Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore traditionel+Isarn

traditionel+Isarn

Published by nonsila.pun, 2017-06-19 02:56:22

Description: traditionel+Isarn

Search

Read the Text Version

ขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอีสาน ฮีตสิบสอง คลองสิบสี่ เป็นขนบธรรมเนียมประเพณีของชาวอีสานทปี่ ฏิบตั สิ ืบตอ่ กนัมาจนถึงปัจจุบนั ซ่ึงเป็ นวฒั นธรรมแสดงถึงความเป็นชาตเิ ก่าแก่และเจริญรุ่งเรืองมานานเป็นเอกลกั ษณ์ของชาตแิ ละทอ้ งถิ่น และมีส่วนช่วยใหช้ าติดารงความเป็นชาตขิ องตนอยู่ตลอดไป ฮีตสิบสอง มาจากคาสองคาไดแ้ ก่ ฮีต คือคาวา่ จารีต ซ่ึงหมายถึง ความประพฤติธรรมเนียม ประเพณี ความประพฤติทดี่ ี และ สิบสอง หมายถึง สิบสองเดือน ดงั น้นั ฮีตสิบสองจึงหมายถึงประเพณีที่ประชาชนในภาคอีสานปฏบิ ตั กิ นั มาในโอกาสตา่ ง ๆ ท้งั สิบสองเดือนของแตล่ ะปี เป็นการผสมผสานพิธีกรรมที่เก่ียวกบั เร่ืองผีและพธิ ีกรรมทางการเกษตรเขา้ กบั พิธีกรรมทางพุทธศาสนา [1] นกั ปราชญโ์ บราณไดว้ างฮีตสิบสองไวด้ งั น้ี 1. เดือนอา้ ย - บุญเขา้ กรรม 2. เดือนยี่ - บุญคูณลาน 3. เดือนสาม - บญุ ขา้ วจี่ 4. เดือนส่ี - บุญพระเวส 5. เดือนหา้ - บญุ สงกรานต์ 6. เดือนหก - บุญบ้งั ไฟ 7. เดือนเจด็ - บญุ ซาฮะ 8. เดือนแปด - บุญเขา้ พรรษา 9. เดือนเกา้ - บญุ ขา้ วประดบั ดิน 10.เดือนสิบ - บญุ ขา้ วสาก 11.เดือนสิบเอด็ - บญุ ออกพรรษา 12.เดือนสิบสอง - บุญกฐิน

ฮีตสิบสอง-คลองสิบส่ี ฮีตสิบสองฮีตสิบสองมาจากคา 2 คา คือ ฮีต กบั สิบสองฮีตมาจากคาวา่ จารีต หมายถึงส่ิงท่ีปฏิบตั ิสืบต่อกนั มาจนกลายเป็นประเพณีที่ดีงามชาวอีสาน เรียกว่า จาฮีต หรือฮีต สิบสอง หมายถึงเดือนท้งั 12 เดือนในหน่ึงปี ฮีตสิบสอง จึงหมายถึงประเพณีที่ประชาชนชาวอีสานไดป้ ฏิบตั ิสืบต่อกนัมาในโอกาสต่างๆ ท้งั สิบสองเดอื นในแต่ละปี ประเพณีท้งั สิบสองเดือนท่ีชาวอีสานถือปฏิบตั ิกนั มาน้นั ลว้ นเป็นประเพณีที่ส่งเสริมให้คนในชุมชน ไดอ้ อกมาร่วมกิจกรรมพบปะสงั สรรคก์ นั เพ่ือความสนุกสนานร่ืนเริงและเพอื่ ความสมานสามคั คีมีความรักใคร่กนั ของคนในทอ้ งถิ่นซ่ึงเป็นการสืบทอดส่ิงที่ดีงามมาจวบจนปัจจุบนั ประเพณีอีสานส่วนใหญ่จะมีเอกลกั ษณ์แตกตา่ งจากประเพณีภาคอื่นๆ(อาจคลา้ ยคลึงกบั ประเพณีของทางภาคเหนือบา้ งเพราะมีที่มาคอ่ นขา้ งใกลช้ ิดกนั )ประเพณีอีสานไดร้ ับอทิ ธิพลมา จากวฒั นธรรมลา้ นชา้ ง(แถบหลวงพระบางประเทศลาว)จึงจะเห็นไดว้ ่าประเพณีของชาวอีสานและชาวลาวมีความคลา้ ยกนั เพราะมีท่ีมาเดียวกนั และชาวอีสานและชาวลาวก็ไปมาหาสู่กนเป็นประจาเย่ยี งญาติพ่ีนอ้ งทาใหม้ ีการถา่ ยเทวฒั นธรรมระหว่างกนั ดว้ ย ฮีตสิบสองได้แก่ เดอื นอ้าย(เดือนเจียง)-บุญเข้ากรรม บญุ เขา้ กรรมเป็นกิจกรรมของสงฆ์ เม่ือถึงเดือนอา้ ยพระสงฆจ์ ะตอ้ งเขา้ กรรม ซ่ึงเป็น พิธีท่ีเรียกว่าเขา้ ปริวาสกรรม\" โดยให้พระภิกษุผตู้ อ้ งอาบตั ิ(กระทาผดิ ) ไดส้ ารภาพตอ่ หนา้ คณะสงฆ์ เพื่อเป็นการฝึกจิตสานึกถึงความบกพร่องของตนเอง และมงุ่ ประพฤติตนใหถ้ ูกตอ้ งตามพระวินยั พิธีเขา้ปริวาสกรรมจะเป็นขา้ งข้ึนหรือขา้ งแรมก็ได้ โดยกาหนดไว9้ ราตรี พระภิกษุสงฆท์ ี่ตอ้ ง การเขา้ ปริวาสกรรมตอ้ งไปพกั อยใู่ นสถานที่สงบ ไม่มีผคู้ นพลกุ พลา่ น(อาจจะเป็นบริเวณวดั กไ็ ด้ โดยมีกฏุ ิชว่ั คราวเป็นหลงั ๆพระภิกษสุ งฆท์ ี่เขา้ ปริวาสกรรมคราวหน่ึงๆ จะมีจานวนเทา่ ใดก็ไดแ้ ตต่ อ้ งบอกไวก้ ่อนวา่ตนเองจะเขา้ กรรม และเมื่อถึงเวลาออกกรรมจะมีพระสงฆ์ 20 รูปมารับออกกรรม พิธีทาบุญเขา้ กรรมหรือเขา้ ปริวาสกรรมของพระภิกษุสงฆน์ ้ีไม่ถือวา่ เป็นการลา้ งบาป แต่จะถือว่าเป็นการปวารณาตนวา่จะไม่กระทาผิดอีก ส่วนกิจของชาวพทุ ธศาสนิกชนในบญุ เขา้ กรรมน้ี คือการหาขา้ วของเครื่องอปุ โภคบริโภถวายพระ ซ่ึงถือวา่ จะไดบ้ ญุ มากกวา่ การทาบญุ ตกั บาตรทวั่ ไป เดอื นยี่-บุญคณู ลาน การทาบญุ คูณลานจะทากนั เมื่อไดเ้ ก็บเกี่ยวขา้ วแลว้ ชาวอีสานจะเห็นความสาคญั ของขา้ วเป็นอยา่ งมากในพิธีน้ีจะมีการนิมนตพ์ ระสงฆไ์ ปเทศน์ที่ลานนวดขา้ ว (ลานนวดขา้ วของชาวอีสานในสมยั ก่อนมกั จะทาข้ึนในลานขา้ งบา้ นหรือขา้ งทุ่งนาและมกั จะให้มูลของความมาลาดพ้ืนแลว้ ตากให้แหง้ จะไดพ้ ้ืนท่ีเรียบ)มีการทาบญุ ตกั บาตรเล้ียงพระประพรมน้าพระพทุ ธมนตแ์ ก่ชาวบา้ น ลานนวด

ขา้ ว ที่นา ตน้ ขา้ ว และบริเวณใกลล้ านนวดขา้ ว ถือว่าเป็นสิริมงคลแก่การเกษตรกรรม ทาใหข้ า้ วในนาอุดมสมบรู ณ์ ซ่ึงเชื่อวา่ เจา้ ของจะอยเู่ ยน็ เป็นสุข ฝนจะตกตอ้ งตามฤดกู าล ขา้ วกลา้ จะงอกงามและไดผ้ ลดีในปี ตอ่ ไป เม่ือเสร็จพิธีทาบุญคณู ลานแลว้ ชาวบา้ นจึงจะขนขา้ วใส่ยงุ้ และเชิญขวญั ขา้ วคือพระแมโ่ พสพไปยงั ยงุ้ ขา้ วและทาพิธีสู่ขวญั ขา้ วสู่ขวญั เลา้ ขา้ ว (ฉางขา้ ว)เพ่ือเป็นสิริมงคลตอ่ ไปประเพณีปัจจุบนั แทบจะหาดูไมไ่ ดแ้ ลว้ เพราะชาวอีสานไดท้ านากนั นอ้ ยลง และนาเอาเทคโนโลยีสมยั ใหมเ่ ขา้ มาใช้ เช่นการใชเ้ คร่ืองนวดขา้ วแทนการนวดดว้ ยมือหรือใชส้ ตั วน์ วด(ทาให้ไม่ตอ้ งมีลานนวดขา้ ว) เดอื นสาม-บุญข้าวจี่ บญุ ขา้ วจี่เป็นการทาบญุ ในช่วงเทศกาลวนั มาฆบูชา ชาวบา้ นจะมาร่วมกนั ทาบญุ ตกั บาตรในตอนเชา้ ตอนค่าจะมีการเวียนเทียนรอบพระอโุ บสถ ซ่ึงการทาบญุ ขา้ วจ่ีน้ีชาวบา้ นอาจจะไปรวมกนั ท่ีวดั หรือต่างคนต่างจดั เตรียมขา้ วจ่ีไปเองแลว้ นาไปถวายพระภิกษุสามเณรที่วดั มีการไหว้พระรับศีลพระสงฆส์ วดพระพุทธมนตแ์ ละตกั บาตรดว้ ยขา้ วจี่ แลว้ ยกไปถวายพร้อมภตั ตาหารอื่นๆเมื่อพระฉนั เสร็จแลว้ มีการฟังเทศน์ฉลองขา้ วจี่และรบั พร ซ่ึงมูลเหตุท่ีมีการทาบุญขา้ วจี่ เนื่องมาจากสมยั พุทธกาลมีนางทาสชื่อปณุ ณทาสีไดน้ าแป้ งขา้ วจี่(แป้ งทาขนมจีน) ไปถวายพระพทุ ธเจา้ แต่จิตใจของนางก็คิดวา่ ขนมแป้ งขา้ วจี่เป็นเพียงขนมของทาสที่ต่าตอ้ ย พระพทุ ธองคค์ งไม่ฉนั ซ่ึงพระพทุ ธเจา้ทรงหยงั่ รู้จิตใจของนาง จึงทรงฉนั แป้ งขา้ วจ่ีต่อหนา้ นาง ทาให้นางเกิดความปิ ติดีใจชาวอีสานจึงได้แบบอยา่ งในการทาแป้ งขา้ วจี่น้ีและพากนั ทาบญุ ขา้ วจ่ีถวายพระมาโดยตลอด โดยเฉพาะในช่วงเดือนสามจะมีการทาขา้ วจ่ีถวายพระมาจวบจนปัจจุบนั (การทาขา้ วจี่ของชาวอีสานในชว่ งเดือน 3 น้นั เป็นช่วงที่อากาศหนาวเยน็ ดงั น้นั การจ่ีขา้ วในชว่ งน้ีชาวบา้ นกจ็ ะไดร้ ับไออุ่นจากการนง่ั ลอ้ งวงกนั จ่ีขา้ วอีกดว้ ย) การทาขา้ วจ่ีของชาวอีสานน้นั ปัจจุบนั ส่วนใหญ่จะใชข้ า้ วเหนียวที่น่ึงสุกแลว้ มาป้ันเป็นกอ้ นแลว้ นาไปยา่ งบนไปออ่ นๆบางคนอาจใชไ้ ข่เหลืองทาเพื่อใหม้ ีสีที่น่ารับประทาน หรือใส่น้าออ้ ยที่ใส้ขา้ วจ่ี จ่ี ภาษาอีสานหมายถึง ปิ้ งหรือยา่ ง เดอื นสี่-บุญผะเหวด (บุญพระเวสสนั ดรหรือบุญมหาชาติ) คาว่าผะเหวด เป็นสาเนียงของชาวอีสาน ที่มาแผลงมาจากคาว่า พระเวส ซ่ึงหมายถึง พระเวสสนั ดร การทาบุญผะเหวด เป็นการทาบุญและฟังเทศนเ์ รื่องพระเวสสนั ดรชาดกหรือเทศน์ มหาชาติซ่ึงมีจานวน 13 กณั ฑ์ ท้งั น้ีเพี่อเป็นการราลึกถงึ พระเวสสนั ดรผซู้ ่ึงบาเพญ็ เพียรอนั ยิ่งใหญด่ ว้ ยวิธีบริจาคทานหรือทานบารมีในชาติสุดทา้ ย หรือมหาชาติของพระพุทธองคก์ อ่ นท่ีจะมาเสวยชาติและตรัสรู้เป็นพระพทุ ธเจา้ งานบุญผะเหวดเป็นงานบุญท่ียิง่ ใหญข่ องชาวอีสานนิยมทากนั ทกุ หมูบ่ า้ น ดว้ ยความเชื่อวา่ หากไดฟ้ ังเทศนม์ หาชาติครบท้งั 13 กณั ฑจ์ บภายในวนั

เดียวน้นั อานิสงฆจ์ ะดลบนั ดาลใหไ้ ปเกิดในศาสนาของพระศรีอาริยเมตไตรย ซ่ึงเป็นดินแดนแห่งความสุขตามพทุ ธคติ ปัจจุบนั งานบุญผะเหวดยงั หาดไู ดท้ วั่ ไปเกือบทุกจงั หวดั ในภาคอีสาน แตไ่ ดล้ ดความใหญโ่ ตของงานลงบา้ ง ไม่ใชเ่ ป็นงานที่ยงิ่ ใหญ่เหมือนในอดีต แต่ก็ยงั มีบางจงั หวดั ท่ีไดจ้ ดั งานน้ีอยา่ งยิ่งใหญ่ เชน่ ที่จงั หวดั ร้อยเอด็ ถือเป็นงานประเพณีของจงั หวดั ภายในงานจะมีขบวนแห่พระเวสสนั ดรหลายขบวน และมีการทาขนมจีน(ชาวอีสานเรียกขา้ วป้ นุ )มากมายมาเล้ียงแขกบา้ นแขกเมือง เดอื นห้า-บุญสงกรานต์ เป็นการทาบุญวนั ข้ึนปี ใหม่ของไทยแตโ่ บราณ นิยมทาในเดือนหา้ เร่ิมต้งั แตว่ นั ที่ 13เมษายนถึงวนั ที่ 15 เมษายน คาว่าสงกรานตเ์ ป็นคาสนั กฤต แปลว่า ผา่ นหรือเคล่ือนยา้ ยเขา้ ไปในที่น้ีหมายถึงพระอาทิตยท์ ่ีผา่ น หรือเคลื่อนยา้ ยเขา้ ไปในจกั รราศีหน่ึงเป็นเดอื นที่เริ่มตน้ ปี ใหม่ การทาบุญสงกรานตจ์ ะมีพิธีสรงน้าพระพุทธรูป พระสงฆ์ ผใู้ หญ่ ผเู้ ฒา่ ผแู้ ก่รวมท้งั จะมีการทาพิธีบายศรีสู่ขวญัพระพทุ ธรูปและพระสงฆ์ ตามละแวกหม่บู า้ นต่างๆ นอกจากน้ีชาวบา้ นจะทาบุญตกั บาตรก่อพระเจดียท์ ราย และมีการละเลน่ สาดน้ากนั อยา่ งสนุกสนานตลอดท้งั 3วนั และบางหม่บู า้ นจะมีการแห่พระพทุ ธรูปไปรอบๆหม่บู า้ นเพ่ือให้ชาวบา้ นไดส้ รงน้ากนั อยา่ งทวั่ ถึงปัจจุบนั งานบุญสงกรานตข์ องชาวอีสานไดเ้ ปลี่ยนไปจากเดิมเป็นอยา่ งมากในตวั เมืองใหญๆ่ มกั มีการเล่นน้ากนั อยา่ งรุนแรง มีการใช้แป้ งน้าแขง็ หรือสีดว้ ยแตป่ ระชาชนอีสานในชนบทโดยเฉพาะคนเฒ่าคนแก่ยงั คงรักษขนบธรรมเนียมแบบด้งั เดิมไว้ คอื มีการสรงน้าพระพทุ ธรูปท้งั ท่วี ดั และพระพทุ ธรูปที่บา้ น พระสงฆจ์ ากน้นั จะไปสรงน้าขอพรจากคนเฒ่าคนแก่ท่ีตวั เองใหค้ วามเคารพ พอ่ แม่ ญาติผใู้ หญ่ ฯลฯในช่วงงานน้ีชาวอีสานท่ีไปทางานตา่ งถ่ินจะกลบั บา้ นเพ่ือร่วมทาบญุ และพบปะกบั ญาติพี่นอ้ ง เดอื นหก-บุญบ้ังไฟ หากกล่าวถึงบุญบ้งั ไฟแลว้ คนส่วนใหญ่คงจะนึกถึงจงั หวดั ยโสธรหรืออุดรธานี ซ่ึงมีการจดังานน้ีอยา่ งย่ิงใหญ่ การทาบุญบ้งั ไฟเป็นงานสาคญั อีกงานของชาวอีสานโดยจดั กนั ก่อนฤดูทานา ดว้ ยความเช่ือวา่ เป็นการขอฝนเพ่ือให้ฝนตกตอ้ งตามฤดกู าล ขา้ วกลา้ ในนาขา้ วอดุ มสมบรู ณ์ ประชาชนอยู่อยา่ งมีความสุข ในงานจะมีการแห่บ้งั ไฟและจุดบ้งั ไฟ เพราะเชอ่ื วา่ เป็นการส่งสญั ญาณข้ึนไปบอกพญาแถนให้ส่งน้าฝนลงมา ระหว่างท่ีมีการจุดบ้งั ไฟชาวบา้ นจะมีการเซิ้งซ่ึงจะสนุกสนานมาก และการทาบญุ บ้งั ไฟน้ีนบั เป็นการชมุ นุมคร้ังสาคญั ของคนในทอ้ งถิ่น ที่มาร่วมกนั จดั งานดว้ ยความร่ืนเริงสนุกสนานเตม็ ท่ีมีการพดู จาลามกหรือนาสญั ลกั ษณ์เร่ืองเพศมาลอ้ เลียนในขบวนแห่บ้งั ไฟ โดยไมถ่ ือว่าเป็นเรื่องหยาบคายการ และมีการประลองบ้งั ไฟกนั วา่ บ้งั ไฟใครจะข้ึนสูงกว่ากนั ส่วนบ้งั ไฟใครท่ีจุดแลว้ ไม่ข้ึนจะมีการทาโทษดว้ ยการจบั เจา้ ของบ้งั ไฟไปโยนบอ่ โคลน งานบญุ บ้งั ไฟน้ีจะตรงกบัประเพณีในเทศกาลเดือนหกอีกอยา่ งหน่ึงคือบุญวนั วิสาขบูชา ชาวบา้ นจะทาบุญและฟังเทศน์กนั ใน

ตอนกลางวนั กลางคืนจะมีการเวียนเทียน ซ่ึงกท็ าเชน่ เดียวกบั ประชาชนในภาคอ่ืนๆ ปัจจุบนั งานบญุบ้งั ไฟยงั หาดไู ดท้ ว่ั ไปในจงั หวดั ภาคอีสาน ซ่ึงจะมีการจดั งานต้งั แต่งานเลก็ ๆไปจนถึงงานระดบัจงั หวดั จงั หวดั ท่ีมีการจดั งานใหญโ่ ตจนเป็นที่รู้จกั กนั ทวั่ คือจงั หวดั ยโสธรและจงั หวดั อดุ รธานี เดอื นเจด็ -บุญซาฮะ ซาฮะ เป็นภาษาอีสานหมายถึง การทาความสะอาด เหมือนกบั คาภาษาไทยกลางว่า ชาระประเพณีน้ีเป็นการทาบญุ เพื่อชาระลา้ งสิ่งท่ีไม่ดีเป็นเสนียดจญั ไร อนั จะทาใหเ้ กิดความเดือดร้อนแก่บา้ นเมือง ซ่ึงถือว่าเป็นการปัดเป่ าความชวั่ ร้ายใหอ้ อกจากหมูบ่ า้ น การทาบุญซาฮะน้ีชาวบา้ นจะพากนัเก็บกวาดบา้ นเรือนใหเ้ รียบร้อย เป็นการทาความสะอาดคร้ังยงิ่ ใหญ่ในรอบปี สิ่งท่ีไม่ดี ท้งั หลายให้ขจดั ออกไป เพ่ือความเป็นอยทู่ ี่ดีของทุกคนในหมูบ่ า้ นมลู เหตุท่ีมีการทาบญุ ซาฮะเนื่องมาจากในสมยัพทุ ธกาลมีโรคห่า (อหิวาตกโรคระบาดมีผคู้ นลม้ ตายกนั เป็นจานวนมาก พระพุทธเจา้ จึงไดเ้ สดจ็ มาโปรดทาใหเ้ กิดฝนห่าใหญ่มาชาระบา้ นเมือง) มีการสวดปัดรังควานและประพรมน้ามนตต์ ามหมู่บา้ นและชาวบา้ นเพื่อเป็นสิริมงคลดว้ ย การจดั งานบุญน้ีเพ่ือเป็นการระลึกถึงผมู้ ีพระคุณในการท่ีจะทาให้บา้ นเมืองสงบสุข เดอื นแปด-บุญเข้าพรรษา การเขา้ พรรษาเป็นกิจของพระภิกษุสามเณรที่จะตอ้ งอยปู่ ระจาในวดั ใดวดั หน่ึงตลอด 3เดือน กาหนดเอาต้งั แต่วนั แรม 1 ค่าเดือนแปดถึงวนั ข้ึน 15 ค่าเดือน 11 ห้ามมิใหพ้ ระภิกษสุ ามเณรไปพกั แรมคืนท่ีอื่น เน่ืองจากฤดนู ้ีเป็นฤดแู ห่งการเกษตรกรรม การห้ามพระภิกษสุ ามเณรเดินทางดว้ ยเหตุผลส่วนหน่ึงอาจมาจาก การไม่ตอ้ งการให้พระภิกษุสามเณรไปเยยี บย่าพืชผลที่ชาวบา้ นได้เพาะปลูกไว้ การทาบญุ เขา้ พรรษาเป็นประเพณีทางศาสนา โดยตรงจึงคลา้ ยกบั ภาคอ่ืนๆในประเทศไทย ในพิธีจะมีการทาบุญตกั บาตรถวายภตั ตาหารแด่พระภิกษุสามเณร มีการฟังธรรมเทศนา ชาวบา้ นจะหล่อเทียนใหญ่ไวถ้ วายเป็นพทุ ธบชู า และจะเก็บไวต้ ลอดพรรษาการทาเทียนถวายวดั ในชว่ งเทศกาลเขา้ พรรษาน้ีมีความเชื่อแต่โบราณวา่ หากใครทาเทียนไปถวายวดั เม่ือเกิดชาติใหม่ผนู้ ้นั จะได้เสวยสุขในสวรรค์ อานิสงส์ของการถวายเทียนน้นั หากมิไดข้ ้ึนสวรรคแ์ ตเ่ กิดบนโลกมนุษย์ ผนู้ ้นั จะมีความเฉลียวฉลาด มีสติปัญญาไหวพริบเลิศเลอ ประดุจแสงเทียนอนั สวา่ งไสว ปัจจุบนั เกือบทกุจงั หวดั ในภาคอีสานไดจ้ ดั ให้มีงานแห่เทียนเขา้ พรรษา โดยนาเทียนมาแกะสลกั อยา่ งสวยงามประกอบกนั เป็นเร่ืองราว แลว้ จดั แห่รอบหมู่บา้ นหรือตวั เมืองก่อนนาไปถวายวดั จงั หวดั ท่ีมีการจดั งานยงิ่ ใหญ่คือ จงั หวดั อบุ ลราชธานีและจงั หวดันครราชสีมา ซ่ึงจะมีขบวนแห่เทียนพรรษาท่ีไดแ้ กะสลกั อยา่ งวจิ ิตรบรรจงไปรอบตวั เมือง เพอ่ื ให้ประชาชนและนกั ทอ่ งเที่ยวไดช้ มความงดงามของเทียนเขา้ พรรษา และยงั ไดป้ ระกวดขบวนแห่เทียน

พรรษาดว้ ย งานแห่เทียนเขา้ พรรษาของจงั หวดั อบุ ลราชธานี ถือเป็นงานท่ีสาคญั งานหน่ึงของประเทศมีนกั ทอ่ งเท่ียวจากทว่ั ทุกภาค และจากตา่ งประเทศมารอชมความงดงามของเทียนพรรษามากมาย เดอื นเก้า-บุญข้าวประดบั ดนิ บุญขา้ วประดบั ดินเป็นการทาบญุ เพ่ืออุทศิ ส่วนกุศลใหแ้ ก่ญาติมิตรที่ลว่ งลบั ไปแลว้ ซ่ึงจะจดั ข้ึนวนั แรม 14 ค่าเดือน 9 ชาวบา้ นจะพากนั ทาขา้ วปลาอาหารคาวหวาน และขา้ วตม้ มดั พร้อมหมากพลทู ่ีห่อใส่ใบตองแลว้ นาไปวางไวท้ ี่โคนตน้ ไมใ้ นบริเวณวดั และรอบๆบา้ น (ท่ีเรียกวา่ ขา้ วประดบั ดินคงเป็นเพราะเอาห่อขา้ วและเครื่องเคียงไปวางไวบ้ นดิน) เพื่อให้ญาติมิตรท่ีล่วงลบั ไปแลว้ หรือผีบา้ นผีเรือนมากิน เพราะเชื่อว่าในชว่ งเดือนเกา้ น้ีผทู้ ่ีลว่ งลบั ไปแลว้ จะไดร้ ับการปลดปลอ่ ยใหอ้ อกมาท่องเที่ยวได้ ในพิธีบญุ ขา้ วประดบั ดินชาวบา้ นจะวางขา้ วประดบั ดินไว้ พร้อมจุดเทียนบอกกล่าว(บางคนกจ็ ะร้องบอกเฉย) ให้มารับเอาอาหารและผลบญุ น้ี(การออกไปวางขา้ วประดบั ดินจะออกไปวางตอนเชา้ มืดประมาณตี 2 ตี 3) จากน้นั ชาวบา้ นจะนาเอาอาหารและส่ิงของไปทาบุญตกั บาตรถวายทานแดพ่ ระภิกษุ สามเณร ในพิธีจะมีการสมาทานศีลฟังเทศน์และกรวดน้าอุทิศส่วนกศุ ลไปใหผ้ ทู้ ่ลี ว่ งลบัไปแลว้ เดอื นสิบ-บุญข้าวสาก เป็นการทาบญุ เพ่ืออุทิศส่วนกศุ ลใหผ้ ตู้ าย โดยจะมีการทาสลากใหพ้ ระจบั เพื่อทีจ่ ะไดถ้ วายของตามสลากน้นั เป็นการทาบุญท่ีตอ่ เนื่องจากพิธีบญุ ขา้ วประดบั ดินในเดือน 9 เพราะถอื วา่ เป็นการส่งเปรตหรือผทู้ ่ีลว่ งลบั ไปแลว้ ที่ไดอ้ อกมาทอ่ งเท่ียวใหก้ ลบั สู่แดนของตนในเดือน 10 น้ี ชาวบา้ นจะนาขา้ วปลาที่ล่วงลบั ไปแลว้ ที่ไดอ้ อกมาทอ่ งเที่ยวให้กลบั สู่แดนของตนในเดือน 10 น้ี ชาวบา้ นจะนาขา้ วปลาอาหารและส่ิงของไปทาบุญท่ีวดั ในตอนเชา้ โดยนาห่อขา้ วสาก(เหมือนกบั ห่อขา้ วประดบั ดิน)ไปวางไวบ้ ริเวณวดั พร้อมจุดเทียนและบอกให้ญาติมิตรผทู้ ่ีล่วงลบั ไปแลว้ มารับอาหารและผลบญุ ที่อุทิศให้ มีการฟังเทศน์ฉลองขา้ วสากและกรวดน้าไปใหผ้ ทู้ ่ีล่วงลบั ไปแลว้ ชาวบา้ นจะนาเอาขา้ วสากที่พระสวดเสร็จแลว้ กลบั ไปท่ีบา้ นดว้ ยโดยเอาไปวางไวต้ ามทงุ่ นาและรอบๆบา้ นเพื่อให้ผบี า้ นผีเรือนเจา้ ที่เจา้ ทางหรือผที ่ีไร้ญาติขาดมิตรไดม้ ารับส่วนบญุ เดอื นสิบเอด็ -บุญออกพรรษา บญุ ออกพรรษาจดั ทาในวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน 11 เป็นการทาบุญท่ีสืบเน่ืองมาจากบุญเขา้ พรรษาในเดือน 8 ที่พระภิกษุสามเณรไดเ้ ขา้ พรรษา เป็นเวลานานถึง 3 เดือน ดงั น้นั ในวนั ท่ีครบกาหนด พระภิกษสุ ามเณรเหล่าน้นั จะมารวมกนั ทาพิธีออกวสั สาปวารณา คือเปิ ดโอกาสให้มีการว่า

กลา่ วตกั เตือนกนั ได้ วนั น้ีจะเป็นวนั ท่ีพระภิกษุสามเณรจะไดม้ ีโอกาสมาชมุ นุมกนั อยา่ งพร้อมเพรียงที่วดั ซ่ึงชาวบา้ นถือว่าเป็นวนั สาคญั และเป็นระยะท่ีชาวบา้ นหมดภาระในการทาไร่ทานาอากาศ ในชว่ งน้ีจะเยน็ สบายจึงถือโอกาสมาร่วมกนั ทาบุญ มีการตกั บาตรถวายภตั ตาหารแด่พระภิกษุสงฆ์ รับศีลสวดมนตฟ์ ังเทศนแ์ ละถวายผา้ จานาพรรษา ตอนค่าจะมีการจุดประทีปโคมไฟในบริเวณวดั และหนา้บา้ น บางทอ้ งถิ่นจะมีการถวายปราสาทผ้งึ หรือตน้ ผาสาดเผ้งิ (สาเนียงอีสาน)เพ่ือเป็นพุทธบชู า จงั หวดัท่ีมีงานบุญถวายปราสาทผ้งึ ที่ย่งิ ใหญค่ อื จงั หวดั สกลนคร จะมีขบวนแห่ปราสาทผ้งึ ซ่ึงเป็นปราสาทจาลองที่แกะสลกั อยา่ งวิจิตรบรรจงมาจากข้ีผ้งึ (คลา้ ยๆเทียน) ไปรอบๆตวั เมืองใหป้ ระชาชนและนกั ทอ่ งเที่ยวไดช้ มความงดงาม บางทอ้ งถิ่นท่ีอยใู่ กลบ้ ริเวณแมน่ ้าจะมีการแข่งเรือเพื่อความสนุกสนานและสามคั คีร่วมกนั ในตอนกลางวนั ส่วนในตอนกลางคืนจะมีการไหลเรือไฟ(ฮ่องเฮือไฟ)เพ่ือเป็ นการบูชาคารวะพระ เดอื นสิบสอง-บุญกฐิน บุญกฐินเป็นการถวายผา้ จีวรแด่พระสงฆซ์ ่ึงจาพรรษาแลว้ เร่ิมต้งั แต่ วนั แรม 1 ค่า เดือน11 จนถึงวนั ข้ึน 15 ค่า เดือน12 มูลเหตทุ ี่มีการทาบุญกฐินน้นั มีเร่ืองเล่าวา่ มีพระภิกษจุ านวนหน่ึง ได้เดินทางไปเฝ้ าพระพทุ ธเจา้ โดยระหว่างการเดินทางน้นั เป็นช่วงฝนตก และระยะทางไกลจึงทาให้ผา้จีวรของพระภิกษุเหลา่ น้นั เปี ยกน้าเปรอะเป้ื อนโคลน ไมส่ ามารถหาผา้ ผลดั เปลี่ยนไดพ้ ระพทุ ธเจา้ ได้เห็นถึงความยากลาบากน้นั จึงมีพทุ ธบญั ญตั ิใหภ้ ิกษุแสวงหาผา้ และรับผา้ กฐินไดต้ ามกาหนด ชาวบา้ นจึงไดจ้ ดั ผา้ จีวรนามาถวายพระภิกษุในช่วงเวลาดงั กลา่ วจนกลายเป็นประเพณีทาบุญกฐินมาจวบจนปัจจุบนั ก่อนการทาบุญกฐินเจา้ ภาพจะตอ้ งจองวดั และกาหนดวนั ทอดกฐินล่วงหนา้ มีการเตรียมผา้ไตรจีวรพร้อมเคร่ืองอฐั บริขารและเคร่ืองไทยทาน มีการบอกบุญแก่ญาติมิตร ตอนเชา้ ในพิธีจะแห่ขบวนกฐินเพ่ือนาไปทอดทวี่ ดั และแห่กฐินเวยี นประทกั ษิณ 3 รอบจึงทาพิธี ถวายผา้ กฐิน นอกจากน้ีอาจมีการทาบุญจุลกฐิน(กฐินแลน่ ซ่ึงเป็นการทาผา้ ไตรจีวรจากปุยฝ้ ายแลว้ นาไปทอดใหเ้ สร็จ ภายใน24ชว่ั โมงนบั แต่เวลาเร่ิมทาเพราะเช่อื วา่ จะไดบ้ ญุ มาก) ปัจจุบนั ชาวอีสานที่ไปทามาหากินต่างถิ่นมกั จะรวมตวั กนั ต้งั กองกฐินเพื่อนากลบั ไปถวายที่วดั ในหมู่บา้ นตนเอง ซ่ึงนอกจากจะเป็นการทาบุญแลว้ ยงั ไดก้ ลบั ไปเยีย่ มครอบครัวและญาติมิตรดว้ ย

คลองสิบส่ี คลองสิบสี่ หมายถึง แนวทางหรือขอ้ วตั รท่ีประชาชนทวั่ ไปตลอดจนผมู้ ีหนา้ ท่ีปกครองบา้ นเมืองพึงปฏิบตั ิ 14 ขอ้ เป็นจารีตประเพณีและทานองคลองธรรมอนั ดีงามของทอ้ งถ่ินและของบา้ นเมือง ซ่ึงอาจสรุปได้ 3 ประการ คือ สาหรับพระมหากษตั ริยแ์ ละผปู้ กครองบา้ นเมืองพึงปฏิบตั ิ สาหรับพระสงฆอ์ งคะเจา้ และสาหรับบุคคลธรรมดาสามญั พึงปฏิบตั ิ เพื่อใหป้ ระชาชนอยกู่ นั ดว้ ยความสงบและเป็นระเบียบเรียบร้อย โดยยึดขอ้ ปฏิบตั ิทางศาสนาเป็นหลกั 1. ฮีตเจา้ คลองขนุ 2. ฮีตทา้ วคลองเพยี 3. ฮีตไพร่คลองนาย 4. ฮีตบา้ นคลองเมือง 5. ฮีตป่ ูคลองยา่ 6. ฮีตตาคลองยาย 7. ฮีตพอ่ คลองแม่ 8. ฮีตใภค้ ลองเขย 9. ฮีตป้ าคลองลุง 10. ฮีตลกู คลองหลาน 11. ฮีตเถา้ คลองแก่ 12. ฮีตปี คลองเดือน (ฮีตสิบสอง) 13. ฮีตไฮ่คลองนา 14. ฮีตวดั คลองสงฆ์ คลองสิบส่ีที่กลา่ วมาแบง่ ออกเป็น 3 ส่วนตามหนา้ ท่ีของแตล่ ะคน 1.คลองสิบสี่สาหรับผปู้ กครองหรือพระมหากษตั ริยมีดงั น้ีท้งั หมดน้ี ถอดออกมาจากคากลอนโบราณโดยไม่เปล่ียนแปลงสานวนเดิม ดงั น้นั อาจสิมีสาเนียงและคาที่มาจากทางภาคิอีสานบา้ ง ข้อหน่ึง เป็นทา้ วพระยาจดั ต้งั แตง่ ซ่ือซามนามกร เสนาอามาตย์ ราชมนุ ตรี พิจารณา สืบหา ผู้ซื่อผคู้ ด ผฮู้ า้ ยผดู้ ี ผูช้ า่ งแถลงแปงล้ิน มกั สบั ส่อถอ้ ยคาอนั หนกั อนั เบา อนั นอ้ ยอนั ใหญ่ ใหไ้ วใ้ นใจ น้นัก่อ สมท่ีจะฟัง จ่ิงฟัง บส่ มท่ีจะฟังอยา่ ฟัง สมต้งั ใจซ่ือ ใหเ้ พียงใดจ่ิงต้งั ใจเพียงน้นั ใหแ้ ต่งต้งั ผซู้ ่ือสตั ย์สุจริตให้หมนั่ เท่ียง ผฮู้ ูจ้ กั ราชการบา้ นเมือง แต่ก่อนมา บ่มข่มเห็งไพร่ฟ้ าขา้ แผน่ ดิน ใหห้ ายใจเขา้ ออกได้ จ่ิงต้งั ให้เป็นเสนาอามาตย์

ข้อสอง เป็นทา้ วพระยา ใหเ้ นามุนตรี เป็นสามคั คีพร้อมเพียงกนั ให้หมน่ั ประชมุ กนั อยา่ ให้ขาด อนั ใดอนั หน่ึงจกั ให้อาณตั ิขา้ เสิก (ขา้ ศึก) เกรงขาม และให้เขาอยู่ ในเง้ือมมือเจา้ ตน ดว้ ยยทุ ธกรรมปัญญา ใหบ้ า้ นเมืองกา้ นกุ่งฮุ่งเฮือง เป็นที่ กวา้ งขวาง ให้ไพร่ฟ้ าขา้ แผน่ ดินอยเู่ ยน็ เป็นสุข อยา่ กดขี่ข่มเห็ง เทอญ ข้อสาม เป็นทา้ วพระยา เถิงวนั ข้ึนสงั ขารปี ใหม่ ถา่ ยสงั วาสมาสเกณฑ์ ให้เชิญพระแกว้ พระบาง พระพทุ ธฮูป สรงน้าอบ น้าหอม ไวใ้ นสระพงั สกั การะ ดว้ ยดอกไม้ ธูป เทียน ฟังธรรมจาศีล คบงนั 7 วนั ทกุ ๆ วดั ให้เป็นการซื่นซมยินดีแก่พระศาสนา ตบพระเจดยี ท์ ราย บชู าเทวดาท้งั หลายทางน้าทางบก บา้ นเมืองจิ่งวฒุ ิซุ่มเยน็ น้าฟ้ าสายฝน เขา้ ไฮ่เขา้ นาบริบูรณ์ ข้อส่ี เป็นทางพระยา วนั สงั ขารข้ึน ให้นิมนตพ์ ระภิกขุ แห่น้าฝ่ ายใตเ้ มือฝ่ ายเหนือ วนั สงั ขารพกั ให้ฝ่ ายเหนือมาวดั ฝ่ ายใต้ เพื่อบชู าเทวดา หลวงไปยามหวั เมือง ทา้ ยเมือง ของทกุ ๆ ฤดปู ี บา้ นเมืองจิ่งวฒุ จิ าเริญ ใหร้ าษฎรอาบน้าอบน้าหอม หดสรงพระภิกษุสงฆบ์ า้ นเมือง จ่ิงอยเู่ ยน็ เป็นสุข ใหร้ าษฎรแต่งหมอ้ อบุ งั เพื่อ ก้งั บงั โพยภยั อนั ตรายแก่ราษฎรทว่ั ไป เทอญ ข้อห้า เป็นทา้ วพระยา วนั สงั ขารปี ใหม่ ใหเ้ สนาอามาตย์ ราชมุนตรี พญาเพีย ทา้ วขนุ หวั บา้ นหวั เมือง ตาหรวดอาสา มหาดเลก็ สีพายใตแ้ จก มีเทียนคูข่ ้ึนทนู เกลา้ ทนู กระหม่อมถวายราชบาส เพียกะซกั มงุ คุลถวายพานหมากหม้นั หมากยนื ปโุ รหิตถวายพร ให้มีอายุ วณั โณ สุขงั พะลงั แก่องคพ์ ระเจา้ มหาชีวิต แลว้ เอา น้ามหาพุทธาภิเศก อนั พระรัสสิไปสถาปนาไว้ ถ้านกแอ่นถ้านางอน่ั อนั ช่ือว่า น้าเที่ยงน้นั แห่มาสรงพระพุทธฮูปวดั หลวง ในเมืองทกุ วดั ในถ้าติ่งทวารทวารา ท่ีปากน้าอู ประตเู มืองฝ่ ายเหนือ แลว้ จิ่งนิมนตพ์ ระภิกษสุ งฆ์ นาบาลีพระพุทธ- ฮูป ในพระราชวงั ตามธรรมเนียม จ่ิงเป็นอนัโครพยา่ แยง แด่พระสงฆเ์ จา้ ถืก ตอ้ ง ตามพระอรรถกถาจารย์ กลา่ วไวห้ ้นั แล ข้อหก เป็นทา้ วพระยาในวนั สงั ขาร เป็นวนั เส้ียงฤดูเก่า ปี ใหม่จกั มาเถิง ให้เจา้ นาย เสนาขา้ ราชการ มุนตรีผมู้ ีนามยศ และเพียหวั หล่ิงหวั พนั หวั บา้ นหวั เมือง สิบเอด็ ฮอ้ ยนอ้ ยใหญ่ ซ่ึงเป็นขา้ นอ้ ยขนั ฑสีมาตาบล เขา้ มาถือน้าพิพฒั น์ สตั ยานุศตั ยต์ ่อพระพกั ตร์ พระพทุ ธเจา้ พระสงั ฆเจา้ ให้เป็นการซื่อสตั ย์ ตอ่ แผน่ ดิน ป้ องกนั ก่อให้ขบถคดึ ฮา้ ยต่อแผน่ ดิน ข้อเจด็ ทา้ วพระยา คนั เถิงฤดเู ดือนเจด็ ใหเ้ ล้ยี งเทพยดาอาฮกั ษ์ มเหศกั ด์ิ หลกั เมือง ตาเมือง เส้ือเมือง ทรงเมือง ตามคองสิบส่ี แลว้ ให้เชิญเทพดาอาฮกั มเหศกั ด์ิ ใหเ้ ขา้ มาซาฮะบา้ นเมือง ป้ องกนัอนั ตราย ตามบูฮานราชประเพณีสง่ั ไวว้ ่า เมืองชวั่ บ่มีธรรมเป็นเคร่ืองคมุ้ ครอง ไดเ้ อาไสยศาสตร์คอื ผีเมืองคุม้ ครอง จิ่งมีฤทธ์ิอนั น้ีสืบต่อมา เพ่ือบใ่ ห้เกิดอนั ตรายโพยภยั ดว้ ยผสี างคางแดง ข้อแปด เป็นทา้ วพระยา คนั เถิงเดือนแปด ใหส้ ูตรซาฮะบา้ นเมือง สืบซะตาเมือง บชู า เทวดาอาฮกั ษท์ ้งั แปดทิศ บชู าพระรัสสีท้งั แปด สองพ่ีนอ้ งพระยานาค 15 ตระกลู สูตรเถิงสามวนั เจด็ วนั แลว้ ให้ราษฎรฮอบเมืองยิงปื น หวา่ นหินแห่และ ทราย เพ่ือให้หายพยาธิโรคา โพยภยั อนั ตราย ใหอ้ ยู่

เยน็ เป็นสุขแก่บา้ นเมือง ทุกประการ ข้อเก้า เป็นทา้ วพระยาคนั เถงิ เดือนเกา้ จาเริญ (ดบั ) ให้ป่ าวเตินราษฎรบา้ นเมืองท่าน ห่อเขา้ประดบั ดิน ไปหาป่ ูยา่ ตายาย ลกู เตา้ หลานเหลน อนั เถิงแก่อนิจกรรม ไปสู่ ปรโลก ทวั่ ทุกแห่งแลว้ ให้เจา้ นายเสนาขา้ ราชการ ทวั่ บา้ นเมืองสิบฮอ้ ย นอ้ ยใหญ่ ลงมือถือน้าพระพิพฒั นิสยั านุศตั ยอ์ ีกเทื่อหน่ึงแลว้ ซ่วงเฮือฉลอง อุสุภนาคราช ปากดงและปากคาน กบั พระยานาคสิบหา้ ตระกลู อนั ฮกั ษา บา้ นเมืองจิ่งจะอยเู่ ยน็ เป็นสุข เขา้ กา้ ไฮ่นาบริบูรณ์ ข้อสิบ เป็นทา้ วพระยา คนั เถิงเดือนสิบเพง็ ให้ป่ าวราษฎร ให้ทานสลากภตั ร หยาดน้า อุทิศไปหาเทพดาอาฮกั ษเ์ มือง อนั ฮกั ษาพระพุทธศาสนา กบั ท้งั พ่อแม่เผา่ พงษ์ วงศาแห่งตนเทอญ ข้อสิบเอด็ เป็นทา้ วพระยา เถิงฤดเู ดือนสิบเอด้ เพง็ ให้ฉลองพทุ ธาภิเศก พระธาตุจอมศรี ทุกๆปี อยา่ ขาด ดว้ ยเป็นศรีบา้ นศรีเมือง แลว้ ใหไ้ ปไหวพ้ ระภิกษุสงั ฆะเจา้ มา ขอดสิม (ผกู พทั ธสีมา) ในสนามแลว้ ใหส้ งั ฆเจา้ ปวารณาในท่ีน้นั คนั แลว้ กิจ สงฆ์ ใหส้ ูตรถอนสิมน้นั เสีย บา้ นเมืองจ่ิงวุฒิจาเริญเสนาอามาตยจ์ ่ิงจกั เป็น สามคั คี พร้อมเพียงกนั จดั ราชการบา้ นเมือง จิ่งบข่ ดั ขอ้ งแก่กนั และกนั คนั เถิงแฮมค่าหน่ึง ใหป้ ่ าวเตินราษฎรไหลเฮือไฟ บชู าพระยานาคสิบห้าตระกลู บา้ นเมืองจิ่งจกั อยสู่ ุขเกษมเติมครองแล ข้อสิบสอง เป็นทา้ วพระยา คนั เถิงเดือนสิบสองข้ึนหน่ึงค่า ให้เตินหวั บา้ นหวั เมือง สิบฮอ้ ยนอ้ ยใหญ่ในขอบขนั ฑะสีมา เขา้ มาโฮมพระนครหลวงพระบาง เป็นตน้ ว่า ขา้ ลาว ชาวดงดอย เพ่ือแห่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ มหาชีวิต ไปลงพว่ ง (ดว่ ง) ส่วงเฮือ และนมสั การพระธาตศุ รีธรรมาโสกราชคือ เดือนสิบสองข้ึนสามค่า ถือน้า ข้ึนสี่ค่า สิบสามค่า ซ่วงเฮือ ฉลองอุสุภนาคราช วดั หลวงใหเ้ พียวดัมีเฮือ วนั ละลา อคั รมหาเสนาบดีต้งั แตเ่ มืองแสนเมืองจนั ทน์ ลงไปเถิงศรีสะคุต เมือง แกนาใตน้ าเหนือให้ต้งั เป็นผามทกุ ตาแหน่ง เป็นเทศกาลบญุ ส่วงเฮือ ฉลอง พระยานาค 15 ตระกลู และพระเส้ือเมืองทรงเมือง อาฮกั ษเ์ มือง และมีเคร่ือง กิยาบชู า เป็นตน้ วา่ โภชนะอาหาร ดอกไม้ ธูป เทียน สวายไปหาเทพยดา ท้งั ทางน้าและทางบก จิ่งจกั อวยพร แก่บา้ นเมืองอยเู่ ยน็ เป็สุข และเดือนสิบสอง เพง็ เสนาอามาตย์ และเจา้ ราชคณะสงฆ์ ราษฎร พร้อมกนั แห่พระบาทสมเดจ็ พระเจา้ มหาชีวิต และเจา้ ยา่ ขม่อมท้งัหา้ พระองคไ์ ปนมสั การพระธาตุศรีธรรมา โศกราช พร้อมท้งั เคร่ืองบชู า มีตน้ เทียนและดอกไม้ บ้งั ไฟดอก ไฟหาง กะทนุ ว่าย กองปิ ด กองยาวฮูปหุ่นละคอน ลิงโขนและเคร่ืองเล่นมหรสพตา่ งๆ ไปเล่นอยทู่ ี่เด่ินหนา้ พระลาน พระธาตุถว้ นสามวนั สามคืนแลว้ จิ่งเสดจ็ คืนมาเทอญ เพ่ือใหเ้ ป็นที่ชื่นชมยนิ ดีซ่ึงกนั และกนั ขา้ ลาวชาวดอยท้งั หลาย กจ็ กั ไดเ้ ห็นกนั และกนั และจกั ไดเ้ วา้ ลมกนั เป็นมิตรสหายแก่กนั และกนั จ่ิงจกั เป็นเกียรติยศ ฤชา ปรากฏแก่หวั บา้ นเมืองนอ้ ยใหญ่ อนั อยใู่ กลเ้ คียงน้นั ซะแล ข้อสิบสาม เป็นทา้ วพระยา ให้แต่งแปงทาวทุกอยา่ ง เป็นตน้ วา่ ถวายผา้ กะฐินและบวช พระ

หดเจา้ ต้งั มะไลไขมหาชาติ ฮกั ษาศีลห้าศีลแปดเป็นนิจกาล ทุกวนั อุโบสถ และมีหวั ใจอนั เตม็ ไปดว้ ยพรหมวิหารท้งั 4 ประการ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา เอ้อื เฟ้ื อเผื่อแผแ่ ก่เสนาอามาตย์ ราษฎรขา้ นอ้ ยใหญ่ ในขอบเขต ขณั ฑะสีมา อยา่ มีใจอนั กระดา้ งกระเดอ่ื ง เคอื งไปดว้ ยพาล เป็นตน้ วา่ ไปหล้ิน ป่ าลา่ เน้ือ จุ่งเล้ียงนกั ปราชญผ์ อู้ าจใหแ้ กว้ ยงั กิจการเอาไว้ และใหม้ ีเสนา อามาตยผ์ ฉู้ ลาดกลา้ หาญกบั ท้งั สมณะชีพราหมณ์ ผดู้ ีมีศีลบริสุทธ์ิและความฮู้ สง่ั สอนทายก อบุ าสก อุบาสิกาท้งั หลายเทอญและให้ประกอบดว้ ย ทศพิธ- ราชธรรมสิบประการ บา้ นเมืองจิ่งจะวุฒิจาเริญ แล ข้อสิบสี่ เป็นทา้ วพระยาให้มีสมบตั ิ อนั ประเสริฐ 14 ประการ คือ หูเมือง ตาเมือง แก่น เมืองประตูเมือง ฮากเมือง เหงา้ เมือง ข่ือเมือง ฝาเมือง แปเมือง เขตเมือง สติเมือง ใจเมือง ค่าเมือง และเมฆเมือง คลิกดคู วามหมาย2. สาหรับพระสงฆ์องคะเจ้าข้อหน่ึง ใหพ้ ระสงั ฆะเจา้ สูตรเฮียน ธรรมคาสอนของพระพทุ ธเจา้ และฮกั ษาศีล 227 อยา่ ให้ ขาดข้อสอง ใหบ้ วั ละบตั รกฏู ิวิหาร ปัดตากวาดถู อยา่ ใหว้ ดั เศร้าหมองข้อสาม ให้ปฏิบตั ิจดั ทาไปตามศรัทธา ชาวบา้ นนิมนตม์ ีการทาบุญให้ทาน บวชหด เป็นตน้ข้อส่ี เถิงเดือนแปด ให้เขา้ วสั สา ตลอดสามเดือน จนถึงเดอื นสิบเอด็ แฮมค่าหน่ึง แตเ่ ดือน สิบเอด็ แฮมค่าหน่ึงไปหาเดือนสิบสองเพง็ ใหฮ้ บั ผา้ กฐินฮกั ษาคองผา้ เถิงสี่เดือนข้อห้า ออกวสั สาแลว้ ฤดเู หมนั ตะ (ฤดหู นาว) ภิกขสุ งั ฆะเจา้ เขา้ ปริวาสกรรม ฯลฯข้อหก ใหเ้ ที่ยวไปบิณฑบาตร ตามบา้ นนอ้ ยบา้ นใหญ่ อยา่ ใหข้ าดข้อเจด็ ให้สูตร ภาวนา ทกุ คืน วนั อยา่ ขาด ฯลฯข้อแปด เถิงวนั ศีลดบั ศีลเพง็ ใหป้ ระชมุ กนั ทาอุโบสถ สงั ฆกรรม อยา่ ขาดข้อเก้า เถิงเทศกาลปี ใหม่ ทายกไหวข้ ีว่ อ แห่น้าไปสรงน้าพระพทุ ธรูป พระธาตุเจดีย์ ฯลฯข้อสิบ สงั กาช ปี ใหม่ พระเจา้ มหาชีวิต ไหวพ้ ระ ให้สรงน้าในวนั พระราชวงั และบาสี พระสงั ฆะเจา้ข้อสิบเอ็ด ศรัทธาชาวบา้ นนิมนตส์ ่ิงใด อนั บผ่ ดิ คองวินยั กใ็ หป้ ฏิบตั ิตามข้อสิบสอง เป็นสมณะใหพ้ ร้อมกนั สร้างวดั วาอาราม พระธาตุเจดีย์ข้อสิบสาม ใหฮ้ บั ทานของทายก คือ สงั ฆะภตั ร สลากภตั ร เป็นตน้ข้อสิบส่ี พระเจา้ มหาชีวิต เสนาขา้ ราชการ มีศรัทธานิมนต์ มาประชมุ กนั ในสิมแห่งใด แห่งหน่ึงในวนัเดือนสิบเอด็ เพง็ เป็นกาละอนั ใหญอ่ ยา่ ไดข้ ดั ขืน

3. สาหรับบุคคลธรรมดาสามัญทว่ั ไปข้อหน่ึง เม่ือเขา้ กลา้ หมากเป็นฮวง เป็นหมากแลว้ อยา่ ฟ้ าวกินก่อน ใหเ้ อาทาบุญใหท้ าน แก่ผมู้ ีศีลกินก่อน แลว้ จงกินภายลุนข้อสอง อยา่ โลภตาส่าย อยา่ จ่ายเงินแดง แปงเงินควา้ ง และอยา่ กล่าวคาหยาบซ้ากลา้ แขง็ ต่อกนัข้อสาม ให้พร้อมกนั เฮ็ดฮ้วั ตา้ ย และกาแพงออ้ มวดั วา อาฮาม และบา้ นเฮือนข้อสี่ เม่ือเจา้ ข้ึนเฮือนน้นั ใหส้ ว่ายกลา้ งตีน เสียก่อนจิ่งข้ึนข้อห้า เมื่อเถิงวนั ศีล 7-8-14-15 ค่า ให้สมมา (ขอขมา) กอ้ นเส้า แมค่ ีไฟหวั คนั ได และ ประตทู ่ีตนอาศยัซู่ค่าคืนข้อหก เมื่อจกั นอนให้เอาน้าส่วนลา้ งตีนก่อน จ่ิงนอนข้อเจด็ เถิงวนั ศีล ใหเ้ อาดอกไมธ้ ูปเทียน สมมาผวั แห่งตน และเถิงวนั อโุ บสถให้แตง่ ดอกไม้ ธูปเทียนไปเคนพระสงั ฆเจา้ข้อแปด เถิงวนั ศีลดบั ศีลเพง็ มาน้นั ให้นิมนตพ์ ระสงั ฆเจา้ มาสูตรมุงคลุ เฮือน และทาบุญ ใส่บาตรถวายทานข้อเก้า เมื่อพระภิกขมุ าบิณฑบาตรน้นั อยา่ ให้เพ่ินคอยถา้ และเวลาใส่บาตรกอ็ ยา่ ซุนบาตร และยามใส่บาตรน้นั อยา่ ใส่เกิบ (รองเทา้ ) ก้งั ฮ่มผา้ ปกหวั อุม้ หลาน หรือถือเครื่อง ศาสตราอาวุธข้อสิบ เมื่อพระภิกขเุ ขา้ ปริวาสกรรม ซาฮะเบ้ืองตน้ แลว้ ใหแ้ ตง่ ขนั ดอกไมธ้ ูปเทียนและ เครื่องอรรถบริขารไปถวายทา่ นข้อสิบเอ็ด เมื่อเห็นพระภิกขสุ งั ฆะเจา้ กายมา ให้นงั่ ลงยอมือไหวก้ ่อน และจง่ั คอ่ ยเจรจาข้อสิบสอง อยา่ เหยยี บยา่ เงาเจา้ พระภิกขตุ นมีศีลบริสุทธ์ิข้อสิบสาม อยา่ เอาอาหารเงื่อนกินตนแลว้ ไปทานให้แก่พระสงั ฆะเจา้ และเอาไวใ้ หผ้ วั กินจะ กายเป็นบาปได้ อนั ใดในชาติหนา้ ก็มีแตแ่ นวบด่ ีข้อสิบสี่ อยา่ เสพเมถุน กามคุณ ในวนั ศีล วนั เขา้ วสั สา ออกพรรษา วนั มหาสงกรานต์ ถา้ ด้ือ เฮ็ดไดล้ ูกไดห้ ลานมา จะบอกยากสอนยาก เรือนสาม น้าสี่คาว่า เรอื นสามน้าสี คอื คุณสมบัตขิ องกลุ สตรไี ทยทั่วทกุ ภาคทคี่ วรปฏิบัติ เพ่อื เป็นการรกั ษาบา้ นเรือนใหน้ ่าอยู่ อกี ทัง้ เป็นประโยชน์ต่อการออกเหยา้ ออกเรอื ยชน เพอ่ื ใหค้ รอบครวั ท่ีออกไปใหม่มีความเพียบพร้อมดว้ ยความน่าอยู่เรอื นสามนา้ ส่ี บางตารากก็ ลา่ วแบ่งแยกยอ่ ย ว่า เรอื น 3 อยา่ งนนั้ มอี ะไรกนั บ้าง แต่โดยภาพรวม

แลว้ กไ็ มไ่ ด้ตา่ งกนั ไปนัก เพราะเป็นสง่ิ ดๆี ทง้ั นั้น ทางภาคอีสาน เรอื นสามน้าสี่ก็ต่างจากภาคกลางดงั บทลาลอ่ งข้างบน เป็นเรือนสามน้าสีท่ ม่ี าจากทางภาคอีสาน ส่วนภาคอนื่ ๆ จะขอกลา่ วต่อไป เรอื นสามนา้ สี่ ประกอบด้วยอะไรบ้าง เรือนสาม เรือน หรือ บา้ น หรือ ทางภาคอสี านจะเรียกว่า ฮา้ น หรอื เฮอื น เปน็ สถานทท่ี มี่ ีความสาคัญต่อทกุ ๆกา้ วอยา่ ง เป็นสถานท่ที ีม่ ผี ลตอ่ ความเป็นอยู่ บ้านคือปัจจัยสี่ทีส่ าคัญ แต่ภายในเรือน หรือฮ้านของผ้หู ญงิ จะมคี วามสาคญั เพม่ิ ขนึ้ มา ซ่ึงต้องดแู ลให้ดี เพราะเป็นท่กี ลุ สตรีไทยใช้เวลาสว่ นใหญ่อยู่ที่น่ีเรือนที่ 1. เรือนนอนผหู้ ญิงยอ่ มมโี ลกส่วนตวั ของตวั เอง ทนี่ อนคือ สถานทบ่ี อกได้ว่า คุณเป็นคนท่ีมีระเบียบมากน้อยเพียงใด การเขา้ นอนของผหู้ ญงิ ที่นอนทีเ่ ปน็ ระเบียบ นามาซงึ่ การเรือนที่ 2. เรือนครัวเรือนครัว คอื สถานท่ที ่ีผู้หญิงใชใ้ นการประกอบอาหาร อาหารจะดี อาหารจะอรอ่ ย กม็ าจากส่วนน้ีแขกไปไทยมาจะต้องมีการเลี้ยงข้าวปลาอาหาร หากเรอื นนี้ สกปรก รกรงุ รัง หรือ ไม่สะอาด กย็ ากท่ีจะปรุงอาหารให้อรอ่ ยได้ เรอื นครวั ท้ังคนที่อย่ใู นบา้ น เช่น พ่อแม่ หรอื สามี หรือแม้แต่แขกทีม่ าบา้ นก็จะไดร้ ับรู้ถงึ เสนห่ ป์ ลายจวัก ได้กินอาหารทส่ี ะอาด และอรอ่ ย มแี ตค่ นช่ืนชมเรอื นที่ 3. เรอื นผมคาวา่ เรอื นผม เปน็ การกลา่ วโดยรวม โดยยกตัวอย่างผมมาเปน็ ตวั แทนของความสวยความงามผู้หญิงที่มีผมงาม ถือว่าเป็นเบญจกัลยาณี เบญจกลั ยาณี (แปลวา่ ผมู้ ีความงาม 5 ประการ)หมายถึงสตรีผมู้ ีศุภลกั ษณ์หรือลกั ษณะที่งาม 5 ประการ คือ1. ผมงาม คอื มีผมเหมือนหางนกยูง เม่ือสยายออกทงิ้ ตวั ลงมาถงึ ชายผ้า2. เนอ้ื งาม คือมรี มิ ฝปี ากแดงเหมือนลกู ตาลึงสุก เรียบสนทิ มดิ ชิดดี3. ฟนั งาม คอื ขาวเหมือนสงั ข์และเรยี บเสมอเหมือนเพชรเรยี ง4. ผวิ งาม คอื ถา้ ผวิ ดากด็ าสม่าเสมอเหมือนดอกอบุ ล ถ้าขาวกข็ าวเหมือนกลบี ดอกกรรณกิ าร์5. วัยงาม คืองามทกุ วยั แม้คลอดบตุ รมาแลว้ 10 คร้งั ก็ยังดูสาวพริง้ อยู่ตานานว่า นางวิสาขามหาอุบาสกิ าเปน็ เบญจกัลยาณคี นหนง่ึ ในสมัยพุทธกาล* จาก wikipedia

ผมของสตรี หากหวี หากสระ ให้สวย และสะอาดอยู่เสมอกเ็ ปน็ ทีด่ งึ ดดู ใจของบรรดาหนมุ่ ๆ ใหม้ คี นดีๆมาให้ดใู หเ้ ลอื ก แขกไปไทยมากส็ ดช่นื อยากคยุ อยากเจรจา สามเรือนผา่ นไป คงไม่ยากเกนิ ไปสาหรบั หญิงไทยมาดนู ้าส่ีกนั บ้างนา้ ส่ีน้าที่ 1. น้าจติ น้าใจน้าใจ สตรที ี่ดตี อ้ งมีนา้ ใจเอ้ืออาทรแกผ่ ทู้ อี่ ยูใ่ นบา้ นเรอื นของตน ตงั้ แตพ่ อ่ เรือนหรือสามีของตน ไปจนถงึ บรวิ ารในบ้าน การผกู พนั กันดว้ ยน้าใจนี้ ทาใหค้ รอบครวั มคี วามสุขแนน่ แฟน้ อยา่ งท่เี รียกกันว่าล้อมรัว้ ด้วยรกั ซึ่งนา้ ใจนค้ี วรจะมีเอ้อื เฟอ้ื เผอ่ื แผ่ไปถึงพอ่ แม่และบคุ คลในครอบครัวของสามดี ว้ ยเพราะสงั คมไทยต่างจากสงั คมตะวันตก ท่ีเม่ือแตง่ งานแลว้ จะแยกครอบครัวออกจากพอ่ แมอ่ ยา่ งเด็ดขาด ในสังคมไทยการแต่งงานไมไ่ ดห้ มายถงึ แตง่ กับผชู้ ายท่เี ปน็ สามขี องเราคนเดยี ว แตห่ มายรวมไปถงึ แตง่ กบั ครอบครวั ของเขาดว้ ย การทีภ่ รรยายอมรับและเปน็ ทยี่ อมรับในครอบครัวของสามีได้จึงเป็นส่ิงสาคัญอยา่ งยิง่นา้ ที่ 2. นา้ ดมื่ นา้ กินน้าดมื ทุกๆบา้ น หากขาดซึ่งสิ่งน้ีแล้วหาได้เป็นบา้ นไม่ เพราะไม่วา่ จะกินกรรมอะไรก็ต้องมกี ารกินการดื่ม การจัดเตรยี มน้าใหพ้ อเพยี งและสะอาดนัน้ เปน็ สิ่งทค่ี วรทาอยา่ งยิง่ ทกุ บา้ นเมอ่ื รับประทานอาหารเสร็จ น้าดม่ื ถอื เป็นสิง่ จาเป็น หากขา้ วตดิ คอ ไม่เตรียมนา้ ดืม่ ไว้ อาจตายได้ และนา้ นีแ้ หละที่เอาไว้สาหรบั ปรงุ อาหาร เพราะมคี วามสะอาด และรสชาดไมจ่ ดื เกินไปจากคาโบราณ ท่ีบอกว่า \"เปน็ ธรรมเนียมไทยแท้แต่โบราณ ใครมาถงึ เรอื นชานต้องต้อนรับ\" สิ่งแรกที่จะให้กนั ได้ คือ การมีน้าด่มื สกั แก้วสักขัน เพือ่ ให้แขกได้พกั ผอ่ น หรอื กอ่ นที่จะเจรจากันตอ่ ไป บ้านทกุ บ้าน แมไ้ มไ่ ดม้ อี ะไรเลอเลศิ ขอเพียงนา้ ดืมสักขันก็เพยี งพอแล้วนอกจากนี้ ความสาคญั ของภาชนะใส่น้ากส็ าคญั บา้ นบางหลังจะมีแอ่งน้า (นา้ ทบี่ รรจุในภาชนะหมอ้ ดนิ ) ซ่ึงหม้อดนิ มคี ณุ สมบตั พิ ิเศษคือ การถ่ายเทความร้อน น้าในแอง่ นา้ จะเย็นกวา่ ใส่ในโอง่การรักษาระดบั นา้ ในแอ่งน้ากเ็ ปน็ ความจาเป็น บง่ บอกวา่ ลกู สาวบา้ นไหนขยัน หรอื ขเ้ี กยี จ ปล่อยใหน้ ้าแห้งแอ้ง เปน็ การแสดงความเอาใจใสด่ ว้ ย แอง่ นา้ ของสาวบางบ้าน มีตะใคร่น้าขึ้นตลอด แต่ข้างในแอ่งน้นั สะอาด นา้ ใส บง่ บอกวา่ บ้านนั้นมีการเติมเต็มนา้ ตลอด และมกี ารลา้ งแอ่งตลอด การมตี ะใคร่นา้ จะทาให้น้านนั้ เย็นย่งิ ขน้ึ กวา่ การไมม่ ตี ะใคร่สมยั ก่อน สมัยท่ยี งั ไมม่ ีน้าประปา จะมแี อ่งบา้ นไว้ใหแ้ ขกไปไทยมาทห่ี น้าบา้ น ใครใคร่กนิ กนิ ใครใคร่ตกั กต็ กั แขกพอ่ คา้ กไ็ ดอ้ าศยั นา้ นี้แหละประทังชีวติ ให้เดินขายของตอ่ ไป

นา้ ท่ี 3. น้าอาบนา้ อาบ หมายโดยรวมคือน้าใชท้ ั่วไป ทางภาคอสี าน จะเรียกวา่ \"น้าเซอะ\" คือ ใช้ในกิจการทว่ั ไป ใช้อาบใช้ลา้ งภาชนะ ใช้ทาความสะอาดบ้าน กอ่ นขน้ึ บา้ นก็จะมีน้าน้ลี า้ งเทา้ ก่อน เพ่อื ให้บ้านไมเ่ ลอะคราบสกปรกจากการทางาน นา้ อาบสตรไี ทยตอ้ งเตรียมไว้ เพ่ือใหพ้ อ่ ใหพ้ ่ี ให้ สามไี ด้อาบเพราะผชู้ ายจะทางานมาเหนอ่ื ยๆไมม่ เี วลาได้ไปตักน้ามาให้อาบหรอก อยา่ ใหข้ าด สมยั นมี้ นี ้าประปากด็ ีหนอ่ ยแต่ความหมายของนา้ อาบ คอื การรักษาระดบั นา้ ใช้ให้เพยี งพออย่เู สมอนนั่ เองนา้ ท่ี 4. น้าเต้าปรุง หรอื นา้ ปรุงนา้ ชนิดนี้ เป็นน้าทีใ่ ห้กับบรรพบรุ ษุ หรือ ผูท้ ม่ี พี ระคณุ ที่คอยปกปักษร์ ักษา บา้ นทกุ บ้านจะมีเทวดาประจาบ้าน บ้างก็วา่ ผีเหยา้ ผีเรอื น บ้างกวา่ วา่ เจา้ ท่เี จา้ ฐาน การมีนา้ ชนิดน้ไี ว้ในบ้าน อาจจะเปน็ หิ้งพระ หรอื ศาลพระภมู ิบา้ น ก็จะเป็นการดี กลางคนื เราไมร่ ู้หรอกว่าจะเกิดอะไรขน้ึ เพราะ ทุกคนตา่ งอยใู่ นภาวะหลับไหล การรกั ษาบ้านของเทวดา ไม่จาเปน็ ที่ท่านจะชว่ ย เพยี งแต่ให้เรารสู้ กึ ตวั เม่อื มีเหตกุ ารณ์อนั ไมพ่ ึงประสงค์ การมีนา้ เตา้ ปรุงไว้อาจจะใสเ่ ครื่องหอม เชน่ ขมน้ิ แปง้ หอม หรอื ดินสอพองบ้างกจ็ ะดี เสมอื นหนงึ่ ว่า เป็นน้าทิพยใ์ ห้ทา่ นเทวราช นนั่ เอง เรอื นสามนา้ ส่ี บางตาราจะบอกว่าเรือนสาม ประกอบไปด้วย บา้ นเรอื น เรอื นผม เรือนกาย บางตาราก็วา่ บ้านเรอื น เรือนชะตา เรอื นผม บ้างกว็ า่ เรือนท่อี ยอู่ าศยั , เรือนหูกทอผ้า(เปลยี่ นจากเรือนชะตา) และเรอื นผม ส่วนนา้ ส่ี ก็มนี า้กนิ น้าใช้ น้าใจ นา้ ปนู (สมัยกอ่ นกินหมากเลยต้องมขี องต้อนรบั เป็นเชอื่ นหมาก มีปูนด้วย) บา้ งก็วา่นา้ ในโอง่ ท่ีเกบ็ ไวก้ นิ ใชป้ ระจาวัน, นา้ ในขันทีต่ กั แบ่งจากนา้ อยา่ งแรกมาใช,้ น้าในหมอ้ ปลาร้าท่ีเอาไวป้ รงุ รสเปน็ นา้ ปลา และสุดท้ายก็น้าใจเหมือนกันเพียงข้อนี้ ท้งั หมด คือ เรอื นสามน้าส่ี กุลสตรีของไทย ใครเอาไปใชร้ ับรองว่า จะมีแตส่ ิ่งดๆี เกิดขึน้ ในชวี ติ เปน็ ปราชญ์อย่างหน่งึ ของบรรพบรุ ษุ ของเราทไี่ ดใ้ ห้ไว้ เปน็ คติสอนใจ ใหร้ ู้จกั การการครองเรอื น นี่เป็นตาราทขี่ ้าพเจา้ รวบรวม บางตาราก็แตกตา่ งกันไปบ้าง แตเ่ ปา้ หมายโดยรวม คอื ความเปน็ กลุ สตรทงี่ ดงามนน้ั เอง


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook