Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore บทเรียนการช่วยฟื้นคืนชีพ

บทเรียนการช่วยฟื้นคืนชีพ

Published by ธนัญชญา แดงมูล, 2021-01-31 10:53:20

Description: บทเรียนการช่วยฟื้นคืนชีพ การช่วยชีวิตจากสถานการณ์ต่างๆ

Keywords: ช่วยฟื้นคืนชีพ,cpr,การห้าม,เลือดออก,จม,น้ำ

Search

Read the Text Version

บทเรียนออนไลน์เร่ือง การชว่ ยฟ้ืนคืนชีพ จดั ทาข้ึนเพ่ือเป็นสว่ นหน่ึงของรายวิชานวตั กรรมและเทคโยโลยี สารสนเทศ โดยคณะผูจ้ ดั ทามุง่ หมายใหเ้ กิดประโยชนต์ อ่ ผูท้ ่ีสนใจตอ่ เร่ืองการชว่ ยชีวิตในขนั้ พ้ืนฐาน ซ่ึงมีความสาคญั ตอ่ เหตุการณส์ าคญั ท่ีฉุกเฉิน ตอ่ ชีวิตท่ีตอ้ งรีบปฏิบตั ิการการชว่ ยฟ้ืนคืนชีพ บทเรียนเร่ือง การชว่ ยฟ้ืนคืนชีพ น้ี นาเสนอเร่ืองราว ของสาเหตุของการหยุดหายใจ หวั ใจหยุดเตน้ วิธีการชว่ ยฟ้ืนคืนชีพ ทง้ั วิธีการผา่ ยปอดแลละการนวดหวั ใจ และตวั อยา่ งของ การชว่ ยฟ้ืนคืนชีพ เป็นตน้ อนั จะทาใหผ้ ูท้ ่ีสนใจสามารถทราบไดถ้ ึงการชว่ ยชีวิตในขนั้ พ้ืนฐานอยา่ งถูกตอ้ งและปลอดภยั จาก บทเรียนออนไลนน์ ้ี ทางคณะผูจ้ ดั ทาขอมอบใหท้ า่ นผูอ้ า่ นทุกทา่ นและทุกคนท่ีเป็นกาลงั ใจในการทาบทเรียนออนไลนค์ รั้งน้ี คณะผูจ้ ดั ทาขอขอบพระคุณผศ.สมชาย เมืองมูล ท่ีใหค้ าปรึกษา คาแนะนาในการปรบั ปรุงแกไ้ ขและช้ีแนะการทา บทเรียนออนไลน์น่ีใหม้ ีประสิทธิภาพย่ิงข้ึน คณะผูจ้ ดั ทา

1. เพิ่มออกซิเจนใหก้ บั ร่างกายและเน้ือเยอ่ื เพ่ิมออกซิเจนใหก้ บั ร่างกายและเน้ือเยอ่ื 2. ป้องกนั สมองตายโดยการทาใหโ้ ลหิตไปเล้ียงสมองไดเ้ พยี งพอ ป้องกนั สมองตายโดยการทาให้ โลหิตไปเล้ียงสมองไดเ้ พียงพอ 3. คงไวซ้ ่ึงการไหลเวยี นของโลหิตในขณะหวั ใจหยดุ เตน้ เพอ่ื นาออกซิเจนไปสู่สมอง หวั ใจและ เน้ือเยอื่ ส่วนต่าง ๆ ของร่างกายคงไวซ้ ่ึงการไหลเวยี นของโลหิตในขณะหวั ใจหยดุ เตน้ เพ่ือนาออกซิเจน ไปสู่สมอง หวั ใจและเน้ือเยอื่ ส่วนต่าง ๆของร่างกาย 4. ดูแลผปู้ ่ วยใหก้ ลบั สู่สภาวะปกติ หลงั จากท่ีหวั ใจกลบั เตน้ ใหม่แลว้ ดูแลผปู้ ่ วยใหก้ ลบั สู่สภาวะ ปกติ หลงั จากที่หวั ใจกลบั เตน้ ใหม่แลว้

๘หนว่ ยการเรียนรู้ท่ี การช่วยฟน้ื คนื ชพี จดุ ประสงค์การเรียนรู้ • แสดงวิธกี ารชว่ ยฟืน้ คนื ชพี อย่างถกู วิธไี ด้

ความหมายของการชว่ ยฟน้ื คนื ชพี • การช่วยฟนื้ คนื ชพี หรอื การปฏิบตั กิ ารชว่ ยชวี ิต หมายถงึ วธิ กี ารช่วยเหลือ ผู้ป่วยที่กาลังจะเสยี ชีวติ ใหส้ ามารถฟ้นื คนื ชีพขึน้ มาได้ หรอื เรียกช่ือยอ่ วา่ ซี พีอาร์ (CPR = Cardiopulmonary Resuscitation) • มกี ารศึกษาวจิ ัยทไ่ี ดผ้ ลแนน่ อนแลว้ วา่ การปฏิบัติการช่วยชวี ิตโดยเร็วทส่ี ุด จะทาใหผ้ ปู้ ว่ ยที่เสียชวี ติ ฟืน้ คนื ชีพได้ โดยเฉพาะการเสยี ชวี ิตทเ่ี กิดจากการ ทห่ี วั ใจหยดุ บีบตัวและหยดุ หายใจกะทนั หัน

ความสาคญั ของการชว่ ยฟ้ืนคืนชีพ การทา CPR ให้ผ้ปู ่วยอยา่ งถกู วิธีจะสามารถชว่ ยผ้ปู ่วยได้ โดยการชว่ ยแก้ไขระบบไหลเวียนเลอื ดและระบบหายใจ การเสยี ชีวติ จะเกิดหลงั จากที่ผ้ปู ่วยหยดุ หายใจ ทาให้ร่างกายขาดออกซเิ จนท่ีจะเลยี ้ งอวยั วะท่ีสาคญั โดยเฉพาะสมอง เป็นการตอ่ ระยะเวลาของผ้ปู ่วย เพ่ือรอให้ผ้ปู ่วยได้รับการช่วยเหลอื อยา่ งเตม็ ที่ต่อไป



ข้นั ตอนปฏิบตั ใิ นการชว่ ยฟน้ื คืนชพี • สังเกตการตอบสนองของผ้ปู ่วย โดยตรวจดูวา่ ผปู้ ่วยยังรู้สึกตัวหรอื ไม่ อาจจะด้วยการเขย่าตัวเบาๆ หรอื ถามเสียงดังๆ ว่า “คณุ เปน็ อะไรหรือเปลา่ ” หากผูป้ ่วยไมม่ กี ารตอบสนองแสดงว่าไมร่ ู้สกึ ตัว • เรยี กคนท่ีอยใู่ กลเ้ คียงชว่ ยเหลอื ถา้ ไมม่ ีควรท่ีจะทาการชว่ ยเหลือดว้ ยตนเอง โดยจดั ท่าของผู้ปว่ ยให้ อยูใ่ นลักษณะทา่ นอนหงายบนพน้ื เรยี บทีแ่ ขง็ พอสมควร จดั ใหศ้ ีรษะของผปู้ ว่ ยอยู่ต่ากวา่ ระดบั หวั ใจ • ผชู้ ว่ ยเหลือนง่ั คุกเข่าใกล้กับบริเวณไหล่ของผปู้ ่วย ใชม้ อื ข้างหนึ่งกด หนา้ ผากของผู้ป่วยเอาไว้ มืออีกขา้ งดันคางให้หน้าแหงนขน้ึ จนกระท่งั ฟันบนและลา่ งเกอื บจะชิดกนั แต่อย่าให้ปิดสนิทเพอ่ื เปน็ การเปดิ ทางเดินหายใจให้เพยี งพอจากนั้นเอาแก้มแนบใกล้กบั ปากของผู้ป่วย เพื่อสัมผัสลมหายใจ

• ถ้าไมส่ ามารถฟงั หรอื สัมผสั ลมหายใจได้ แตท่ รวงอกมกี ารเคลื่อนไหวอยู่ แสดงวา่ อาจมีส่ิงแปลกปลอม เขา้ ไปอุดตันบรเิ วณทางเดินหายใจผชู้ ว่ ยเหลอื จะต้องจับศีรษะของผู้ปว่ ยใหเ้ อยี งดา้ นข้าง และใช้น้วิ มอื ๒ น้ิว ลว้ งเขา้ ไปในปากเพื่อเอาสิ่งแปลกปลอมทอ่ี าจอย่ภู ายในปากออก ซ่งึ เปน็ สงิ่ กดี ขวางทางเดนิ หายใจ • ถ้าผปู้ ่วยไมห่ ายใจจะตอ้ งชว่ ยเหลอื ให้เกดิ การหายใจขึ้น โดยวิธีเปา่ ปาก (Mouth to Mouth) ใหผ้ ู้ ช่วยเหลือใชน้ ิ้วช้แี ละน้วิ หัวแม่มือบีบจมกู ของผปู้ ่วยใหแ้ น่นฝ่ามอื กดหนา้ ผากให้หน้าแหงนขึ้น เหมอื นเดมิ จากนนั้ สดู ลมหายใจเข้าให้เต็มที่แลว้ อ้าปากใหก้ ว้าง และประกบปากแนบกับปากของ ผปู้ ว่ ยใหส้ นิท พรอ้ มกบั เปา่ ลมเขา้ ปากของผู้ป่วยช้าๆ เพ่ือใหป้ อดของผปู้ ว่ ยขยายเต็มที่ แล้วเปา่ ปาก คร้งั ที่สองเม่ือผปู้ ว่ ยหายใจออกกอ่ น (การใช้วธิ ีเป่าปากควรมสี ิ่งทกี่ ั้นระหว่างผู้ชว่ ยเหลือกบั ผปู้ ว่ ย) นอกจากนคี้ วรระมัดระวังการช่วยเหลือผู้ท่ตี ิดเชอ้ื เอดส์ (HIV) โดยการตรวจดวู า่ ผปู้ ว่ ยมีแผลในปาก หรือบริเวณหนงั รอบปากหรือไม่ก่อนการชว่ ยเหลอื

• ภายหลังจากการเป่าปาก ๒ คร้ังไปแลว้ ให้ตรวจดูชพี จรแตถ่ ้าคลาชีพจร ไม่พบใหท้ าการนวดหวั ใจทนั ทโี ดยให้ผู้ช่วยเหลือนง่ั คุกเข่าลงขา้ งลาตัว ผู้ปว่ ยบริเวณหน้าอก และใช้น้วิ มือสัมผสั ทก่ี ระดูกชายโครง แล้วเลอ่ื น น้ิวมากดตรงกลางจนกระทัง่ นิ้วนางสัมผัสกับปลายกระดกู หนา้ อก โดยให้ ปลายนิ้วชแ้ี ละนว้ิ กลางวางบนกระดกู หนา้ อกตอ่ จากนว้ิ นางแล้วใช้สนั มอื อกี ข้างหน่งึ วางตรงก่งึ กลางกระดูกหน้าอกตาแหน่งท่ีอยู่ถัดจากนิ้วช้ขี ้นึ ไป ข้างบน จากนั้นวางมืออกี ข้างหน่ึงทับลงบนมอื ทอี่ ยชู่ ดิ กระดูกหนา้ อก โดย ให้น้วิ มือบนสอดประสานในงา่ มนิ้วมอื ล่างพอดี • คกุ เขา่ และโนม้ ตัวไปขา้ งหนา้ โดยให้แขนตัง้ ฉากกับหนา้ อกของผ้ปู ่วย แขนเหยียดตรง จากนนั้ กดลง ดว้ ยนา้ หนกั ทท่ี าใหก้ ระดกู หนา้ อกนน้ั ยุบตวั ลงประมาณ ๓-๕ เซนตเิ มตร ดว้ ยอัตราอยทู่ ่ีประมาณ๑๐๐ ครง้ั ต่อนาที • ให้นับจานวนครงั้ ท่ีกดเปน็ จงั หวะ ๑ - ๓๐ ไปจนครบ ๓๐ ครั้ง โดยออกเสยี งเปน็ สองพยางคต์ ้งั แต่ ๒๑ ว่า ยสี ิบเอ็ด แล้วจงึ สลบั กบั การเป่าปาก ๒ ครง้ั ซงึ่ ถอื เปน็ ๑ รอบ ภายหลงั ที่ปฏิบตั ิครบ ๔ รอบ ให้ตรวจชีพจร และการหายใจอกี ครั้ง แต่ถ้าคลาชพี จรไมพ่ บใหก้ ดหนา้ อกต่อไป หรอื คลาชีพจรได้แตไ่ มห่ ายใจให้เป่าปาก ต่อไป

หลกั ปฏบิ ตั ิโดยทั่วไปในการชว่ ยฟน้ื คนื ชีพ • ไม่วา่ จะเหตผุ ลใดๆ หรือมีเหตุการณอ์ ย่างอนื่ เกิดขึน้ อย่าหยุดการปฏิบตั กิ ารชว่ ยชวี ติ นานกว่า ๕ วินาที ยกเว้น กรณตี ้องปฏบิ ตั กิ ารคนเดียว และจาเปน็ ต้องโทรศพั ทเ์ รียกรถพยาบาลให้มาชว่ ย • ระหว่างท่ีอยูใ่ นรถพยาบาลไปจนถงึ หอ้ งฉกุ เฉนิ ท่โี รงพยาบาล อยา่ หยุดการปฏบิ ัตกิ ารช่วยชวี ิตเป็นอันขาด และจะต้องทาติดต่อเร่อื ยไปถึงแมผ้ วู้ ่าป่วยจะอยู่บนเปลหามท่ีกาลังจะยกเขา้ ไปในสถานพยาบาลก็ตาม • ถา้ หากตอ้ งหามลงหรือข้นึ บันได ควรปฏิบตั ิการช่วยชีวิตก่อนขน้ึ หรือลงบันได โดยให้ผูห้ ามเปลลงหรอื ข้นึ บนั ไดให้เร็วท่สี ดุ เมือ่ เปลถงึ พ้ืนราบ ใหร้ ีบทาการช่วยชีวิตต่อทนั ทอี ย่างช้าทส่ี ุดต้องหยดุ ไม่เกนิ ๓๐ วนิ าที การโทรศัพทแ์ จง้ ศูนย์บรกิ ารช่วยชีวติ ผปู้ ่วยฉุกเฉิน ควรใหข้ อ้ มลู ดงั นี้ • สถานที่เกดิ เหตุ • หมายเลขโทรศัพท์ • เหตกุ ารณท์ ี่เกดิ ข้นึ เชน่ อบุ ตั เิ หตรุ ถชน ผูป้ ่วยหวั ใจวาย เปน็ ตน้ • จานวนผู้ปว่ ยท่ีต้องการความชว่ ยเหลือ • สภาพผู้ป่วยในขณะนั้น • การปฏิบัติการช่วยชวี ติ ที่ไดก้ ระทาไปแล้ว

• ถ้าการเป่าลมเข้าปากของผู้ปว่ ยทม่ี ภี าวะทางเดนิ หายใจอดุ ตนั ไม่ไดผ้ ล ก็ไม่มปี ระโยชนท์ จ่ี ะไปกดหน้า ทอ้ งหรือกดหน้าอก ให้เลอื ดเข้าหรือออกจากหวั ใจ เพราะไม่มอี อกซเิ จนเข้าปอด แตค่ วรแก้ไขการอุด ตันทางเดนิ ลมหายใจของผู้ปว่ ยเสยี ก่อน • ความเรว็ ในการปฏบิ ัตมิ คี วามสาคัญมากทสี่ ดุ ซึ่งควรไดร้ ับการฝกึ มาเปน็ อย่างดี • ในการกดหนา้ อกควรวางมือให้ถูกต้อง ถา้ หากวางมอื ไมถ่ กู ตอ้ ง อาจไปกดกระดกู ซีโ่ ครงจนหักหรอื ปลายกระดูกหน้าอกหกั ซึง่ ปลายหกั ที่แหลมอาจไปทิ่มตับ ปอดและม้ามได้ ซงึ่ ทาให้เกิดอนั ตรายถงึ ชีวิต • ควรปลอ่ ยมอื หลังจากกดกระดูกหนา้ อก เพ่อื ให้หัวใจขยายตวั และเลอื ดจะได้เขา้ สหู่ วั ใจไดม้ ากและทา ให้การกดหน้าอกครั้งตอ่ ไปมีเลือดจานวนมากออกจากหัวใจ • ไม่กดหนา้ อกเร็วและแรงเกินไปเพราะอาจทาใหห้ ัวใจชา้ หรือกระดูกหกั ได้



• ขณะปฏิบัติการกดหนา้ อก ถา้ ได้ยนิ เสยี งเหมอื นกระดกู แตกหรือหักต้องหยดุ ทนั ที และตรวจดูตาแหนง่ ท่วี างมือให้ถกู ตอ้ ง • ขณะปฏบิ ตั กิ ารหากผปู้ ว่ ยอาเจียนซ่ึงอาจเกิดจากมีลมในกระเพาะอาหารมาก ให้ ตะแคงศีรษะผู้ป่วยไปทางดา้ นขา้ ง และพยายามใช้น้ิวมอื ลว้ งเศษอาหารออกจาก ปากใหม้ ากที่สดุ เทา่ ทีจ่ ะทาได้ เพอ่ื ปอ้ งกนั ไม่ใหเ้ ศษอาหารตกลงไปในหลอดลม และเม่อื ลว้ งเศษอาหารออกไปหมดแลว้ จับผู้ปว่ ยแหงนคอในทา่ นอนหงาย เพอ่ื ทา การปฏบิ ตั กิ ารชว่ ยชีวิตตอ่ ไป

การฝึกทาCPR





ขอ้ ควรระวงั การทาCPR

ใบงาน เรื่อง การช่วยฟ้ื นคืนชีพอย่างถกู วิธี คาช้ีแจง ใหน้ ักเรียนตอบคาถามท่ีกาหนดใหถ้ ูกตอ้ ง 1. การชว่ ยฟ้ืนคืนชีพมีความสาคญั อยา่ งไร 2. ผูป้ ่วยท่ีหวั ใจหยุดการทางานจะสามารถสงั เกตไดอ้ ยา่ งไร 3. เพราะเหตุใด กอ่ นการนวดหวั ใจจึงควรวางมือใหถ้ ูกตาแหน่ง 4. การโทรศพั ทแ์ จง้ ศูนยบ์ ริการชว่ ยชีวิตผูป้ ่วยฉุกเฉิน ควรใหข้ อ้ มูลของผูป้ ่วยอยา่ งไร 5. การชว่ ยฟ้ืนคืนชีพควรคานึงถึงส่ิงใดมากท่ีสุด

การห้ามเลือด • โดยปกตเิ มื่อคนเรามีบาดแผล หากบาดแผลไม่ใหญ่เกินไป เลอื ดมกั จะหยุดได้เองภายในเวลาอันรวดเร็ว จากการทาหนา้ ท่อี ย่างมีประสทิ ธิภาพของกลไกการห้ามเลือดของรา่ งกาย คือ การหา้ มเลือดของร่างกาย โดยอาศัยหลอดเลือดและสว่ นประกอบของเลอื ดคือ เกล็ดเลอื ด (platelet) และโปรตนี ต่างๆ รวมกนั เป็น ผลทาใหเ้ กิดลมิ่ เลอื ดขึ้น • เมื่อรา่ งกายมกี ารตกเลอื ดภายนอกหมายถึงการทีห่ ลอดเลือดถูกทาลายและมเี ลือดออกมาใหเ้ ห็น ถ้าเป็น การตกเลือด ท่ีออกมาจากหลอดเลือดแดง จะมีสีแดงจัด โดยพุ่งออกมาตามจงั หวะการเตน้ ของหวั ใจ ซ่ึงจะ เปน็ อนั ตรายถ้าเลอื ดไม่หยดุ และไมไ่ ด้ห้ามเลอื ด ผู้ปว่ ยจะเสยี ชีวติ ภายใน ๓-๕ นาทีหากเลอื ดออกจาก หลอดเลอื ดดาจะมีสีคอ่ นข้างคลา้ ถ้าเปน็ หลอดเลือดใหญ่กอ็ าจจะพุ่งได้ และถา้ เลือดออกแบบซึมๆ แสดงว่าเป็นเลอื ดทเ่ี กิดจากหลอดเลอื ดฝอย ซง่ึ จะสามารถหยดุ ไดเ้ อง

วธิ กี ารห้ามเลือด ใชน้ วิ้ กดลงบนบาดแผลตรงทีม่ เี ลือดออก มอื ทใ่ี ช้กดต้องล้างและ ๑ ฟอกสบ่ใู ห้สะอาดหรืออาจทาโดยใช้ผ้าสะอาดวางระหว่างมอื และ บาดแผลกอ่ น แล้วใชน้ ้ิวกดว่าเลือดซมึ อยู่ทผ่ี า้ หรือไมถ่ ้าเลือดไม่ หยดุ หรือซมึ มากท่ีผา้ อยา่ เอาผา้ ออก แตใ่ หใ้ ช้ผ้าผนื ใหม่ปิดและกด ทบั ลงไปทีเ่ ดมิ ๒ ยกส่วนท่ีมเี ลอื ดออกให้สูงขึน้ กว่าระดบั หัวใจ เชน่ ยกแขน หรือถ้า เลอื ดออกท่ีขากใ็ หน้ อนยกขาสูงข้ึน ยกเว้นในกรณที ีม่ กี ระดกู หัก ร่วมดว้ ยต้องพยายามให้อวัยวะสว่ นนน้ั อยูน่ ่ิงมากทีส่ ดุ ถ้าบริเวณที่ตกเลอื ดอย่ตู ่ากว่าข้อพับของขอ้ ศอก หรอื ขอ้ เข่า ใหใ้ ช้ ๓ ผ้าหรือสาลมี ว้ นวางท่ีขอ้ พับ และพบั ขอ้ ศอกหรอื ขอ้ เขา่ นัน้ ไว้ แลว้ ใช้ผา้ สะอาดพนั รอบๆ ข้อพบั ไวใ้ หแ้ นน่ วิธนี ีเ้ รยี กวา่ วิธใี ช้ “แพด แอนด์ แบนดเ์ ดจ” (Pad and Bandage) ท่ขี อ้ พับ

วิธกี ารห้ามเลือด (ต่อ) ๔ การใชน้ า้ แขง็ ประคบท่บี รเิ วณแผล ซ่งึ ความเย็นจะทาใหห้ ลอดเลอื ด ตีบ และเลือดที่ออกมาจะแขง็ ตวั ได้ การใชส้ ายรัด หรอื ทูนิเก้ (Tourniquet) รัดเหนอื แผล เปน็ การห้าม เลอื ดบริเวณแขนหรือขา เพือ่ ห้ามเลือดไมใ่ หไ้ ปสบู่ ริเวณแผลน้ัน ซ่งึ ๕ การใชว้ ิธีนี้ตอ้ งทาด้วยความระมัดระวังอย่างมาก โดยให้คลายสายรัด ออกเปน็ ระยะๆ เนือ่ งจากการใชส้ ายรัดอาจทาให้เกดิ อนั ตรายหรือ การบาดเจบ็ เพม่ิ ขน้ึ ได้ เพราะตอ้ งรัดเนอ้ื เย่อื ซ่งึ อาจนาไปสู่การ ทาลายอย่างถาวรของเสน้ ประสาทหรอื เสน้ เลอื ด นอกจากนย้ี งั เป็น การตดั การไหลเวียนของเลอื ดท้งั หมดทีจ่ ะไปเล้ียงอวัยวะสว่ นปลาย นนั้ ๆ ซง่ึ ไมแ่ นะนาให้ใช้วิธีน้ีถา้ ไมจ่ าเปน็

การห้ามเลอื ดตามตาแหนง่ ต่างๆ ของร่างกาย ๑ ศรี ษะ ใชผ้ า้ สะอาดทบั กันหนาๆ แทนผ้าพันแผลหรอื ผ้ากอ๊ ซ หรือใชส้ าลีหนาๆวางบนตาแหนง่ ท่ี เลือดออก แลว้ ใช้ผา้ พนั แผลพันให้แนน่ ๒ ล้นิ หรอื ริมฝีปาก ใชน้ ิ้วหัวแมม่ ือหรือนิ้วชี้บบี ท่สี องข้างของแผล ๓ บริเวณคอ ใชน้ ิว้ มอื กดบนหลอดโลหิตหรือใชผ้ า้ หนาๆ สาลหี นาๆ วางซอ้ นกนั แล้วกดด้วยนว้ิ มอื หรืออาจใชผ้ า้ พนั แผลพันด้วยกไ็ ด้ ๔ บริเวณต้นแขนหรือปลายแขน ยกแขนใหส้ ูงขน้ึ แล้วอาจใชส้ ายยางรดั ดว้ ย ๕ ข้อมอื ใช้นิ้วกดหรอื ใช้ผา้ หนาๆ กดรวมกับสายยางรดั

การหา้ มเลอื ดตามตาแหน่งต่างๆ ของร่างกาย (ต่อ) ๖ ฝ่ามอื ให้ผ้ปู ว่ ยกาผ้าหรือสาลที ่ีสะอาดให้แน่น แล้วใชผ้ ้าพันรอบมอื ไว้ เมอื่ ห้ามเลือดแลว้ ควรใช้ ผ้าคลอ้ งคอห้อยแขนไวด้ ้วย ๗ ต้นขาและขา ใชน้ ้ิวกดหรือสายยางรดั เหนือแผลแล้วยกขาใหส้ งู เทา้ ใชว้ ิธแี พด แอนด์ แบนดเ์ ดจ โดยยกเท้าใหส้ ูง ๘ • ในการหา้ มเลอื ดแตล่ ะตาแหนง่ ของบาดแผลจะใชว้ ิธกี ารหา้ มเลอื ดวิธใี ดกต็ ามผปู้ ฐมพยาบาล ควร พิจารณาลกั ษณะของเลือดท่ีออกและปริมาณเลอื ดท่ีออกและพยายามหาวธิ ีส่งผปู้ ่วยไปยงั สถานพยาบาลใหเ้ ร็วทสี่ ุด

การชว่ ยฟืน้ คนื ชีพในสถานการณ์ต่างๆ อุบตั เิ หตุจากการจราจรทางบก อบุ ัติเหตุที่เกิดจากการจราจรทางบก เช่น รถชน รถพลกิ คว่า เป็นต้น เมอื่ พบเห็นเหตุการณ์ ควรปฏิบตั ิเพื่อให้การช่วยฟน้ื คนื ชพี ดงั น้ี • ควบคุมสติ ระงบั ความต่ืนเตน้ ตกใจ • ปดิ สวติ ซ์รถทีเ่ กดิ อบุ ตั ิเหตุ สารวจอาการของผูบ้ าดเจ็บ อยา่ เคล่ือนยา้ ยผบู้ าดเจ็บ ยกเว้นรถทีอ่ าจเกิดไฟลุกไหม้ • แจ้งตารวจ โทรศพั ท์ ๑๙๑ หรือหน่วยแพทยฉ์ กุ เฉนิ โทรศัพท์ ๑๖๖๙ • นากิ่งไม้มาขวาง เพอ่ื ทาสัญญาณเตอื นภัยอบุ ัตเิ หตุ • ช่วยผปู้ ่วยตามลาดับก่อน-หลัง ดงั นี้ ๑.คนที่หมดสติ และไม่หายใจ ให้ชว่ ยหายใจด้วยวธิ ีเปา่ ปาก หรอื ถา้ หวั ใจหยุดเต้น ให้ปฏิบตั กิ ารนวดหัวใจ ตามทไี่ ดก้ ล่าวมาแลว้ ในขน้ั ตอนปฏบิ ตั ิในการชว่ ยฟื้นคนื ชีพ ๒.คนทีเ่ ลือดออกมาก ใหต้ รวจสอบดวู ่าเลือดออกบริเวณใด แล้วปฏิบตั ิการห้ามเลอื ดตามวิธีทไ่ี ดก้ ล่าวมาแลว้ ในขา้ งต้น ๓.คนทีห่ มดสติแตย่ งั หายใจได้เอง จดั ทา่ ใหผ้ ู้ปว่ ยนอนราบ จากนนั้ คลายหรอื ถอดเสื้อผ้าของผ้ปู ่วยออกเทา่ ท่ี จาเปน็ คอยสังเกตอาการ • รีบนาผู้ปว่ ยสง่ สถานพยาบาลโดยเรว็ ทีส่ ดุ • จดจา บนั ทึกเหตกุ ารณ์ และวธิ กี ารช่วยฟ้นื คนื ชีพทไี่ ด้ปฏบิ ตั ิไปแลว้

อบุ ัติเหตุจากการจมน้า การจมนา้ (Drowning) โดยทั่วไป เกิดจากการหายใจไมอ่ อกหรือหายใจไม่เขา้ เพราะหายใจเอานา้ เขา้ ไปแทนที่ ซ่ึงเป็นภาวะที่ เสี่ยงต่อการเสียชวี ติ หากไมไ่ ด้รบั การช่วยเหลืออย่างทันทว่ งที ซ่ึงหากพบเหน็ เหตุการณ์ควรใหค้ วามชว่ ยเหลอื โดยการปฏบิ ตั ิ ดังนี้ • ตรวจสอบการหายใจและคลาชพี จร ถ้าไม่หายใจให้ช่วยหายใจดว้ ยวิธปี ากต่อปาก หรือถา้ หวั ใจหยดุ เต้น ให้ปฏบิ ัตกิ าร นวดหวั ใจ • ถ้าต้องการเอาน้าออกจากกระเพาะอาหารและปอด ใหป้ ฏบิ ัติโดย • ใชน้ ิว้ มือล้วงคอใหอ้ าเจยี น แลว้ จับแบกพาดบ่า ใหบ้ ริเวณท้องอยบู่ นบ่า ศรี ษะห้อยลงไปด้านหลัง แลว้ พาวงิ่ ซึ่งจะช่วยเขยา่ ให้น้าออก • ใหผ้ ปู้ ว่ ยนอนคว่า ผ้ชู ว่ ยเหลือยืนคร่อมผู้ปว่ ยตรงระดบั สะโพก โดยหนั หนา้ ไปทางศีรษะของผูป้ ว่ ย หลังจากน้ัน ใหใ้ ช้มือทง้ั สองจับบรเิ วณใตช้ ายโครงของผูป้ ว่ ยแล้วยกขน้ึ และวางลงสลับกัน ซงึ่ จะทาให้น้าออกทางปากและ จมูก โดยจะช่วยใหผ้ ู้ป่วยเริม่ หายใจได้บ้าง

• ลงมือทาการผายปอด เมื่อผ้ปู ว่ ยเริ่มหายใจ • ใหค้ วามอบอนุ่ แกร่ ่างกาย โดยการใชผ้ ้าหรือเสื้อหนาๆ คลุมร่างกายของผูป้ ่วยไว้ และคอยหมนั่ เช็ดตัวผู้ป่วยให้แห้ง แลว้ รีบนาสง่ สถานพยาบาลโดยเรว็ ขอ้ ควรระวัง ภายหลังที่ประเมินการหายใจแล้วพบวา่ เมื่อทาการเปิดทางเดนิ หายใจแล้วผู้ป่วยยังคงไมห่ ายใจ และถ้าไม่สามารถช่วยชีวิต ด้วยวธิ ปี าก ต่อปากได้ ให้เรมิ่ ปฏบิ ัตกิ าร ดังน้ี ๑. จัดทา่ ศีรษะใหมใ่ หถ้ ูกตอ้ ง พยายามชว่ ยหายใจด้วยวธิ ีปากตอ่ ปากอีกครงั้ ๒. ถ้าชว่ ยหายใจแลว้ ยังเป่าลมไม่เขา้ จับผปู้ ่วยนอนตะแคงตบบรเิ วณหลงั ๔ ครั้ง ติดต่อกัน ๓. กดบริเวณหนา้ ทอ้ งหรือหน้าอก ๔ คร้งั ตดิ ต่อกัน ๔. ยกคางขน้ึ ใชน้ ิ้วมือลว้ งเอาสิง่ แปลกปลอมออกจากปาก ๕. เริม่ ชว่ ยหายใจดว้ ยวธิ ีปากต่อปากใหมอ่ ีกครง้ั

อบุ ตั ิเหตุจากการถกู ไฟไหม้ กรณที เ่ี กดิ เพลงิ ไหม้ นอกจากผ้ปู ่วยจะหายใจสดู เอาควนั เขา้ ไปแลว้ บางรายอาจมีอาการช็อก หรอื บางรายอาจถกู ไฟลวก หรอื ถูกความรอ้ นทีท่ าให้พพุ อง ซึ่งผู้ใดทพ่ี บเห็นเหตุการณ์ควรใหค้ วามช่วยเหลือ ดว้ ยการปฏิบัติ ดังนี้ • ยา้ ยผปู้ ่วยออกจากสถานท่เี กิดเหตุโดยเร็ว โดยยา้ ยผปู้ ่วยไปอยใู่ นทที่ ม่ี ีอากาศบริสุทธ์แิ ละถ่ายเทไดส้ ะดวก • คลายเสือ้ ผา้ ของผ้ปู ่วยให้หลวม เพื่อให้ผู้ปว่ ยหายใจไดส้ ะดวก • ตรวจดูบาดแผลท่อี าจถกู ไฟลวกหรือถูกความร้อนท่ที าให้พพุ อง ซึง่ ถ้ามีให้รีบปฐมพยาบาลเบ้อื งตน้ ทนั ที • ผปู้ ว่ ยท่ีมอี าการช็อก ให้จัดท่าโดยจัดใหน้ อนราบ ศรี ษะตา่ เพ่อื ให้เลือดไหลสสู่ มองมากข้นึ • ถ้าผู้ปว่ ยหายใจไม่สะดวกให้ช่วยฟื้นคืนชีพด้วยการเปา่ ปาก • ใหค้ วามอบอุ่นแกร่ า่ งกายของผปู้ ว่ ยอย่างเพยี งพอ • คอยสังเกตและระวังอาการเปลี่ยนแปลงทางด้านการหายใจ และชีพจร • รบี นาผปู้ ว่ ยสง่ สถานพยาบาล โดยเร็วท่ีสุด

แบบทดสอบหลงั เรียน คำชี้แจง ใหน้ กั เรยี นเลอื กคำตอบทถ่ี กู ตอ้ งทส่ี ุดเพยี งขอ้ เดยี ว 1.การเสียชีวิตที่เกิดจากเน้ือสมองตายมีสาเหตจุ ากขอ้ ใด 4.บาดแผลท่ีมีเลือดสีแดงพุ่งออกมาตามจงั หวะการเตน้ ของ ก. ผูป้ ่ วยหวั ใจวาย หวั ใจ น่าจะเป็ นเลือดท่ีมาจากส่วนใด ข. รบั ออกซิเจนไม่เพียงพอ ก. หลอดเลือดดา ค. ขาดออกซิเจนเป็ นเวลานาน ข. หลอดเลือดแดง ง. หวั ใจหยุดการบีบตวั ผิดจงั หวะ ค. หลอดเลือดฝอย 2. การช่วยฟ้ื นคืนชีพ ควรปฏิบตั ิอย่างไรในขนั้ ตอนแรก ง. หลอดเลือดจากหวั ใจ ก. สงั เกตการตอบสนองของผูป้ ่ วย 5. การเคลื่อนยา้ ยผูป้ ่ วยโดยใชเ้ ปล เหมาะกบั ผูป้ ่ วยท่ีมีลกั ษณะ ข. ช่วยเหลือเบ้ืองตน้ โดยวิธีเป่ าปาก อาการใด ค. เรียกคนท่ีอยู่ใกลเ้ คียงเพ่ือขอความช่วยเหลือ ก. ผูป้ ่ วยท่ีรสู้ ึกตวั ดี ง. ใชแ้ กม้ แนบใกลป้ ากผูป้ ่ วยเพ่ือสมั ผสั ลมหายใจ ข. ผูป้ ่ วยท่ีหมดสติ 3. การช่วยฟ้ื นคืนชีพผูป้ ่ วยดว้ ยการกดหนา้ อก ส่ิงท่ีตอ้ ง ค. ผูป้ ่ วยที่มีน้าหนกั ตวั มาก ระวงั มากท่ีสุดคืออะไร ง. ผูป้ ่ วยท่ีมีอาการบาดเจ็บเพียงเล็กนอ้ ย ก. เพศและวยั ของผูป้ ่ วย ข. น้าหนกั ตวั ของผูป้ ่ วย ค. น้าหนกั ตวั ของผูใ้ หค้ วามช่วยเหลือ ง. น้าหนกั ท่ีกดลงไปที่บริเวณซ่ีโครง

6.หากนกั เรียนพบผูป้ ่ วยท่ีไม่รสู้ ึกตวั เพียงลาพงั นกั เรียนจะ 9. การหา้ มเลือดในส่วนใดของร่างกายท่ีจาเป็ นจะตอ้ งใชว้ ิธี เคล่ือนยา้ ยผูป้ ่ วยโดยวิธีใด Pad and Bandage ก. การอุม้ แบก ก. บริเวณตน้ คอ ข. การอุม้ พยุงเดิน ข. บริเวณฝ่ ามือ ค. การอุม้ ทาบหลงั ค. บริเวณตน้ แขน ง. การอุม้ กอดดา้ นหนา้ ง. บริเวณใตข้ อ้ พบั ของขอ้ ศอกหรือขอ้ เข่า 7. ผูป้ ่ วยท่ีมีลกั ษณะการบาดเจ็บในขอ้ ใด ไม่ควร 10. หากเกิดอุบตั ิเหตคุ วรขอความช่วยเหลือจาก เคลื่อนยา้ ยดว้ ยวิธีใหน้ งั่ หน่วยงานใด ก. แขนหกั ก. ศนู ยน์ เรนทร ข. เทา้ แพลง ข. ศนู ยว์ ิกฤติสขุ ภาพจิต ค. กระดกู เชิงกรานหกั ค. เจา้ หนา้ ที่ศนู ยข์ ่าวกรอง ง. ปวดศีรษะรนุ แรง ง. สถานีวิทยุร่วมดว้ ยช่วยกนั 8. ผูป้ ่ วยในขอ้ ใดจะตอ้ งไดร้ บั การช่วยเหลือและเคลื่อนยา้ ย ทนั ที ก. หวั ใจหยุดเตน้ กะทนั หนั ข. บาดเจ็บบริเวณศีรษะ ค. กระดกู แขน–ขาหกั ง. กระดกู เชิงกรานหกั

บริษทั อักษรเจริญทศั น์ อจท. จากดั , “เอกสารประกอบการสอน สขุ ศึกษาชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 4,” ขอบคุณเวบ็ ไซต์ : http://pe-64-02-03-15-24.blogspot.com/2012/01/blog-post.html https://www.jia1669.com/content/7747/ จดั ทาโดย นางสาวธนญั ชญา แดงมลู รหสั 63941900614 กลมุ่ 6


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook