยวกับการแต่งกายประจาชาติต่าง ๆ ซ่ึงผใู้ ชว้ ิธกี ารแสวงหาความรูแ้ บบน้ี ต้องตระหนักว่า สิ่งต่าง ๆ ท่ีเกิดข้ึนในอดีตจนเป็นขนบธรรมเนียมนั้นไม่ใช่ว่าจะเป็นสิ่งที่ถูกต้องและ เทีย่ งตรงเสมอไป ถ้าศกึ ษาเหตุการณต์ า่ ง ๆ ทางดา้ นประวตั ิศาสตร์จะพบว่ามขี ้อปฏิบัติหรอื ทฤษฎตี ่าง ๆ ที่ เป็นผลสืบเนอื่ งมาจากวฒั นธรรมหรือขนบธรรมเนยี มประเพณีนน้ั ซึ่งได้ยดึ ถอื ปฏบิ ัติกนั มาหลายปี และพบ ข้อเท็จจริงในภายหลังถงึ ความผิดพลาดขอ้ ปฏิบตั ิหรอื ทฤษฎเี หล่านนั้ ก็ต้องยกเลกิ ไป ดงั นั้นผ้ทู จ่ี ะใชว้ ิธกี าร เสาะแสวงหาความร้โู ดยการศกึ ษาจากขนบธรรมเนียมประเพณีนน้ั ควรจะได้นามาประเมินอย่างรอบคอบ เสยี ก่อนทจี่ ะยอมรบั ว่าเป็นขอ้ เทจ็ จรงิ 3. การใช้ประสบการณ์ (Experience) วิธีการเสาะแสวงหาความรทู้ มี่ นุษยใ์ ช้กันอย่บู อ่ ย ๆ คือ การใชป้ ระสบการณ์ตรงของตนเอง เม่ือเผชิญปัญหา มนุษย์พยายามที่จะค้นคว้าหาคาตอบใน การ แก้ปัญหาโดยใช้ประสบการณต์ รงของตนเองท่เี คยประสบมา เช่น เด็กมกั จะมีคาถามมาถามครู บดิ า มารดา ญาติ ผู้ที่มีอาวุโสมากกว่า บุคลเหล่าน้ันมักจะใช้ประสบการณ์ตรงของตนเองในการตอบคา ถามหรือ แกป้ ัญหาให้กับเด็ก การใชป้ ระสบการณต์ รงนั้นเปน็ วิธกี ารเสาะแสวงหาความรู้ แตถ่ ้าใช้ไมถ่ ูกวิธอี าจจะทา ใหไ้ ดข้ อ้ สรุปทไ่ี มถ่ ูกตอ้ งได้ 4. วิธีการอนมุ าน (Deductive method) การเสาะแสวงหาความรู้โดยใชว้ ธิ กี ารอนมุ านนเี้ ปน็ กระบวนการคิดคน้ จากเรอื่ งทว่ั ๆ ไป ไปสเู่ รือ่ งเฉพาะเจาะจง หรือคิดจากสว่ นใหญไ่ ปสสู่ ่วนยอ่ ย จากสิง่ ที่ ร้ไู ปสู่สิง่ ที่ไมร่ ู้ วิธกี ารอนุมานน้ปี ระกอบด้วย 1) ข้อเท็จจริงใหญ่ ซึง่ เปน็ เหตกุ ารณท์ ่เี ปน็ จริงอยู่แลว้ ในตวั มันเอง 2) ข้อเทจ็ จริงย่อย ซ่ึงมคี วามสัมพันธ์กบั กรณขี องขอ้ เทจ็ จริงยอ่ ย และ 3) ขอ้ สรปุ (Conclusion) ถา้ ข้อเทจ็ จรงิ ใหญ่และขอ้ เท็จจรงิ ย่อยเปน็ จริง ข้อสรปุ กจ็ ะตอ้ งเปน็ จริง เชน่ สตั วท์ กุ ชนดิ ต้องตาย สนุ ัขเป็นสัตวช์ นิดหนึ่ง ข้อสรปุ สนุ ัขต้องตาย 5. วธิ กี ารทางวิทยาศาสตร์ (Scientific method) เปน็ วิธกี ารแสวงหาความรู้โดยใช้หลักการ ของวธิ ีการอุปมานและวธิ กี ารอนมุ านมาผสมผสานกนั โดยมขี นั้ ตอนการเสาะแสวงหาความรโู้ ดยเรม่ิ จากการ ทม่ี นุษย์เริม่ เรียนรู้ทลี ะเล็กทีละนอ้ ยจากประสบการณ์ตรงความรู้เกา่ ๆ และการสังเกต เป็นต้นจนกระทั่ง รวบรวมแนวความคิดเปน็ แนวความรตู้ า่ ง ๆ ทีส่ มมตขิ ึ้นมา ซ่ึงเป็นวิธีการอุปมานและหลงั จากนน้ั ก็ใช้วิธีการ อนุมานในการแสวงหาความรู้ท่ัวไป โดยเร่ิมจากสมมติฐานซ่ึงเป็นส่วนรวม แล้วศึกษาไปถึงส่วนย่อย ๆ เพอ่ื ท่จี ะศึกษาถึงการหาความสมั พันธร์ ะหว่างส่วนยอ่ ยกบั ส่วนรวม เพื่อใหไ้ ด้ขอ้ สรปุ ของความรู้ตา่ งๆ เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 7
วธิ กี ารทางวทิ ยาศาสตร์ (Scientific method) เป็นวิธกี ารแสะแสวงหาความรู้ท่ีดีในการแก้ ปัญหาต่างๆ ไม่เพียงแต่ปัญหาที่เกิดข้ึนในห้องปฏิบัติการวิทยาศาสตร์เท่าน้ัน แต่ยังสามารถนามา ประยกุ ตใ์ ชใ้ นการแกป้ ญั หาทางการศกึ ษาไดด้ ว้ ย การพฒั นาทกั ษะการแสวงหาความร้ดู ว้ ยตนเอง กรมสามญั ศึกษา (2545: 12-20) กลา่ ววา่ การศึกษาหาความรมู้ ีข้ันตอน ดังนี้ 1. การกาหนดประเด็นค้นควา้ ประกอบด้วย 1.1 การตงั้ ประเดน็ คน้ คว้า 1.2 การกาหนดขอบเขตของประเด็นค้นคว้า 1.3 การอธิบายประเดน็ คน้ ควา้ ซ่งึ เป็นการนาเสนอรายละเอียดเก่ียวกบั ประเดน็ คน้ ควา้ 1.4 การแสดงความคิดเห็นตอ่ ประเด็นค้นควา้ 2. การคาดคะเน ประกอบดว้ ย 2.1 การตง้ั ประเดน็ คาดคะเน 2.2 การอธิบายรายละเอียดเกี่ยวกบั ประเดน็ คาดคะเนผล 2.3 การแสดงความคิดเหน็ ต่อประเดน็ คาดคะเนผล 3. การกาหนดวธิ ีคน้ คว้าและการดาเนนิ การ ประกอบด้วย 3.1 จาแนกวธิ กี ารค้นคว้า คอื การระบุแนวทางตา่ ง ๆ 3.2 เลือกวธิ กี ารค้นควา้ พรอ้ มระบเุ หตุผล 3.3 วางแผนคน้ คว้าตามแนวทางที่ได้แสดงขั้นตอนการดาเนนิ การคน้ คว้า 3.4 การคาดคะเนส่ิงที่จะเป็นอปุ สรรคในการค้นคว้า 3.5 ดาเนนิ การค้นคว้า 4. การวิเคราะห์ผลการค้นควา้ ประกอบดว้ ย 4.1 การจาแนก จัดกลุ่ม และจัดลาดบั ข้อมูล 4.2 การพิจารณาองคป์ ระกอบและความสมั พนั ธข์ องขอ้ มลู โดยจัดลาดับความสาคัญ 5. การสรุปผลการคน้ คว้า ประกอบดว้ ย 5.1 การสงั เคราะห์ข้อมูล คือ การเรียบเรยี งขอ้ มูลทีค่ ้นพบจากการค้นคว้า และสรุปเป็นประเด็น 5.2 การอภิปรายผลการคน้ ควา้ คอื การแสดงความเหน็ อย่างมเี หตุผล เก่ียวกบั ประเดน็ ทพี่ บจากการค้นคว้าพร้อมทั้งแสดงใหเ้ หน็ ความสมั พันธ์ของขอ้ มลู ทค่ี น้ พบทสี่ ามารถ เรียบเรยี งไปถงึ ประเด็นค้นควา้ ใหม่ 5.3 การสรปุ กระบวนการในการคน้ ควา้ คอื การระบขุ ้ันตอนหลกั ของกระบวนการค้นควา้ 5.4 การประเมินกระบวนการทใี่ ชใ้ นการคน้ ควา้ คือ การวิเคราะห์ จุดออ่ น จดุ แขง็ และแนวทางแกไ้ ขกระบวนการค้นควา้ ทกี่ าหนด เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564 8
บทท่ี 1 การตง้ั ประเด็นปญั หา การใชค้ าถามเปน็ เทคนิคสาคญั ในการเสาะแสวงหาความรู้ท่ีมีประสิทธิภาพ ก่อให้เกิดการเรียนรู้ ที่พัฒนาทักษะการคิด การตีความ การไตร่ตรอง การถ่ายทอดความคิด สามารถนาไปสู่การเปล่ียนแปลง และปรับปรุงการจัดกระบวนการเรียนรู้ได้เป็นอย่างดี การถามเป็นส่วนหน่ึงของกระบวนการเรียนรู้ ช่วยให้นักเรียนสร้างความรู้ ความเข้าใจ และพัฒนาความคิดใหม่ ๆ กระบวนการถามจะช่วยขยายทักษะ การคิด ทาความเข้าใจให้กระจ่าง ก่อให้เกิดการทบทวน การเช่ือมโยงระหว่างความคิดต่าง ๆ ส่งเสริม ความอยากรอู้ ยากเห็นและเกดิ ความทา้ ทาย ระดับของการตง้ั คาถาม การตงั้ คาถามมี 2 ระดบั คอื คาถามระดับพ้ืนฐาน และคาถามระดบั สูง ซึ่งมีรายละเอียด ดงั น้ี 1. คาถามระดับพื้นฐาน เป็นการถามความรู้ ความจา เป็นคาถามที่ใช้ความคิดท่ัวไป หรือ ความคิดระดับต่า ใช้พ้ืนฐานความรู้เดิมหรือสิ่งท่ีประจักษ์ในการตอบ เน่ืองจากเป็นคาถามท่ีฝึกให้เกิด ความคล่องตัวในการตอบ คาถามในระดับนี้เป็นการประเมินความพร้อมของนักเรียนเรียนก่อนเรียน วนิ จิ ฉัยจดุ ออ่ น-จุดแขง็ และสรปุ เน้อื หาที่เรยี นไปแล้ว คาถามระดบั พื้นฐาน ได้แก่ 1.1 คาถามให้สังเกต เป็นคาถามที่ให้นักเรียนคิดตอบจากการสังเกต เป็นคาถามท่ีต้องการ ให้นักเรียนใช้ประสาทสัมผัสทั้งห้าในการสืบค้นหาคาตอบ คือ ใช้ตาดู มือสัมผัส จมูกดมกล่ิน ล้ินชิมรส และหฟู งั เสียง ตัวอย่างคาถาม เช่น เมอ่ื นกั เรยี นอา่ นบทประพนั ธ์นี้แล้วร้สู กึ อยา่ งไร แมก่ าระเกดในเรอื่ งบพุ เพสันนวิ าสนมี้ บี คุ ลกิ ภาพอย่างไร นกั เรยี นโรงเรียนวดั สทุ ธิวรารามร้องเพลงชาติและเพลงโรงเรยี น เปน็ อยา่ งไร พนื้ ผวิ ของโตะ๊ ในห้องเรยี นเปน็ อยา่ งไร 1.2 คาถามทบทวนความจา เป็นคาถามที่ใช้ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน เพ่ือใช้ เชือ่ มโยงไปสู่ความรูใ้ หมก่ ่อนเร่ิมบทเรยี น ตัวอยา่ งคาถาม เช่น ดาวเคราะหด์ วงใดทมี่ ขี นาดใหญท่ ี่สุด ใครเปน็ ผูแ้ ต่งเร่ืองอิเหนา เมอื่ เกิดอาการแพย้ าควรโทรศัพท์ไปท่เี บอร์ใด เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศกึ ษาค้นควา้ ด้วยตนอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 9
1.3 คาถามท่ีให้บอกความหมายหรือคาจากัดความ เป็นการถามความเข้าใจ โดยการให้ บอกความหมายของข้อมลู ต่าง ๆ ตวั อยา่ งคาถามเช่น คาว่าสทิ ธมิ นุษยชนหมายความว่าอยา่ งไร ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาคืออะไร สถิติ (Statistics) หมายความวา่ อย่างไร 1.4 คาถามบ่งช้ีหรือระบุ เป็นคาถามท่ีให้ผู้เรียนบ่งชี้หรือระบุคาตอบจากคาถามให้ถูกต้อง ตวั อย่างคาถาม เชน่ คาใดตอ่ ไปนเ้ี ป็นคาควบกลา้ ไมแ่ ท้ ระบชุ อ่ื สัตวท์ ่ีมกี ระดกู สันหลงั ประเทศใดบา้ งทเ่ี ป็นสมาชิก APEC 2. คาถามระดับสูง เป็นการถามให้คิดค้น หมายถึง คาตอบที่นักเรียนตอบต้องใช้ความคิด ซบั ซอ้ น เปน็ การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์และกระตุ้นให้นักเรียนสามารถใช้สมองท้ังซีกซ้ายและซีกขวา ในการคิดหาคาตอบ โดยอาจใช้ความรู้หรือประสบการณ์เดิมมาเป็นพื้นฐานในการคิดและตอบคาถาม ตัวอยา่ งคาถามระดบั สูง ได้แก่ 2.1 คาถามให้อธิบาย เป็นการถามโดยให้นักเรียนตีความหมาย ขยายความ โดยการให้ อธบิ ายแนวคดิ ของขอ้ มลู ตา่ ง ๆ ตวั อยา่ งคาถามเชน่ นกั เรียนควรมบี ทบาทหน้าทใ่ี นโรงเรยี นอยา่ งไร ชาวพุทธท่ดี คี วรปฏิบัติตนอยา่ งไร นกั เรียนจะปฏิบตั ติ นอยา่ งไรจงึ จะทาใหร้ ่างกายแข็งแรง 2.2 คาถามให้เปรียบเทียบ เป็นการตั้งคาถามให้นักเรียนสามารถจาแนกความเหมือน ความแตกต่างของข้อมูลได้ ตัวอย่างคาถามเชน่ จงเปรียบเทียบวถิ ชี วี ิตของคนไทยในภูมิภาคต่าง ๆ ของประเทศไทย DNA กบั RNA แตกต่างกนั หรอื ไม่ อยา่ งไร สังคมเมอื งกับสังคมชนบทเหมือนและต่างกนั อย่างไร 2.3 คาถามให้วิเคราะห์ เป็นคาถามให้นักเรียนวิเคราะห์ แยกแยะปัญหา จัดหมวดหมู่ วจิ ารณ์แนวคดิ หรือบอกความสมั พนั ธ์และเหตผุ ล ตวั อยา่ งคาถาม เช่น อะไรเป็นสาเหตทุ ีท่ าให้เกดิ ภาวะโลกรอ้ น วัฒนธรรมแบ่งออกเป็นก่ีประเภท อะไรบา้ ง สาเหตุใดทที่ าใหน้ างวันทองถกู ประหารชวี ิต การติดยาเสพตดิ ของเยาวชนเกดิ จากสาเหตุใด 2.4 คาถามให้ยกตัวอย่าง เป็นการถามให้นักเรียนใช้ความสามารถในการคิด นามา ยกตัวอย่าง ตัวอย่างคาถามเชน่ ร่างกายขับของเสียออกจากสว่ นใดบ้าง ยกตัวอยา่ งการเคลือ่ นท่ีแบบโปรเจกไตล์ หนิ อัคนสี ามารถนาไปใช้ประโยชน์ไดอ้ ยา่ งไรบ้าง อาหารคาวหวานในพระราชนพิ นธ์กาพย์เหช่ มเคร่อื งคาวหวานได้แก่อะไรบ้าง เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 10
2.5 คาถามให้สรุป เป็นการใช้คาถามเมื่อจบบทเรียน เพื่อให้ทราบว่านักเรียนได้รับความรู้ หรือมีความก้าวหน้าในการเรียนมากน้อยเพียงใด และเป็นการช่วยเน้นย้าความรู้ที่ได้เรียนไปแล้ว ทาให้ สามารถจดจาเน้อื หาไดด้ ยี ่ิงขึ้น ตัวอย่างคาถามเช่น จงสรปุ เหตุผลทีท่ าใหพ้ ระเจ้าตากสนิ ทรงยา้ ยเมืองหลวง เมอ่ื นักเรยี นอ่านบทความเร่ืองน้แี ล้วนกั เรียนไดข้ ้อคิดอะไรบา้ ง จงสรปุ แนวทางในการอนุรักษท์ รพั ยากรนา้ เพื่อให้เกิดคุณค่าสงู สดุ จงสรุปขนั้ ตอนการทาผา้ บาติค 2.6 คาถามเพอ่ื ให้ประเมินและเลือกทางเลือก เป็นการใช้คาถามที่ให้นักเรียนเปรียบเทียบ หรือใช้วิจารณญาณในการตัดสินใจเลอื กทางเลือกทหี่ ลากหลาย ตวั อยา่ งคาถาม เชน่ การวา่ ยนา้ กับการวิ่งเหยาะ อยา่ งไหนเป็นการออกกาลังกายทีด่ ีกวา่ กัน ระหว่างนา้ อัดลมกับนมอย่างไหนมปี ระโยชน์มากกว่ากนั เพราะเหตใุ ด ไก่ทอดกบั สลดั ไก่ นกั เรยี นจะเลอื กรับประทานอาหารชนดิ ใด เพราะเหตุใด 2.7 คาถามให้ประยุกต์ เป็นการถามให้นักเรียนใช้พ้ืนฐานความรู้เดิมท่ีมีอยู่มาประยุกต์ใช้ ในสถานการณใ์ หม่หรือในชวี ิตประจาวัน ตวั อยา่ งคาถาม เชน่ นกั เรียนมวี ธิ กี ารประหยัดพลงั งานอยา่ งไรบา้ ง เมอ่ื นกั เรียนเห็นเพือ่ นในหอ้ งขาแพลง นักเรียนจะทาการปฐมพยาบาลอยา่ งไร นักเรียนนาปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใ์ ชใ้ นการดาเนนิ ชีวติ ประจาวันอยา่ งไรบา้ ง นักเรียนจะทาการส่งข้อความผ่านทางอีเมลได้อย่างไร 2.8 คาถามให้สร้างหรือคิดค้นสิ่งใหม่ ๆ หรือผลิตผลใหม่ ๆ เป็นลักษณะการถาม ให้ผู้เรยี นคิดสร้างสรรคผ์ ลงานใหม่ ๆ ท่ไี มซ่ า้ กบั ผูอ้ ื่นหรือท่ีมอี ย่แู ล้ว ตวั อยา่ งคาถามเชน่ กระดาษหนังสอื พมิ พท์ ่ไี ม่ใชแ้ ล้ว สามารถนาไปประดษิ ฐ์ของเล่นอะไรได้บา้ ง กล่องหรอื ลงั ไมเ้ กา่ ๆ สามารถดัดแปลงกลับไปใช้ให้เกดิ ประโยชนไ์ ดอ้ ย่างไร เสือ้ ผา้ ท่ีไมใ่ ช้แล้ว นักเรยี นจะนาไปดัดแปลงเป็นสง่ิ ใดเพอ่ื ใหเ้ กิดประโยชน์ นักเรยี นจะนากระดาษท่ใี ช้เพยี งหน้าเดียวมาประดษิ ฐ์เปน็ ส่ิงใดบา้ ง การตั้งคาถามระดบั สงู จะทาให้นักเรียนเกิดทักษะการคิดระดับสูง และเป็นคนมีเหตุผล นักเรียน ไม่เพียงแตจ่ ดจาความรู้ ข้อเทจ็ จริงได้อยา่ งเดียวแตส่ ามารถนาความรู้ไปใช้ในการแก้ปัญหา วิเคราะห์ และ ประเมนิ สิ่งท่ีถามได้ นอกจากน้ียังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจสาระสาคัญของเร่ืองราวท่ีเรียนได้อย่างถูกต้อง และ กระต้นุ ให้ผเู้ รยี นค้นหาขอ้ มูลมาตอบคาถามดว้ ยตนเอง การตอบคาถามระดับสูง ต้องให้เวลานักเรียนในการคิดหาคาตอบเป็นเวลามากกว่าการตอบ คาถามระดับพื้นฐาน เพราะนักเรียนต้องใช้เวลาในการคิดวิเคราะห์อย่างลึกซึ้งและมีวิจารณญาณใน การตอบคาถาม ความผิดพลาดอย่างหน่ึงของการตั้งคาถามคือ การถามแล้วต้องการคาตอบในทันที โดยไมใ่ ห้เวลานกั เรียนในการคดิ หาคาตอบ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศกึ ษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 11
คาถามท้ายบท 1. เทคนิคสาคญั ในการเสาะแสวงหาความรทู้ ี่มปี ระสทิ ธภิ าพ เปน็ กลวิธีการสอนท่ีก่อให้เกดิ การเรียนรู้ ท่ีพฒั นาทกั ษะการคดิ การตคี วาม การไตรต่ รอง การถ่ายทอดความคิด คอื 2. จากท่กี ลา่ ววา่ \"การตงั้ ปัญหานัน้ สาคัญกว่าการแก้ปญั หา\" นักเรียนเห็นดว้ ยกับคากลา่ วข้างตน้ หรอื ไมเ่ พราะเหตุใด 3. ระดบั ของการตั้งคาถามมกี ร่ี ะดับ อะไรบา้ ง 4. คาถามระดับพนื้ ฐาน หมายถงึ 5. คาถามระดบั พน้ื ฐาน ไดแ้ ก่ 6. คาถามระดบั สูง เปน็ การถามให้คิดคน้ หมายถึง 7. จงยกตวั อย่างคาถามระดบั สูง ได้แก่ 8. นักเรยี นคิดว่าการต้ังประเดน็ ปัญหา หรือประเดน็ คาถามมีความสาคัญอยา่ งไร จงอธบิ ายพร้อมยกตวั อย่าง เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาค้นควา้ ดว้ ยตนอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 12
บทที่ 2 การตัง้ สมมตฐิ าน ความหมายของสมมติฐาน พจนานกุ รมฉบบั ราชบณั ฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 (ราชบณั ฑติ ยสถาน, 2556) ให้ความหมายของ คาว่า “สมมติฐาน”หรือ “สมมุติฐาน” ว่าหมายถึง ข้อคิดเห็นหรือถ้อยแถลงที่ใช้เป็นมูลฐานแห่งการหา เหตุผล การทดลอง หรอื การวิจยั สมมตฐิ าน หมายถงึ ความเชอื่ ของบคุ คลใดบคุ คลหนึ่ง หรือ ของกลมุ่ ใดกลุ่มหน่ึงหรืออาจกล่าว ไดว้ า่ สมมติฐานเป็นส่ิงท่ีบุคคลหรอื กลุ่มบคุ คลคาดว่าจะเกิดข้ึนโดยท่ีความเชือ่ หรอื สิง่ ทีค่ าดนั้นจะเปน็ จริง หรอื ไม่ก็ได้ เชน่ เจา้ ของรา้ นค้าสหกรณ์คาดวา่ จะมกี าไรสุทธจิ ากการขายสนิ ค้าต่อปี ไม่ต่ากว่า 500,000 บาท หัวหน้าพรรคการเมือง A …..คาดวา่ การเลอื กตงั้ สมาชกิ สภาผู้แทนราษฎร ในคราวหน้า พรรคอน่ื ๆ จะได้ท่ีนัง่ ในสภาไม่ตา่ กวา่ รอ้ ยละ 50 ของท้งั หมด คาดวา่ รายได้เฉล่ียตอ่ เดอื นของประชากรในจงั หวัดพษิ ณุโลกเทา่ กับ 15,000 บาท จะเห็นได้ว่า การตั้งสมมติฐานเป็นการคาดคะเนหาคาตอบท่ีอาจจะเป็นไปได้อย่างมีเหตุผล สาหรับประเด็นปัญหาที่ตั้งไว้ ซ่ึงการคาดคะเนดังกล่าวจะเป็นจริงหรือไม่นั้น ผู้ตั้งสมมติฐานจะต้องทา การพิสูจน์หรือทดลองเพ่ือหาข้อเท็จจริงโดยอาศัยข้อมูลต่าง ๆ วิธีการทางสถิติ หลักการ ทฤษฎี หรือ ข้อค้นพบจากการศกึ ษาวิจยั ที่ทามาก่อนหนา้ นี้ ลกั ษณะของสมมติฐาน สมมติฐานเป็นการคาดเดาคาตอบของประเด็นปัญหาอย่างสมเหตุสมผลไว้ล่วงหน้า ซ่ึงคาตอบ ท่ีคาดเดาไวน้ ี้จะถูกตอ้ งหรือไมก่ ็ได้ ดังนั้น การคาดคะเนเพ่อื หาคาตอบจงึ เป็นการกล่าวถึงส่ิงท่ีเป็นสาเหตุ และส่ิงท่ีเป็นผลอันเกิดจากสาเหตุน้ัน หมายความว่า จะต้องมีส่ิงใดส่ิงหน่ึงที่เป็นสาเหตุทาให้เกิด ปรากฏการณ์ คุณลกั ษณะ หรือคณุ สมบตั ิ และตัวเหตนุ ี้เอาทาให้เกดิ ผลตามมา เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 13
ความแตกต่างของสมมติฐานกบั การพยากรณ์ การตั้งสมมติฐาน คือ การทานายผลล่วงหน้าโดยไม่มีหรือไม่ทราบ ความสัมพันธ์เกี่ยวข้อง ระหวา่ งขอ้ มลู การพยากรณ์ คอื การทานายผลล่วงหน้าโดยการมีหรือทราบความสัมพันธ์ระหว่างข้อมูล ทีเ่ กีย่ วข้องในการทานายล่วงหน้า การตั้งสมมติฐานท่ีดี การต้งั สมมติฐานที่ดี ควรมีลักษณะดังนี้ 1. เป็นสมมติฐานที่เขา้ ใจงา่ ย มักนิยมใช้วลี “ถ้า…ดงั นน้ั ” 2. เป็นสมมตฐิ านทแี่ นะลู่ทางท่ีจะตรวจสอบได้ 3. เปน็ สมมติฐานทตี่ รวจได้โดยการทดลอง 4. เป็นสมมติฐานทีส่ อดคลอ้ งและอยใู่ นขอบเขตข้อเท็จจรงิ ท่ไี ด้จากการสังเกตและสมั พนั ธ์ กับปญั หาทต่ี ้งั ไว้ สมมติฐานท่ีเคยยอมรับอาจล้มเลิกได้ถ้ามีข้อมูลจากการทดลองใหม่ๆ มาลบล้าง แต่ก็มีบาง สมมติฐานท่ีไม่มีข้อมูลจากการทดลองมาคัดค้านทาให้สมมติฐานเหล่าน้ันเป็นที่ ยอมรับว่าถูกต้อง เช่น สมมติฐานของเมนเดลเก่ียวกับหน่วยกรรมพันธุ์ ซ่ึงเปล่ียนกฎการแยกตัวของยีน หรือสมมติฐา นของ อโวกาโดรซึ่งเปลีย่ นเป็นกฎของอโวกาโดร หลักการต้ังสมมตุ ฐิ าน การต้ังสมมติฐานในประเด็นปัญหาหรือหัวข้อที่นักเรียนต้องการศึกษาสามารถตั้งสมมติฐาน ได้มากกว่าหน่ึงสมมติฐาน ซึง่ การตงั้ สมมติฐานน้ันจะพจิ ารณาจากวตั ถปุ ระสงคห์ รอื เปา้ หมายของ ประเด็น ปัญหาหรอื หวั ข้อทต่ี อ้ งการศึกษาค้นคว้า นักเรียนจะสามารถตงั้ สมมติฐานเพื่อคาดคะเนคาตอบของประเด็นปญั หาได้อยา่ งสมเหตุ สมผล ตอ้ งทาการศกึ ษาค้นคว้าจากแหลง่ ข้อมูลตา่ ง ๆ ดงั น้ี 1. การศกึ ษาเอกสาร ตารา บทความวิชาการ และผลงานวจิ ัย 2. สนทนากบั ผ้รู ู้ ผู้เชี่ยวชาญ หรือครทู ีป่ รึกษา 3. การแลกเปล่ยี นเรียนรู้ หรอื ปรกึ ษาหารอื กับบุคคลอ่ืน ๆ ในลักษณะการระดมสมอง วิธกี ารตัง้ สมมตฐิ าน มวี ธิ กี ารดังน้ี เม่ือนักเรียนกาหนดประเด็นปัญหาหรือเร่ืองท่ีตนเองต้องการศึกษาค้นคว้าแล้ว การตั้ง สมมติฐานในเรื่องท่นี กั เรียนสนใจศึกษามดี ังน้ี 1. คาดเดาคาตอบจากเรือ่ งท่ตี อ้ งการจะศกึ ษาว่านักเรยี นต้องการไดร้ ับอะไรจากการศึกษา ในคร้งั น้ี ซ่งึ นักเรยี นจะต้องทราบก่อนว่าตวั แปรอสิ ระ/ตวั แปรตน้ ตวั แปรตามคืออะไร 2. เขยี นสมมตฐิ านทนี่ กั เรยี นคิดวา่ จะไดจ้ ากการศกึ ษาค้นควา้ เขียนเป็นประโยคบอกเลา่ ให้สั้น กระชบั อ่านเขา้ ใจง่าย 3. สมมติฐานที่นกั เรยี นเขยี นขน้ึ มาน้ันจะตอ้ งเขียนให้สอดคล้องกบั วตั ถปุ ระสงคห์ รือ เปา้ หมายของการศกึ ษาความรู้ 4. ในการเขียนสมมติฐานในแตล่ ะขอ้ นั้น ใหน้ ักเรียนเขียนสมมตฐิ านตอบคาถาม เพยี งหนง่ึ ข้อต่อหนึง่ คาถาม ไมค่ วรเขียนสมมติฐานคร้งั เดยี วเพอ่ื ตอบคาถามหลาย ๆ ขอ้ เพราะอาจจะทาให้ สับสนได้ 5. การเขยี นสมมตฐิ านจะตอ้ งเขยี นโดยคานึงถงึ ความเปน็ ไปได้ของการไดม้ าของคาตอบ ท่ีนักเรยี นจะต้องไปศกึ ษาคน้ ควา้ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2564 14
ตวั อย่างสมมตฐิ าน ได้แก่ ยอดงบประมาณในการใช้จา่ ยเพื่อการโฆษณานา้ อดั ลมมีความสมั พันธ์กับยอดขาย ในทางบวก (หมายความวา่ ยงิ่ ใช้งบประมาณในการโฆษณามากก็จะมยี อดขายนา้ อัดลม มากขน้ึ ไปดว้ ย แสดงว่า การโฆษณามีความสัมพนั ธก์ บั ยอดการจาหนา่ ยสนิ คา้ ) ความรู้สกึ เห็นคุณคา่ ในตนเองของนกั เรียนมคี วามสมั พนั ธก์ ับความกล้าแสดงออก ของนกั เรียน (หมายความวา่ นกั เรียนทีม่ ีความร้สู ึกเหน็ คณุ ค่าในตนเองสงู จะมีความกลา้ แสดงสงู ตามไปด้วย) ต้นพืชท่ปี ลกู ในบริเวณทไี่ ดร้ บั แสงแดดไม่เทา่ กันจะมกี ารเจรญิ เติบโตแตกตา่ งกัน (หมายความวา่ แสงแดดเป็นตวั แปรอสิ ระที่เปน็ สาเหตุทาให้เกดิ ผลหรอื ตวั แปรตาม คือ การเจรญิ เตบิ โตของพืชตามมา แสดงว่า พืชท่ีไดร้ ับแสงแดดมากจะมกี ารเจรญิ เติบโต มากกวา่ พชื ทีไ่ ด้รบั แสงแดดนอ้ ย) สมมติฐานต้องเป็นข้อความท่ีบอกความสัมพันธ์ระหว่าง ตัวแปรต้น กับ ตัวแปรตาม ในสถานการณ์หนงึ่ ๆ อาจตง้ั หน่ึงสมมตฐิ านหรือหลายสมมตฐิ านกไ็ ด้ สมมตฐิ านที่ตงั้ ข้ึนอาจจะถูกหรือผิด ก็ได้ ดงั นน้ั จาเป็นตอ้ งมกี ารทดลองเพ่อื ตรวจสอบว่า สมมติฐานท่ีตั้งขึน้ นนั้ เป็นทยี่ อมรบั หรือไม่ซ่ึงจะทราบ ภายหลงั จากการทดลองหาคาตอบแล้ว คาถามท้ายบท 1. ให้นกั เรยี นตอบคาถามต่อไปนี้ 1) สมมติฐาน หมายถงึ 2) การตงั้ สมมติฐาน คอื 3) การพยากรณ์ คอื 4) จงบอกหลักในการตั้งสมมติฐาน 5) จงบอกลกั ษณะการตงั้ สมมตฐิ านท่ีดี 2. ใหน้ กั เรยี นตงั้ สมมติฐานตามประเดน็ ปญั หาทก่ี าหนดให้ 1) การสารวจพฤตกิ รรมการใช้ผงชูรสในการประกอบอาหารของร้านอาหารโรงเรียน 2) การสารวจพฤตกิ รรมการใช้โทรศัพทม์ อื ถอื ของนักเรียนชนั้ มัธยมศกึ ษาปที ่ี 5 3) การศกึ ษาสมุนไพรทม่ี ผี ลตอ่ การดับกลน่ิ เท้า 4) สารวจพฤตกิ รรมเกีย่ วกบั การบรโิ ภคอาหารกลางวันของนักเรียน 5) การสารวจการเล่นเกมออนไลน์ของนักเรียน ……………………………………………………………………………………………........................................................ เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2564 15
บทท่ี 3 ข้อมลู และการรวบรวมข้อมลู กระบวนการรวบรวมข้อมูลถือเป็นขั้นตอนสาคัญของการศึกษาค้นคว้าความรู้ด้วยตนเองเป็น อยา่ งมาก เพราะเปน็ ขนั้ ตอนการเร่มิ ต้นในการแสวงหาความรู้ การค้นคว้าหาคาตอบใหก้ บั ประเด็นปัญหา หรือสมมติฐานท่ีนกั เรยี นไดก้ าหนดไว้ ความหมายของขอ้ มูล ข้อมูล เป็นขอ้ ความจรงิ หรือสง่ิ ทบี่ ง่ บอกถงึ สภาพ สถานการณ์ หรอื ปรากฏการณ์ใดปรากฏการณ์ หน่ึง โดยทขี่ ้อมูลอาจเปน็ ตัวเลขหรือข้อความก็ได้ เช่น ในปี พ.ศ. 2547 คณะรัฐมนตรีกาหนดมาตรการ ควบคุมการแพร่ระบาดของเชื้อโรคไข้หวัดนก หรือในเดือนกันยายน 2547 น้ามันเบนซิน 91 จาหน่าย ในเขตกรงุ เทพและปริมณฑลราคาลิตรละ 20.99 บาท โดยท่วั ไป ขอ้ มลู มกั จะอยู่ในรปู ตวั เลขซ่ึงมีหลาย ๆ จานวนที่สามารถนามาเปรียบเทียบขนาดกันได้ เช่น ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 กันยายน 2547 ไทยสง่ ออกข้าวไปยังประเทศหน่ึงรวม 2.88 ลา้ นตนั ลดลงจาก 5.00 ล้านตัน ของการส่งออกในช่วงเวลา เดยี วกนั ของปีกอ่ นร้อยละ 42.4 ข้อมลู เชิงสถิติเป็นข้อมูลที่สามารถนามาประมวลผลหรือวิเคราะห์ด้วยกระบวนการหรือวิธีการ ตา่ ง ๆ เพื่อตอบคาถามในประเดน็ ต่าง ๆ ได้ เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 16
ประเภทของข้อมลู ประเภทของขอ้ มูลสามารถจาแนกไดจ้ ากวิธีการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูล และจากลกั ษณะของขอ้ มูล 1. การจาแนกข้อมลู ตามวธิ ีการเกบ็ รวบรวมข้อมูล เม่อื จาแนกประเภทของขอ้ มูลตามวธิ ีการเก็บรวบรวมจะแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ ขอ้ มลู ปฐมภูมิ (primary data) และ ข้อมูลทุติยภมู ิ (secondary data) 1) ข้อมูลปฐมภูมิ คือข้อมูลที่ผู้ใช้จะต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของ ข้อมูลโดยตรง ซึ่งอาจทาได้โดยการสัมภาษณ์ วัด นบั หรือสังเกตจากแหล่งข้อมลู โดยตรง เน่ืองจากข้อมูล เหล่านไ้ี มเ่ คยมผี ้ใู ดเก็บรวบรวมไว้กอ่ น การเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู ประเภทน้ที าได้ 2 วิธคี ือ การสามะโน (census) และการสารวจ จากกลมุ่ ตวั อย่าง (sample survey) (1) การสามะโน คือการเกบ็ รวบรวมข้อมูลจากทุก ๆ หน่วยของประชากรหรือสิ่งที่เรา ตอ้ งการศกึ ษา ซึ่งการเก็บข้อมูลในลักษณะนี้ทาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายในการเก็บรวบรวมข้อมูลมาก การเกบ็ รวบรวมข้อมูลโดยวิธีนี้จึงไม่ค่อยนิยมใช้ในทางปฏิบัติ ยกเว้นกรณีที่ประชากรมีขนาดเล็กหรือมี ขอบเขตไมก่ ว้างขวางนกั (2) การสารวจจากกลมุ่ ตวั อยา่ ง คือการเกบ็ รวบรวมขอ้ มลู จากบางหน่วยท่ีเลือกมาเป็น ตวั แทนจากทกุ ๆ หน่วยของประชากรหรอื สง่ิ ท่เี ราต้องการศกึ ษาเท่านั้นเนื่องจากการเก็บรวบรวมข้อมูล จากทุกหน่วยของประชากร อาจทาให้เสียเวลาและค่าใช้จ่ายโดยไม่จาเป็น เพราะสิ่งที่ต้องการศึกษา อาจจะมีบางกลมุ่ ที่มลี กั ษณะทตี่ อ้ งการศึกษาอยู่เหมอื น ๆ กัน หรอื ใกล้เคียงกนั มาก การเลือกตัวอยา่ งหรือ ตัวแทนของแต่ละกลุ่มมาทาการศึกษาก็เป็นการเพียงพอที่จะทาให้สามารถประมาณค่าของส่ิงที่เรา ตอ้ งการศึกษาทั้งหมดได้ เช่น การสารวจราคาเฉลี่ยของสินค้าชนิดหน่ึงท่ีมีขนาดบรรจุใกล้เคียงกันจาก ร้านคา้ ปลีกท่ัวประเทศ ราคามักจะใกล้เคยี งกันดว้ ย ดังนั้นเราอาจเลือกร้านค้าปลีกเพียงบางร้านมาเป็น ตัวแทนของร้านค้าปลกี ท้งั หมดได้ แต่จานวนร้านค้าปลีกที่เลือกมาเป็นตัวแทนจะมีจานวนมากหรือน้อย เพยี งใดขน้ึ อยู่กบั ความต้องการของผเู้ ก็บรวบรวมข้อมูลวา่ ต้องการให้ราคาเฉลี่ยของราคาสินค้าชนิดน้ันที่ หาได้จากราคาสินค้าในร้านค้าตวั อยา่ งทเี่ ลือกขน้ึ มาเพื่อเก็บรวบรวมข้อมลู น้ใี กล้เคียงกับค่าที่ควรเป็นจริง ซึง่ ไดจ้ ากการเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากร้ายค้าปลกี ทกุ ๆ ร้านมากน้อยเพียงใด ถ้าต้องการให้ได้ผลใกล้เคียง มากก็ควรเลอื กตวั อยา่ งร้านค้าปลีกมาเกบ็ รวบรวมข้อมลู เป็นจานวนมาก 2) ข้อมูลทุติยภูมิ คือข้อมูลที่ผู้ใช้ไม่ต้องเก็บรวบรวมจากผู้ให้ข้อมูลหรือแหล่งที่มาของ ข้อมูลโดยตรง แต่ได้จากข้อมูลที่มีผู้อ่ืนเก็บรวบรวมไว้แล้ว ข้อมูลประเภทน้ี ผู้ใช้ไม่ต้องเสียเวลาและ ค่าใช้จา่ ยในการเก็บรวบรวมขอ้ มลู เอง สามารถนาขอ้ มลู ท่ีมีผอู้ น่ื เก็บรวบรวมไวแ้ ลว้ มาใชไ้ ด้เลย แต่อยา่ งไร กต็ ามผใู้ ช้จะตอ้ งระมัดระวังในการนาขอ้ มลู ประเภทน้มี าใช้ใหม้ าก เนอ่ื งจากมโี อกาสผิดพลาดได้มากหากผู้ เกบ็ รวบรวมข้อมลู ดังกล่าวใช้วิธเี กบ็ รวบรวมขอ้ มูลทีไ่ มเ่ หมาะสม แหล่งทีม่ าของขอ้ มูลทตุ ยิ ภูมทิ สี่ าคัญ คือ (1) รายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการและองค์การของรัฐบาล โดยทั่ว ๆ ไป หนว่ ยงานราชการหรอื องคก์ ารของรฐั บาล มกั จะมรี ายงานแสดงข้อมูลพิมพ์ออกมาเผยแพร่เป็นประจาซึ่ง อาจเป็นรายงานรายเดือน รายสามเดือน หรอื รายปี ขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากรายงานต่าง ๆ ของหน่วยงานราชการ และองค์การของรฐั บาลนอ้ี าจถอื ได้ว่าเป็นท่ีมาของข้อมูลทตุ ิยภมู ทิ ่ีสาคัญทสี่ ดุ เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 17
(2) รายงานและบทความจากหนังสือหรือรายงานจากหน่วยงานเอกชน หน่วยงานของ เอกชนบางแห่งโดยเฉพาะหน่วยงานใหญ่ ๆ จะพิมพ์รายงานเกี่ยวกับผลการดาเนินงานของตนออก เผยแพร่เช่นเดียวกับหน่วยงานของราชการ เช่น รายงานประจาเดือนของธนาคารพาณิชย์ นอกจากนี้ หนังสือพิมพ์รายวนั หรือสื่ออื่น ๆ มักจะมขี อ้ มลู ทตุ ยิ ภมู ปิ ระกอบบทความหรือรายงานดว้ ย 2. การจาแนกประเภทของข้อมูลตามลกั ษณะของขอ้ มลู เมื่อจาแนกประเภทของข้อมลู ตามลักษณะของข้อมูลจะจาแนกเป็น 2 ลักษณะใหญ่ ๆ คือ ข้อมลู เชงิ ปริมาณ (quantitative data) และขอ้ มูลเชงิ คณุ ภาพ (qualitative data) 1) ข้อมูลเชิงปริมาณ คือ ข้อมูลท่ีใช้แทนขนาดหรือปริมาณซึ่งวัดออกมาเป็นจานวน ท่ีสามารถนามาใช้เปรียบเทียบกันได้โดยตรง เช่น ปริมาณการผลิตน้ามันดิบของกลุ่มโอเปกในแต่ละปี อัตราดอกเบี้ยเงินกขู้ องธนาคารพาณชิ ย์ จานวนสมาชิกโดยเฉล่ียของครอบครัวไทย 2) ข้อมูลเชิงคุณภาพ คือ ข้อมูลท่ีไม่สามารถวัดออกมาเป็นจานวนได้โดยตรงแต่อธิบาย ลักษณะหรือคุณสมบตั ิในเชงิ คุณภาพได้ เช่น เพศของสมาชกิ ในครอบครัวสถานภาพสมรสของพนกั งานใน บริษัทห้างร้านหรือความคิดเห็นของประชาชน การวิเคราะห์ข้อมูลประเภทนี้ส่วนใหญ่ทาโดยการนับ จานวนจาแนกตามลักษณะเชงิ คุณภาพ เชน่ นบั จานวนพนักงานทเี่ ป็นโสด ที่สมรสแล้ว ที่หย่าร้าง และที่ เปน็ หมา้ ยวา่ มีอยา่ งละกี่คน ข้อมลู เชงิ คณุ ภาพบางลักษณะสามารถวัดออกมาเป็นลาดับท่ีหรอื ตาแหน่งทไ่ี ด้ เชน่ ความชอบ วัดในรปู ชอบมากทีส่ ดุ ชอบมาก ชอบปานกลาง ชอบน้อย ไมช่ อบเลย ในกรณีท่ีข้อมูลเชิงคุณภาพใดไม่สามารถวัดออกมาเป็นลาดับที่หรือตาแหน่งท่ีได้ เช่น กลุ่มนักเรียนของโรงเรียนรัฐบาลกับกลุ่มนักเรียนของโรงเรียนเอกชน หรือ กลุ่มพนักงานชายกั บกลุ่ม พนกั งานหญงิ หากมีความจาเป็นต้องกาหนดเป็นจานวนเพอ่ื ใชใ้ นการวเิ คราะหด์ ้วยวธิ กี ารทางสถิติอาจใช้ 0 แทนกล่มุ นกั เรยี นของโรงเรยี นรัฐบาลหรอื กลมุ่ พนักงานชาย และใช้ 1 แทนกลุ่มนกั เรียนโรงเรยี นเอกชน หรือกลุ่มพนักงานหญิง จานวนที่ใช้แทนข้อมูลเชิงคุณภาพเหล่าน้ีไม่สามารถนาไปตีความหมายในเชิง ปริมาณได้ ความหมายของจานวนท่ีใช้แทนข้อมูลเหล่าน้ีเป็นเพียงสัญลักษณ์ท่ีใช้แทน “กลุ่ม” ต่าง ๆ เท่านนั้ 3. การจาแนกประเภทตามสภาพของข้อมูลทเี่ กยี่ วข้องกับกลุ่มตวั อยา่ ง 1) ข้อมูลส่วนบุคคล (Personal Data) คือข้อมูลท่ีเกี่ยวกับข้อเท็จจริงส่วนตัวของ กลุ่มตัวอย่าง เชน่ ชอ่ื สกลุ อายุ เพศ อาชีพ ศาสนา เปน็ ต้น 2) ข้อมูลสิ่งแวดล้อม (Environmental Data) คือ ข้อมูลท่ีเป็นข้อเท็จจริงเก่ียวกับ สิง่ แวดล้อมของกล่มุ ตวั อย่าง เช่น ลกั ษณะทอ้ งถ่ินทกี่ ลุม่ ตวั อยา่ งอาศยั 3) ข้อมูลพฤติกรรม (Behavioral Data) คือ ข้อมูลที่เป็นคุณลักษณะท่ีมีอยู่ในตัวของ กลุม่ ตัวอยา่ ง เชน่ คณุ ลักษณะด้านความสามารถสมอง ได้แก่ผลสัมฤทธ์ิทางวิชาการ หรือการเรียน เช่น ความรคู้ วามเขา้ ใจ การวิเคราะห์ ความถนัด สติปัญญา ความสนใจ ความวิตกกังวล แรงจูงใจใฝ่สัมฤทธ์ิ มโนภาพเก่ียวกบั ตนเอง การปฏิบัติ การกระทาสงิ่ ตา่ ง ๆ เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 18
4. การจาแนกประเภทตามการนาไปใชก้ ับคอมพิวเตอร์ 1) ข้อมูลตัวเลข (Numeric Data) ได้แก่ ข้อมูลที่เป็นจานวนตัวเลข สามารถนาไป คานวณได้ เช่น จานวนเงินเดือนราคาสินค้า 2) ข้อมูลตัวอักษร (Text Data) ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็นตัวอักษร และสัญลักษณ์ เช่น ช่อื สกุล ที่อยู่ 3) ข้อมูลเสยี ง (Audio Data) ไดแ้ ก่ ข้อมูลทเ่ี ปน็ เสยี งต่าง ๆ เช่น เสียงดนตรี เสยี งพดู 4) ข้อมลู ภาพ (Images Data) คือ ขอ้ มูลทเี่ ป็นจดุ สตี า่ ง ๆ เมื่อนามาเรียงต่อกันแล้วเกิด รปู ภาพขน้ึ เชน่ ภาพถา่ ย ภาพลายเสน้ เป็นต้น 5) ข้อมูลภาพเคล่ือนไหว (Video Data) ได้แก่ ข้อมูลท่ีเป็นภาพเคล่ือนไหวต่าง เช่น ภาพเคล่ือนไหวท่ถี ่ายดว้ ยกล้องวดิ โี อ หรอื ภาพทีท่ าจากโปรแกรมต่าง ๆ เปน็ ตน้ การรวบรวมข้อมูลเป็นจุดเร่ิมต้นของการดาเนินงาน การรวบรวมข้อมูลที่ดีจะได้ข้อมูล ท่ีรวดเรว็ ถูกตอ้ ง แมน่ ยา ครบถ้วน กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมลู การทีน่ กั เรียนจะเก็บข้อมูลไดอ้ ย่างมีประสิทธิภาพและได้ข้อมลู ทถ่ี ูกต้องตรงกับประเด็น ปัญหา หรือขอ้ คาถาม การเก็บรวบรวมข้อมลู ที่มีข้นั ตอน มีกระบวนการที่ดีจะส่งผลให้ได้ข้อมูลที่ เป็นประโยชน์ สามารถนาไปใช้กับการศกึ ษาคน้ ควา้ ความรู้ของนักเรียนได้ 1. การออกแบบการเกบ็ รวบรวมข้อมูล การเก็บรวบรวมข้อมูลที่มีประสิทธิภาพต้องดาเนินการในรูปแบบกระบวนการ หมายถึง การออกแบบเพ่ือวางแผนในการพิจารณาวิธีการหรือรูปแบบในการศึกษาค้นคว้า การกาหนดขอบเขต ของข้อมูล รวมท้ังการกาหนดขั้นตอน กระบวนการในการเก็บรวบรวมข้อมูล ซ่ึงมีกระบวนการเก็บ รวบรวมข้อมลู ดงั แผนภูมิ การออกแบบ การวางแผน การกาหนดขอบเขต ดาเนนิ การ ของขอ้ มูล เก็บรวบรวมข้อมูล การกาหนดขนั้ ตอน ในการเกบ็ รวบรวมข้อมูล การศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นรายวิชาที่นักเรียนต้องรู้จักการวางแผนการเรียนอย่าง เปน็ ระบบ เมื่อนกั เรียนทาการสารวจความตอ้ งการ ความสนใจ และความถนัดทางการเรียนของตนเอง และไดก้ าหนดประเดน็ ปัญหาหรือคาถามท่ีต้องการจะศึกษาค้นคว้าความรู้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว นักเรียน จาเป็นต้องศึกษาหาแนวทางในการแสวงหาคาตอบภายใต้กระบวนการเก็บรวบรวมข้อมูล ตามแผนผัง กระบวนการเกบ็ รวบรวมข้อมูล และดาเนินการออกแบบการเกบ็ รวบรวมข้อมลู ก่อน การออกแบบการเก็บรวบรวม ข้อมูล เป็นการ นาเอาส่ิงท่ีเป็ นแนวความคิดหรือจินตนากา ร เก่ยี วกบั องคป์ ระกอบต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วข้องกบั การเก็บรวบรวมข้อมลู เพ่อื ใหไ้ ด้คาตอบของประเดน็ ปญั หาหรอื ขอ้ คาถามที่เกยี่ วข้องกบั เรอ่ื งทที่ าการศกึ ษาค้นคว้า โดยนาองค์ประกอบของความคิด ดงั กลา่ วมาจัดวางให้ เช่อื มตอ่ สัมพนั ธ์กัน และมองเหน็ ความเป็นไปไดใ้ นการปฏบิ ตั ติ ลอดแนว เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 19
อย่างไรก็ตาม การจาแนกประเภทหรือชนิดของข้อมูลมีหลากหลายประเภท นักเรียนจะต้อง วางแผนการเลอื กใช้ข้อมูลในการศึกษาคน้ ควา้ ความรู้ด้วยตนเอง ออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมูล แต่ละ ประเภทใหม้ ีความเหมาะสม ตลอดจนการเลือกใช้เคร่ืองมือในการแสวงหาความรู้หรือการ เก็บรวบรวม ข้อมูลได้อยา่ งเป็นระบบและมปี ระสิทธิภาพ ซ่ึงยนิ (Yin, 2003) กล่าวว่า ลักษณะของคาถามหรือประเด็น ปัญหามีความสมั พันธก์ บั การเลือกใชเ้ คร่อื งมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล หรือการศึกษาค้นคว้าเพ่ือให้ได้ คาตอบของประเดน็ ปัญหาและได้แนะนาว่า รูปแบบ (Form) ของ ประเด็นปัญหาหรือข้อคาถามจะเป็น สงิ่ ท่ีกาหนดว่าผูท้ าการศกึ ษาคน้ ควา้ ควรเลอื กใช้วธิ ีการใดในการเก็บรวบรวมข้อมลู ซ่ึงถอื วา่ เปน็ จดุ เริ่มต้น ของการวางแผน การกาหนดขอบเขตของข้อมูล รวมถงึ การกาหนดขนั้ ตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลและ ดาเนินการเกบ็ ข้อมูลจะดาเนินการ อยา่ งไร ลกั ษณะของรปู แบบและวิธกี ารในการศกึ ษาค้นคว้าเพื่อตอบประเดน็ ปญั หา สรปุ ได้ดังตาราง รปู แบบของคาถาม/ประเดน็ ปัญหา วธิ ีการศึกษาคน้ ควา้ อย่างไร (How?) ทาไม (Why?) วธิ กี ารทดลอง ใคร (Who?) อะไร (What?) ทไ่ี หน วธิ กี ารสารวจ (Where?)จานวนเท่าไร (How many?) มากนอ้ ยเพยี งใด (How much?) อยา่ งไร (How?) ทาไม (Why?) วิธกี ารทางประวัตศิ าสตร์ อย่างไร (How?) ทาไม (Why?) วิธีการแบบกรณีศกึ ษา (Case Study) เมื่อนักเรียนได้คาตอบแล้วว่าจะใช้วิธีการใดในการศึกษาค้นคว้าเพื่อหาคาตอบของประเด็น ปัญหาหรือประเด็นคาถามแล้ว ในการดาเนนิ การขน้ั ตอนต่อไปคือ ขน้ั ตอนการออกแบบการเก็บ รวบรวม ข้อมูลในลักษณะของการคดิ หรือสร้างจินตภาพวา่ ควรจะดาเนินการอย่างไร ใช้องค์ประกอบ ด้านใดบ้าง ทั้งนี้ วธิ กี ารออกแบบการเก็บรวบรวมข้อมลู มีขน้ั ตอนงา่ ย ๆ ดังน้ี 1. ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบของประเด็นปัญหาหรือประเด็นคาถามที่จะศึกษาค้นคว้าว่า เป็น ประเด็นปัญหารูปแบบใดตามตารางการวเิ คราะห์รปู แบบของคาถาม/ประเด็นปัญหา 2. เลือกวิธีการท่ีจะเก็บรวบรวมข้อมูล ซ่ึงอาจจะใช้วิธีการสารวจ การทดลอง กระบวนการ ทางประวัติศาสตร์ หรอื กรณีศกึ ษา ท้งั นแี้ ลว้ แต่ความเหมาะสม 3. กาหนดเลอื กชนิดของขอ้ มูลท่ีจะจัดเก็บวา่ เป็นข้อมูลเชงิ ปรมิ าณหรอื ขอ้ มูลเชิงคุณภาพ และ ควรเน้นข้อมลู ที่เปน็ ปฐมภมู ิเป็นหลกั หรอื หากจาเป็นผสมผสานข้อมูลทุตยิ ภมู ดิ ้วยก็ได้ 4. กาหนดขอบเขตของข้อมูลที่ต้องการหาคาตอบของประเด็นปัญหา เช่น จานวนนักเรียน ในระดับช้ันมัธยมศกึ ษาปีท่ี 5 ที่เปน็ คนอ้วนเทา่ น้ัน 5. เลือกวิธีการหรือเครื่องมือท่ีจะใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลให้เหมาะสม เช่น อาจจะใช้ วิธีการสงั เกต การสมั ภาษณ์ การใชแ้ บบสอบถาม การศึกษาเอกสาร เปน็ ตน้ 6. กาหนดขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูล นั่นคือจะเก็บข้อมูลโดยติดต่อหน่วยงานใด เก็บ ขอ้ มูลจากใคร สถานทีใ่ ด ใครเป็นผู้เก็บ เก็บขอ้ มูลอะไร เกบ็ ในช่วงระยะเวลาใด จานวนก่ีคร้งั แตล่ ะคร้งั ใช้ เวลาเทา่ ใด เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 20
วธิ เี กบ็ รวบรวมขอ้ มลู 1. วิธเี ก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ การเกบ็ รวบรวมข้อมูลปฐมภูมิซ่งึ อาจทาได้โดยการสามะโน หรือสารวจสามารถทาได้หลายวธิ ี แต่วธิ ที ่ีนยิ มใชก้ ันท่วั ๆ ไปมี 4 วธิ คี ือ 1) การสัมภาษณ์ การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการ สัมภาษณ์ นิยมใช้กันมากกว่าการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธี อ่ืน ๆ เน่ืองจากโอกาสที่จะได้คาตอบกลับคืนมามีมาก นอกจากน้หี ากผตู้ อบข้อถามไม่เข้าใจข้อถามใด ๆ ก็สามารถ ถามไดจ้ ากผ้สู ัมภาษณโ์ ดยตรง แต่การเก็บรวบรวมข้อมูลโดย วิธีน้ีผู้สัมภาษณ์ต้องมีความซื่อสัตย์ ไม่ตอบข้อถามแทน ผู้ถกู สมั ภาษณ์ ทาให้ข้อมูลท่ีรวบรวมได้มีความคลาดเคลื่อน จากทคี่ วรจะเปน็ จริงมาก ที่มา: http://fbd.forest.go.th/th/?p=7217 ที่มา: https://www.thumbsup.in.th/happi-survey- 2) การสอบถาม online-for-new-generation 2.1) การสอบถามทางไปรษณีย์ การเก็บรวบรวม ที่มา: https://www.m-culture.go.th/th/ โดยวธิ นี สี้ ามารถประหยัดคา่ ใชจ้ ่ายในการเกบ็ รวบรวมได้มาก article_view.php?nid=52520 และค่อนขา้ งแน่ใจไดว้ ่าผตู้ อบแบบสอบถามทกุ คนไดร้ บั ความ สะดวกในการตอบข้อถาม กลา่ วคือจะตอบข้อถามเม่ือไรก็ได้ ท่ีมา: https://www.facebook.com/watch/ ภายในระยะเวลาที่ผู้สารวจได้กาหนดไว้ คาตอบที่ผู้สารวจ ?v=144786973480062 ได้รับจะมีความถูกต้องและเชื่อถือได้มาก เนื่องจากผู้ตอบ แบบสอบถามไมจ่ าเปน็ ตอ้ งระบุชื่อของตนลงในแบบสอบถาม กไ็ ด้ แต่อาจมีจดุ ออ่ นถ้าผ้ตู อบแบบสอบถามไมเ่ ขา้ ใจปัญหาที่ ถามอาจทาให้คาตอบผิดพลาดได้อีกประการหนึ่งผู้ถูกถาม อาจไมไ่ ด้เป็นผตู้ อบข้อถามเองแต่ไปให้ผู้อ่ืนตอบแทน ข้อมูล ท่ีรวบรวมได้ก็อาจผิดพลาดได้เช่นเดียวกัน นอกจากน้ี ผู้สารวจยังไม่สามารถประมาณจานวนแบบสอบถามท่ีจะ ได้รับกลับคืนมาว่าจะมีจานวนมากน้อยเพียงใด ซ่ึงบางคร้ัง ผู้สารวจได้แบบสอบถามกลับคืนมาไม่เพียงพอท่ีจะทาการ สรปุ ผลทั้งหมดให้มีความเชือ่ ถอื ได้ 2.2) การสอบถามทางโทรศัพท์ การสอบถามวิธีนี้ นิยมใช้น้อยกว่าวิธีอ่ืนถึงแม้ว่าการเลือกตัวอย่างผู้ตอบ สัมภาษณท์ างโทรศพั ท์ทาไดง้ า่ ยและเสียค่าใช้จ่ายในการเก็บ รวบรวมข้อมูลน้อยก็ตาม ทั้งนี้เนื่องจากการเก็บรวบรวม ข้อมูลทาได้เฉพาะผู้ตอบสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์เท่าน้ัน การสอบถามทางโทรศั พท์โดยท่ัว ๆ ไป มักใช้กั บ แบบสอบถามทีไ่ มใ่ ช้เวลาในการสัมภาษณ์มากนักและข้อมูล ที่ ต้ อ ง ก า ร ถ า ม จ า ก ผู้ ต อ บ สั ม ภ า ษ ณ์ เ ป็ น ข้ อ มู ล ท่ี ผู้ ต อ บ สัมภาษณ์สามารถตอบได้ทันทีโดยไม่ต้องไปค้นหาหลักฐาน หรอื สอบถามจากผู้อื่น การสอบถามทางโทรศัพท์ท่ีใช้กันอยู่ เสมอ ๆ เช่น การสารวจความคิดเห็นเก่ียวกับเหตุการณ์ที กาลงั ได้รบั ความสนใจ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564 21
ที่มา: https://www.gotoknow.org/posts/190496 3) การสังเกต การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการสังเกต มกั ใชป้ ระกอบกบั การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยวิธีอ่ืน ๆ เช่ือถือ ได้ ซ่ึงอาจจะมีสาเหตุมาจากความไม่ร่วมมือของผู้ให้ข้อมูล หรืออาจจะเกิดจากความรู้ขั้นพ้ืนฐานหรือความรู้เก่ียวกับ เรื่องนั้น ๆ ของผู้ตอบไม่ดีพอ เช่น การสอบถามเกี่ยวกับ รายได้ของครอบครัวหรือกาไรของบริษัทห้างร้านต่าง ๆ ขอ้ มูลดังกล่าวน้ีผู้ตอบไม่ต้องการเปิดเผย นอกจากน้ีอาจใช้ การสงั เกตเม่อื ต้องการรวบรวมข้อมูลในเชิงลกึ เชน่ ครูสังเกต พฤตกิ รรมนกั เรยี นในการทางานรว่ มกนั เป็นต้น ทีม่ า: http://www.nsm.or.th/about-science-square- 4) การทดลอง การเกบ็ รวบรวมขอ้ มูลจากการทดลอง museum/education-science-square-museum/ เป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลที่ต้องมีการทดลองหรือปฏิบัติ science-laboratory-nsm-science-square-2.html เพื่อให้ได้ข้อมูลที่ต้องการ ส่วนใหญ่จะเป็นการเก็บรวบรวม ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ เช่น การเปรียบเทียบประสิทธิภาพ ของยาแก้ปวดหลาย ๆ ชนิด ข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมได้จากการ ทดลองนี้ จะมคี วามถูกตอ้ งและเชือ่ ถอื ไดม้ าก ถ้าไม่เกิดความ คลาดเคล่อื นจากการวัดหรือการวางแผนการทดลอง 2. วิธีเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ ซึ่งส่วนใหญ่มักจะอยู่ในหนังสือ รายงาน บทความหรือ เอกสารตา่ ง ๆ ควรดาเนนิ การดังตอ่ ไปนี้ 1) พิจารณาตัวบุคคลผู้เขียนรายงาน บทความ หรือเอกสารเหล่าน้ันเสียก่อนว่าเป็น ผ้มู ีความรู้และมีความเชีย่ วชาญในเรื่องที่เขียนถึงข้ันพอท่ีจะเชื่อถือได้หรือไม่ การเขียนอาศัยเหตุผลและ หลกั วิชาการมากน้อยเพียงใด ขอ้ มูลทีจ่ ะนามาใช้ซึ่งรวบรวมจากรายงาน บทความ หรือเอกสารดังกล่าว ควรใช้ข้อมูลที่ผู้เขียนเก็บรวบรวมมาเองโดยตรง เช่น ข้อมูลท่ีได้จากการสารวจหรือสามะโน หากไม่มี ความจาเปน็ ไม่ควรใช้ขอ้ มูลที่ผู้เขยี นนามาจากแหล่งข้อมลู อน่ื เน่ืองจากอาจมีการคลาดเคล่ือนจากข้อมูล ทคี่ วรจะเปน็ จรงิ ได้มาก 2) ถ้าข้อมูลที่ต้องการเก็บรวบรวมสามารถหาได้จากหลาย ๆ แหล่ง ควรเก็บรวบรวม มาจากหลาย ๆ แหล่งเพ่ือใชใ้ นการเปรยี บเทยี บวา่ ข้อมูลท่ีต้องการมีความผิดพลาดเนื่องจากการลอกผิด พิมพผ์ ิด หรือเขา้ ใจผดิ บ้างหรอื ไม่ นอกจากนี้ผเู้ กบ็ รวบรวมข้อมูลควรจะใชค้ วามรูค้ วามชานาญของตนเอง เกย่ี วกบั ข้อมลู เร่ืองนนั้ ๆ มาพจิ ารณาว่าข้อมลู ทีจ่ ะนามาใช้นน้ั นา่ จะเปน็ ไปไดห้ รือไม่ เชน่ จานวนประชากร ของประเทศไทยในปี พ.ศ. 2546 ท่ีนาเสนออยูใ่ นรายงานฉบบั หนงึ่ เปน็ 36 ลา้ นคน จานวนดังกล่าว นา่ จะ เป็นไปไม่ได้ ที่ถูกต้องควรจะเป็น 63 ล้านคน ความผิดพลาดดังกล่าว อาจเน่ืองมาจากการคัดลอกของ ผนู้ าเสนอหรอื การพิมพ์กไ็ ด้ กลา่ วคือคดั ลอกหรือพิมพ์เลขโดดกลบั กนั 3) พิจารณาจากลักษณะของขอ้ มูลที่ต้องการเก็บรวบรวมว่าเป็นข้อมูลท่ีเป็นข้อความจริง ข้อมูลทไ่ี ด้จากทะเบียน ข้อมูลทเ่ี ปน็ ความคดิ เหน็ หรือเจตคติ ขอ้ มูลประเภทความลบั หรือข้อมูลซึ่งผู้ตอบ อาจตอ้ งเสียประโยชน์จากการตอบ ถ้าเป็นข้อมูลที่เป็นข้อความจริง ข้อมูลท่ีได้จากทะเบียนหรือข้อมูล ที่เป็นความคดิ เหน็ หรือเจตคติส่วนใหญม่ กั จะมคี วามถูกตอ้ งเช่อื ถือไดส้ งู แต่ถา้ เปน็ ขอ้ มูลประเภทความลบั หรือขอ้ มลู ซง่ึ ผู้ตอบอาจต้องเสียประโยชน์จากการตอบ สว่ นใหญ่มกั จะมีความถกู ตอ้ งเช่ือถือได้นอ้ ย เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564 22
4) ถา้ ข้อมูลทีเกบ็ รวบรวมไดม้ าจากการสารวจจากกลุ่มตัวอย่าง หรือต้องผ่านข้ันตอนการ วเิ คราะหโ์ ดยใชว้ ิธีการทางสถติ ิมาก่อน ควรจะต้องตรวจสอบวิธีการท่ีใช้ในการเลือกกลุ่มตัวอย่าง ขนาด กลมุ่ ตวั อย่าง และวิธกี ารวิเคราะหว์ า่ เหมาะสมท่ีจะใชห้ รือไม่ ปัญหาในการใช้ขอ้ มลู 1. ปญั หาในการใชข้ ้อมลู ปฐมภูมิ มักจะมีปัญหาเกี่ยวกบั เร่อื งตา่ ง ๆ ดังต่อไปน้ี 1) ไม่ทราบวา่ จะใช้วิธเี ลือกตวั อย่างหรอื วธิ กี ารวางแผนการทดลองแบบใดจงึ จะเหมาะสม 2) ไม่ทราบว่าจะประเมินความถูกตอ้ งเชอื่ ถอื ได้ของข้อมูลทีเ่ ก็บรวบรวมมาไดอ้ ย่างไร 3) ไม่ทราบว่าจะวิเคราะหข์ อ้ มูลอย่างไรในกรณีขอ้ มลู ทีเ่ กบ็ รวบรวมได้ไม่ครบถ้วนหรอื ขาดหายไปมากเนอื่ งจากไม่ไดร้ ับความรว่ มมือจากผู้ให้ข้อมลู 2. ปัญหาในการใช้ข้อมูลทุติยภูมิ การใช้ข้อมูลทุติยภูมิมักจะมีปัญหาเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ ดังต่อไปน้ี 1) ความถกู ตอ้ งเชอื่ ถอื ไดข้ องขอ้ มลู 2) ความทันสมัยของข้อมูล 3) การขาดหายไปของขอ้ มลู บางรายการ เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 23
บทท่ี 4 แหล่งสารสนเทศ ความหมายและประเภทของแหลง่ สารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ (Information Sources) หมายถึง แหล่งที่มา แหล่งผลิต แหล่งเผยแพร่ และใหบ้ รกิ ารสารสนเทศ ซึง่ อาจเป็นบคุ คล สื่อมวลชน และสถาบันบริการสารสนเทศ แหล่งสารสนเทศ แยกประเภทตามทมี่ าและลาดับการผลติ แบ่งได้เป็น 3 ประเภทคือ 1. สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary sources) หมายถึง สารสนเทศท่ีเรียบเรียงขึ้นจาก ประสบการณ์ของผู้เขียน หรือเป็นผลการค้นคว้าวิจัย นาเสนอความรู้ใหม่ ๆ ได้แก่ รายงานการวิจัย วิทยานพิ นธ์ เอกสารการปฏิบัติงาน รายงานการประชุมทางวิชาการ บทความวารสารวิชาการ เอกสาร สิทธิบัตร เอกสารมาตรฐาน เอกสารจดหมายเหตุ 2. สารสนเทศทุติยภูมิ (Secondary sources) หมายถึง สารสนเทศท่ีได้จากการนา สารสนเทศปฐมภมู ิมาสงั เคราะห์และเรียบเรียงข้ึนใหม่ เพ่ือเสนอข้อคิดหรือแนวโน้มบางประการ ได้แก่ หนงั สือท่วั ไป หนังสอื ตารา หนังสอื คมู่ อื การทางาน รายงานความกา้ วหน้าทางวทิ ยาการ บทคัดยอ่ งานวจิ ยั บทวิจารณห์ นังสอื วารสารสาระสังเขป เป็นต้น 3. สารสนเทศตติยภูมิ (Tertiary sources) หมายถึง สารสนเทศที่ช้ีแนะแหล่งที่อยู่ของ สารสนเทศปฐมภูมแิ ละทตุ ิยภูมิ จะใหข้ ้อมูลทางบรรณานุกรมของสารสนเทศ ได้แก่ หนังสือนามานุกรม บรรณานกุ รม และดชั นีวารสาร เปน็ ตน้ แหล่งสารสนเทศมีความสาคัญต่อความน่าเชื่อถือของข้อมูล ในการอ้างอิงทางวิชาการถือว่า สารสนเทศจากแหล่งปฐมภูมิเป็นสารสนเทศที่ดี มีความน่าเช่ือถือในเรื่องความถูกต้องตามข้อเท็จจริง มากกว่าสารสนเทศทุติยภูมิและสารสนเทศตตยิ ภูมิ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 24
สถาบันบริการสารสนเทศ สถาบันบริการสารสนเทศ หมายถึง องค์การที่ได้รับการจัดตั้งข้ึนเพื่อทาหน้าท่ีให้บริการ สารสนเทศตามความต้องของผู้ใช้ ซึ่งจาแนกได้หลายประเภทตามขอบเขต หน้าท่ี และวัตถุประสงค์ ไดแ้ ก่ (ชตุ มิ า สัจจานันท์, 2531) 1. หอ้ งสมดุ หรือหอสมุด (Library) ห้องสมุดเป็นแหล่งสะสมทรัพยากรสารสนเทศทั้งท่ีเป็นวัสดุตีสิ่งพิมพ์และวัสดุไม่ตีพิมพ์ มีบริการครอบคลุมหลายด้าน แต่ส่วนใหญ่เน้นบริการด้านการอ่าน บริการยืม-คืน และบริการช่วย การค้นควา้ ห้องสมดุ จาแนกตามวตั ถปุ ระสงค์และจดุ มงุ่ หมายในการจัดต้งั แบ่งได้เป็น 5 ประเภท ได้แก่ 1.1 ห้องสมุดโรงเรียน (School library) จัดตั้งข้ึนในโรงเรียนระดับประถมศึกษาและ มัธยมศึกษา เพอื่ เปน็ ศูนยก์ ลางด้านวชิ าการ อานวยความสะดวกด้านการศึกษาค้นคว้าของนักเรียน และ จัดบรกิ ารสารสนเทศเพอื่ สนบั สนนุ การสอนของครอู าจารย์ ห้องสมุดโรงเรยี นบางแหง่ ไดร้ ับการจัดให้เป็น ศนู ยส์ ่อื การศกึ ษานอกเหนอื จากการบริการด้านส่ือสง่ิ พิมพ์ ทมี่ า: ห้องสมดุ เฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ๕ ธันวาคม ๒๕๕๐ โรงเรียนวดั สทุ ธิวราราม 1.2 ห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษา (Academic library) เน้นการให้บริการสารสนเทศ ครอบคลุมทุกสาขาวิชาที่มหาวิทยาลัยหรือสถาบันต้นสังกัดเปิดทาการสอน เพื่อสนับสนุนการศึกษา ค้นคว้าวิจัยของนักศึกษาและอาจารย์ ในปัจจุบันห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาใช้ชื่อเรียกต่างกันไป เช่น สานักหอสมุด สานักบรรณสาร สานกั วทิ ยบริการ ศูนย์บรรณสาร และศนู ยส์ ่อื การศกึ ษา เปน็ ต้น สานักหอสมุด มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ทีม่ า: https://www.ku.ac.th/web2012/index.php?c=adms&m=selcon_th&time=20120717111043 เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564 25
1.3 ห้องสมุดเฉพาะ (Special library) เน้นให้บริการสารสนเทศเฉพาะสาขาวิชาท่ี เก่ียวข้องกับสถาบันต้นสังกัด มักสังกัดอยู่กับสมาคม หน่วยงานทางวิชาการ หรือสถาบันทางวิชาการ เฉพาะด้าน เชน่ หอ้ งสมุดธนาคาร ห้องสมดุ คณะแพทยศาสตร์ หอ้ งสมุดสมาคมวิชาชพี เป็นตน้ ห้องสมดุ คณะแพทยศาสตร์วชริ พยาบาล ทม่ี า: https://vajiramedlib.wordpress.com/about-2/history-and-aim/ 1.4 ห้องสมุดประชาชน (Public library) เป็นห้องสมุดที่รัฐให้การสนับสนุน จัดตั้งข้ึน เพื่อให้เป็นแหล่งสารสนเทศของชุมชน ให้บริการแก่ประชาชนท่ัวไปทุกระดับอายุและระดับการศึกษา ทรพั ยากรสารสนเทศและกิจกรรมที่จัดขึ้นมุ่งที่ประโยชน์ของประชาชน ห้องสมุดประชาชนมีให้บริการ ทกุ จังหวดั ทัว่ ประเทศ ห้องสมุดประชาชน สวนลมุ พินี ทม่ี า: http://the-library4you.blogspot.com/p/blog-page_4966.html 1.5 หอสมุดแหง่ ชาติ (National library) เป็นแหล่งเก็บรวบรวมและบารุงรกั ษาทรพั ยากร สารสนเทศของชาติ ทงั้ ทีเ่ ป็นหนงั สอื ตน้ ฉบบั ตัวเขยี น เอกสารโบราณและจารกึ สื่อสง่ิ พมิ พ์ ส่ือโสตทศั นวสั ดุ สื่ออิเล็กทรอนิกส์ที่ผลิตข้ึนในประเทศและต่างประเทศ ให้บริการการอ่าน ศึกษาค้นคว้าและวิจัย แกป่ ระชาชนเพอื่ ใหเ้ ป็นแหล่งการเรยี นรู้ตลอดชีวติ และการศึกษาตามอธั ยาศัย หอสมุดแห่งชาติทาหนา้ ทเ่ี ปน็ ศนู ย์ประสานงานระบบสารนิเทศทางวชิ าการแหง่ ชาติไดแ้ ก่ ศูนย์ข้อมูลวารสารระหว่างชาติแห่งประเทศไทยและภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศูนย์กาหนดเลข มาตรฐานสากลประจาหนังสอื (International Standard Book Number – ISBN) และเลขมาตรฐานสากล ประจาวารสาร (International Standard Serial Number – ISSN) ศูนย์กาหนดรายละเอียดทาง บรรณานุกรมของหนังสือที่จัดพิมพ์ในประเทศ ศูนย์กลางแลกเปลี่ยนและยืมสิ่งพิมพ์ในระดับชาติและ นานาชาติ ศูนยร์ วบรวมสงิ่ พมิ พ์ขององค์กรสหประชาชาติ และจดั ทาบรรณานกุ รมแหง่ ชาติ หอสมุดแห่งชาติปัจจุบันตั้งอยู่ท่ีท่าวาสุกรี ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร สงั กัดกรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม และมสี าขาให้บริการในต่างจงั หวัด เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 26
หอสมุดแห่งชาติ ทม่ี า: http://www.museumthailand.com/th/museum/National-Library-of-Thailand 2. ศูนย์สารสนเทศหรอื ศูนย์เอกสาร (Information center or documentation center) ศนู ยส์ ารสนเทศหรือศนู ย์เอกสารเปน็ หน่วยงานให้บรกิ ารสารสนเทศเฉพาะดา้ น แก่ผใู้ ช้เฉพาะ กล่มุ สาขาวชิ าหรือสาขาวชิ าชีพ เช่น นักวิทยาศาสตร์ นักวิจัย มีลักษณะคล้ายห้องสมุดเฉพาะ ให้ข้อมูล ท่ีจัดทาขึ้นโดยศูนยส์ ารสนเทศหรอื ศนู ย์เอกสารนั้น เชน่ ขอ้ มูลสถิติ ตัวเลข รายงานการวิจัย สาระสังเขป และดัชนี วารสารเฉพาะวิชา 3. ศูนย์ข้อมลู (Data center) ศูนย์ขอ้ มูลทาหน้าที่รับผิดชอบการผลิตหรือรวบรวมข้อมูล ตัวเลข จัดระบบและเผยแพร่ สู่ผ้ใู ชท้ ่ีอย่ใู นเป้าหมาย มักเป็นส่วนหน่ึงของสถาบัน เช่น ศูนย์ข้อมูลธนาคารกรุงเทพ ศูนย์ข้อมูลธุรกิจ หลักทรัพยข์ องตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ศูนย์ข้อมูลพลังงานแห่งประเทศไทย สังกัดสานักงาน พลงั งานแห่งชาติ เป็นต้น 4. หนว่ ยงานทะเบียนสถติ ิ (Statistical office) หน่วยทะเบียนสถิติเป็นศูนย์กลางรวบรวมหลักฐานการจดทะเบียนหรือลงทะเบียน และ รวบรวมสถติ ทิ ีเ่ กย่ี วขอ้ ง อาจเป็นหน่วยงานที่สังกัดอยู่ในกระทรวง ทบวง กรม เพื่อรวบรวมสถิติเฉพาะ ภายในหนว่ ยงาน เชน่ หน่วยเวชระเบียนของโรงพยาบาลต่าง ๆ กองการทะเบียนของกรมการปกครอง ศนู ย์สถติ ิการพาณชิ ย์ของ กระทรวงพาณชิ ย์ และสานักงานสถติ ิแหง่ ชาติ เป็นต้น 5. ศนู ย์วิเคราะหส์ ารสนเทศ (Information analysis center) ศูนยว์ เิ คราะห์สารสนเทศให้บรกิ ารสารสนเทศเฉพาะสาขาวชิ า โดยนามาคัดเลือก วิเคราะห์ สรุปย่อและจัดเกบ็ ในลกั ษณะของแฟม้ ข้อมูล ใบข้อมลู (sheet) และปรทิ ศั น์ (review) เพื่อใช้ในการตอบ คาถามและจดั สง่ ให้กับผทู้ ี่สนใจในรูปของบรกิ ารข่าวสารทันสมัย เนื่องจากกระบวนการทางานของศูนย์ วิเคราะห์สารสนเทศ ต้องมีการวิเคราะห์และประเมินสารสนเทศ ผู้ปฏิบัติงานน้ีจึงต้องมีความรู้ ความสามารถเฉพาะด้าน ส่วนใหญ่จึงมักประกอบด้วยนักวิทยาศาสตร์ และนักวิชาการ ตัวอย่างของ ศูนยว์ ิเคราะห์สารสนเทศ เชน่ สมาคมสังคมศาสตรแ์ หง่ ประเทศไทย เปน็ ต้น 6. ศนู ย์ประมวลและแจกจ่ายสารสนเทศ (Information clearing house) ศูนย์ประมวลและแจกจ่ายสารสนเทศทาหน้าท่ีให้ความช่วยเหลือในการเข้าถึงแหล่ง สารสนเทศ แนะนาแหล่งสารสนเทศ (Referral service) ท่เี หมาะสม หรอื ทาหน้าท่เี ป็นหนว่ ยงานรวบรวม ทรพั ยากรสารสนเทศแล้วแจกจา่ ยไปยงั ผู้ทต่ี อ้ งการ โดยการจดั ทาสหบตั รรายการค้น บรรณานุกรม ดัชนี และสาระสังเขป และรายช่ือเอกสารทศี่ ูนยท์ าหนา้ ที่ประสานการแจกจ่าย ได้แก่ ห้องสมดุ ยเู นสโก หอสมดุ แหง่ ชาตปิ ระเทศองั กฤษ (British Library) หอสมดุ รฐั สภาอเมรกิ ัน (Library of Congress) และหอสมุด แหง่ ชาตขิ องไทย เป็นตน้ เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 27
7. ศูนยแ์ นะแหล่งสารสนเทศ (referral centers) ศูนยแ์ นะแหลง่ สารสนเทศ ทาหนา้ ทรี่ วบรวมแหลง่ ข้อมลู และแหลง่ สารสนเทศ โดยจดั ทาเปน็ คมู่ อื หรอื รายการบรรณานุกรมและดัชนี เพ่ือให้คาแนะนาแหล่งข้อมูลสารสนเทศที่เหมาะสมตามที่ผู้ใช้ ตอ้ งการ ส่วนใหญ่จะแนะแหลง่ สารสนเทศเฉพาะสาขาวิชา เช่น ศูนยแ์ นะแหลง่ สารสนเทศวิทยาศาสตรแ์ ละ เทคโนโลยีแห่งชาติ หอสมุดรัฐสภาอเมริกัน ศูนย์แนะแหล่งสารสนเทศสิ่งแวดล้อมนานาชาติ เป็นต้น (ศรสี ภุ า นาคธน, 2548) 8. หน่วยงานจดหมายเหตุ (Archive) หน่วยงานจดหมายเหตุ ทาหน้าที่รวบรวมและอนุรักษ์เอกสารราชการ และเอกสารทาง ประวัติศาสตร์ ได้แก่ คาส่ัง ระเบียบ ข้อบังคับ บันทึก หนังสือโต้ตอบ รายงาน แผนที่ ภาพถ่าย แบบแปลน เพอ่ื เป็นหลกั ฐานการดาเนนิ งานของรัฐและหน่วยงานเอกชน ใช้เป็นแหล่งค้นคว้าอ้างอิงทั้ง เพื่อการปฏิบัติงานและค้นคว้าทางวิชาการ ตัวอย่างเช่น หอจดหมายเหตุแห่งชาติ หอจดหมายเหตุ สว่ นภมู ิภาคและท้องถน่ิ หอจดหมายเหตขุ องสถาบันทางศาสนา หอจดหมายเหตุของมหาวิทยาลัย และ หอจดหมายเหตุของสถาบนั ธุรกิจและอุตสาหกรรม เป็นต้น 9. เครอื ขา่ ยบรกิ ารสารสนเทศ (Information services network) เครือข่ายบริการสารสนเทศเกิดข้ึนจากการรวมตัวกันของกลุ่มสถาบันบริการสารสนเทศ เพ่ือเพิ่มประสิทธิภาพในการดาเนินงานด้านการบริการทางบรรณานุกรม ได้แก่ การทาบัตรรายการ การพัฒนาทรัพยากร การยืมระหว่างห้องสมุด และการบริการฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เช่น เครือข่าย ยูนเิ นต็ (UniNet) สรุปไดว้ า่ แหล่งสารสนเทศ หมายถึง แหล่งทใ่ี หบ้ ริการสารสนเทศ ซงึ่ อาจเปน็ บคุ คล สอื่ มวลชน และสถาบันบริการสารสนเทศ ประเภทแหล่งสารสนเทศแบ่งตามลาดับการผลิตได้เป็น 3 ประเภท คือ สารสนเทศปฐมภูมิ สารสนเทศทุติยภูมิ สารสนเทศตตยิ ภูมิ ในการอา้ งองิ ทางวชิ าการถอื วา่ สารสนเทศจาก แหล่งปฐมภูมเิ ป็นสารสนเทศทดี่ ี มคี วามนา่ เชื่อถือในเร่อื งความถูกต้องตามขอ้ เท็จจรงิ มากกวา่ สารสนเทศใน ลาดบั รอง ปัจจบุ นั สถาบนั หลายแหง่ ได้รว่ มกนั เปน็ เครือขา่ ยบรกิ ารสารสนเทศ โดยเน้นการใช้ทรัพยากร สารสนเทศรว่ มกัน เพ่อื ลดตน้ ทนุ การดาเนินงาน และใหบ้ รกิ ารผา่ นทางอนิ เทอรเ์ น็ต เชน่ เครอื ข่ายห้องสมดุ ในประเทศไทย (ThaiLIS) คาถามท้ายบท 1. แหล่งสารสนเทศมีกี่ประเภท อะไรบ้างจงอธบิ าย 2. หอ้ งสมุดแบง่ เปน็ ก่ปี ระเภทอะไรบา้ ง แต่ละประเภทมจี ุดมุง่ หมายหรอื วัตถุประสงค์ต่างกนั อย่างไร 3. บรกิ ารสารสนเทศที่มคี วามสาคญั และมีประโยชนต่อการศกึ ษาค้นคว้า มอี ะไรบ้าง จงอธบิ ายมาอย่างนอ้ ย 5 บริการ 4. พพิ ธิ ภณั ฑสถานแห่งชาติเปน็ แหลง่ สารสนเทศประเภทใด และรวบรวมอะไรบ้าง 5. หนงั สอื ทรี่ วบรวมความรู้และขอ้ เทจ็ จรงิ สั้นๆ เพือ่ ค้นคว้าอา้ งองิ เฉพาะด้าน เรยี กวา่ 6. นักเรยี นจงยกตัวอยา่ งวสั ดยุ อ่ สว่ น มี 5 ชนดิ 7. หนุ่ จาลอง เปน็ ทรพั ยากรสารสนเทศประเภทใด เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 28
บทท่ี 5 ทรพั ยากรสารสนเทศ ความหมายและประเภทของทรพั ยากรสารสนเทศ ทรพั ยากรสารสนเทศ หมายถึง สอ่ื หรอื วสั ดุที่ใชเ้ กบ็ บันทึกสารสนเทศ เราใช้วัสดุหลายรูปแบบ ในการบันทกึ ทงั้ น้เี น่อื งจากสารสนเทศมที ัง้ ตัวอกั ษร ข้อความ รปู ภาพ และเสยี ง ซงึ่ อาจจดั กลมุ่ ทรพั ยากร สารสนเทศไดเ้ ปน็ 3 ประเภทคอื (มหาวทิ ยาลยั ศรนี ครนิ ทรวโิ รฒ มหาสารคาม, 2549) 1. วสั ดตุ พี ิมพ์ (Printed materials) 2. วัสดุไม่ตีพมิ พ์ (Non-printed material) 3. ฐานขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนิกส์ (Electronic database) 1. วสั ดุตีพิมพ์ วัสดตุ พี มิ พ์ หมายถึง วัสดุที่บันทึกสารสนเทศในรูปแบบของตัวอักษร ภาพและสัญลักษณ์ อื่น ๆ โดยผ่านกระบวนการตีพิมพ์ เช่น หนังสือ วารสาร หนังสือพิมพ์ กฤตภาค เป็นต้น วัสดุตีพิมพ์ จัดแยกประเภทตามลกั ษณะรูปเลม่ และวัตถปุ ระสงคใ์ นการจัดทาไดด้ ังนี้ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2564 29
1.1 หนงั สอื หนังสือเป็นส่ิงพิมพ์ที่รวบรวมสารสนเทศทั้งทางด้านวิชาการ สารคดีและบันเทิงคดี ให้เนื้อหาทจี่ บบรบิ ูรณ์ในเลม่ เดยี วหรือหลายเล่มที่ เรียกว่า หนังสือชุด ประเภทของหนังสือจัดแยกตาม ลกั ษณะเนอ้ื หา ไดด้ ังนี้ 1) หนังสือวิชาการหรือหนังสือตารา (Text book) หมายถึง หนังสือท่ีให้ความรู้ในสาขาวิชาใดวิชาหน่ึง โดย ผูแ้ ตง่ ที่มคี วามรู้ความเชยี่ วชาญเฉพาะสาขาวิชา การนาเสนอเนื้อหา มกั ใชค้ าศัพท์เฉพาะทางวิชาการท่ีเก่ียวข้อง มีภาพประกอบ ตาราง แผนภูมิ แผนท่ี แผนผงั เพอ่ื การอธิบายเร่อื งราวให้ละเอยี ดชัดเจน 2) หนังสือสารคดี หมายถึง หนังสือที่นาเสนอ เรื่องราวก่ึงวิชาการเพ่ือความเพลิดเพลินในการอ่าน และหลีกเลี่ยง การใช้คาศพั ทเ์ ฉพาะทางวชิ าการเพื่อให้เขา้ ใจเนือ้ หาสาระได้โดยง่าย เชน่ หนงั สอื นาเทยี่ ว หนังสือสรรพสาระ (Reader Dijet) เป็นต้น 3) หนังสอื แบบเรียน หมายถึง หนังสือที่จัดทา ฉบบั ปรับปรงุ พ.ศ. 2564 30 ข้ึนตามหลักสูตรรายวิชาเพื่อใช้ประกอบการเรียนการสอนของ นกั เรียนนักศึกษาในระดับต่าง ๆ นาเสนอเน้อื หาตามข้อกาหนดใน หลักสูตร ต่างจากหนังสือตาราทั่วไปที่มีคาถามท้ายบทเพื่อให้ ผู้เรยี นไดป้ ระเมินผลการเรยี นและทบทวนบทเรยี น 4) หนังสืออ้างอิง (Reference books) หมายถึง หนังสือที่รวบรวมเร่ืองราวข้อเท็จจริงในสาขาวิชาต่าง ๆ ท่ีเป็น ประโยชน์ตอ่ การศกึ ษาค้นควา้ เช่น หนังสือสารานุกรม พจนานุกรม นามานุกรม หนังสืออ้างอิงชีวประวัติ หนังสืออ้างอิงภูมิศาสตร์ หนังสือรายปี หนังสือบรรณานุกรม หนังสือดัชนีและสาระสังเขป และหนังสอื คู่มือ เปน็ ตน้ 5) วิทยานิพนธ์หรือปริญญานิพนธ์ (Thesis or dissertation) เป็นรายงานผลการค้นคว้าวิจัยเพื่อขอรับ ปริญญาตามหลักสูตรในระดับปริญญาโท (Thesis) และปริญญา เอก (Dissertation) เน่ืองจากเป็นรายงานผลการค้นพบสาระ ความรู้ในสาขาวิชาต่าง ๆ ที่ได้จากการสารวจ ทดลอง วิเคราะห์ และสงั เคราะหอ์ ยา่ งเปน็ ระบบภายใตก้ ารให้คาปรกึ ษาจากอาจารย์ ที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาต่าง ๆ จึงเหมาะสาหรับ การใช้เป็นข้อมูลประกอบการเขียนเอกสารตาราวิชาการ หรือ รายงานภาคนิพนธ์ เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1)
6) รายงานการวิจัย (Research report) เสนอ สารสนเทศที่เป็นผลผลิตจากการศึกษาค้นคว้าวิจัย เน้ือหามัก ประกอบดว้ ย ชือ่ เรือ่ ง ข้อความเกี่ยวกับ ผู้เขียน สาระสังเขป บทนา วัตถุประสงค์ ขอบเขต และวิธีดาเนินการวิจัย ผลการวิจัย บทสรุป และรายการอา้ งอิง 7) รายงานการประชุมทางวิชาการ (Proceedings) ให้สารสนเทศท่ีได้จาก การแลกเปล่ียนประสบการณข์ องนกั วิชาการที่เก่ียวข้อง ซ่ึงอาจเป็นข้อสรุปในการแก้ปัญหา ข้อเท็จจริง เกีย่ วกบั ความรูใ้ หมท่ ่ีคน้ พบ หรอื ขอ้ ตกลงในแผนงานหรอื นโยบายใหม่ ท่นี ักวิชาการนาเสนอในการประชมุ ทางวิชาการหรอื วชิ าชีพ 8) นวนิยายและเรื่องส้ัน (Short story collection) เป็นหนังสือท่ีแต่งขึ้นตาม จินตนาการ เน้นความสนุกความเพลิดเพลิน และความซาบซ้ึงในอรรถรสวรรณกรรม สารสนเทศจาก นวนิยายนามาใชเ้ ป็นหลกั ฐานอา้ งองิ ข้อเทจ็ จริงไมไ่ ด้ 1.2 วารสารและนติ ยสาร วารสารและนิตยสารมาจากคาในภาษาอังกฤษ 3 คา คือ Magazine, Journal และ Periodical มีความหมายแตกต่างกันตามลกั ษณะเน้ือหาท่ีนาเสนอ Magazine หรือเรียกว่า “นิตยสาร” มักจะเนน้ เนอ้ื หาทางดา้ นบนั เทงิ คดี Journal หรอื เรยี กวา่ “วารสาร” จะเน้นเนอ้ื หาทางวิชาการ ส่วนคาวา่ Periodical หมายถึงส่งิ พิมพท์ ี่ออกเป็นวาระ มคี วามหมายรวมท้งั Magazine และ Journal เชน่ เดยี วกับ คาว่า “วารสาร” ในภาษาไทยทีม่ คี วามหมายรวมถึงส่งิ พมิ พท์ อี่ อกเป็นวาระ มคี วามหมายรวมท้ังนิตยสาร และวารสาร วารสารเป็นสิ่งพิมพ์ที่ออกตามกาหนดระยะเวลาอย่างสม่าเสมอ เช่น รายสัปดาห์ รายปักษ์ (สองสัปดาห์) หรือรายเดือน ใหส้ ารสนเทศในรูปแบบ “บทความ” จากผู้แต่งหลายคน เน้ือหา สาระอาจเป็นเรื่องในสาขาวิชาเดียวกัน หรือรวมเรอ่ื ง ซ่งึ อาจแบง่ ประเภทวารสารตามลกั ษณะเน้อื หาเป็น 3 ประเภท คอื 1) วารสารวชิ าการ (Journals or periodicals) เชน่ ราชภฏั กรงุ เก่า / จุฬาลงกรณ์ รวี วิ / วารสารวจิ ยั / วารสารราชบัณฑติ ยสถาน / พัฒนาชุมชน / วารสารกฎหมายเพ่อื ชวี ิต / Journal of Science, Technology and Humanities / Journal of Teacher Education / Educational Research / ASEANJournal on Science เป็นต้น เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 31
2) วารสารทั่วไปหรอื นิตยสาร (Magazine) เช่น เท่ียวรอบโลก / สารคดี / สมุนไพร เพ่ือชีวติ / รกั ลูก / สกุลไทย / หญงิ ไทย / สรา้ งเงินสรา้ งงาน / สานแสงอรุณ / ไฮ-คลาส / ต่วย’ตนู พเิ ศษ / National Geographic / Discover / Reader’s Digest เปน็ ต้น 3) วารสารข่าวหรือวิจารณ์ข่าว (News magazine) เช่น มติชนสุดสัปดาห์/ สยามรัฐสัปดาหว์ จิ ารณ์ / เอกสารขา่ วรฐั สภา / Time / Newsweek / AsiaNews เปน็ ตน้ 1.3 หนังสอื พมิ พ์ หนงั สือพมิ พ์ (newspaper) เป็นสงิ่ พิมพท์ ่ีออกตามระยะเวลาที่กาหนด อาจเป็นรายวัน รายสปั ดาห์ หรือรายปักษ์ แต่สว่ นใหญ่จะพมิ พ์เผยแพร่เป็นรายวนั 1.4 จลุ สาร จลุ สาร (pamphlets) คือ ส่ิงพิมพ์ที่มีขนาดเล็ก ปกอ่อน ความหนาอยู่ระหว่าง 2-60 หน้า เป็นส่ิงพิมพ์ที่หน่วยงานราชการ องค์การ บริษัท ห้างร้าน สถาบัน สมาคมและหน่วยงานต่าง ๆ จัดพมิ พ์เผยแพรเ่ ร่ืองราว ความรูส้ นั้ ๆ เน้ือหาทันสมยั อ่านเขา้ ใจงา่ ย แมจ้ ะให้รายละเอยี ดไม่มากนัก แตใ่ ช้ สาหรบั คน้ คว้าเพิม่ เตมิ และอา้ งองิ ได้ 1.5 กฤตภาค กฤตภาค (clipping) เป็นวสั ดุตีพมิ พท์ ี่เกิดจากการเลือกและจัดเกบ็ บทความท่ีน่าสนใจ จากหนังสือพมิ พ์หรือวารสารฉบับล่วงเวลา ซ่งึ อาจเป็นขา่ ว บทความวิชาการหรือรปู ภาพ เรอื่ งใดเร่ืองหน่ึง เฉพาะเร่อื งทเ่ี ป็นประโยชน์ต่อการศึกษาหาความรู้ 1.6 ส่ิงพมิ พล์ ักษณะพเิ ศษ สิ่งพิมพ์ลักษณะพิเศษ หมายถึง ส่ิงพิมพ์ท่ีมีความพิเศษท่ีแตกต่างจากส่ิงพิมพ์ทั่วไป ทางด้านลักษณะรูปทรง วัสดุที่ใช้ในการบันทึก และการนาเสนอเนื้อหาสารสนเทศในลักษณะพิเศษ เฉพาะเจาะจง ส่ิงพิมพ์ลักษณะพิเศษท่ีจัดให้บริการในห้องสมุดและสถาบันบริการสารสนเทศ ได้แก่ เอกสารสิทธิบัตร (patents) เอกสารมาตรฐาน (Standards) แผนภูมิ (charts) แผนภาพ (diagrams) แผนที่ (maps) เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2564 32
2. วัสดุไม่ตีพิมพ์ วัสดไุ มต่ พี ิมพ์ หมายถงึ ทรัพยากรสารสนเทศท่บี ันทกึ ไวใ้ นส่อื ทไ่ี ม่ไดผ้ ่านกระบวนการตีพมิ พ์ มหี ลายประเภทดังน้ี (ศรีสภุ า นาคธน, 2548) 2.1 ตน้ ฉบบั ตวั เขยี น ต้นฉบับตัวเขียน (Manuscript) คือ ทรัพยากรสารสนเทศท่ีจัดทาข้ึน โดยใช้ ลายมือเขยี น ไดแ้ ก่ หนังสอื ทีจ่ ดั ทาในสมยั โบราณก่อนทจี่ ะมกี ารพิมพ์ โดยการใช้จาร หรือสลักลงบนวัสดุ ตา่ ง ๆ เชน่ สมดุ ข่อย ใบลาน แผ่นปาปริ ัส (papyrus) แผ่นดินเหนยี ว แผ่นหนงั สัตว์ ศิลาจารกึ เป็นตน้ 2.2 โสตวสั ดุ โสตวัสดุ (Audio materials) คือ วัสดุสารสนเทศท่ีใช้เสียงเป็นสื่อในการถ่ายทอด สารสนเทศ เช่น แผ่นเสียง (Phonodiscs) แถบบันทึกเสียงหรือเทปบันทึกเสียง (Phonotape) แผ่นซีดี (compact discs) 2.3 ทัศนวสั ดุ ทัศนวัสดุ (Visual materials) คือ วัสดุสารสนเทศท่ีต้องใช้สายตาเป็นส่ือในการรับรู้ สารสนเทศโดยการมองดู อาจดโู ดยตาเปล่าหรอื ใช้เครอ่ื งมอื หรอื อุปกรณส์ าหรบั ฉายประกอบ เชน่ รูปภาพ (Picture) ลกู โลก (Globe) ภาพเล่ือน หรือฟิล์มสตรปิ (Filmstrips) ภาพน่ิง หรอื สไลด์ (Slides) แผน่ ภาพ โปร่งใส (Transparencies) ห่นุ จาลอง (Model) ของจรงิ (Realia) เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 33
2.4 โสตทศั นวสั ดุ โสตทัศนวัสดุ (Audiovisual materials) เป็นวัสดุสารสนเทศท่ีถ่ายทอดโดยการใช้ท้ัง ภาพและเสียงประกอบกัน เช่น ภาพยนตร์ (Motion pictures) สไลด์ประกอบเสียง (Slide multivisions) วีดิทัศน์หรอื เทปบันทกึ ภาพ (Videotapes) 2.5 วสั ดุย่อส่วน วัสดยุ ่อสว่ น (Microforms) เปน็ วัสดุสารสนเทศท่ใี ชเ้ ทคนิคการถา่ ยภาพย่อสว่ นจากของ จริงลงบนแผ่นฟิล์มหรือวัสดุที่ใช้บันทึกภาพ ประโยชน์ท่ีได้คือ เพื่อประหยัดเนื้อที่ในการจัดเก็บ เมื่อ ต้องการใชส้ ารสนเทศ จะตอ้ งนาฟลิ ม์ ย่อสว่ นนน้ั มาเขา้ เครอื่ งอา่ น จึงจะสามารถอ่านได้ และถา้ ต้องการทา สาเนาเพือ่ นาไปใชป้ ระโยชน์ ตอ้ งมีเครื่องพิมพห์ รอื เครอื่ งทาสาเนาภาพจากวสั ดุยอ่ สว่ นด้วย สามารถแบ่ง ออกเป็นประเภทต่าง ๆ ได้อีก ได้แก่ ไมโครฟิล์ม (Microfilms) ไมโครฟิช (Microfiches) ไมโครบุค (Microbook) อลุ ตราฟชิ (Ultrafiche) ไมโครโอเพค (Micro-opague) 2.6 วสั ดอุ ิเลก็ ทรอนิกส์ วัสดุอเิ ลก็ ทรอนิกส์ (Electronic materials) เป็นวสั ดสุ ารสนเทศท่ีจดั เกบ็ สารสนเทศใน รปู อกั ษร ภาพ และเสียงไว้โดยการแปลงสารสนเทศใหเ้ ปน็ สัญญาณอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งจะต้องมีเคร่ืองมือ สาหรับจดั เก็บและแสดงผลออกมา โดยการแปลงสญั ญาณอิเลก็ ทรอนกิ สใ์ ห้เปน็ สญั ญาณภาพและเสยี ง อีก คร้ังหนึ่ง เช่น เทปแม่เหล็ก (Magnetic tape) จานแม่เหลก็ /แผน่ ดสิ เกต็ (Disket) แผ่นจานแสง (Optical disc) 3. ฐานขอ้ มูลอเิ ล็กทรอนิกส์ ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หมายถึง สารสนเทศท่ีจัดเก็บไว้ด้วยระบบคอมพิวเตอร์ โดยมี ชุดคาสั่งระบบจดั การฐานขอ้ มูล ทาหน้าท่คี วบคมุ การจัดการและการใช้ฐานขอ้ มลู ประเภทของฐานข้อมูลแบ่งตามลกั ษณะการใชง้ านแบง่ ได้ 2 ประเภทคือ ฐานข้อมูลออฟไลน์ และฐานข้อมลู ออนไลน์ แบง่ ตามเนือ้ หาสารสนเทศทใี่ ห้บรกิ ารแบง่ ได้เป็น ฐานข้อมูลบรรณานุกรม และ ฐานข้อมูลฉบับเตม็ ประเภทของฐานข้อมูลแบง่ ตามลักษณะการใช้งานแบง่ เป็น 2 ประเภท ไดแ้ ก่ 1) ฐานข้อมลู ออฟไลน์ (Offline Database) หมายถงึ ฐานข้อมูลทีจ่ ดั เก็บสารสนเทศ ไว้ในสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่าง ๆ เช่น ซีดีรอม (CD-ROM) การปรับปรุงและการเรียกใช้งานฐานข้อมูลไม่ สามารถทาได้ตลอดเวลา 2) ฐานขอ้ มูลออนไลน์ (Online Database) หมายถงึ ฐานขอ้ มลู ท่ใี ห้บรกิ ารผา่ นทาง ระบบเครอื ขา่ ยคอมพิวเตอร์ ทผี่ จู้ ดั การฐานขอ้ มลู สามารถปรับปรุงฐานข้อมูลให้ทันสมัยและผู้ใช้สามารถ เขา้ ถึงไดต้ ลอดเวลา ซึง่ ในปัจจุบันจะใหบ้ ริการผ่านทางอนิ เทอรเ์ นต็ เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 34
ประเภทของฐานขอ้ มลู แบง่ ตามเนื้อหาสารสนเทศทีใ่ ห้บริการแบ่งเป็น 2 ประเภท ได้แก่ 1) ฐานขอ้ มลู บรรณานุกรม หมายถึง ฐานข้อมูลทใ่ี ห้สารสนเทศทางบรรณานุกรม เช่น ชื่อผูแต่ง ช่ือเรื่อง แหล่งผลิต และอาจมีสาระสังเขป เพ่ือแนะนาผู้ค้นคว้าให้ไปอ่านรายละเอียดจาก ตน้ ฉบับจริง ไดแ้ ก่ ฐานขอ้ มลู โอแพค (OPAC) ของห้องสมุดฐานข้อมูล TIAC ให้ข้อมูลบรรณานุกรมและ สาระสงั เขปของวิทยานิพนธไ์ ทย ฐานข้อมูล DAO ใหข้ อ้ มลู บรรณานุกรมและสาระสงั เขปของวิทยานิพนธ์ ต่างประเทศ หรอื ฐานขอ้ มูล ERIC ใหข้ อ้ มูลบรรณานกุ รมและสาระสังเขปของหนังสือและบทความจาก วารสารดา้ นการศึกษา เปน็ ต้น 2) ฐานขอ้ มลู เนื้อหาฉบับเตม็ หมายถงึ ฐานข้อมูลที่ให้สารสนเทศครบถ้วนเช่นเดียว เหมอื นต้นฉบับ เชน่ ฐานขอ้ มูล IEEE/IEE และ ACM เป็นฐานข้อมูลฉบับเต็มของบทความจากวารสาร นติ ยสาร รายงานการประชุมความกา้ วหน้าทางสาขาวิชาวิศวกรรมไฟฟา้ และอเิ ลก็ ทรอนิกส์ คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยสี ารสนเทศ เป็นต้น การเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศ เราสามารถเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศได้อยา่ งเหมาะสมและเปน็ ประโยชน์ โดยมีหลักในการ พิจารณาดงั นี้ (มหาวทิ ยาลัยขอนแกน่ , 2549) 1. มีความสอดคล้องกบั เน้ือหาสารสนเทศทตี่ อ้ งการ เชน่ ถา้ ต้องการสารสนเทศเฉพาะวิชา ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสืออ้างอิง ตาราและวารสารวิชาการ มากกว่าประเภท หนังสือท่ัวไปและนิตยสาร หากต้องการสารสนเทศที่แสดงความสัมพันธ์ของเร่ืองราวอย่างชัดเจน ควรเลอื กใชท้ รพั ยากรสารสนเทศท่เี ปน็ ภาพเคลอื่ นไหวเช่น วีดิทัศน์ วีซีดีหรือ ดีวีดี เป็นต้น หากต้องการ ฟังการบรรยาย เพลง ดนตรี ควรเลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศท่ีมีบันทึกเสียง เช่น เทป ซีดี หรือ วีซีดี เปน็ ต้น 2. การพิจารณาความน่าเช่ือถือในตัวทรัพยากร ผู้เรียนจะต้องพิจารณาจากช่ือเสียง ประสบการณห์ รอื คณุ วุฒขิ องผแู้ ต่ง สานกั พมิ พห์ รือผผู้ ลิตทรัพยากรสารสนเทศด้วย เชน่ หนังสืออา้ งอิงจะ มีความน่าเช่ือถือมากกว่าหนังสือทั่วไป เพราะเขียนและรวบรวมโดยผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้เชี่ยวชาญใน สาขาวชิ า 3. ความสะดวกในการใช้งาน ทรพั ยากรประเภทตีพิมพ์จะสามารถนามาใช้งานได้ง่ายกว่า ทรัพยากรประเภทไมต่ ีพมิ พ์ หรอื ทรัพยากรอิเลก็ ทรอนกิ ส์ เพราะสามารถใช้งานได้ทันที ไม่จาเป็นต้องใช้ อุปกรณใ์ นการแสดงผลเหมอื นกบั ทรพั ยากรประเภทไมต่ พี ิมพห์ รือ ทรพั ยากรอเิ ลก็ ทรอนิกส์ 4. ความทันสมัยของเนื้อหา เช่น หากผู้เรียนต้องการสารสนเทศท่ีทันต่อเหตุการณ์แล้ว กส็ มควรเลอื กพิจารณาสารสนเทศทีไ่ ดจ้ ากทรัพยากรประเภทอนิ เทอร์เน็ต เพราะมกี ารเปล่ียนแปลงทาให้ ทันสมัยอยู่ตลอดเวลา หรือเลือกใช้ทรัพยากรตีพิมพ์ประเภทหนังสือพิมพ์ท่ีมีการให้ข้อมูลที่กาลังเป็น ทีน่ ่าสนใจและไดร้ ับความสนใจในปัจจบุ ัน สรุปไดว้ า่ ทรัพยากรสารสนเทศ หมายถึง วสั ดุทีบ่ ันทึกสารสนเทศไว้ในส่ือต่าง ๆ เพ่ือถ่ายทอด สารสนเทศส่ผู ู้ใช้สารสนเทศ ทั้งสอ่ื สิ่งพิมพ์ ส่ือโสตทศั น์ และสื่ออเิ ลก็ ทรอนกิ ส์ ผ้ใู ชบ้ ริการสารสนเทศต้อง เลือกใช้ทรัพยากรสารสนเทศให้เหมาะสมจะสามารถประหยัดเวลาในการศึกษาและจะได้ข้อมูลตรงตาม ความต้องการ เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรับปรงุ พ.ศ. 2564 35
บทที่ 6 การใชอ้ ินเทอร์เนต็ เพอื่ การสบื ค้น รูปแบบการสืบคน้ รปู แบบการสบื คน้ เสริ ์ชเอนจนิ (Search engine) หรอื โปรแกรมค้นหาและคอื โปรแกรมที่ชว่ ย ในการสืบค้นหาข้อมูล โดยเฉพาะข้อมูลบนอินเทอร์เน็ต โดยครอบคลุมท้ังข้อความ รูปภาพ ภาพเคลื่อนไหว เพลง ซอฟต์แวร์ แผนท่ี ข้อมูลบุคคล กลุ่มข่าว และอื่น ๆ ซึ่งแตกต่างกันไปแล้วแต่ โปรแกรมหรอื ผใู้ หบ้ ริการแตล่ ะราย เสิร์ชเอนจินส่วนใหญ่จะค้นหาข้อมูลจากคาสาคัญ (คีย์เวิร์ด) ท่ีผู้ใช้ ป้อนเข้าไป จากน้ันจะแสดงรายการผลลัพธ์ที่มันคิดว่าผู้ใช้น่าจะต้องการข้ึนมา ในปัจจุบันเสิร์ชเอนจิน บางตัว เช่น กูเกิลจะบันทึกประวัติการค้นหาและการเลือกผลลัพธ์ของผู้ใช้ไว้ด้วย และจะนา ประวัติ ทบ่ี ันทกึ ไวน้ ัน้ มาช่วยกรองผลลัพธใ์ นการคน้ หาคร้ังต่อ ๆ ไป ระดับการค้นหาขอ้ มูล (Search Engine) แบง่ ออกเปน็ 2 ระดับ 1. ระดบั Basic Search คือ เครอ่ื งมือในการค้นหาข้อมูลของแต่ละเว็บไซต์ ซึ่งมีรูปแบบ การคน้ หาขอ้ มูลและฟงั กช์ ั่นในการค้นหาข้อมลู แบบง่าย 2. ระดบั Advance Search คือ เครื่องมือในการค้นหาข้อมูลของแต่ละเว็บไซต์ ซ่ึงช่วย ในการจากัดขอบเขตในการคน้ หาขอ้ มูล จะมสี ว่ นชว่ ยในการบีบประเดน็ หัวข้อ ให้แคบลง ซึ่งจะช่วยทาให้ นักเรยี นได้รายชอื่ เวบ็ ไซต์ที่ตรงกบั ความต้องการของนกั เรียนมากขึ้น ระดับ Basic Search เปน็ การคน้ หาข้อมลู อย่างงา่ ยไม่มีฟังก์ชน่ั ในการค้นหาท่ีสลบั ซับซ้อนมาก เหมาะสาหรับผู้ท่ี เร่มิ ต้นใช้ ซ่งึ การคน้ หาข้อมูลแตล่ ะเวบ็ ไซต์ รวมถงึ รายละเอยี ดในการคน้ หาข้อมลู นน้ั แตกต่างกัน แตใ่ นทีน่ ี้ ขอหยิบยก Search Engine ของ Google มาอธิบาย เพราะเป็นเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยมที่สุดใน การคน้ หาขอ้ มลู เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 36
บริการของ Google มีดังตอ่ ไปน้ี 1. บรกิ ารค้นหาเวบ็ ไซต์ คอื การค้นหาข้อมูลในเวบ็ ไซตต์ า่ งๆ โดยการใสข่ อ้ ความ 2. บริการคน้ หารปู ภาพ คอื การค้นหาไฟลร์ ูปภาพในเวบ็ ไซต์ 3. บริการคน้ หากลมุ่ ขา่ ว คือ การคน้ หากลมุ่ ข่าวทีต่ อ้ งการในเว็บไซต์ 4. บริการค้นหาสารบนเว็บ คือ การจัดหมวดหมู่ข้อมูลของ Google หรือการจัดให้เป็น Directory นนั่ เอง ซง่ึ มีการจดั แยกโดยอาศัยแรงงานคนในการจดั แยก วิธกี ารค้นหาขอ้ มลู โดยใช้ Google.co.th 1. เข้าไปทเ่ี ว็บไซตข์ อง Google.co.th 2. นึกถงึ คาท่มี ีความเกีย่ วข้องกับเร่ืองท่ีต้องการ เชน่ ต้องการขอ้ มลู เก่ียวกับสุขภาพ ก็ต้อง นึกคาว่า health fitness ปัญหาสขุ ภาพ การออกกาลงั กาย เปน็ ต้น 3. พมิ พ์คาทคี่ ดิ วา่ เกี่ยวขอ้ งในที่น้ี คอื คาว่า “การออกกาลังกาย” 4. คลิกทปี่ ุม่ คน้ หา หรือ กด Enter เพอื่ ใหเ้ ซิรฟ์ เวอร์คน้ หาข้อมูล 5. ผลของการค้นหาจะปรากฏเว็บเพจท่ีเกี่ยวกับคาว่า “การออกกาลงั กาย” ออกมา เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 37
6. คลิกเลอื กเวบ็ เพจท่ีต้องการ ระดับ Advance Search คอื เคร่ืองมอื ในการคน้ หาข้อมูลของแตล่ ะเว็บไซต์ ซึ่งชว่ ยในการจากัดขอบเขตในการค้นหา ข้อมลู จะมีสว่ นช่วยในการบบี ประเด็นหัวข้อ ใหแ้ คบลง ซ่งึ จะชว่ ยทาให้นักเรยี นไดร้ ายช่อื เว็บไซต์ทีต่ รงกบั ความต้องการของนักเรยี นมากขึ้น มหี ลักการง่ายๆ ดังน้ี 1. การบบี ประเดน็ ใหแ้ คบลง หรือหวั ข้อเรือ่ งท่ตี ้องการคน้ หาใหแ้ คบลง เชน่ นักเรียน ตอ้ งการขอ้ มลู ของการเต้นแอโรบกิ นกั เรยี นลองใช้คาวา่ “การออกกาลังกาย” เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 38
หลังจากนนั้ สมมตวิ า่ นกั เรยี นนกึ คาอ่ืนท่ีจะคน้ หาได้ ในที่น้ีสมมตวิ า่ นกั เรยี นนกึ คาว่า “แอโรบกิ ” ได้ หลักจากน้ันนกั เรียนก็ลองพมิ พค์ าว่า “แอโรบกิ ” ต่อท้ายคาวา่ “การออกกาลงั กาย” 2. หลีกเลยี่ งการใชค้ า ขอ้ ความ หรือวลที ย่ี าวเกินไป เมื่อนักเรียนค้นหาข้อมูล นักเรียนคงเคยเจอ ท่ีนักเรียนค้นหาข้อมูลแล้วไม่เจอ เน่อื งจากสาเหตหุ ลายประการ โดยหนึ่งในสาเหตุน้นั ก็คือ การใช้คาสาคัญที่ยาวเกินไป สมมติว่านักเรียน ต้องการคน้ หาข้อมูลเก่ยี วกับ “เครือขา่ ยคอมพวิ เตอรเ์ ทคโนโลยที ่ีจาเป็นสาหรบั ระบบสานกั งานอตั โนมตั ิ” แต่เซริ ์ฟเวอร์ไมส่ ามารถคน้ หาขอ้ มลู ได้ เนื่องจากขอ้ ความทใี่ ช้ในการคน้ หายาวเกินไป ฉะนนั้ นกั เรยี นกล็ อง เปลยี่ นมาใชค้ าคน้ ว่า คอมพวิ เตอร์ เทคโนโลยี 3. การใช้เง่ือนไข AND ใช้เม่ือต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคาสาคัญท่ีอยู่ติดกับคาว่า AND ทั้ง 2 คา เชน่ “คอมพวิ เตอร์” AND “เทคโนโลยี” หมายความว่าให้ค้นหาคาที่มีคาว่า คอมพิวเตอร์ และคา ว่า เทคโนโลยี ทัง้ 2 คาอยู่ในเอกสารเดียวกัน 4. การใช้เงอ่ื นไข OR ใช้เมอ่ื ตอ้ งการให้ผลการคน้ หาประกอบด้วยคาสาคัญตัวใดตัวหนึ่งที่ติดอยู่กับคาว่า OR เช่น “คอมพิวเตอร์” OR “เทคโนโลยี” หมายความว่าให้ค้นหาคาที่มีคาว่า คอมพิวเตอร์ หรือ เทคโนโลยี คาใดคาหนึง่ กไ็ ด้ หรอื ค้นหาทัง้ 2 คา ซึ่งทั้ง 2 คาจะอยหู่ น้าเดียวกัน หรือมีเพียงคาใดคาหน่ึง ในแต่ละหนา้ กไ็ ด้ 5. การใชเ้ ง่อื นไข NOT ใช้เมื่อต้องการให้ผลการค้นหาประกอบด้วยคาสาคัญที่อยู่หน้าคาว่า NOT แต่ไม่ ตอ้ งการคน้ หาคาทอ่ี ยูห่ ลังคาว่า NOT เชน่ “คอมพิวเตอร์” NOT “เทคโนโลยี” หมายความว่า ให้ค้นหา ข้อมูลท่มี ีคาวา่ คอมพิวเตอร์ แต่ไม่มคี าว่า เทคโนโลยี อยูด่ ว้ ย เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 39
6. การใช้เคร่ืองหมาย +, - ชว่ ยในการค้นหา โดย + คือ การใช้กับคาท่ีนักเรียนต้องการให้ปรากฏอยู่บนหน้าจอ และ - คือ การใช้กับคาท่ีนกั เรยี นไมต่ ้องการให้ปรากฏอยบู่ นหนา้ จอ ตวั อยา่ งเช่น ถ้านักเรยี นต้องการให้ Office ปรากฏบนหน้าจอ แต่ไม่ต้องการให้ 97 ปรากฏบนหนา้ จอ ให้นักเรียนใช้คาวา่ +office-97 7. ใช้หาคาศพั ท์ โดยการใช้รปู แบบคาส่ัง ดงั นี้ define : ตามด้วยศัพท์ที่ต้องการ เช่น ต้องการรู้ความหมายของคาว่า boy ให้ นักเรียนใช้คาว่า define:boy ค้นหาขอ้ มลู มีขอ้ แมว้ า่ ไม่สามารถหาคาศัพท์ และ คาแปลท่ีเป็นภาษาไทย ได้ 8. ใชใ้ นการคานวณคณิตศาสตร์ คณุ สามารถปอ้ นตัวเลขและเครื่องหมาย + - * / เพอื่ ใช้ในการคานวณได้ เครอ่ื งหมายดาเนินการ ความหมาย ตัวอย่าง + บวก 3+44=47 - ลบ 13-2=11 * คูณ 5*8=40 / หาร 12/6=2 ^ ยกกาลัง 8^2=64 % หารเอาเศษ 8%7=1 % เปอรเ์ ซ็นต์ 20% of 150=30 of Sqrt รากที่ 2 sqrt(9)=3 คำถำมทำ้ ยบท เอกสารประกอบการเรยี น รายวิชาการศึกษาค้นคว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 40
บทท่ี 7 การประเมนิ สารสนเทศ การประเมินสารสนเทศได้อย่างมวี ิจารญาณ สามารถสรุป แนวคิด ความสาคัญจากสารสนเทศ ท่ีรวบรวม โดยใชเ้ กณฑก์ ารประเมินสารสนเทศและแหลง่ สารสนเทศ ไดแ้ ก่ ความน่าเชื่อถอื ความเท่ียงตรง ความถูกต้อง และความทันสมัย สามารถคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์แนวคิดหลักเพ่ือสร้างแนวคิดใหม่ เปรียบเทยี บความรใู้ หม่กบั ความรู้เดิมเพ่อื พิจารณาว่า อะไรคือสิ่งท่ีเพ่ิมข้ึน อะไรคือสิ่งที่ขัดแย้งกัน และ อะไรคอื สง่ิ ทคี่ ลอ้ ยตามกนั และตดั สินใจเลอื กรบั สารสนเทศท่ีนาเสนอไว้อยา่ งหลากหลาย โดยการพจิ ารณา ทบทวนถงึ เหตผุ ล จากสิ่งทเ่ี คยจดจา คาดการณ์โดยยงั ไมค่ ล้อยตามสารสนเทศท่นี าเสนอเร่ืองนั้น ๆ แต่ตอ้ ง พจิ ารณาใครค่ รวญ ไตรต่ รองดว้ ยความรอบคอบและมเี หตผุ ลวา่ สิง่ ใดสาคญั กอ่ นตดั สนิ ใจนาไปใช้ คุณลักษณะของสารสนเทศทดี่ ี สารสนเทศทดี่ ีควรมคี ณุ ลักษณะดังตอ่ ไปน้ี (เอกภพ อินทรภู่, 2558: 72) 1. มีความนา่ เชื่อถือ เป็นสารสนเทศทไ่ี ดจ้ ากผู้แตง่ หรือแหล่งทเี่ ช่อื ถือได้ 2. มคี วามถูกตอ้ ง เปน็ สารสนเทศที่ใหข้ ้อเทจ็ จรงิ ไม่มีความผิดพลาด 3. เข้าถึงได้งา่ ย เป็นสารสนเทศทมี่ ีรูปแบบเหมาะสม เรยี กใช้ไดง้ ่าย 4. มีความชดั เจน เนื้อหาไมค่ ลมุ เครอื 5. มคี วามสมบรู ณ์ครบถ้วน ใหเ้ นือ้ หาสาคัญอยา่ งครบถ้วน 6. ตรงกบั ความต้องการของผ้ใู ช้ 7. ทันเวลา หรอื ทันตอ่ ความต้องการของผูใ้ ช้ 8. มีความทนั สมัย เป็นปัจจบุ นั (Up to Date) 9. สามารถพสิ ูจนไ์ ด้ มหี ลกั ฐานอา้ งองิ ตรวจสอบได้ว่ามีความถกู ตอ้ ง เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าดว้ ยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรับปรุง พ.ศ. 2564 41
การประเมินสารสนเทศ คุณภาพของสารสนเทศน้ัน นอกจากจะขึ้นอยู่กบั ความต้องการของแต่ละบุคคลแล้ว ยังมีหลักการ ประเมนิ ประกอบการพิจารณา ดงั นี้ 1. หลกั การประเมินสารสนเทศ 1) ความเกี่ยวข้อง (Relevance) เป็นการพิจารณาว่าสารสนเทศท่ีได้รับนั้นมีความ เก่ียวข้องความเหมาะสม ความเกี่ยวพันกัน หรือตรงกับหัวข้อที่ต้องการหรือไม่ โดยพิจารณาจากขอบเขต ความตอ้ งการของตนเองว่าต้องการสารสนเทศประเภทใด เช่น บทความ หนังสือ เว็บไซต์ หรือสื่อประเภท อื่น ๆ ว่ามีเน้ือหาเกี่ยวกับเรอ่ื งใด แล้วสารสนเทศที่ค้นได้นั้น ให้ข้อมูลตรงตามนั้นหรือไม่ มีการยกตัวอย่าง หรือให้ข้อมูลที่สนับสนุนเรื่องที่ต้องการหรือไม่ มีจุดเชื่อมโยงไปยังข้อมูลที่เกี่ยวข้องหรือไม่ กรณีสืบค้น รายการทางบรรณานุกรมในการเลือกรายการนั้น จะต้องพิจารณาจากชื่อเร่ืองและคาสาคัญว่าตรงกับเรื่อง ทีต่ ้องการหรอื ไม่เป็นลาดบั แรก 2) ความถูกต้อง (Accuracy) เป็นการตรวจสอบเน้ือหาของสารสนเทศที่ได้ว่ามี ความถูกต้องหรือไมโ่ ดยพิจารณาวา่ สารสนเทศท่ีได้นั้นมีลักษณะการเสนอข้อเท็จจริงหรือความคิดเห็น เป็น กลางหรือมีอคติมีหลักฐานอา้ งองิ หรือไม่ มกี ารสรุปอย่างเป็นเหตุเปน็ ผล มกี ารอา้ งอิงทช่ี ัดเจนไม่ว่าจะเป็นใน รูปเชงิ อรรถหรือบรรณานกุ รม รวมทงั้ พิจารณาวา่ สารสนเทศที่ได้น้นั ประกอบไปด้วยสารสนเทศจากแหล่งอื่น ๆ หรอื ไมก่ รณปี ระเภทของสารสนเทศ ท่ไี ด้รบั นน้ั แตกตา่ งกัน สารสนเทศปฐมภูมิซ่ึงเป็นสารสนเทศต้นฉบับ จะมีความน่าเช่ือถือมากกว่าเพราะเป็นต้นกาเนิดของสารสนเทศเร่ืองน้ัน ส่วนสารสนเทศทุติยภูมิเป็น สารสนเทศที่คดั ลอกมาจาก สารสนเทศปฐมภูมิอีกช้ันหน่ึง ความน่าเชื่อจะมีไม่เท่าสารสนเทศปฐมภูมิ และ หากจาเปน็ จะตอ้ งใช้สารสนเทศทุตยิ ภูมิ จะตอ้ งตรวจสอบกบั ตน้ ฉบับวา่ ตรงกันหรือไม่ 3) ความน่าเชอ่ื ถือของผ้จู ัดทา (Authority) เปน็ การพิจารณาทผ่ี จู้ ัดทาหรือผู้เขียนว่าเป็นผู้ ที่มคี วามรู้ ความเช่ียวชาญมีประสบการณ์ และมีช่ือเสียง ตลอดจนมีความน่าเช่ือถือเป็นที่ยอมรับในหัวข้อ เรื่องหรือสาขาวิชาน้ัน ๆ หรือไม่ โดยพิจารณาจากข้อมูลการศึกษา ประสบการณ์การทางาน และหน้าท่ี การงานของผู้เขียนที่รับผิดชอบ ซึ่งมักมีระบุไว้ในส่วนหนึ่งหรือส่วนท้ายของสารสนเทศ นอกจากนี้ยังควร พิจารณาถึงความน่าเชื่อถือของสถาบัน หรือหน่วยงานท่ีผลิตสารสนเทศ หรือหน่วยงานของเอกชน และ เป็นหน่วยงานท่ีมีช่ือเสียงหรือมีความเช่ียวชาญในสาขาวิชาท่ีนาเสนอสารสนเทศหรือไม่ เช่น เอกสารหรือ บทความเกย่ี วกบั โรคมะเร็งท่เี ขยี นโดยแพทย์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านมะเร็ง หรือผลิตโดยสถาบันมะเร็งก็ย่อมมี ความนา่ เชือ่ ถอื มากกว่าสถาบนั อ่นื เปน็ ต้น 4) ความทันสมัย (Currency) เป็นการพิจารณาถึงความทันสมัย ความทันต่อเวลา หรือ การปรบั ปรุงคร้งั ล่าสดุ และหลกี เลี่ยงการใชส้ ารสนเทศที่ไม่มีการปรับปรุงแก้ไขเป็นเวลานาน โดยปกติแล้ว หากสารสนเทศมีอายเุ กิน 5 ปแี ล้ว อาจไมท่ ันสมยั ทง้ั นขี้ ึ้นอยู่กับเรอ่ื งที่ต้องการด้วย กล่าวคือ หากเป็นเรื่อง ทางด้านเทคโนโลยี วิทยาศาสตร์ หรือการแพทย์ ท่ีมีความก้าวหน้าและความเปล่ียนแปลงอย่างรวดเร็ว ก็จาเป็นจะต้องใช้สารสนเทศที่เป็นปัจจุบันหรือทันสมัยที่สุด แต่หากเป็นเรื่องทางด้านประวัติศาสตร์ วรรณคดี ก็ไมจ่ าเป็นทีจ่ ะต้องมีความทันสมยั หรืออยู่ในปีที่เป็นปัจจุบัน ดังนั้นจึงควรพิจารณาความทันสมัย ของสารสนเทศให้เหมาะสมกบั ลกั ษณะเนอื้ หาของเร่อื งที่ต้องการ 5) ความครอบคลุม (Coverage) เป็นการพิจารณาว่าสารสนเทศนั้นมีความครอบคลุมใน หัวข้อที่ตอ้ งการค้นหามากน้อยเพียงใด ตรงตามวัตถุประสงค์ท่ีต้องการหรือไม่ เขียนให้นักวิชาการหรือคน ท่ัวไปอ่านให้ข้อมูลในเชิงลึกมากน้อยเพียงไร รวมท้ังให้ข้อมูลใหม่ ๆ เพิ่มเติมข้อมูลเดิมท่ีมีอยู่หรือไม่ ลักษณะของสารสนเทศเป็นอย่างไร เช่น สารสนเทศวิชาการ รายงานการประชุม ข่าว หรือโฆษณา ทั้งนี้ สามารถพิจารณาไดจ้ ากรายละเอยี ดในแตล่ ะหัวข้อของสารสนเทศ เช่น สารบัญ คานา บทนา วัตถุประสงค์ ดรรชนี สาระสงั เขป เปน็ ต้น เอกสารประกอบการเรียน รายวิชาการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 42
6) พิจารณาเนอื้ หาของสารสนเทศว่าอยู่ในระดับใด เป็นสารสนเทศปฐมภมู ิ ทุตยิ ภมู ิ หรือ ตติยภมู ิ 6.1) สารสนเทศปฐมภูมิ (Primary Information) มีความน่าเชื่อถือมากท่ีสุด เน่อื งจากเปน็ สารสนเทศที่ไดจ้ ากการศึกษาค้นคว้าโดยตรงของผู้เขยี นและตพี ิมพเ์ ผยแพรเ่ ปน็ ครง้ั แรก เชน่ ต้นฉบบั ตวั เขียน จดหมายสว่ นตัว รายงานการวิจยั วทิ ยานิพนธ์ สิง่ พิมพ์รัฐบาล สารสนเทศ ประเภทนถ้ี ือวา่ มีความน่าเช่ือถือควรนามาอ้างอิงมากที่สุด เพราะเป็นข้อมูลจริงที่ได้จากผู้เขียน และยังไม่ได้ผ่านการ เรียบเรยี งหรอื ปรบั แต่งใหม่จากบคุ คลอื่น 6.2) สารสนเทศทตุ ิยภมู ิ (Secondary Information) เป็นการนาสารสนเทศปฐม ภูมิมาเขียนใหม่ อธิบาย เรียบเรียง วิจารณ์ใหม่ให้เข้าใจง่ายเพ่ือให้เหมาะกับผู้ใช้สารสนเทศ หรือเป็น เคร่ืองมือชว่ ยคน้ หรอื ติดตามสารสนเทศปฐมภมู ิ เช่น หนังสือ บทความวารสาร บทคัดย่องานวจิ ัย และบท วจิ ารณห์ นังสือเป็นตน้ 6.3) สารสนเทศตตยิ ภมู ิ (Tertiary Information) เป็นการชแี้ นะแหล่งสารสนเทศ 2 ระดบั แรกทไี่ ม่ได้ให้เนอื้ หาสารสนเทศโดยตรงแตเ่ ป็นการชี้แนะแหล่งสารสนเทศปฐมภูมิ และ ทุติยภูมิ เช่น บรรณานุกรมดรรชนีวารสาร และสาระสงั เขปเนอ้ื หา 2. การประเมนิ สารสนเทศจากเว็บไซต์ 1) ตรวจสอบรายละเอยี ดเกยี่ วกับผู้รับผิดชอบจากหวั ข้อ เชน่ About the author/ About us เปน็ ต้น 2) ผ้รู บั ผิดชอบควรเป็นหน่วยงานของรฐั หรอื สถาบนั การศึกษา ซงึ่ มยี ูอาร์แอลที่ลงท้ายดว้ ย .edu, .gov, .org, .net เพราะย่อมมีความเช่อื ถอื มากกว่าเว็บไซต์ทเี่ กยี่ วขอ้ งกบั ธุรกิจ เช่น ยอู ารแ์ อลท่ีลงทา้ ยดว้ ย .com เปน็ ต้น 3) มกี ารอา้ งอิงทีม่ าของสารสนเทศหรอื ไม่ ทงั ้ สารสนเทศทเี่ ป็นเนอื้ หา ภาพ สือ่ มัลติมีเดีย หรือกราฟ 4) มโี ฆษณาที่เก่ยี วข้องกบั เนอื้ หาบนเว็บหรอื ไม่ หากมี อาจทาให้การนาเสนอสารสนเทศ มีความลาเอยี งได้ 5) มีการระบุวัตถุประสงคข์ องเวบ็ ไซตไ์ วช้ ดั เจนหรือไม่ ซ่งึ ดไู ดจ้ ากหัวขอ้ เช่น วิสยั ทัศน์ (Mission), วัตถปุ ระสงค์ (Purpose) เป็นตน้ 3. การประเมนิ คุณภาพเวบ็ ไซตข์ อ้ มลู สารสนเทศ ปจั จัยทีเ่ ป็นแนวทางในการตรวจสอบและประเมินคณุ ภาพเว็บไซต์ 9 ดา้ น มีดงั นี้ 1) ความทนั สมยั ความทนั สมยั ของเว็บไซต์ จัดเป็นหวั ขอ้ สาคญั ของการพฒั นาข้อมูลสารสนเทศผ่านระบบ อนิ เทอร์เน็ต เน่อื งจากข้อมลู สารสนเทศที่ปรากฏอยู่ในเว็บไซต์จะเป็นประโยชนต์ อ่ ผใู้ ชง้ านกเ็ มื่อข้อมูลนั้น เปน็ ขอ้ มูลที่ใหม่ ทันตอ่ สถานการณ์และได้รบั การปรับปรงุ แก้ไขตามระยะเวลาอยา่ งเหมาะสม 2) เน้ือหาและขอ้ มูล เว็บไซต์ต้องมีเน้ือหาและข้อมูลที่เป็นประโยชน์ เป็นสิ่งที่ตรวจสอบและวัดความเป็น เว็บไซต์ท่ดี ไี ดง้ ่าย รวมทัง้ สามารถประเมินคณุ ค่าของเวบ็ ไซต์ได้อยา่ งชดั เจน โดยเฉพาะถา้ เวบ็ ไซต์มีเน้ือหา ขอ้ มลู ท่ีตรงตามหลักสตู รและการเรียนการสอนของนกั ศึกษา หรอื ทาใหเ้ ปน็ เนอ้ื หาข้อมลู ประกอบการเรยี น ตามหลักสตู รและนา่ สนใจชวนติดตามย่อมเปน็ ประโยชน์ โดยเฉพาะอย่างย่งิ ถ้าเนื้อหาทีน่ าเสนอบนเวบ็ ไซต์ เป็นเนือ้ หาทห่ี าไมไ่ ดใ้ นห้องสมดุ ย่อมเป็นเน้ือหาที่มีคุณค่า นาไปใช้ประโยชน์ได้โดยตรง แสดงให้เห็นถึง ประโยชนข์ องระบบอินเทอรเ์ นต็ ไดอ้ ย่างชัดเจนว่าเป็นแหล่งเน้ือหาและข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ ที่แตกต่าง ออกไปจากแหลง่ เรยี นร้เู ดิมๆ อย่างห้องสมุด เน้อื หาทีน่ าเสนอนน้ั ย่อมมีความหมายและเป็นประโยชน์ เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรงุ พ.ศ. 2564 43
3) ความน่าเชอ่ื ถอื เว็บไซต์ท่ีมีคุณภาพไม่ใช่เพียงแต่ทันสมัย มีเน้ือหาและข้อมูลที่ดี ความน่าเช่ือถือ ตอ่ เว็บไซตเ์ ป็นเรือ่ งสาคัญในการจะนาเอาขอ้ มูลไปอา้ งองิ หรือใช้ประโยชน์ เพราะข้อมูลและเนื้อหาจะได้ ถูกนาไปใช้ประโยชน์ก็ด้วยเหตุผลท่ีว่าเว็บนั้นน่าเช่ือถือ เช่น ถ้าต้องการเร่ืองเก่ียวกับโรคติดต่อข้อมูล ท่นี า่ เชอ่ื ถอื ทสี่ ุดก็ควรเปน็ ข้อมลู ของกระทรวงสาธารณสขุ หรอื โรงพยาบาลตา่ ง ๆ นนั่ หมายความวา่ ผู้เข้า ไปใช้ประโยชนจ์ ากเวบ็ ก็จะพยายามหาข้อมูลจากเว็บท่ีเก่ียวข้องกับเร่ืองที่ต้องการ ทันสมัยและมีข้อมูล เนือ้ หาท่ีดี 4) การเชือ่ มโยงข้อมลู การประเมินเวบ็ ไซต์ท่ดี คี วรจะแสดงการเช่อื มโยงไปยังส่วนตา่ งๆ ในรปู แบบที่เข้าใจง่าย และอ่านไดอ้ ยา่ งชดั เจน การเช่อื มโยงภายในเว็บไซต์ จะมีชือ่ เรยี กวา่ ลิงก์ (Link) การลิงค์หรอื การเชือ่ มโยง นั้น ถ้าหนา้ แรกสามารถบอกไดว้ ่า เวบ็ ไซต์นน้ั มีการจดั การอย่างไร มเี งือ่ นไขในการเชื่อมโยงอย่างไร และ มหี ัวข้ออะไรที่จาเป็นต้องเชื่อมโยงไปบ้าง ลักษณะอย่างน้ีอาจจะมีหน้าพิเศษต่างหากที่เรียกว่าแผนภูมิ เวบ็ ไซต์ หรอื site map 5) การนาไปใชง้ านจริง เว็บเพจที่ดคี วรจะมีเน้ือหาเป็นไปตามวตั ถุประสงคท์ ี่กาหนดไว้ และมกี ารแสดงผลอย่าง รวดเร็ว ในเว็บเพจต้องทาให้ผู้เข้าชมรู้สึกว่าไม่เสียเวลา ไม่ไร้ประโยชน์หรือเว็บเพจไม่เป็นไปตาม วตั ถปุ ระสงค์ ผู้ออกแบบต้องคานึงเสมอว่า ในการนาไปใช้งานจริง ผู้สืบค้นข้อมูล หรือผู้เข้าชมเว็บเพจ ยอ่ มเขา้ มาเพ่อื คิดว่าเวบ็ เพจทจ่ี ัดทานั้นมวี ตั ถปุ ระสงคต์ ามหวั เรือ่ งของเว็บเพจ 6) ความเปน็ มัลติมเี ดีย ความเป็น มัลติมเี ดยี (multimedia) สาหรบั เว็บไซต์เป็นเร่ืองที่ค่อนข้างยาก เน่ืองจาก เวบ็ ไซตต์ ้องออนไลนอ์ ยู่ในระบบอินเทอร์เน็ต ในขอ้ จากดั ของแบนด์วิท และความเร็วในการเสนอจึงยาก ที่จะทาใหเ้ วบ็ ไซตแ์ ต่ละเวบ็ ไซตม์ ีความเปน็ มัลติมีเดยี ดงั นั้น องคป์ ระกอบทส่ี าคัญของความเปน็ มลั ตมิ ีเดีย ภายในเว็บไซต์ คอื เสยี ง ภาพ กราฟิก ภาพเคลอ่ื นไหว ควรสอดคลอ้ งกับเน้ือหาภายในเว็บ นอกจากนี้ควร จะเป็น มลั ตมิ เี ดยี ที่เพิ่มความสนใจใหผ้ ้เู ข้าชม ภาพเคลอื่ นไหวทีน่ าเสนอควรจะมีเวลาท่ีเหมาะสมและไม่ รบกวนเน้อื หา ภาพกราฟิกทใ่ี ช้ไมค่ วรมขี นาดใหญเ่ กนิ ไปสามารถแสดงผลหรือโหลดขน้ึ มาได้อย่างรวดเร็ว สิ่งที่ต้องทาความเข้าใจในความเปน็ มัลติมีเดียของเวบ็ ก็คอื เว็บไซต์ไมส่ ามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เข้าชมได้ ทันที เนอ่ื งจากการออกแบบเว็บไซต์ไม่สามารถทาให้ใช้เทคนิคหรือกระบวนการได้มากมายอย่างที่เป็น stand alone ภายในระบบดงั นั้นความเป็น มัลติมีเดีย ของเว็บไซต์ จึงหมายถึงการจัดทาภาพประกอบ เสียง ภาพเคลื่อนไหว ภาพวดี ีโอ หรอื ภาพน่ิง โดยเป็นการเสริมหรือเพิ่มให้เว็บไซต์มีคุณค่า และท่ีสาคัญ มัลตมิ ีเดีย ที่นามาใช้ต้องสอดคล้องกับเน้ือหา และเป็นประโยชน์ในการสร้างความเข้าใจให้กับผู้เข้าชม เว็บไซต์ 7) การใหข้ ้อมูล การให้ข้อมลู ภายในเว็บไซต์ ข้อมูลท่ีสาคญั ควรจะเข้าถงึ ไดง้ า่ ยและรวดเรว็ โดยไม่มีความ สลบั ซบั ซอ้ น แตก่ ารนาเสนอข้อมลู ควรมกี ารจดั รปู แบบและหมวดหมู่ของขอ้ มูลอย่างเป็นระบบ เพ่อื ให้งา่ ย ต่อการตรวจสอบและการใช้งานขอ้ มูล นอกจากน้ีข้อมูลท่ีใช้ควรมีเนื้อหาที่ทันสมัยทันต่อเหตุการณ์ โดย แสดงได้จากวันเวลาที่ปรับปรุง ขณะเดียวกันเม่ือจัดทาเว็บไซต์ตามวัตถุประสงค์แล้ว เว็บไซต์ควรจะ สอดคล้องกับกลมุ่ เปา้ หมายของเวบ็ ถ้าเว็บไซตน์ ้นั จดั ทาไดต้ รงกับกล่มุ เปา้ หมาย เช่น กลุ่มนักศึกษา หรือ วัยรนุ่ กจ็ ะทาให้เวบ็ นนั้ ได้รบั ความนิยม แสดงถงึ คุณภาพของผู้ดาเนนิ การจัดทา เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบบั ปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 44
8) การเข้าถึงข้อมลู สง่ิ ท่สี าคญั ทส่ี ุดกค็ ือ เวบ็ ไซตส์ ามารถแสดงผลข้อมลู ไดอ้ ย่างรวดเรว็ เม่ือผูใ้ ช้เขา้ สูเ่ วบ็ ไซต์ หมายถึง เมื่อผู้ใช้ต้องการเข้าสู่เว็บไซต์โดยการพิมพ์ที่อยู่ของเว็บเช่น URL หรือโดเมนเนม (Domain Name) แล้วกดป่มุ Enter การแสดงผลของหน้าแรกจะตอ้ งปรากฏอย่างรวดเรว็ โดยไมเ่ สยี เวลานานจะทาให้ ผใู้ ชร้ ูส้ ึกพึงพอใจ แต่ถ้าเวบ็ ใดออกแบบให้มีกราฟิก ภาพเคลื่อนไหว และเน้ือหาจานวนมาก เว็บนั้นก็จะ แสดงผลไดช้ ้า กจ็ ะทาใหผ้ ้ใู ชร้ อและเบือ่ หนา่ ย การใหผ้ ใู้ ช้รอบา้ งยอ่ มรับได้ แต่ถ้าผู้ใช้รอนานเกินไปก็อาจ เบอื่ หน่ายและเปลยี่ นไปเว็บอน่ื ในที่สุดการเข้าถงึ ขอ้ มูลในเวบ็ ไซต์นอกจากจะแสดงผลรวดเร็วแล้ว เว็บไซต์ ควรหาได้สะดวกจากเว็บประเภทสืบค้นข้อมูลหรือ Search Engine หรือเว็บได้ Add URL เอาไว้ใน Search Engineเช่น Google หรือ Yahoo ถา้ เป็นในประเทศไทยก็เชน่ Sanook, Sansarn กจ็ ะทาให้ผู้ใช้ สามารถสบื คน้ จากเครอื่ งมอื สบื ค้นได้รวดเรว็ การโหลดของเวบ็ ได้อยา่ งรวดเรว็ ทาใหเ้ สยี เวลาน้อยลงในการ ค้นหาข้อมูล เว็บไซต์ท่แี สดงผลจากการค้นหาได้รวดเรว็ ยอ่ มเปน็ ที่นยิ มของผใู้ ชเ้ พราะคน้ เจอเสมอแสดงว่า เข้าถึงข้อมลู ได้รวดเร็ว 9) ความหลากหลายของข้อมลู ประเดน็ สาคญั ในสว่ นของขอ้ มูลก็คอื เวบ็ ควรมีความหลากหลายและมีเร่ืองท่ีเป็นประโยชน์ หลายๆ เร่ือง มคี วามนา่ เชอื่ ถือและตรวจสอบขอ้ มลู ได้ ขอ้ มูลนน้ั กจ็ ะไดค้ วามนิยมและแนะนากนั ให้เข้ามา ชมอกี กรณีท่เี ว็บมขี ้อมลู ไมม่ ากมายนัก แตเ่ ว็บมีข้อมลู สาคัญเพียงพอไม่ยาวเกินไป ไม่สนั้ มากเกินไป ใช้ ประโยชนไ์ ดเ้ หมาะสม สรุปได้ว่า การดาเนินชีวิตประจาวันสารสนเทศมีความสาคัญนานับประการในการแก้ปัญหา การตดั สินใจ ซ่งึ จาเปน็ ตอ้ งใชส้ ารสนเทศทถี่ กู ตอ้ งทันเหตุการณ์ ทง้ั ดา้ นการศกึ ษา การวิจยั การดาเนินชวี ติ รวมถงึ ด้านวทิ ยาการและเทคโนโลยี การประเมินสารสนเทศจงึ เป็นสิง่ จาเปน็ อยา่ งยิง่ ในการพฒั นาคณุ ภาพ ชีวิตให้เกิดความรู้ความสามารถ ทักษะและกระบวนการอันเป็นประโยชน์ในการพัฒนาการเรียนรู้ทุก รปู แบบ การวเิ คราะหส์ ารสนเทศ การวเิ คราะห์สารสนเทศ หมายถงึ การพิจารณาแยกแยะสารสนเทศแต่ละสว่ นท่ีประกอบกันเปน็ เร่ืองหรือหัวข้อ โดยเลือกเฉพาะประเด็นท่ีมีลักษณะเนื้อหาและคุณสมบัติตรงตามความต้องการ 1. วตั ถุประสงค์ของการวิเคราะหส์ ารสนเทศ 1) ให้รวู้ ่าสารสนเทศมลี กั ษณะเน้ือหาใด ตรงตามความต้องการหรอื ไม่ 2) นาสารสนเทศทง้ั เรือ่ ง หรอื ทกุ เร่ืองทีส่ บื ค้นไดไ้ ปสรุป หรือทาสาระสงั เขปเนอ้ื หา เพอ่ื ให้สามารถนาไปใชไ้ ด้โดยสะดวก และเขา้ ใจง่าย 3) เขียนวจิ ารณ์ หรอื บรรณนทิ ศั น์ของเร่ืองทอ่ี ่าน 4) กาหนดคาเพ่ือเป็นเครื่องมือชว่ ยค้นหา เช่น ดรรชนี คาสาคัญ เปน็ ตน้ 2. หลกั การวเิ คราะห์สารสนเทศ 1) สารสนเทศประเภทสิ่งพิมพ์ ให้ตรวจสอบรายละเอยี ดทางบรรณานุกรม เชน่ ประเภทส่งิ พิมพ์ชอื่ ผูแ้ ต่ง ชอื่ เรอ่ื ง ชื่อบทความ ภาษา ปที ีพ่ ิมพ์ หัวเรื่อง และคาสาคญั เป็นต้น 2) สารสนเทศท่ไี ด้จากข่าวหนงั สือพมิ พ์ ตรวจสอบหัวข้อข่าวท่ีเดน่ ที่สุด เน้อื เร่อื งตรงกบั วตั ถปุ ระสงค์ของหน่วยงานหรือไม่ 3) สารสนเทศทไ่ี ดจ้ ากการสืบคน้ ฐานข้อมูล ตรวจสอบรายละเอยี ดบรรณานกุ รม คาสาคญั สาระสังเขป 4) สารสนเทศทีไ่ ด้จากเว็บไซต์ ตรวจสอบวา่ เนื้อหาถูกต้องหรอื ไม่ และมคี วามน่าเชื่อถอื หรือไมเ่ พยี งใด หนว่ ยงานใดรบั ผดิ ชอบ วันท่ปี รับปรุงข้อมูลลา่ สดุ เมื่อใด เอกสารประกอบการเรียน รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 45
3. องค์ประกอบของสถิติท่ีใชใ้ นการวิเคราะห์สารสนเทศ สถติ ปิ ระกอบดว้ ย 2 องคป์ ระกอบ ดงั นี้ 1) สถิตเิ ชิงพรรณนา (Descriptive Statistics) เป็นวธิ ีการทางสถติ เิ พือ่ ใช้ในการพรรณนาหรือบรรยายลักษณะของสิ่งที่ศึกษา เพื่อให้ เข้าใจถงึ ลักษณะของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมาได้ จะพรรณนาภายในขอบเขตของข้อมูลท่ีเก็บรวบรวมมา เทา่ นัน้ ไมส่ ามารถจะคาดคะเนลกั ษณะตา่ ง ๆ ออกไปนอกเหนือจากข้อมูลที่มีอยู่ได้ หรือไม่มีการอ้างอิง หรืออนุมานไปถึงกลุ่มอื่น หากผู้วิจัยสามารถศึกษาทุกหน่วยของประชากรได้ ก็จะใช้สรุปหรือบรรยาย ลกั ษณะของประชากรท่ีศึกษา หากผู้วิจัยไม่สามารถศึกษาสมาชิกทุกหน่วยของประชากรได้ สุ่มสมาชิก เพยี งบางส่วนมาศกึ ษา(ศึกษาจากกลมุ่ ตัวอย่าง) กจ็ ะใช้สรปุ หรือบรรยายเฉพาะกลุ่มตัวอยา่ งที่สุ่มมาศึกษา เท่านน้ั 2) สถติ ิเชิงอา้ งองิ หรือสถติ อิ นุมาน (Inferential Statistics) เป็นวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการสรุปลักษณะของประชากร จากผลการศึกษาข้อมูล ในกลุ่มตัวอย่าง โดยอาศัยทฤษฎีความน่าจะเป็นในการอนุมานลักษณะประชากร โดยศึกษาจากกลุ่ม ตัวอย่าง แต่อ้างอิงหรืออนุมานไปถึงประชากร ประกอบด้วย 2 องค์ประกอบ คือ การประมาณ ค่าพารามเิ ตอร์ (Parametric Estimation) และการทดสอบสมมติฐาน (Testing Hypothesis) การสงั เคราะหส์ ารสนเทศ การสังเคราะหส์ ารสนเทศ หมายถึง การศกึ ษาสารสนเทศในเรื่องเดียวกนั จากสารสนเทศต่าง ๆ ทเี่ ก่ยี วขอ้ งแล้วนามาวเิ คราะหห์ าสารสนเทศโดยการตีความ (Interpretation) ให้ทาความเข้าใจ สารวจ ตรวจสอบสารสนเทศท่ีมีอยู่และท่ีเก่ียวข้อง เพื่อสรุปประเด็นเนื้อหาอย่างเป็นระบบให้ได้คาตอบตามที่ ตอ้ งการและสามารถอภปิ รายใหก้ บั บุคคลอนื่ ได้ โดยมีหลกั การสังเคราะหส์ ารสนเทศ ดงั นี้ 1) คัดเลือกสารสนเทศ วิเคราะห์เนื้อหา กาหนดขอบเขตและข้ันตอนการนาเสนอ สารสนเทศ 2) รวบรวมสารสนเทศตน้ ฉบับทมี่ กี ารอา้ งอิงรายการทางบรรณานกุ รมอย่างถูกต้อง 3) เขยี นตามแผนท่ีกาหนดอย่างสรา้ งสรรค์และใชส้ านวนของตนเองดว้ ยภาษาท่ถี ูกต้อง 4) ประเมินผลดว้ ยตวั เอง พร้อมรบั ฟงั ขอ้ วจิ ารณเ์ พือ่ ปรับปรุงแก้ไข และสร้างสรรคง์ านใหม่ เอกสารประกอบการเรยี น รายวชิ าการศึกษาคน้ คว้าด้วยตนเอง (IS1) ฉบับปรบั ปรุง พ.ศ. 2564 46
Search