Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

4

Published by nith, 2019-09-09 02:43:57

Description: 4

Search

Read the Text Version

โครงงานวิทยาศาสตร์ 1 บทที่ 1 ความหมายและประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. สามารถสรุปความหมาย ของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 2. บอกประเภท ของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 3. อธิบายความสมั พนั ธ์ ของโครงงานวิทยาศาสตร์ ท้งั 4 ประเภทได้

โครงงานวิทยาศาสตร์ 2 ความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การทากิจกรรมต่าง ๆ ดงั น้ี 1. ผเู้ รียนเป็นผรู้ ิเร่ิมและเลอื กเร่ืองท่ีจะศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองตามความสนใจ และตามระดบั ความรู้ความสามารถ 2. เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวกบั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3. เป็นกิจกรรมที่ใชว้ ิธีการทางวิทยาศาสตร์ในการศึกษาคน้ ควา้ เพื่อตอบปัญหาที่สงสยั 4. งานวิจยั เลก็ ๆ ของผเู้ รียนท่ีมีเน้ือหาเกี่ยวขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ หรือการแกป้ ัญหา หรือขอ้ สงสยั ของผเู้ รียนโดยใชก้ ระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 5. ผเู้ รียนเป็นผวู้ างแผนในการคน้ ควา้ เก็บรวบรวมขอ้ มลู ดาเนินการปฏิบตั ิการทดลอง หรือประดิษฐค์ ิดคน้ รวมท้งั แปรผลสรุปผล และนาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง โดยมีครูหรือผทู้ รงคณุ วฒุ เิ ป็นผใู้ หค้ าปรึกษา กลา่ วโดยสรุปไดว้ ่า โครงงานวิทยาศาสตร์ หมายถึง การศึกษาคน้ ควา้ เรื่องใดเร่ืองหน่ึงเก่ียวกบั วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีซ่ึงผเู้ รียนเป็นผลู้ งมือปฏิบตั ิ และศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองเป็นรายบุคคลหรือเป็นกลุ่มโดยใชว้ ิธีการทางวิทยาศาสตร์ ภายใตก้ ารให้คาปรึกษาและการดแู ลของครูหรือผเู้ ชี่ยวชาญในเร่ืองน้นั ๆ

โครงงานวิทยาศาสตร์ 3 ผงั กราฟิ กความหมายของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ 1. ผเู้ รียนเป็นผรู้ ิเร่ิมและเลือกเรื่อง 2. เป็นกิจกรรมท่ีเก่ียวกบั ท่ีจะศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเองตามความ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สนใจตามความสนใจและระดบั ความสามารถ 3. กิจกรรมที่ใช้ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ วิธีการทางวิทยาศาสตร์ ในการศึกษาคน้ ควา้ เพ่ือตอบปัญหาที่สงสยั 5. ผเู้ รียนเป็นผวู้ างแผนในการคน้ ควา้ เก็บรวบรวมขอ้ มูลดาเนินการปฏิบตั ิทดลอง 4. งานวิจยั เลก็ ๆ ของผเู้ รียน หรือประดิษฐค์ ิดคน้ รวมท้งั แปรผล สรุปผล ท่ีมีเน้ือหาเก่ียวขอ้ งกบั วิทยาศาสตร์ และนาเสนอผลการศึกษาคน้ ควา้ ดว้ ยตนเอง หรือขอ้ สงสยั ของผเู้ รียนโดยใช้ โดยมีครูหรือผทู้ รงคณุ วฒุ ิเป็นผใู้ หค้ าปรึกษา กระบวนการทางวิทยาศาสตร์

โครงงานวิทยาศาสตร์ 4 ประเภทของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ในการแบง่ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ สามารถแบ่งไดด้ งั น้ี 1. แบ่งตามลักษณะของกจิ กรรม การแบ่งประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามลกั ษณะของกิจกรรมแบง่ ได้ 4 ประเภทคือ 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการสารวจ 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการทดลอง 3. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทส่ิงประดิษฐ์ 4. โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททฤษฎี 2. แบ่งตามแหล่งท่ีมา การแบง่ ประเภทของโครงงานวิทยาศาสตร์ ตามแหลง่ ท่ีมาแบ่งได้ 2 ประเภท คือ 1. โครงงานวิทยาศาสตร์ตามสาระการเรียนรู้ เชน่ โครงงานทางเคมี ชีววิทยา ฟิ สิกส์ คณิตศาสตร์ คอมพิวเตอร์ เป็นตน้ 2. โครงงานวิทยาศาสตร์ตามความสนใจ เชน่ โครงงานวิทยาศาสตร์ การเกษตร โดยลกั ษณะของโครงงานจะเก่ียวกบั เกษตรท้งั ส้ิน 3. แบ่งโดยใช้แบบแผนของโครงงานเป็ นเกณฑ์ การใชแ้ บบแผน หรือรูปแบบของโครงงานเป็นเกณฑ์ในการกาหนด แบง่ ได้ 2 รูปแบบ คือ 1. โครงงานที่ไมเ่ ป็นแบบแผน เป็นโครงงานท่ีไม่จาเป็นตอ้ งเขียนโครงงาน เพียงแต่ดาเนินการตามท่ีกาหนดไว้ อาจเป็นใบงาน หรือชิ้นงานกไ็ ด้ 2. โครงงานตามแบบแผน เป็นโครงงานที่จดั ทาเป็นลายลกั ษณ์อกั ษร มี ระเบียบวิธีจดั ทาเป็นข้นั ตอนอยา่ งชดั เจน

โครงงานวิทยาศาสตร์ 5 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการสารวจ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการสารวจ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทการสารวจ เป็นโครงงานที่ตอ้ งศึกษา ติดตามรวบรวมขอ้ มลู เพ่ือนาขอ้ มูลมาเสนอใหม่ดว้ ยตนเองโดยจะมีวิธีการสารวจ และรวบรวมขอ้ มลู ไดห้ ลายแนวทาง ดงั น้ี 1. สารวจข้อมูลภาคสนาม เป็นการสารวจขอ้ มลู ในภาคสนาม ท้งั ขอ้ มลู ท่ีมีอยตู่ ามธรรมชาติ เชน่ การสารวจชนิดของพืชหรือสตั วใ์ นทอ้ งถ่ิน เป็นตน้ 2. สารวจและรวบรวมข้อมูลจากธรรมชาตมิ าวเิ คราะห์ในห้องปฏบิ ัตกิ าร เป็นการนาขอ้ มูลท่ีไดม้ าวิเคราะห์ดว้ ยเทคนิคตา่ ง ๆ ในห้องปฏิบตั ิการ เช่น การสารวจความเป็นกรดเบสของแหลง่ น้า เป็นตน้ 3. สารวจและรวบรวมข้อมูลโดยจาลองแบบ เป็นการสารวจและรวบรวมขอ้ มลู โดยจาลองแบบจากธรรมชาติ เชน่ การศึกษาพฤติกรรมการกินอาหารของหนอนตน้ ดอกรัก เป็นตน้

โครงงานวิทยาศาสตร์ 6 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการทดลอง โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการทดลอง เป็นโครงงานที่ตอ้ งมีการออกแบบการทดลองเพ่ือหาคาตอบของปัญหาน้นั อาจเป็นปัญหาที่เคยเรียนในช้นั เรียน ซ่ึงอาจมองในแง่วา่ เป็นการพิสูจน์ใหเ้ ห็นจริง ดว้ ยตนเอง แต่การทดลองควรคิดวิธีที่ต่างไปจากที่เคยทาในช้นั เรียน ตวั อย่างโครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการทดลอง เช่น - การศึกษาอิทธิพลของแสงสีตา่ ง ๆ ที่มีตอ่ การเจริญเติบโตของพืชบางชนิด - การศึกษาการเจริญเติบโตของพืชในสนามแมเ่ หลก็ - การศึกษาอิทธิพลของฮอร์โมนเพศชายในสตั วต์ วั เมีย - การทดลองใชผ้ กั ตบชวาในการกาจดั น้าเสีย โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทการทดลอง มีข้นั ตอนสาคญั สรุปไดด้ งั น้ี 1. กาหนดปัญหา 2. ต้งั สมมติฐาน 3. ออกแบบการทดลอง 4. ดาเนินการทดลอง 5. รวบรวมขอ้ มลู 6. แปลความหมายขอ้ มลู และสรุปผล

โครงงานวิทยาศาสตร์ 7 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดษิ ฐ์ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภทสิ่งประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภทส่ิงประดิษฐ์ เป็นโครงงานท่ีมีการพฒั นา หรือประดิษฐเ์ ครื่องมือเคร่ืองใชอ้ ุปกรณ์ต่าง ๆ ให้ใชง้ านไดต้ ามวตั ถุประสงค์ โดยอาศยั ความรู้หรือหลกั การทางวิทยาศาสตร์มาประยกุ ต์ใช้ อาจเป็นการประดิษฐ์ ส่ิงใหมท่ ่ียงั ไมเ่ คยมีมาก่อน หรือการปรบั ปรุงอุปกรณ์ หรือส่ิงประดิษฐท์ ี่มีอยแู่ ลว้ ให้ใชง้ านไดด้ ีมีประสิทธิภาพสูงข้ึน นอกจากน้นั อาจเป็นการเสนอ หรือ สร้างแบบจาลองทางความคิดเพ่ือแกป้ ัญหาใดปัญหาหน่ึงกไ็ ด้ ตวั อยา่ ง เชน่ เคร่ืองกรองน้าอยา่ งง่าย เคร่ืองกรองคราบน้ามนั การประดิษฐเ์ ครื่องร่อน เครื่องเตอื นอคั คีภยั ระบบความดนั แยก รูปแบบการจดั การจราจรบริเวณทาง บา้ นยคุ นิวเคลียร์ เป็นตน้

โครงงานวิทยาศาสตร์ 8 โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภททฤษฎี โครงงานวทิ ยาศาสตร์ประเภททฤษฎี โครงงานวิทยาศาสตร์ประเภททฤษฎี เป็นโครงงานที่นาเสนอทฤษฎี หลกั การหรือแนวคิดใหม่ ซ่ึงอาจจะอยใู่ นรูปของสูตร สมการ คาอธิบาย โดย ผจู้ ดั ทาโครงงาน ต้งั กติกา หรือขอ้ ตกลงข้ึนมาแลว้ นาเสนอทฤษฎี หลกั การแนวคิด จิตนาการของตนเองตามกติกา หรือขอ้ ตกลงน้นั เป็นการจดั ทาโดยการขยายทฤษฎี หรือแนวคิดเดิม โครงงานประเภทน้ีเป็นโครงงานวทิ ยาศาสตร์ หรือ โครงงาน คณิตศาสตร์กไ็ ด้ เช่น โครงงาน เร่ือง “ กาเนิดของทวีปและมหาสมทุ ร ” เป็นการ สร้างแบบจาลองทฤษฎี อธิบายการเกิดของทวีป และมหาสมุทรว่าเกิดข้ึนไดอ้ ยา่ งไร โดยอาศยั หลกั ฐาน ทางประวตั ิศาสตร์ และทฤษฎีทางวิทยาศาสตร์มา อา้ งอิง ซ่ึงเป็นแนวความคิดที่แตกต่างไปจากแนวความคิดเดิมที่เคยมีผเู้ สนอไวก้ ่อน แลว้ หรือ โครงงานทฤษฎีของจานวน เป็นตน้ ตวั อยา่ งโครงงานประเภททฤษฎีของนกั วิทยาศาสตร์ - โครงงานประเภททฤษฎีของ ไอน์สไตน์ - โครงงานประเภททฤษฎีของ เซอร์ ไอแซกนิวตนั - โครงงานประเภททฤษฎีของ ชาลส์ ดาร์วิน

โครงงานวิทยาศาสตร์ 9 ความสัมพนั ธ์ของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ท้งั 4 ประเภท โครงงานวิทยาศาสตร์ท้งั 4 ประเภท ไกแ้ ก่ โครงงานประเภทสารวจ โครงงานประเภททดลอง โครงงานประเภทส่ิงประดิษฐ์ และโครงงานประเภททฤษฎี มีความเช่ือมโยงกันเหมือนกับรูปสี่เหลี่ยมซ่ึงประกอบดว้ ยดา้ นท้ัง 4 ด้านเพียงแต่ โครงงานแต่ละประเภทมีจุดประสงคแ์ ละวิธีการทาที่แตกต่างกนั แตเ่ มื่อทาโครงงานครบ ท้งั 4 ประเภทก็จะกลายเป็นโครงงานที่สมบูรณ์เหมือนสีเหลี่ยมท่ีตอ้ งมีดา้ นท้งั 4 ดา้ น มารวมกนั ซ่ึงกลายเป็นรูปสี่เหลี่ยมท่ีสมบรู ณ์ ตารางแสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ท้งั 4 ประเภท ประเภทของโครงงาน ตวั อย่างโครงงาน 1. โครงงานประเภทสารวจ สารวจพืชสมุนไพรที่มีคุณสมบตั ิในการห้ามเลือด 2. โครงงานประเภททดลอง นาพืชสมุนไพรในขอ้ 1 มาทดลองหาประสิทธิภาพ 3. โครงงาน นาผลการทดลองในขอ้ 2 มาประดิษฐเ์ ป็นยาห้ามเลือด ประเภทส่ิงประดิษฐ์ ทบทวนผลสรุปของการทดลองจากขอ้ 3 เพื่อยืนยนั 4. โครงงานประเภททฤษฎี แนวคิดหรือปรบั เปล่ียนแนวคิดใหม่

โครงงานวิทยาศาสตร์ 10 การทาโครงงานวิทยาศาสตร์อยา่ งง่ายผทู้ าโครงงานควรเริ่มตน้ จากการทา โครงงานประเภทการสารวจ จากน้นั ก็ทาโครงงานประเภทการทดลองแลว้ นาผลการทดลองน้นั มาสร้างสิ่งประดิษฐ์ และสุดทา้ ย คือ การทบทวนแนวคิดทฤษฎี ของเร่ืองน้นั เพ่ือตรวจสอบว่าองคค์ วามรู้น้นั ถูกตอ้ งคงทนตอ่ การพิสูจนห์ รือไม่ แผนภาพแสดงวฏั จกั รของโครงงานวทิ ยาศาสตร์ท้งั 4 ประเภท 1. สารวจ 4. ทฤษฎี โครงงานวทิ ยาศาสตร์ 3. ทดลอง 4 ประเภท 3. ส่ิงประดิษฐ์ โครงงานวิทยาศาสตร์น้นั ไซร้ ไมใ่ ชเ่ ร่ืองยาก ตอ้ งเร่ิมจากรู้ความหมาย คลายสงสยั จาใหด้ ี 4 ประเภทให้ข้ึนใจ จาแนกไปตามกิจกรรมคิดทาเอง ท้งั ข้นั ตอนการทาจาให้เก่ง วางแผนเจ๋งก่อนปฏิบตั ิชดั แจ๋ว เกือบเสร็จแลว้ โครงงานสมานฉนั ท์ เร่งแบง่ ปันเขยี นรายงานการคิดทา สุดทา้ ยควรจดจานาเสนอผลงาน จึงสาราญสาเร็จเสร็จโครงงาน

โครงงานวิทยาศาสตร์ 11 ตวั อย่าง แสดงความสัมพนั ธ์ระหว่างโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ท้งั 4 ประเภท ประเภทของโครงงาน ตวั อย่างโครงงาน 1.โครงงานประเภทสารวจ สารวจพืชท่ีมีคณุ สมบตั ิในการใชท้ าอินดิเคเตอร์ 2. โครงงาน นาพืชชนิดต่าง ๆ เชน่ ฝาง ดอกกุหลาบ กระเจ๊ียบ ประเภททดลอง มาทดลองหาประสิทธิภาพ 3. โครงงาน นาผลการทดลองในขอ้ 2 มาประดิษฐเ์ ป็นกระดาษ ประเภทส่ิงประดิษฐ์ อินดิเคเตอร์ สาหรับทดสอบความเป็นกรด - เบสของสาร 4. โครงงานประเภททฤษฎี ทบทวนผลสรุปของการทดลองจากขอ้ 3 เพื่อยืนยนั แนวคิด

โครงงานวิทยาศาสตร์ 12 บทที่ 2 ข้นั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ 1. อธิบายสรุปข้นั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 2. คิดและเลอื กหวั ขอ้ ทจี่ ะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 3. ศึกษาเอกสารที่เก่ียวขอ้ งกบั สิ่งที่จะทาโครงงานได้ 4. จดั ทาเคา้ โครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 5. ลงมือทาโครงงานวิทยาศาสตร์ตามที่วางแผนไวไ้ ด้

โครงงานวิทยาศาสตร์ 13 ข้นั ตอนการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ สถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2543 : 301) เสนอข้นั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ไว้ 7 ข้นั ตอน ดงั น้ี a. สารวจและตดั สินใจเลือกเร่ืองทจี่ ะทาโครงงาน b. ศึกษาขอ้ มลู ที่เก่ียวขอ้ งกบั เรื่องทีจ่ ะทาจากเอกสาร แหล่งขอ้ มูลตา่ ง ๆ c. วางแผนการทดลอง การใชว้ สั ดุ อปุ กรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน d. เขียนเคา้ โครงของโครงงานวิทยาศาสตร์ e. ลงมือศึกษาทดลอง วิเคราะห์ขอ้ มลู และสรุปผล f. เขียนรายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ g. เสนอผลงานของโครงงานวิทยาศาสตร์ บูรชยั ศิริมหาสาคร (2548 : 105 - 114) ไดเ้ สนอข้นั ตอน การทาโครงงานวิทยาศาสตร์ไว้ 6 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. การคิดและเลือกหวั ขอ้ โครงงาน 2. การวางแผนโครงงาน 3. การปฏิบตั ิการโครงงาน 4. การเขียนรายงานโครงงาน 5. การนาเสนอโครงงาน 6. การพฒั นาโครงงาน สาหรับผจู้ ดั ทาไดพ้ ฒั นาข้นั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ จากสถาบนั ส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (2543 : 301) และ บูรชยั ศิริมหาสาคร (2548 : 105 - 114) จึงขอเสนอข้นั ตอนการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ 6 ข้นั ตอน ดงั น้ี

โครงงานวิทยาศาสตร์ 14 ข้นั ตอนการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ มี 6 ข้นั ตอน ดงั น้ี 1. การคิดและเลือกหวั ขอ้ ที่จะทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ 3. การจดั ทาเคา้ โครงของ 2. การศึกษาเอกสารท่ี โครงงานวิทยาศาสตร์ เกี่ยวขอ้ ง 4. การลงมือทาโครงงาน 5. การเขียนรายงาน วิทยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ 6. การนาเสนอผลงานโครงงาน วิทยาศาสตร์ แนวทางการเรียนรู้ข้นั ตอนการทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์

โครงงานวิทยาศาสตร์ 15 ข้นั ตอนการทา กจิ กรรมทีป่ ฏบิ ัติ โครงงานวทิ ยาศาสตร์ ข้นั ที่ 1 การคิด และ สงั เกตปัญหาตา่ ง ๆ รอบตวั เลือกปัญหาท่ีตนเองสนใจ และ เลือกหวั ขอ้ โครงงาน พิจารณาความเป็นไปได้ เพ่ือกาหนดหวั ขอ้ ที่จะทาโครงงาน ข้นั ที่ 2 การศึกษา ศึกษาคน้ ควา้ เอกสารตา่ ง ๆ ที่เกี่ยวขอ้ ง เพ่อื ใชเ้ ป็นแนวทาง เอกสารทเ่ี ก่ียวขอ้ ง ในการออกแบบโครงงาน ข้นั ที่ 3 การจดั ทา นาแนวทางในการออกแบบโครงงานมาเขียนเป็นลายลกั ษณ์ เคา้ โครง ของ อกั ษรทีเ่ รียกว่า “ เคา้ โครง ” ซ่ึงประกอบดว้ ยหวั ขอ้ ต่อไปน้ี โครงงานวิทยาศาสตร์ ตามลาดบั ชื่อโครงงาน ชื่อผทู้ าโครงงาน ช่ือที่ปรึกษา โครงงาน ที่มาและความสาคญั วตั ถุประสงค์ ขอบเขต ข้นั ที่ 4 การลงมือทา ของโครงงาน สมมติฐาน วิธีดาเนินงาน ประโยชน์ที่ไดร้ ับ โครงงานวิทยาศาสตร์ เอกสารอา้ งอิงหรือบรรณานุกรม ดาเนินการตามที่เขียนเคา้ โครงไว้ โดยใชท้ กั ษะตอ่ ไปน้ี ข้นั ที่ 5 การเขียน รายงาน - วิธีการทาโครงงานวิทยาศาสตร์ โครงงานวิทยาศาสตร์ - ทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - ทกั ษะการบนั ทึกขอ้ มูล ข้นั ท่ี 6 การนาเสนอ - ทกั ษะการปฏิบตั ิงาน ผลงาน ประมวลผลการทาโครงงานแลว้ สรุปเป็นเอกสารรายงาน โครงงานวิทยาศาสตร์ ซ่ึงมี 5 บท ไดแ้ ก่ บทท่ี 1 บทนา บทที่ 2 บทเอกสาร ที่เก่ียวขอ้ ง บทท่ี 3 วิธีดาเนินการ บทที่ 4 ผลการ วิเคราะห์ขอ้ มลู บทท่ี 5 สรุป อภิปรายผลและขอ้ เสนอแนะ ประชาสมั พนั ธ์เผยแพร่โครงงานตอ่ สาธารณะชน ดว้ ยการบรรยายประกอบแผงโครงงานวิทยาศาสตร์ หรือนาผลงานโครงงานวิทยาศาสตร์ไปจดั นิทรรศการ

โครงงานวิทยาศาสตร์ 16 การคดิ และเลือกหัวข้อทจี่ ะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ การคิดและเลือกหวั ขอ้ ทจี่ ะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ เริ่มตน้ จากปัญหา หรือความ สนใจใคร่รู้ของผูเ้ รียนซ่ึงจะตอ้ งสารวจตนเองว่ามีความสงสัย และอยากคน้ หาคาตอบ เก่ียวกบั เร่ืองใด แลว้ นาปัญหาน้นั มากาหนดเป็นหวั ขอ้ เรื่องท่ีจะทาโครงงาน ซ่ึงอาจจะมี มากกวา่ 1 เร่ืองกไ็ ด้ การไดม้ าของปัญหา ที่จะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ โดยทว่ั ไปจะไดม้ าจากปัญหา คาถาม หรือ ความสนใจในเร่ือง ตา่ ง ๆ จากการสงั เกตสิ่งต่าง ๆ รอบตวั แหลง่ ปัญหา ที่จะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ไดจ้ ากแหล่งต่าง ๆ ดงั น้ี

โครงงานวิทยาศาสตร์ 17 แหล่งปัญหาท่ีจะทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ได้จากแหล่งต่าง ๆ ดงั น้ี 1. การอ่านคน้ ควา้ หนงั สือเอกสารหนงั สือพิมพว์ ารสารตา่ ง ๆ โดยไม่จาเป็น ตอ้ ง เป็ นเรื่ องราวทางวิทยาศาสตร์ 2. การไปเยยี่ มชมสถานท่ีต่าง ๆ เชน่ วนอุทยาน สวนสตั ว์ พิพิธภณั ฑ์ โรงงานอุตสาหกรรม สถานท่ีเพาะเล้ียงพืช และสตั ว์ หน่วยงานวิจยั ห้องปฏิบตั กิ ารตา่ ง ๆ 3. การฟังบรรยายทางวิชาการ การฟังและชมรายการทางวิทยุ โทรทศั น์ ตลอดจนการสนทนาแลกเปลีย่ นเรียนรู้แสดงความคิดเห็นระหว่างเพ่ือน หรือ กบั บคุ คลอื่น 4. กิจกรรมการเรียนรู้ในโรงเรียน เช่น สมบตั ิของแม่เหลก็ 5. งานอดิเรกของผเู้ รียนเอง เช่น การเล้ียงปลา 6. การเขา้ ชมนิทรรศการหรือการประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ตา่ ง ๆ 7. จากการสงสยั ของผเู้ รียนเอง เชน่ เห็นแม่ลวกผกั กวางตงุ้ โดยการเติมเกลอื ลงไปดว้ ยทาให้ผกั ลวกมีสีเขียวน่ารับประทาน จึงสงสยั ว่าเกลือมีผลทาใหผ้ กั มีสีเขียวไดอ้ ยา่ งไร 8. ปัญหาใกลต้ วั 9. ปัญหาในทอ้ งถ่ิน 10. การต้งั คาถามของครู

โครงงานวิทยาศาสตร์ 18 หลงั จากไดป้ ัญหาหรือขอ้ สงสยั ท่ีสนใจจากแหลง่ ต่าง ๆ แลว้ นามาคิดต้งั ปัญหา ซ่ึงมีข้นั ตอนการคิดต้งั ปัญหาดงั น้ี ข้นั ตอนการคิดต้ังปัญหา 1. ตอ้ งศึกษาคน้ ควา้ เรื่องน้นั ๆ ใหไ้ ดข้ อ้ มลู มากที่สุดเพื่อจะนามาต้งั ปัญหา และมีขอ้ มูลเพียงพอทจ่ี ะต้งั สมมติฐานเพื่อคาดคะเนหาคาตอบลว่ งหนา้ 2. หลงั จากไดห้ วั ขอ้ แลว้ ใหห้ าสิ่งท่ีเกี่ยวขอ้ งกบั หวั ขอ้ น้นั ๆ หรือท่ีเป็นสาเหตุ ใหเ้ กิดหวั ขอ้ น้นั ๆ 3. เลือกจบั ค่หู วั ขอ้ ท่ีเก่ียวขอ้ งหรือสาเหตทุ ี่เก่ียวขอ้ งที่สนใจที่สุดเพ่ือนามาต้งั ปัญหา โดยใหเ้ ป็นเหตเุ ป็นผลกนั เชน่ หัวข้อ ส่ิงทีเ่ กีย่ วข้อง/ ต้งั คาถาม สาเหตุ อากาศเสีย - การเผาขยะ - การเผาขยะทาให้อากาศเสียจริงหรือไม่ การเจริญ - ควนั จากรถยนต์ - ควนั จากรถยนตม์ ีผลทาใหอ้ ากาศเสียจริง เติบโต ของพืช หรือไม่ - ป๋ ยุ - ป๋ ยุ มีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชจริง - การให้น้า หรือไม่ - ป๋ ุยคอกกบั ป๋ ยุ เคมีชนิดใดพืชเติบโต ไดด้ ีกว่ากนั จริงหรือไม่ - น้าทาให้พืชมีการเจริญเติบโตไดด้ ีใช่หรือไม่ ทราบหรือไม่ว่า ! แมรี่ คูร่ี นกั วิทยาศาสตร์หญิงผคู้ น้ พบ ธาตุเรเดียม เป็น ผอู้ ุตสาหะ อดทน และพยายามมาก โดยเธอ สามารถคน้ พบ ธาตเุ รเดียม 0.1 กรัม จากสินแร่ท้งั หมด 1 ตนั

โครงงานวิทยาศาสตร์ 19 เม่ือคิดต้งั ปัญหาตามข้นั ตอนดงั กลา่ วแลว้ ข้นั ตอนตอ่ ไปเป็นการเลือก ปัญหาที่เหมาะสมเพ่ือนาไปทาโครงงานวิทยาศาสตร์ ซ่ึงมีหลกั ปฏิบตั ิดงั ตอ่ ไปน้ี การเลือกปัญหาท่ีเหมาะสมเพอ่ื นาทาโครงงานวทิ ยาศาสตร์ ในการเลือกปัญหาท่ีจะทาโครงงานวิทยาศาสตร์ส่วนมากจะไดม้ าจาก การต้งั คาถามก่อน ดงั น้นั ในการคดั เลือกคาถามที่ดีมีเกณฑใ์ นการพิจารณาดงั น้ี 1. เป็นคาถามท่ีสามารถคน้ หาคาตอบดว้ ยตนเอง และไม่ใชจ่ ากการเปิ ดตาราหรือถามใครเพื่อหาคาตอบ 2. เป็นคาถามท่ีสามารถหาคาตอบดว้ ยวิธีการตา่ ง ๆ ไดแ้ ก่ ทดสอบ การวดั การชงั่ การนบั การสารวจ 3. เป็นคาถามท่ีชดั เจน รู้ว่าจะทดสอบ วดั ชงั่ นบั และสารวจอะไร เม่ือเลอื กปัญหาไดแ้ ลว้ ก็มาถึงข้นั ตอนการตดั สินใจเลือกเรื่องทจ่ี ะทาโครงงาน วิทยาศาสตร์ซ่ึงควรพิจารณาองคป์ ระกอบสาคญั ๆ ดงั น้ี 1. ตอ้ งมีความรู้พ้ืนฐานอยา่ งเพียงพอ 2. มีแหลง่ ความรู้เพียงพอท่ีจะคน้ ควา้ หรือขอคาปรึกษา 3. สามารถจดั หาวสั ดุอปุ กรณ์ที่จาเป็นท่ีซ้ือหรือจดั ทาข้ึนเองได้ 4. มีเวลาเพียงพอท่จี ะทาโครงงาน 5. มีงบประมาณเพียงพอ 6. มีความปลอดภยั

โครงงานวิทยาศาสตร์ 20 การศึกษาเอกสารที่เก่ยี วข้อง การศึกษาเอกสารที่เกี่ยวขอ้ งในท่ีน้ีจะรวมถึงการขอคาปรึกษาจากผูเ้ ช่ียวชาญ ผทู้ รงคุณวุฒิ แหล่งขอ้ มลู อ่ืน ๆ ตลอดจนการสารวจวสั ดอุ ุปกรณ์ท่ีเกี่ยวขอ้ งดว้ ย หลงั จากท่ีผเู้ รียนไดห้ วั ขอ้ เร่ืองกวา้ ง ๆ ที่สนใจจะศึกษาคน้ ควา้ แลว้ ข้นั ตอนต่อไป คือ ศึกษาแหลง่ ขอ้ มลู หาความรู้เพิ่มเติม หรือขอคาปรึกษาจากผูเ้ ชี่ยวชาญ ผทู้ รงคุณวุฒิ โดยผทู้ าโครงงานจะตอ้ งมีการจดบนั ทึกขอ้ มลู ที่ไดจ้ ากแหล่งขอ้ มูล รวมท้งั บนั ทึก การใหค้ าปรึกษาแนะนาจากผเู้ ช่ียวชาญ ผทู้ รงคณุ วฒุ ิไวด้ ว้ ย การศึกษาเอกสารท่ีเก่ียวขอ้ งน้ีจะช่วยให้ผเู้ รียนไดแ้ นวคิดที่จะกาหนดขอบข่าย ของเรื่องท่ีจะศึกษาค้นคว้าให้เฉพาะเจาะจงมากข้ึน และไดค้ วามรู้ในเร่ืองที่จะทาการ ศึกษาเพ่ิมเติมมากข้ึนจนสามารถออกแบบ และวางแผนดาเนินการทาโครงงานน้ัน ไดอ้ ย่างเหมาะสม ดังน้นั การศึกษาเอกสารที่เก่ียวขอ้ งน้ี ผูท้ าโครงงานจาเป็ นตอ้ งมี ความรู้ความชานาญในการคน้ คว้าขอ้ มูลจากแหล่งขอ้ มูลท่ีหลากหลาย เช่น ห้องสมุด สถานที่ตา่ ง ๆ ในทอ้ งถิ่น เช่น แหล่งเรียนรู้การเล้ียงไหม แหล่งเรียนรู้การทาป๋ ุยชีวภาพ เกษตรที่สูงอาเภอด่านซ้าย หน่วยพิทกั ษ์ป่ าไม้ ตลอดจนการสืบคน้ ขอ้ มูลโดยใชร้ ะบบ อินเทอร์เน็ต เป็ นต้น ในการเข้าไปใช้แหล่งค้นคว้านอกสถานที่ควรให้ท่ีปรึ กษา ชว่ ยติดตอ่ ขอใชบ้ ริการลว่ งหนา้ เพ่ือความสะดวกในการเขา้ ใชส้ ถานท่ีน้นั ๆ ดว้ ย


nith

Share
Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook