ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้วทิ ยาศาสตร์ คู่มือครู กลุ่มสาระการเรยี นร้วู ิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ชนั้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรียนที่ โดย นางสาวอารยา ตานี 1 ปีการศกึ ษา 2563 รหสั ประจำตัวนกั ศึกษา 590316100 คณะครศุ าสตร์ สาขาการสอนวิทยาศาสตร์ทั่วไป มหาวทิ ยาลยั ราชภฏั ราชนครนิ ทร์
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอื่ ง หนว่ ยของส่ิงมีชวี ติ ก คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรวู้ ิทยาศาสตร์ เรอ่ื ง หน่วยของสง่ิ มีชีวติ กลมุ่ สาระการเรียนรู้ วิทยศาสตร์และเทคโนโลยี ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 จัดทำขึ้นเพื่อใช้เป็นสื่อประกอบการจัด กิจกรรมการเรยี นรู้ และสง่ เสรมิ ให้นกั เรยี นมที ักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ประกอบ ด้วยเนื้อหาจากง่ายไปหายาก กจิ กรรมทเี่ น้นผู้เรยี นเป็นสำคัญ นกั เรียนสามารถปฏิบัติตาม ขั้นตอนได้ด้วยตนเอง ได้ฝึกความสามารถในการคิด การแก้ปัญหา และการใช้ทักษะชวี ิต ช่วยพัฒนาการเรียนรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์ของนักเรียนให้มีประสิทธิภาพและยกระดับ ผลสมั ฤทธิ์ทางการเรยี น ซึ่งชดุ กจิ กรรม เร่ือง หนว่ ยของสงิ่ มีชวี ิต ประกอบด้วยชดุ กิจกรรม ดงั ต่อไปน้ี ชดุ กจิ กรรมท่ี 1 เซลล์ของสิ่งมชี วี ติ ชดุ กจิ กรรมท่ี 2 กล้องจลุ ทรรศน์ ชดุ กจิ กรรมท่ี 3 เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ชุดกจิ กรรมที่ 4 การแพร่ ชดุ กิจกรรมที่ 5 การออสโมซิส ชุดกิจกรรมวิทยาศาสตร์ชุดนี้ นักเรียนสามารถศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองตาม คำแนะนำของครู โดยจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ในรูปของชุดกิจกรรม เพือ่ สะดวกในการใช้ท้ัง ครูและนกั เรียนเพ่ือให้เป็นไปตามเป้าหมายของหลกั สตู ร แกนกลางสถานศึกษาข้ันพื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรื่อง หนว่ ยของส่งิ มชี วี ิต ข สารบญั หนา้ เรือ่ ง ก ข คำนำ ค สารบัญ ง คำช้ีแจงการใชชดุ กิจกรรม จ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ ฉ แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 1 กระดาษคำตอบแบบทดสอบก่อนเรียน 15 ชดุ กิจกรรมที่ 1 เซลลข์ องส่งิ มชี วี ติ 32 ชดุ กิจกรรมที่ 2 กล้องจลุ ทรรศน์ 50 ชุดกิจกรรมท่ี 3 เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ 63 ชุดกิจกรรมท่ี 4 การแพร่ 75 ชุดกิจกรรมที่ 5 การออสโมซสิ 78 แบบทดสอบหลงั เรยี น กระดาษคำตอบแบบทดสอบหลงั เรยี น
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรอ่ื ง หน่วยของส่งิ มชี วี ิต ค คำชแ้ี จงการใชช้ ดุ กจิ กรรม เอกสารชุดการเรียนรู้ เรื่อง หน่วยของสิ่งมีชีวิต ชันมัธยมศึกษาปีที่ 1 กลุ่มสาระ การเรยี นรู้วทิ นยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี มชี ุดกจิ กรรมย่อยทง้ั หมด 5 เร่ือง ซึง่ ในแตล่ ะเรื่อง จะประกอบดว้ ยรายละเอียด ดังนี้ 1. ช่ือชุดกจิ กรรม 2. จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 3. วสั ด/ุ อปุ กรณ์ 4. ขน้ั ตอนการปฏบิ ตั ิกจิ กรรม 5. บนั ทกึ ผลการทดลอง 6. คำถามทา้ ยกิจกรรม ข้อปฏบิ ัติควบค่กู ับการเรียนรู้ 1. นกั เรยี นอ่านหรือฟังคำแนะนำจากครู ในการเรียนรู้ชุดกิจกรรม และปฏิบัติตาม ทุกข้ันตอน 2. นักเรียนควรบันทึกผลการทดลอง และทำแบบฝึกกิจกรรมด้วยตนเอง หากไม่ เขา้ ใจสามารถปรกึ ษาเพอื่ นในกลุ่ม เพอ่ื ขอคำอธิบายหรอื ถามครูผสู้ อน เพ่อื รว่ มกนั สรุปข้อ สงสยั นน้ั ๆ
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ เรอื่ ง หนว่ ยของสิ่งมชี ีวิต ง สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ มาตรฐานการเรยี นรู้ มาตรฐาน ว 1.2 เขา้ ใจสมบตั ขิ องสิ่งมีชวี ิตหน่วยพน้ื ฐานของสิ่งมีชีวิต การลำเลียง สารเข้าและออกจากเซลล์ ความสัมพันธ์ของโครงสร้างและหน้าที่ของระบบต่าง ๆ ของ สตั วแ์ ละมนษุ ย์ทท่ี ำงานสมั พนั ธก์ ันความสัมพันธข์ องโครงสรา้ งและหนา้ ที่ของอวยัวะต่าง ๆ ของพืชท่ที ำงานสมัพนั ธ์กัน รวมท้ังนำความรูไ้ ปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วดั ม.1/1 เปรียบเทยี บรปู ร่างลกั ษณะและโครงสรา้ งของเซลล์พชื และเซลล์สัตว์ รวมทั้ง บรรยายหน้าท่ี ของผนังเซลล์ เยอื่ หุม้ เซลล์ ไซโทพลาซมึ นิวเคลียส แวควิ โอล ไมโทคอน-เดรีย และคลอโรพลาสต์ ม.1/2 ใช้กล้องจุลทรรศนใ์ ชแ้ สง ศกึ ษาเซลล์และโครงสร้างตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ ม.1/3 อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหวา่ งรูปร่างกบั หน้าทข่ี องเซลล์ ม.1/4 อธิบายการจัดระบบขอสิ่งมชี วี ติ โดยเรมิ่ จาก เซลล์ เนือ้ เย่อื อวยั วะ จน เปน็ สง่ิ มีชีวิต ม.1/5 อธบิ ายกระบวนการแพร่ และออสโมซสิ จากหลกั ฐานเชงิ ประจกั ษ์ และยกตัวอย่างการแพร่ และออสโมซสิ ในชวี ติ ประจำวนั
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ เร่อื ง หน่วยของสิ่งมชี ีวิต จ แบบทดสอบก่อนเรยี น คำชแี้ จง 1. แบบทดสอบเปน็ แบบปรนัย เลือกคำตอบ 4 ตวั เลอื ก จำนวน 20 ข้อ 2. ให้นักเรียนเลอื กคำตอบท่ีถกู ทสี่ ดุ เพียงคำตอบเดยี ว ทำเครอื่ งหมายกากบาท (×) ลงในกระดาษคำตอบ 1. หนว่ ยทเ่ี ล็กทีส่ ุดทท่ี ำหน้าที่ในการดำรงชีวิตอยา่ งสมบรู ณ์ ได้แก่ข้อใด ก. เซลล์ ข. นิวเคลยี ส ค. โมเลกุลของโปรตีน ง. เมด็ คลอโรพลาสต์ 2. ถา้ ใชก้ ลอ้ งจุลทรรศน์สอ่ งดูวัตถโุ ดยใช้เลนส์ใกล้วตั ถกุ ำลังขยาย 40X และถา้ เลนส์ใกล้ ตามีกำลังขยาย 10X จะขยายวตั ถุไดก้ ี่เท่า ก. 30 เท่า ข. 40 เท่า ค. 50 เท่า ง. 400 เทา่ 3. สารพนั ธกุ รรมหรือดีเอ็นเอ มอี ย่ใู นส่วนใดของเซลล์ ก. นวิ เคลียส ข. เย่ือหมุ้ เซลล์ ค. ไซโทพลาซมึ ง. คลอโรพลาสต์ 4. พืชสามารถสร้างอาหารเองได้เพราะในไซโทพลาซึม มีสารชนดิ ใด ก. ไรโบโซม ข. นิวเคลียส ค. คลอโรพลาสต์ ง. ไมโทคอนเดรีย 5. เพราะเหตใุ ด เซลล์สตั วส์ ว่ นมากจึงมรี ูปรา่ งไมแ่ นน่ อน และไม่สามารถคงรปู อยูไ่ ด้ ก. เพราะมแี วคิวโอล ข. เพราะไมม่ ผี นังเซลล์ ค. เพราะมีเยือ่ หุ้มเซลล์ ง. เพราะไมม่ คี ลอโรพลาสต์ 6. เหตผุ ลใดที่จัดให้เยือ่ หมุ้ เซลลม์ คี ุณสมบัติเป็นเย่ือเลอื กผา่ น ก. ยอมให้โมเลกุลของสารทุกชนิดผ่านได้ ข. ยอมใหโ้ มเลกลุ ของสารบางชนิดเท่าน้นั ผา่ นได้ ค. ยอมให้โมเลกุลของสารผ่านออกมาได้แต่ผา่ นเข้าไปไมไ่ ด้ ง. ยอมให้โมเลกลุ ของสารผ่านเข้าไปไดแ้ ตผ่ ่านออกมาไมไ่ ด้
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ เร่ือง หนว่ ยของสงิ่ มีชวี ติ จ 7. สว่ นประกอบใดของเซลล์พืชท่ีช่วยใหเ้ ซลลส์ ามารถรูปสภาพอยไู่ ดอ้ ยา่ งปกติ ก. นวิ เคลยี ส ข. เยื่อห้มุ เซลล์ ค. ผนังเซลล์ ง. ไซโทพลาซึม 8. เซลลจ์ ะเกบ็ สะสมสารต่าง ๆ ไว้ในโครงสรา้ งใด ก. แวควิ โอล ข. กอลจิบอดี ค. ไมโทคอนเดรีย ง. คลอโรพลาสต์ 9. ขอ้ ความใดกลา่ วถกู ต้องที่สดุ ก. เซลล์พืชมรี ปู รา่ งเป็นสเี่ หล่ียม เพราะไมม่ ีผนังเซลล์ ข. ท้งั เซลล์พชื และเซลลส์ ตั ว์มีสงิ่ ทเ่ี หมือนกนั คือ คลอโรพลาสต์ ค. เซลล์พชื มแี วควิ โอลขนาดใหญ่ ส่วนเซลล์สตั ว์มแี วควิ โอลขนาดเล็ก ง. เซลลส์ ตั วม์ ีลกั ษณะออ่ นนมุ่ เพราะผนงั เซลล์ประกอบดว้ ยสารโปรตีน 10. ในเซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั วม์ โี ครงสร้างใดท่ีมีขนาดแตกต่างกนั อยา่ งชัดเจน ก. นวิ เคลียส ข. แวคิวโอล ค. โครโมโซม ง. เยอื่ หุม้ เซลล์ 11. อุปกรณ์ในข้อใดเมือ่ เลิกใชก้ ล้องจลุ ทรรศนแ์ ล้วต้องถอดเกบ็ ก. เลนส์ใกลต้ า ข. เลนส์ใกล้วตั ถุ ค. กระจกเงารับแสง ง. ปุ่มปรบั ภาพหยาบ 12. เซลล์ใดมลี ักษณะเป็นเส้นยาว และมเี ส้นใยเป็นกิ่งแขนงมากมายมีท้ังยาวและส้นั ก. เซลลอ์ สุจิคนและเซลล์เม็ดเลอื ดขาวคน ข. เซลล์เม็ดเลือดแดงและเซลล์ประสาทคน ค. เซลล์เม็ดเลือดแดง ง. เซลล์ประสาทคน 13. องค์ประกอบใดทพ่ี บเฉพาะเซลล์พืชเท่านน้ั ก. ผนังเซลล์ ข. เยอ่ื หุม้ เซลล์ ค. นิวเคลียส ง. ไรโบโซม 14. องคป์ ระกอบใดท่พี บเฉพาะเซลล์สัตว์เท่าน้ัน ก. กอลจิบอดี ข. เซนทรโิ อ ค. แวควิ โอล ง. รา่ งแหเอนโดพลาสซึม
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ เรอื่ ง หนว่ ยของส่ิงมชี วี ิต จ 15. ข้อใดคือความหมายของการแพร่ ก. การแพรข่ องโมเลกุลของสารละลายเจอื จางสู่สารละลายเข้มข้น ผ่านเยือ่ เลอื กผ่าน ข. การแพร่ของโมเลกลุ ของสารละลายเข้มข้นสูส่ ารละลายเจอื จาง ผา่ นเยื่อเลือกผา่ น ค. การแพรข่ องโมเลกลุ จากสารละลายเขม้ ข้นสู่สารละลายเจือจางกวา่ ง. การแพร่ของโมเลกุลจากสารละลายเจือจางสู่สารละลายเขม้ ข้นกว่า 16. ข้อใดคอื ความหมายของการออสโมซสิ ก. การแพรข่ องโมเลกุลของสารละลายเจือจางสสู่ ารละลายเข้มขน้ ผา่ นเย่ือเลอื กผา่ น ข. การแพรข่ องโมเลกลุ ของสารละลายเข้มข้นสู่สารละลายเจอื จาง ผา่ นเยื่อเลือกผ่าน ค. การแพร่ของโมเลกลุ จากสารละลายเขม้ ข้นสู่สารละลายเจอื จางกวา่ ง. การแพรข่ องโมเลกุลจากสารละลายเจอื จางสสู่ ารละลายเขม้ ขน้ กว่า 17. ในการนำสารเข้าออกเซลล์ของสงิ่ มีชวี ติ ด้วยการออสโมซิส ส่ิงใดทำหน้าท่เี ปน็ เย่อื เลอื กผา่ น ก. ผนงั เซลล์ ข. เย่อื หุม้ เซลล์ ค. แวควิ โอล ง. นวิ เคลยี ส 18. สารไมส่ ามารถแพร่ในตัวกลางชนดิ ใด ก. กา๊ ซออกซิเจน ข. นำ้ ร้อน ค. แก้วและเหลก็ ง. วนุ้ ทตี่ ม้ แลว้ ท้งิ ไวใ้ ห้เย็น 19. สารจะแพรไ่ ด้ดใี นตวั กลางชนดิ ใด ก. ก๊าซ ข.ของเหลว ค. ของแขง็ ง. ก และ ข 20. ส่วนประกอบใดของกล้องจลุ ทรรศนท์ ที่ ำหน้าท่ขี ยายขนาดของวัตถุ ก. จานหมุน เลนสร์ วมแสง ข. เลนสใ์ กล้ตา เลนสใ์ กลว้ ตั ถุ ค. ไอริส ไดอะแฟรม เลนสร์ วมแสง ง. ปุ่มปรบั ภาพละเอยี ด ปมุ่ ปรบั ภาพหยาบ
ชดุ กิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง หน่วยของสิ่งมีชวี ิต ฉ กระดาษคำตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียน ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ รายวิชาวทิ ยาศาสตร์พน้ื ฐาน เร่ือง หนว่ ยของสิ่งมีชวี ติ คำสัง่ จงเลอื กคำตอบที่ถูกตอ้ งเพียงข้อเดียว แล้วทำเครื่องหมาย X ลงในกระดาษคำตอบ ขอ้ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 11 2 12 3 13 4 14 5 15 6 16 7 17 8 18 9 19 10 20 คะแนนเตม็ 20 คะแนน ได้ .............................. คะแนน เกณฑก์ ารผ่าน 14 คะแนน ผ่าน ไมผ่ า่ น
ชุดกจิ กรรมการเรียนรทู้ ี่ 1 เร่ือง เซลลข์ องสิง่ มชี วี ิต 1 แผนการจดั การเรียนรู้ หน่วยการเรียนรทู้ ่ี 2 หนว่ ยของส่งิ มีชวี ิต เวลา 15 ชั่วโมง หนว่ ยการเรยี นรูย้ ่อยที่ 9 เรือ่ ง เซลล์ของส่งิ มชี วี ิต รหสั วิชา/ชื่อวชิ า ว 21101 กลุม่ สาระการเรียนร้วู ิทยาศาสตร์ ระดบั ชัน้ มัธยมศึกษาปีท่ี 1 ภาคเรยี นที่ 1 ปกี ารศกึ ษา 2563 เวลา 3 ชัว่ โมง ผ้สู อน นางสาวอารยา ตานี มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 1.2 เขา้ ใจสมบัตขิ องสง่ิ มีชีวติ หนว่ ยพ้นื ฐานของสง่ิ มีชีวิต การลำเลียงสารผ่านเซลล์ ความสมั พนั ธ์ของโครงสรา้ ง และหนา้ ทีข่ อง ระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนุษย์ที่ทำงานสมั พนั ธ์กนั ความสัมพนั ธ์ของ โครงสรา้ ง และหนา้ ทีข่ องอวัยวะต่าง ๆ ของพชื ท่ที ำงานสัมพนั ธก์ ัน รวมท้งั นำ ความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ตวั ชี้วัด ม.1/4 อธบิ ายการจดั ระบบของส่งิ มีชีวิต โดยเร่ิมจาก เซลล์ เนอ้ื เย่ือ อวัยวะ จนเป็นสง่ิ มชี ีวิต ม.1/3 อธบิ ายความสัมพนั ธร์ ะหว่างรูปร่างกับหนา้ ทขี่ องเซลล์ สาระสำคญั พืชและสตั วเ์ ปน็ สิง่ มีชวี ติ หลายเซลลม์ ีการจดั ระบบ โดยเริ่มจากเซลล์ไปเป็นเนื้อเย่ือ อวัยวะ ระบบอวัยวะ และสิง่ มชีวตี ิตามลำดับ เซลล์หลายเซลลม์ ารวมกนั เป็นเนือ้ เย่ือ เนอื้ เยอ่ื หลายชนดิ มา รวมกนั และทำงานร่วมกนั เปน็ อวยวั ะ อวยั วะตา่ ง ๆ ทำงานรว่ มกันเปน็ ระบบอวยั วะ ระบบอวยั วะทกุ ระบบทำงานร่วมกนั เป็นส่งิ มชี วี ติ เซลลข์ องสิง่ มีชวี ติ มีรูปรา่ งลักษณะ ที่หลากหลายและมีความเหมาะสมกับหนา้ ทข่ี องเซลลน์ ้นั เช่น เซลล์ประสาทส่วนใหญม่ ีเสน้ ใยประสาทเปน็ แขนงยาวนำกระแสประสาทไปยงั เซลลอ์ ืน่ ๆ ท่อี ยู่ ไกลออกไปเซลลข์ นราก เป็นเซลล์ผวิ ของรากทม่ี ผี นงั เซลล์และเยอื่ หมุ้ เซลล์ยืน่ ยาวออกมาลกั ษณะ คล้ายขนเส้นเลก็ ๆ เพอื่ เพม่ิ พืน้ ทีผ่ ิวใน การดูดนำ้ และธาตอุ าหาร สาระการเรยี นรู้ ด้านความรู้ 1) เซลลข์ องสิ่งมีชวี ิต ด้านทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1) ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูล 2) ทกั ษะการจัดกระทำและสอ่ื ความหมายข้อมูล ด้านเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 1) มีความอยากรู้อยากเห็น 2) ใฝร่ ู้ใฝ่เรียน
ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ 1 เรอ่ื ง เซลล์ของสง่ิ มชี วี ติ 2 3) มุ่งมน่ั ในการทำงาน จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธบิ ายเกี่ยวกบั เซลล์ของสงิ่ ชี วี ิตได้ (K) 2. ส่อื สารและนำความรู้เร่อื งระบบส่งิ มีชีวติ ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ (P) 3. พอใจในประสบการณ์การเรียนรูท้ ีเ่ ก่ยี วกับวิทยาศาสตร์ (A) ชิน้ งานหรอื ภาระงาน ใบกจิ กรรมที่ 9 เร่ือง ระบบของสงิ่ มชี วี ติ กจิ กรรมการเรียนรู้ (รูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ : 5Es) ขั้นตอนที่ 1 : ข้ันสรา้ งความสนใจ (Engagement) 1.1 ชีแ้ จงเรอื่ งและจุดประสงคก์ ารเรียนรกู้ บั นักเรยี น 1.2 นักเรยี นและครสู นทนารว่ มกันเกย่ี วกบั สิ่งมชี ีวิตและส่งิ ไม่มชี ีวติ รอบตัว 1.3 ครกู ระตุ้นนักเรียน โดยการต้ังคำถามเกย่ี วกบั สง่ิ มีชีวิต - ร่างกายของสิ่งมชี วี ิตประกอบดว้ ยอะไรบ้าง - อวยั วะในร่างกายประกอบด้วยอะไร - สงิ่ มชี วี ติ ทกุ ชนดิ ประกอบดว้ ยหน่วยทเ่ี ลก็ ท่ีสดุ คอื อะไร ขั้นตอนท่ี 2 : ข้ันสำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 นกั เรยี นแบง่ โดยแบ่งกลมุ่ ออกเป็น 5 กลุม่ ๆ ละ 5-6 คน (แต่งตัง้ ประธาน เลขา สมาชกิ ) 2.2 นกั เรยี นแตล่ ะกลุม่ ส่งตัวแทนออกมารบั ใบความรู้และชดุ กิจกรรมท่ี 9 เร่อื ง ระบบ ของสิ่งชี วี ิต 2.3 นักเรยี นแต่ละกลุ่มร่วมกนั ศกึ ษา ค้นคว้า และอภปิ รายร่วมกันถึงการจัดระบบของ ส่ิงมชี ีวิต โดยเรมิ่ จาก เซลล์ เน้ือเย่อื อวยั วะ จนเป็นสง่ิ มชี วี ติ จากส่ือการสอน เร่ือง การ จดั ระบบของสิ่งมชี วี ิต ขนั้ ตอนท่ี 3 : ข้นั อธิบายและลงขอ้ สรุป (Explanation) 3.1 ตวั แทนนกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอ ผลจากการปฏบิ ัติกิจกรรมท่ี 9 เร่ือง เซลลส์ ง่ิ มีชีวติ ที่ได้ศกึ ษาค้นคว้ามาใหเ้ พือ่ นฟงั หนา้ ชั้นเรยี น 3.2 นักเรียนและครูร่วมกันอภิปรายและหาข้อสรุปเกี่ยวกับการจัดระบบของสิ่งมีชีวิต โดยเรมิ่ จาก เซลล์ เนอ้ื เย่ือ อวัยวะ จนเปน็ ส่งิ มชี ีวิต 3.3 นักเรยี นและครรู ่วมกันสรุปเนอื้ หาของบทเรยี น เรื่อง เซลลข์ องสง่ิ ีชีวิต ให้นกั เรียน ฟงั อกี คร้ังหนง่ึ เพ่อื ให้นกั เรียนเขา้ ใจเน้ือหามากยิง่ ข้ึน โดยได้ใหข้ อ้ สรปุ วา่ เซลล์ คอื หน่วยที่ เล็กทีส่ ุดของสิ่งีชีวติ สิง่ ีชีวิตี 2 ประเภท คอื - ส่ิงชี ีวิตเซลล์เดียว เชน่ อะมีบา พารามเี ซียม ยูกีนา และแบคทเี รยี เป็นต้น
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เซลล์ของสง่ิ มชี ีวิต 3 - สิ่งมชี วี ิตหลายเซลล์ เชน่ พืชและสัตว์ จะมีการจดั ระบบ โดยเริม่ จาก เซลล์ เน้ือเย่ือ อวัยวะ จนเปน็ ส่งิ มชี วี ติ ขัน้ ตอนท่ี 4 : ข้ันขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครูถามนักเรียนวา่ เซลล์พืชและเซลล์สัตว์เหมือนหรือแตกต่างกนั หรือไม่ ขน้ั ตอนท่ี 5 : ข้ันประเมิน (Evaluation) 5.1 แบบประเมินใบกจิ กรรม 5.2 แบบสงั เกตทกั ษะการปฏิบัตงิ านรายบุคคล 5.3 แบบสงั เกตเจตคตริ ายบคุ คล การวัดและประเมนิ ผลการเรยี นรู้ รายการประเมนิ วิธกี าร เครื่องมือ เกณฑ์ ความรู้ ทำใบกิจกรรม - เซลลข์ องสิง่ มีชีวติ แบบประเมินใบ นักเรยี นได้เกณฑร์ อ้ ย สังเกตพฤติกรรมการ กิจกรรม ละ 70 ผา่ นเกณฑ์ ทักษะ ปฏบิ ตั งิ านรายบคุ คล - ทกั ษะการลงความเห็น แบบประเมนิ ดา้ น นักเรียนผา่ นเกณฑ์ใน จากขอ้ มลู ทักษะ/กระบวนการ ระดบั ดขี ้ึนไป - ทกั ษะการจดั กระทำและ สื่อความหมายขอ้ มูล เจตติทางวทิ ยาศาสตร์ สงั เกตพฤติกรรม แบบประเมินเจตคติ นักเรยี นผ่านเกณฑใ์ น - มคี วามอยากรู้อยากเหน็ รายบุคคล ทางวทิ ยาศาสตร์ ระดับดขี ้นึ ไป -ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน -มงุ่ มนั่ ในการทำงาน สอ่ื /แหลง่ การเรยี นรู้ สอ่ื การเรยี นรู้ ชุดกจิ กรรมที่ 9 เซลล์ของสงิ่ มชี ีวิต แหลง่ การเรียนรู้ ห้องปฏบิ ัติการวิทยาศาสตร์
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูท้ ่ี 1 เร่ือง เซลลข์ องส่งิ มีชีวิต 4 เกณฑก์ ารประเมนิ ใบกจิ กรรม ประเด็นการประเมนิ 3 ระดับคณุ ภาพ 1 2 1. ความรู้ สามารถสรปุ ความรู้ได้ สามารถสรุปความรู้ได้ สรุปความรู้ไม่ถกู ต้อง ครบ ตรงประเด็นและ ครบตรงประเดน็ และมี ถกู ตอ้ งทุกหัวขอ้ ความถกู ต้องเปน็ ส่วนใหญ่ 2.การเช่ือมโยงความรู้ สามารถเชื่อมโยงความรู้ สามารรถเชือ่ มโยงความรู้ สามารถเชอ่ื มโยงความรู้ ไดถ้ กู ตอ้ งตามลำดับ ได้และลำดบั ความสำคญั ได้ แต่ไมเ่ ปน็ ไปตามลำดับ ความสำคัญ ค่อนข้างครบ ความสัมพันธ์ 3. ความสะอาดเรยี บร้อย ชนิ้ งานมีความสะอาด ชน้ิ งานมคี วามสะอาด ช้ินงานไมส่ ะอาด ขาด เรยี บร้อยในรูแบบที่ เรียบร้อยและมี ความเป็นระเบยี บ ถกู ต้องและสวยงาม ขอ้ บกพร่องเพยี งเล็กนอ้ ย เรียบร้อย เกณฑ์การประเมิน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 8-9 ดมี าก 6-7 ดี 4-5 คอ่ นขา้ งดี 2-3 พอใช้ 1 ปรบั ปรุง เกณฑ์การผ่าน ไดร้ ะดับคุณภาพดขี ้นึ ไป
ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ่ี 1 เรอื่ ง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 5 แบบประเมินใบกจิ กรรม คำช้ีแจง : ให้ผู้สอนประเมนิ จากการทำใบกิจกรรมของผเู้ รียน โดยให้ระดบั คะแนนลงในตารางที่ตรง กบั พฤตกิ รรมของผเู้ รียน (ดูเกณฑ์ในหน้าตอ่ ไป) เกณฑก์ ารให้คะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ตอ้ งปรับปรุง เลขที่ ชือ่ - สกุล ความรู้ การเช่อื มโยง ความสะอาด รวม 123 ความรู้ เรียบร้อย 123 123 ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมนิ .............../.............../................
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 1 เรอื่ ง เซลล์ของส่งิ มีชวี ิต 6 เกณฑก์ ารประเมินทกั ษะ/กระบวนการ ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ การประเมนิ 321 1. การจดั กระทำ สามารถจัดการกบั ข้อมูล สามารถจัดการกับข้อมลู สามารถจัดการกบั ขอ้ มลู 2. การลงความเหน็ จาก ในรูปแบบของกราฟได้ ในรูปแบบของกราฟได้ ในรูปแบบของกราฟไม่ ข้อมลู อย่างถูกตอ้ ง ถกู ต้องบางสว่ น สมบูรณ์และไม่ถกู ต้อง สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเห็นจาก สามารถลงความเหน็ จาก ข้อมลู โดยไม่ผา่ น ขอ้ มลู โดยไมผ่ ่าน ข้อมูลไดไ้ ม่ถกู ต้อง กระบวนการคดิ ได้อย่าง กระบวนการคิดไดอ้ ย่าง ถูกตอ้ ง ถกู ต้องเปน็ บางสว่ น เกณฑ์การประเมนิ ช่วงคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 5-6 ดีมาก 4 ดี 3 2 คอ่ นข้างดี 1 พอใช้ ปรับปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ได้ระดบั คุณภาพดีขึ้นไป
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 1 เรื่อง เซลล์ของสง่ิ มชี ีวิต 7 แบบสงั เกตทกั ษะการปฏิบัติงานรายบุคคล คำชแ้ี จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินจากการสงั เกตพฤติกรรมของผูเ้ รยี นในการปฏบิ ัติกจิ กรรม โดยให้ระดับ คะแนนลงในตารางที่ตรงกบั พฤตกิ รรมของผูเ้ รยี น (ดูเกณฑ์ในหนา้ ตอ่ ไป) เกณฑ์การใหค้ ะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรบั ปรุง รายการประเมนิ เลขท่ี การ ัจดกระทำ รวม ชื่อ - สกุล การลงความเห็นจาก ้ขอ ูมล ลงชื่อ ................................................... ผปู้ ระเมิน .............../.............../...............
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ 1 เร่อื ง เซลล์ของสิง่ มชี ีวิต 8 ประเด็นการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1 ระดบั คณุ ภาพ 32 1. มคี วามอยากร้อู ยาก สนใจ ใฝ่รู้ หาความรู้ สนใจ ใฝ่รู้ หาความรู้ สนใจ ใฝร่ ู้ หาความรู้ เหน็ เพมิ่ เตมิ จากเอกสารหรือ เพมิ่ เติมจากเอกสารหรือ เพ่ิมเตมิ จากเอกสารหรอื แหล่งเรยี นร้ตู ่าง ๆ และ แหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ และ แหลง่ เรยี นร้ตู า่ ง ๆ และ หาข้อมูลข้อเทจ็ จริงต่าง ๆ หาขอ้ มูลขอ้ เทจ็ จริงต่าง ๆ หาข้อมูลขอ้ เท็จจรงิ ตา่ ง ๆ ที่เก่ียวขอ้ งกับเร่ืองที่ ท่เี กี่ยวขอ้ งกบั เรื่องท่ี ท่เี ก่ยี วข้องกบั เรื่องท่ี ศึกษาอย่างตอ่ เนอื่ งมสี ว่ น ศกึ ษาอย่างต่อเนือ่ งมสี ว่ น ศึกษาอย่างตอ่ เน่ืองมีสว่ น รว่ มในการทำกิจกรรม รว่ มในการทำกจิ กรรม ร่วมในการทำกจิ กรรม การเรียนรู้ไดด้ ีเยี่ยม การเรียนรูไ้ ดด้ ี การเรียนรู้ได้พอใช้ 2. ใฝร่ ใู้ ฝ่เรยี น ตง้ั ใจเรียนและรับผดิ ชอบ ตงั้ ใจเรยี นและรับผดิ ชอบ เอาใจใสต่ อ่ การปฏิบตั ิ 3. มงุ่ ม่นั ในการทำงาน ในการทำงานทไี่ ด้รับ ในการทำงานทไ่ี ดร้ ับ หนา้ ท่ีทไ่ี ด้รับมอบหมาย มอบหมายจนสำเรจ็ มีการ มอบหมายจนสำเรจ็ ปรบั ปรงุ เอาใจใสต่ ่อการปฏิบตั ิ ตัง้ ใจเรียนและรบั ผิดชอบ ต้งั ใจเรียนและรบั ผดิ ชอบ หนา้ ทที่ ไ่ี ด้รับมอบหมาย ในการทำงานที่ไดร้ ับ ในการทำงานทไี่ ด้รับ มอบหมายจนสำเร็จมีการ มอบหมายจนสำเรจ็ ปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 8-9 ดมี าก 6-7 ดี 4-5 2-3 คอ่ นข้างดี 1 พอใช้ ปรับปรงุ เกณฑก์ ารผ่าน ไดร้ ะดบั คุณภาพดีขน้ึ ไป แบบประเมินดา้ นเจตคตทิ างวทิ ยาศาสตร์
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรูท้ ี่ 1 เรอ่ื ง เซลล์ของสิง่ มชี วี ติ 9 คำช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนประเมินจาการสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียนในการปฏิบัตกิ ิจกรรมการทดลอง โดย ใหร้ ะดับคะแนนลงในตารางทีต่ รงกบั พฤตกิ รรมของผูเ้ รยี น (ดเู กณฑใ์ นหนา้ ตอ่ ไป) เกณฑ์การใหค้ ะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ตอ้ งปรบั ปรงุ รายการประเมนิ สรปุ ผลการประเมนิ เลขที่ ชือ่ – สกลุ ีมความอยาก ู้รอยากเห็น ผ่าน ไม่ผ่าน ใฝ่ ู้รใฝ่เ ีรยน คะแนนท่ไี ด้ ุ่มง ั่มนในการทำงาน ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมนิ .............../.............../................
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 1 เร่อื ง เซลล์ของสิ่งมีชีวิต 10 ใบความรู้ เร่อื ง เซลล์ของส่งิ มีชีวติ เซลล์ (Cells) คือ หน่วยทเ่ี ล็กทสี่ ุดของส่ิงมีชวี ิต ซึง่ ทำหน้าที่เปน็ ส่วนประกอบในโครงสร้างตา่ ง ๆ ของส่ิงมีชวี ิต ในปจั จบุ นั นกั วทิ ยาศาสตร์ได้ คน้ พบเซลล์ท่ีมรี ูปรา่ งและหนา้ ท่ีต่างกันจำนวนมาก แต่ในทุก ๆ เซลล์จะมี โครงสร้างท่ีเป็นองคป์ ระกอบพน้ื ฐานเหมือนกนั คือ เยอ่ื หุม้ เซลล์ นวิ เคลียส และ ไซโทพลาสซึม ประเภทของสิ่งมีชวี ติ 1. สง่ิ มชี ีวิตเซลลเ์ ดยี ว รา่ งกายประกอบด้วยเซลลเ์ พียงเซลล์ เดียว กจิ กรรมตา่ ง ๆ ทเ่ี กีย่ วขอ้ งกับการดำรงชวี ิตจะเกิดขน้ึ ภายในเซลล์ เดียวสงิ่ มชี วี ิตเซลลเ์ ดียวส่วนใหญ่สามารถดำรงชวี ติ อย่ไู ด้อยา่ งอิสระ เชน่ อะมีบา พารามเี ซียม ยกู ลีนา ไดอะตอม สงิ่ มชี ีวติ เซลลเ์ ดียวบาง ชนดิ มีนวิ เคลยี สท่ีไม่มเี ยอื่ หุ้ม จงึ พบสารพันธุกรรมกระจายอย่ใู นไซโท รพลาสซึม เช่น แบคทีเรยี
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ี 1 เรอ่ื ง เซลล์ของสิ่งมีชีวติ 11 2. สงิ่ มชี ีวติ หลายเซลล์ รา่ งกายประกอบด้วยเซลล์จำนวน มากมายหลายล้านเซลล์ โดยเซลล์ทม่ี ลี ักษณะเหมอื นกนั จะอยรู่ วมกนั เพอื่ ทำหนา้ ทอ่ี ยา่ งเดยี วกัน เช่น พืช สัตว์ การจดั ระบบสิ่งมีชวี ติ
ชุดกิจกรรมการเรียนรูท้ ี่ 1 เรื่อง เซลล์ของสง่ิ มีชวี ติ 12 ลกั ษณะรปู รา่ งและหนา้ ท่ีของเซลล์ชนิดตา่ ง ๆ เซลล์ของสงิ่ มชี ีวิตมีลักษณะและรปู รา่ งแตกตา่ งกันออกไป เนือ่ งจากเซลล์มกี ารเปลีย่ นแปลง รูปรา่ งเพอื่ ไปทำหน้าทีเ่ ฉพาะดา้ น เซลล์ต่างชนิดกันจะทำหนา้ ท่แี ตกต่างกนั ไป เพ่ือประโยชนใ์ นการ ดำรงชวี ติ ของสิง่ มีชีวิตน้ัน ๆดำรงชวี ิตของสิ่งมีชีวติ นน้ั ๆ รปู ร่างของเซลล์ หน้าที่ เซลล์ผวิ หนัง เซลล์สตั ว์ ปกคลุมร่างกายและป้องกนั อนั ตรายใหแ้ ก่ อวยั วะภายใน เซลลป์ ระสาท นำกระแสประสาทไปทัว่ รา่ งกาย เซลลก์ ลา้ มเน้ือ มลี ักษณะยาวเรียว เพ่ือเหมาะกบั การยืดและ เซลล์เม็ดเลือดแดง หดตัวของกล้ามเนอ้ื เซลล์เม็ดเลอื ดขาว ลำเลียงแกส๊ ออกซิเจนไปสเู่ ซลลต์ า่ ง ๆ ของ รา่ งกาย กำจัดเช้อื โรคเขา้ ส่รู ่างกาย เซลล์อสจุ ิ เป็นเซลล์สบื พนั ธ์เพศผู้ มสี ว่ นหัวและส่วน เซลล์ไข่ หางช่วยในการเคลื่อนท่ีไปผสมกับเซลล์ไข่ เซลลค์ ุม เป็นเซลล์สืบพันธ์เพศเมีย ทำหน้าที่ผลิตไข่ เพ่อื รอผสมกบั อสุจิ เซลลพ์ ืช ควบคมุ การแลกเปลยี่ นแก๊สและปอ้ งกนั การ ระเหยของนำ้ ออกจากปากใบ เซลล์ขนราก ดูดซึมนำ้ และแรธ่ าตุท่ีอยู่ในดิน
ชุดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ี 1 เรือ่ ง เซลล์ของส่งิ มีชวี ติ 13 ข้ันตอนการปฏบิ ตั กิ จิ กรรม 1. ครแู บง่ กลมุ่ ให้นักเรียน โดยแบ่งกลุ่มออกเปน็ 5 กลมุ่ ๆ ละ 5-6 คน (แตง่ ตงั้ ประธาน เลขา สมาชิก) 2. ใหแ้ ตล่ ะกลมุ่ สืบค้นขอ้ มลู จากแหล่งขอ้ มลู ต่าง ๆ เช่น ใบความรู้ หนงั สือเรียน หนังสอื อ้างอิง หนงั สอื อ่านประกอบ หนงั สือพมิ พ์ วารสารต่าง ๆ หรอื ทางอนิ เทอรเ์ น็ตทีม่ ีเวบ็ ไซตท์ ี่เกย่ี วข้องกบั หวั ข้อ เรื่องตอ่ ไปน้ี - เซลล์ของสิ่งมชี ีวติ - การจดั ระบบของสงิ่ มชี วี ติ - รูปร่างของเซลล์ 3. ตวั แทนนักเรียนแตล่ ะกลุ่มออกมานำเสนอ ผลจากการปฏิบตั ิ กิจกรรม 4. นกั เรยี นและครูร่วมกนั อภปิ รายและหาขอ้ สรปุ เกย่ี วกับการ จดั ระบบของสิ่งมชี วี ิต โดยเริม่ จาก เซลล์ เนื้อเย่อื อวยั วะ จนเป็น ส่ิงมชี วี ิต
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เร่ือง เซลล์ของสง่ิ มชี วี ติ 14 ใบกจิ กรรมท่ี 1 1.วาดรปู ระบลุ กั ษณะและหนา้ ทข่ี องเซลล์ท่กี ำหนดให้ลงในตาราง เซลล์ ลกั ษณะ หนา้ ท่ี เซลลเ์ มด็ เลอื ดแดง กลมแบนตรงกลางเวา้ ลำเลียงแกส๊ ออกซิเจนไปสู่ เซลลค์ ุม คล้ายเมลด็ ถว่ั อยกู่ นั เปน็ คู่ เซลลต์ า่ ง ๆ ของรา่ งกาย ควบคมุ การแลกเปล่ยี นแก๊ส และป้องกนั การระเหยของน้ำ ออกจากปากใบ คล้ายดาวมีแขนง นำกระแสประสาทไปท่วั รา่ งกาย เซลลป์ ระสาท 2.จงอธบิ ายความหมายของเซลล์ เป็นหน่วยทเ่ี ลก็ ที่สุดของสงิ่ มีชวี ิต ตอ้ งการอาหารเพอ่ื สรา้ งพลังงาน ................................................................................................................................................................ 3.เพราะเหตุใดเซลล์ของสิง่ มีชวี ิตจงึ มีรูปรา่ งแตกต่างกัน เซลลท์ ีแ่ ต่ล่ะชนดิ ทำหน้าที่ต่างกัน จงึ มีรปู ร่างท่ตี า่ งกันเพอ่ื ใหเ้ หมาะสมกบั หน้าท่ีของเซลล์น้นั ................................................................................................................................................................ 3.จงยกตัวอยา่ งสง่ิ มชี ีวติ แต่ละ่ ประเภทท่ีกำหนดให้ สิ่งมีชวี ติ เซลล์เดยี ว 1)...........อะมบี า............. 2)............ยูกลนี า............... 3).........พารามเี ซียม............ สงิ่ มชี ีวิตหลายเซลล์ 1)..............คน................. 2)..............นก................... 3)..............ปลา................ 5.จงจดั ระบบของส่ิงมชี วี ติ จากหนว่ ยทเ่ี ลก็ ที่สุดไปจนเป็นหน่วยท่ใี หญท่ สี่ ุด “เน้ือเยื่อประสาท สมอง มนษุ ย์ ระบบประสาท เซลล์ประสาท” ....................เซลล์ประสาท เน้ือเย่ือประสาท สมอง ระบบประสาท มนุษย.์ ...................................... ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................ ................................................................................................................................................................
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง กลอ้ งจุลทรรศน์ 15 แผนการจัดการเรยี นรู้ หนว่ ยการเรยี นรู้ที่ 2 หน่วยของสิ่งมชี ีวติ เวลา 15 ชว่ั โมง หน่วยการเรยี นรยู้ อ่ ยที่ 10 เรอ่ื ง กลอ้ งจุลทรรศน์ รหัสวชิ า/ชอ่ื วิชา ว 21101 กลุ่มสาระการเรียนรวู้ ทิ ยาศาสตร์ ระดับชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ี่ 1 ภาคเรยี นท่ี 1 ปกี ารศึกษา 2563 เวลา 3 ช่วั โมง ผสู้ อน นางสาวอารยา ตานี มาตรฐานการเรยี นรู้ ว 1.2 เข้าใจสมบัตขิ องสิ่งมชี ีวติ หนว่ ยพ้นื ฐานของสงิ่ มีชวี ติ การลำเลยี งสารผา่ นเซลล์ ความสัมพนั ธข์ องโครงสร้าง และหนา้ ที่ของ ระบบตา่ ง ๆ ของสตั ว์และมนุษยท์ ี่ทำงานสมั พันธก์ นั ความสัมพนั ธข์ อง โครงสร้าง และหนา้ ทีข่ องอวัยวะตา่ ง ๆ ของพชื ทีท่ ำงานสัมพนั ธ์กัน รวมทงั้ นำ ความรไู้ ปใชป้ ระโยชน์ ตัวช้วี ัด ม.1/2 ใช้กลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สงศกึ ษาเซลลแ์ ละโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ สาระสำคญั กล้องจุลทรรศน์ เป็นเครอ่ื งมือท่ีชว่ ยให้สามารถมองเหน็ รายละเอียดของสว่ นประกอบเลก็ ๆ ในเซลลท์ ไ่ี มส่ ามารถมองเหน็ ไดด้ ้วยตาเปลา่ กล้องจุลทรรศนม์ สี ว่ นประกอบทสี่ ำคญั ได้แก่ เลนส์ใกลต้ า ลำกลอ้ ง ปุ่มปรบั ภาพหยาบ ป่มุ ปรับภาพละเอยี ด แขน เลนสใ์ กล้วตั ถุ แท่นวางวตั ถุ และ กระจกเงา สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1) กล้องจลุ ทรรศน์ ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1) ทักษะการสงั เกต 2) ทกั ษะการจัดกระทำ 3) ทกั ษะการลงความเห็นจากขอ้ มลู ดา้ นเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 1.1) ดา้ นทกั ษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1) มีความอยากร้อู ยากเหน็ 2) ใฝร่ ใู้ ฝเ่ รยี น 3) ม่งุ มน่ั ในการทำงาน
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรูท้ ี่ 2 เรือ่ ง กล้องจลุ ทรรศน์ 16 1.2) ด้านทกั ษะการใช้อุปกรณ์วทิ ยาศาสตร์ 1) กลอ้ งจุลทรรศน์ จุดประสงค์การเรยี นรู้ 1.อธิบายเกีย่ วกับหนา้ ท่ีและส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศนไ์ ด้ (K) 2.สามารถใชก้ ลอ้ งจลุ ทรรศน์ไดถ้ ูกตอ้ ง (P) 3.ให้ความร่วมมอื ในการทำกจิ กรรม (A) ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ใบกิจกรรมท่ี 10.1 เรอ่ื ง สว่ นประกอบของกล้องจุลทรรศน์ ใบกจิ กรรมท่ี 10.2 เรื่อง กลอ้ งจลุ ทรรศน์ กจิ กรรมการเรียนรู้ (รูปแบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ : 5Es) ขั้นตอนท่ี 1 : ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ชแ้ี จงเรอ่ื งและจุดประสงคก์ ารเรียนร้กู ับนักเรยี น 1.2 นักเรยี นและครูรว่ มกันทบทวนบทเรยี นที่เรียนมาในคาบที่แล้วและถามคำถามกระตุน้ ความสนใจวา่ - ถ้านักเรียนตอ้ งการจะสอ่ งดสู ่ิงมีชีวิตขนาดเล็กที่มองไม่เหน็ ด้วยตาเปล่า นักเรียนคิดว่า จะเลอื กใช้เครื่องมอื ชนดิ ใด และเพราะเหตุใด (กล้องจลุ ทรรศน์ เพราะกล้องจุลทรรศนใ์ ช้ดู วัตถทุ ม่ี ขี นาดเล็ก มองไมเ่ หน็ ด้วยตาเปล่าให้มีขนาดใหญ่ขึน้ ) - สง่ิ ใดบ้างที่มองเห็นได้โดยใช้กลอ้ งจุลทรรศน์ (อะมบี า พารามเี ซยี ม เซลล์พืช เซลล์ สัตว์ สิง่ มีชวี ิตและวัตถุท่ีมขี นาดเล็ก) 1.3 ครนู ำกลอ้ งจุลทรรศน์มาให้นักเรยี นสังเกตดูหน้าช้ันเรยี น แล้วถามกระตนุ้ ความสนใจ นักเรยี นว่า นักเรยี นร้จู กั สว่ นประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศนอ์ ะไรบ้าง และแตล่ ะส่วนทำหนา้ ที่ อย่างไร ข้นั ตอนที่ 2 : ข้นั สำรวจและค้นหา (Exploration) 2.1 นกั เรยี นแบง่ กล่มุ กลุม่ ละ 5 คน 8 กล่มุ โดยคละความสามารถ (เก่ง ปานกลาง ออ่ น) 2.2 นกั เรียนแตล่ ะกล่มุ สง่ ตัวแทนออกมารบั ชดุ กจิ กรรมที่ 10 เรอ่ื งกลอ้ งจุลทรรศน์ 2.3 นักเรียนแต่ละกลมุ่ ร่วมกนั ศึกษาสว่ นประกอบของกลอ้ งจุลทรรศน์ และอภิปรายถึง หน้าท่ขี องกล้องจลุ ทรรศน์ วิธีใชก้ ล้องจลุ ทรรศน์ และการดแู ลรักษากลอ้ งจุลทรรศน์ จาก กลอ้ งจุลทรรศนข์ องจรงิ 2.5 นกั เรียนศกึ ษาชดุ กิจกรรมที่ 10 เร่ือง กลอ้ งจุลทรรศน์ และรว่ มกนั อภปิ รายแสดง ความคดิ เห็น และทำใบกิจกรรมท่ี 10.1 เรื่อง สว่ นประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ 2.6 นกั เรียนศกึ ษาวธิ ีการทำกิจกรรมและลงมือปฏิบตั ติ ามขน้ั ตอนทก่ี ำหนดให้ในใบ กิจกรรมที่ 10.2
ชุดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ 2 เรอ่ื ง กล้องจลุ ทรรศน์ 17 2.6.1 นำตัวอักษร ก ใส่ลงไปในแผน่ สไลค์ แล้วปดิ ด้วยแผน่ ปิดสไลค์ 2.6.2 นำแผ่นสไลค์ทีม่ ตี วั อักษร วางบนแทน่ วางสไลค์ 2.6.3 ปรับแสงและความละเอยี ดของภาพให้ชัดเจน 2.6.4 สังเกตภาพที่ได้ บนั ทึกผลการทดลอง ขั้นตอนที่ 3 : ขนั้ อธบิ ายและลงข้อสรุป (Explanation) 3.1 ตวั แทนนกั เรียนแต่ละกลมุ่ ออกมานำเสนอ ผลการปฏิบตั ิกิจกรรมของกล่มุ ตนเองทไ่ี ด้ ศกึ ษาคน้ คว้ามาใหเ้ พื่อนฟงั หนา้ ช้ันเรียน 3.2 นักเรียนและครรู ่วมกันอภปิ ราย และสรปุ ผลการทำกจิ กรรม โดยครูใชค้ ำถามสรุป ความเข้าใจอกี ครั้งว่า - สว่ นประกอบทสี่ ำคญั ของกลอ้ งจลุ ทรรศน์มอี ะไรบา้ ง (ส่วนประกอบทส่ี ำคญั ของ กลอ้ งจลุ ทรรศน์ ไดแ้ ก่ เลนสใ์ กลต้ า เลนส์ใกล้วตั ถุ แขน แท่นวางวัตถุ ท่หี นีบสไลด์ ปมุ่ ปรับ ภาพหยาบ ปุ่มปรับภาพละเอียด) - จากกิจกรรมตัวอกั ษรที่นกั เรียนเตรียมมากบั ตวั อักษรทน่ี กั เรียนมองเหน็ ผ่านกล้อง จลุ ทรรศน์ต่างกันหรอื ไม่ อย่างไร (แตกตา่ งกัน เพราะภาพที่มองเหน็ ผา่ นกลอ้ งจลุ ทรรศน์จะมี ขนาดใหญ่ขน้ึ และเปน็ ภาพเสมอื นหัวกลบั ) ขั้นตอนที่ 4 : ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครใู หน้ ักเรียนศกึ ษา คน้ คว้าเพมิ่ เติมเกย่ี วกบั วธิ ใี ช้และวิธีบำรุงรกั ษากล้องจลุ ทรรศน์ ข้ันตอนท่ี 5 : ข้นั ประเมิน (Evaluation) 5.1 แบบประเมินใบกจิ กรรม 5.2 แบบสงั เกตทักษะการปฏบิ ตั ิงานรายบุคคล 5.3 แบบสงั เกตเจตคติรายบุคคล
ชุดกิจกรรมการเรียนรูท้ ่ี 2 เรอ่ื ง กล้องจลุ ทรรศน์ 18 การวดั และประเมินผล วิธกี ารประเมิน เครอ่ื งมือ เกณฑ์ ทำใบกิจกรรม นักเรียนไดเ้ กณฑ์ ประเด็นการประเมิน แบบประเมินใบ ร้อยละ 70 ผา่ น สังเกตพฤติกรรม กิจกรรม ความรู้ การปฏบิ ตั ิงาน เกณฑ์ - ส่วนประกอบของกล้องจุลทรรศน์ รายบคุ คล แบบประเมนิ ด้าน นักเรยี นผา่ นเกณฑ์ ทกั ษะ ทักษะ/กระบวนการ ในระดบั ดีข้ึนไป 1.1) ทักษะทางวิทยาศาสตร์ สังเกตพฤติกรรม - ทกั ษะการสงั เกต รายบุคคล แบบประเมนิ เจตคติ นักเรียนผา่ นเกณฑ์ - ทักษะการจดั กระทำ ทางวิทยาศาสตร์ ในระดบั ดีขึ้นไป - ทกั ษะการลงความเหน็ จากข้อมูล 1.2) ทักษะการใชอ้ ุปกรณ์ วทิ ยาศาสตร์ - กล้องจุลทรรศน์ เจตติทางวทิ ยาศาสตร์ - มีความอยากรูอ้ ยากเหน็ - ใฝ่รู้ใฝ่เรียน - มุ่งมน่ั ในการทำงาน สอื่ /แหล่งการเรียนรู้ สอ่ื การเรียนรู้ ชดุ กิจกรรมที่ 10 เรอื่ ง กลอ้ งจลุ ทรรศน์ แหล่งการเรยี นรู้ หอ้ งปฏิบตั ิการวิทยาศาสตร์
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง กลอ้ งจุลทรรศน์ 19 ประเดน็ การประเมนิ เกณฑก์ ารประเมินใบกิจกรรม 1 ระดับคณุ ภาพ 32 1. ความรู้ สามารถสรุปความรู้ สามารถสรุปความรู้ได้ สรปุ ความรไู้ ม่ 2.การเชอ่ื มโยงความรู้ ไดค้ รบ ตรงประเดน็ ครบตรงประเดน็ และมี ถูกตอ้ ง 3. ความสะอาดเรยี บร้อย และถกู ตอ้ งทกุ หัวขอ้ ความถูกตอ้ งเปน็ สว่ น สามารถเชอ่ื มโยง ใหญ่ ความรู้ได้ แต่ไม่ สามารถเชือ่ มโยง สามารรถเชือ่ มโยงความรู้ เปน็ ไปตามลำดับ ความรู้ไดถ้ ูกตอ้ ง ได้และลำดบั ความสำคัญ ความสัมพันธ์ ตามลำดับความ ค่อนขา้ งครบ ช้นิ งานไมส่ ะอาด สำคัญ ขาดความเป็น ชน้ิ งานมคี วามสะอาด ชิ้นงานมคี วามสะอาด ระเบียบเรียบรอ้ ย เรยี บร้อยในรูแบบที่ เรยี บร้อยและมี ถกู ตอ้ งและสวยงาม ขอ้ บกพรอ่ งเพียงเล็กนอ้ ย เกณฑ์การประเมนิ ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 8-9 ดมี าก 6-7 ดี 4-5 ค่อนขา้ งดี 2-3 พอใช้ 1 ปรบั ปรงุ เกณฑ์การผ่าน ได้ระดบั คุณภาพดีข้นึ ไป แบบประเมนิ ใบกิจกรรม
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรทู้ ่ี 2 เร่ือง กลอ้ งจุลทรรศน์ 20 คำชีแ้ จง : ให้ผู้สอนประเมินจากการทำใบกิจกรรมของผู้เรียน โดยใหร้ ะดบั คะแนนลงในตารางท่ตี รง กบั พฤตกิ รรมของผ้เู รยี น (ดเู กณฑ์ในหน้าตอ่ ไป) เกณฑ์การให้คะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรบั ปรุง เลขที่ ช่ือ - สกุล ความรู้ การเชอ่ื มโยง ความสะอาด รวม 123 ความรู้ เรยี บรอ้ ย 123 123 ลงชอ่ื ................................................... ผ้ปู ระเมิน .............../.............../................
ชดุ กิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื ง กลอ้ งจุลทรรศน์ 21 เกณฑก์ ารประเมนิ ทักษะทางวทิ ยาศาสตร์ ระดับคณุ ภาพ ประเดน็ การ 3 2 1 ประเมนิ 1. การสงั เกต บอกรายละเอียดของ บอกรายละเอยี ดของ บอกรายละเอยี ดของ ขอ้ มลู และตอบคำถาม ขอ้ มลู และตอบคำถามจา ข้อมลู และตอบ จากการสงั เกตไดอ้ ย่าง การสังเกตไดอ้ ย่างถกู ต้อง คำถามจาการสังเกต ถกู ตอ้ ง หรอื ขาดบางสว่ น ได้ไมถ่ ูกตอ้ ง 2. การจดั กระทำ สามารถจัดการกบั สามารถจัดการกับขอ้ มลู สามารถจัดการกับ ข้อมลู ในรปู แบบของ ในรูปแบบของกราฟได้ ขอ้ มูลในรูปแบบของ กราฟได้อย่างถูกต้อง ถกู ตอ้ งบางสว่ น กราฟไมส่ มบูรณแ์ ละ ไมถ่ ูกต้อง 3. การลงความเหน็ สามารถลงความเห็น สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเหน็ จากขอ้ มูล จากข้อมลู โดยไมผ่ า่ น ขอ้ มลู โดยไมผ่ ่าน จากขอ้ มูลไดไ้ มถ่ กู ต้อง กระบวนการคดิ ได้อยา่ ง กระบวนการคิดได้อยา่ ง ถกู ต้อง ถกู ต้องเป็นบางส่วน เกณฑ์การประเมิน ช่วงคะแนน ระดับคณุ ภาพ 8-9 ดีมาก 6-7 ดี 4-5 2-3 ค่อนขา้ งดี 1 พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การผา่ น ได้ระดับคุณภาพดขี ึ้นไป
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ 22 แบบสงั เกตทกั ษะการปฏิบตั งิ านรายบุคคล คำช้ีแจง : ใหผ้ ู้สอนประเมินจากการสงั เกตพฤติกรรมของผู้เรยี นในการปฏิบัตกิ จิ กรรม โดยให้ระดบั คะแนนลงในตารางที่ตรงกับพฤติกรรมของผู้เรียน (ดเู กณฑ์ในหน้าต่อไป) เกณฑ์การให้คะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรับปรุง รายการประเมนิ เลขท่ี การ ัสงเกต รวม ชือ่ - สกลุ การ ัจดกระทำ การลงความเห็นจาก ข้อ ูมล ลงชอื่ ................................................... ผู้ประเมิน .............../.............../...............
ชุดกจิ กรรมการเรียนร้ทู ี่ 2 เรื่อง กล้องจุลทรรศน์ 23 เกณฑก์ ารประเมนิ ทกั ษะการใช้อปุ กรณ์วทิ ยาศาสตร์ ประเด็น ระดับคณุ ภาพ 1 การ 5 4 32 1. เลอื กใช้ ประเมิน 1. เลอื กใช้เลนสว์ ัตถุท่ี 1. เลอื กใช้เลนส์ 1. เลือกใชเ้ ลนส์ 1. เลือกใช้ เลนสว์ ัตถุที่ 1. กล้อง กาํ ลงั ขยาย จุลทรรศน์ กาํ ลังขยายตำ่ สุด วตั ถทุ ีก่ ําลัง วตั ถทุ ก่ี ําลงั เลนส์วัตถุที่ ตำ่ สดุ 2. หมุนปมุ่ ปรับความคมชัด ขยายต่ำสดุ ขยายตำ่ สุด กําลังขยาย ตามเขม็ นาฬกิ าเพื่อปรับ 2. หมุนปุ่มปรบั 2. หมุนปุม่ ปรบั ตำ่ สดุ เลนส์ตาใหต้ ่ำสุดเกอื บถงึ ความคมชัดตาม ความคมชัด 2. หมุนปมุ่ กระจกสไลด์ เข็มนาฬกิ าเพือ่ ตามเขม็ นาฬกิ า ปรบั ความ 3. วางแผน่ สไลดบ์ นแทน่ ให้ ปรบั เลนส์ตาให้ เพื่อปรบั เลนส์ คมชัดตาม วตั ถทุ ี่ตอ้ งการอย่ตู รงกบั ต่ำสดุ เกอื บถงึ ตาใหต้ ่ำสุด เข็มนาฬิกา ชอ่ งบนแทน่ กระจกสไลด์ เกอื บถึง เพือ่ ปรับ 4.ปรับกระจกเงาใหแ้ สง 3. วางแผ่นสไลด์ กระจกสไลด์ เลนสต์ าให้ สะทอ้ นมาทีว่ ตั ถุบน สไลด์ บนแทน่ ใหว้ ัตถุท่ี 3. วางแผ่น ตำ่ สุดเกอื บ 5.มองผา่ นเลนสพ์ ร้อมทัง้ ต้องการอยู่ตรง สไลด์บนแทน่ ถึงกระจก ค่อยๆหมนุ ปุ่มทวน เขม็ กบั ชอ่ งบนแท่น ใหว้ ตั ถุที่ สไลด์ นาฬิกา เพ่อื ปรบั ระยะเลนส์ 4.ปรับกระจกเงา ตอ้ งการอยูต่ รง ทลี ะน้อยจน มองเหน็ วตั ถุ ใหแ้ สงสะท้อน กับชอ่ งบนแท่น ชดั เจนแลว้ กดทบั ให้แน่น มาทว่ี ตั ถบุ น ด้วยท่ี หนีบทั้งสองข้าง สไลด์ เกณฑ์การประเมนิ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 5 ดีมาก 4 ดี 3 2 คอ่ นขา้ งดี 1 พอใช้ ปรบั ปรุง เกณฑ์การผ่าน ได้ระดับคุณภาพดีขึน้ ไป
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 2 เรอ่ื ง กลอ้ งจลุ ทรรศน์ 24 แบบสงั เกตทกั ษะการปฏบิ ตั งิ านรายบุคคล คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนประเมินจากการสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รียนในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยให้ระดบั คะแนนลงในตารางทีต่ รงกับพฤติกรรมของผเู้ รยี น (ดูเกณฑ์ในหน้าตอ่ ไป) เกณฑ์การให้คะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรบั ปรุง รายการประเมิน เลขท่ี ช่ือ - สกลุ กล้องจลุ ทรรศน์ รวม ลงช่ือ ................................................... ผปู้ ระเมนิ .............../.............../...............
ชุดกิจกรรมการเรียนรทู้ ่ี 2 เร่อื ง กล้องจุลทรรศน์ 25 ประเด็นการประเมิน เกณฑก์ ารประเมนิ เจตคติทางวิทยาศาสตร์ 1 ระดบั คณุ ภาพ 32 1. มคี วามอยากรู้ สนใจ ใฝร่ ู้ หาความรู้ สนใจ ใฝร่ ู้ หาความรู้ สนใจ ใฝร่ ู้ หาความรู้ อยากเหน็ เพ่ิมเติมจากเอกสารหรอื เพิ่มเติมจากเอกสารหรือ เพม่ิ เติมจากเอกสาร 2. ใฝร่ ู้ใฝเ่ รียน 3. มุ่งมัน่ ในการ แหลง่ เรยี นรูต้ ่าง ๆ และหา แหลง่ เรียนรตู้ า่ ง ๆ และ หรือแหลง่ เรียนรู้ต่าง ทำงาน ข้อมลู ข้อเท็จจรงิ ต่าง ๆท่ี หาขอ้ มลู ขอ้ เทจ็ จรงิ ต่าง ๆ และหาขอ้ มูล เก่ยี วขอ้ งกับเรอ่ื งท่ศี ึกษา ๆทเ่ี ก่ียวขอ้ งกบั เร่ืองท่ี ขอ้ เท็จจรงิ ต่าง ๆท่ี อย่างต่อเน่อื งมีส่วนร่วมใน ศกึ ษาอยา่ งต่อเน่ืองมีสว่ น เกี่ยวข้องกบั เรอื่ งท่ี การทำกจิ กรรมการเรียนรู้ ร่วมในการทำกจิ กรรม ศกึ ษาอย่างตอ่ เน่ืองมี ได้ดีเย่ยี ม การเรียนรไู้ ดด้ ี สว่ นรว่ มในการทำ กิจกรรมการเรียนรไู้ ด้ พอใช้ ตง้ั ใจเรยี นและรับผดิ ชอบ ตั้งใจเรยี นและรับผิดชอบ เอาใจใส่ต่อการ ในการทำงานทไี่ ด้รบั ในการทำงานทไ่ี ด้รบั ปฏบิ ตั ิหนา้ ท่ีทไ่ี ดร้ บั มอบหมายจนสำเรจ็ มกี าร มอบหมายจนสำเรจ็ มอบหมาย ปรบั ปรุง ตั้งใจเรยี นและรบั ผิดชอบ ตง้ั ใจเรียนและรับผดิ ชอบ เอาใจใส่ต่อการ ในการทำงานทไี่ ดร้ ับ ในการทำงานที่ได้รบั ปฏิบตั หิ นา้ ท่ีท่ไี ดร้ บั มอบหมายจนสำเร็จมีการ มอบหมายจนสำเร็จ มอบหมาย ปรับปรุง เกณฑ์การประเมิน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 8-9 ดมี าก 6-7 ดี 4-5 2-3 คอ่ นขา้ งดี 1 พอใช้ ปรบั ปรงุ เกณฑก์ ารผา่ น ได้ระดับคุณภาพดขี ้ึนไป
ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ 2 เรื่อง กลอ้ งจุลทรรศน์ 26 แบบประเมินดา้ นเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ คำชแี้ จง : ให้ผู้สอนประเมินจาการสังเกตพฤตกิ รรมของผู้เรียนในการปฏิบัตกิ ิจกรรมการทดลอง โดย ใหร้ ะดบั คะแนนลงในตารางท่ีตรงกับพฤตกิ รรมของผู้เรียน (ดูเกณฑ์ในหนา้ ต่อไป) เกณฑ์การใหค้ ะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรับปรุง รายการประเมนิ สรุปผลการประเมิน เลขท่ี ชอ่ื – สกุล ีมความอยาก ู้รอยากเห็น ผา่ น ไมผ่ ่าน ใ ่ฝ ู้รใฝ่เ ีรยน ุ่มง ั่มนในการทำงาน คะแนนที่ไ ้ด คะแนนท่ีไ ้ด ลงชื่อ ................................................... ผู้ประเมนิ .............../.............../................
ชุดกิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 2 เรอื่ ง กลอ้ งจุลทรรศน์ 27 ใบความรู้ เรือ่ ง กล้องจุลทรรศน์ กลอ้ งจุลทรรศน์ (microscope) เปน็ อุปกรณท์ ีช่ ่วยในการขยายขนาด สิง่ ตา่ ง ๆ ท่ีเราไมส่ ามารถมองเหน็ ไดด้ ว้ ยตาเปล่า มีส่วนปรกอบและหนา้ ที่ ต่าง ๆ ดังนี้ สว่ นประกอบและหน้าทีข่ องกลอ้ งจุลทรรศน์ 1) เลนสใ์ กลต้ า เป็นเลนส์นูน ทำหนา้ ทข่ี ยายภาพของวัตถุ โดยทั่วไปมกี ำลงั ขยาย 10x สามารถถอดเปล่ียนกำลงั ขยายได้ 2) ปุ่มปรับภาพหยาบ ทำหน้าท่ี ปรับภาพใหค้ มชัดยิ่งข้ึน 3) แขนกลอ้ ง เป็นส่วนทเี่ ชื่อมระหว่างตวั กลอ้ งกับฐาน 4) ปุ่มปรบั ภาพละเอยี ด สำหรับใชห้ มุนปรับภาพของวตั ถใุ หเ้ หน็ ชดั เจนยงิ่ ขึน้ 5) จานหมนุ ใช้เปล่ยี นกำลงั ขยายเลนส์ใกล้วตั ถุ 6) เลนสใ์ กลว้ ตั ถุ เป็นเลนสน์ นู ทำหนา้ ท่ีขยายภาพของวัตถุให้เลนสใ์ กลต้ า โดยจะ ขยายภาพใหใ้ หญ่และทำใหเ้ ห็นรายละเอียดของภาพดีขน้ึ มีทงั้ กำลงั ขยายต่ำและสงู (4x 10x 40x 100x) 7) แทน่ วางวัตถุ เป็นแทน่ สำหรบั วางวัตถุหรือสไลด์ มชี ่องกลมอยู่ตรงกลางเพอ่ื ใหแ้ สง จากด้านล่างส่องผ่านขน้ึ มาได้ 8) ไอริส ไดอะแฟรม ปรบั ขนาดของรูรบั แสง 9) แหลง่ กำเนิดแสง อาจเป็นกระจกเงาหรือหลอดไฟ 10) เลนส์รวมแสง รวมแสงให้เข้นขน้ึ เพอ่ื ส่งไปยังวัตถทุ ่ีตอ้ งการศึกษา
ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ท่ี 2 เรื่อง กลอ้ งจลุ ทรรศน์ 28 วธิ ีการใชก้ ล้องจุลทรรศน์ กล้องจลุ ทรรศนม์ คี วามสำคัญมากสำหรบั การทำงานในหอ้ งปฏบิ ตั ิการทางวิทยาศาสตร์ชวี ภาพ และเน่ืองจากเป็นอปุ กรณท์ ่ีมสี ่วนประกอบและการใชง้ านที่ซบั ซอ้ น ดงั นั้น จงึ จำเป็นต้องเรยี นรู้ วิธีการใชแ้ ละฝึกฝนเพอ่ื ให้เกดิ ทกั ษะทถ่ี กู ตอ้ งดงั นี้ 1) วางตวั กล้องบนพนื้ ราบทม่ี ีความแขง็ แรงและมีแสงสว่างเพียงพอ โดยให้ ลำกล้องต้งั ตรง 2) หมุนเลนสใ์ กล้วตั ถุ โดยเลือกเลนสท์ ม่ี กี ำลังขยายต่ำสุดมาใชก้ อ่ น 3) ปรับกระจกเงาใตแ้ ท่นวางวตั ถใุ ห้แสงสอ่ งผา่ นเข้าสู่ลำกลอ้ งไดเ้ ต็มท่ี โดยมองผา่ นเลนส์ใกลต้ าจะ เห็นวงกลมสว่างทีส่ ุด 4) วางแผ่นสไลด์ที่เตรยี มไวบ้ นแท่นวางวัตถุ จดั วัตถุให้อย่ตู รงตำแหนง่ ที่มีแสงสอ่ งผ่านได้ แลว้ ใช้ที่ หนบี สไลด์จบั แผ่นสไลด์ให้แนน่ 5) หมนุ ปุม่ ปรบั ภาพหยาบจนเลนส์ใกลว้ ัตถเุ ลื่อนลงมาต่ำสุด โดยไมช่ นแผน่ สไลด์ 6) มองผา่ นเลนส์ใกลต้ าแล้วค่อยๆ หมนุ ปมุ่ ปรับภาพหยาบเลอ่ื นขน้ึ จนมองเห็นภาพของวตั ถปุ รากฏ ขน้ึ ชดั เจนที่สดุ แลว้ จงึ หมุนปุม่ ปรบั ภาพละเอียด ขณะนีอ้ าจเล่ือนแผ่นสไลด์เพ่ือให้มองเห็นวตั ถุใน ตำแหนง่ ท่เี ราสนใจอยู่ตรงกลางภาพพอดี 7) ถ้าตอ้ งการขยายภาพให้มีขนาดใหญ่ข้นึ ใหห้ มุนเลนส์ใกลว้ ัตถุทม่ี ีกำลงั ขยายสูงมาแทนท่ี โดยไม่ ต้องเลอ่ื นแผน่ สไลด์ แล้วให้หมนุ ปมุ่ ปรบั ภาพละเอียด เพ่ือปรบั ภาพให้ชดั เจนมากข้นึ (ห้ามใชป้ มุ่ ปรับ ภาพหยาบ) 8) บันทึกภาพทเ่ี หน็ ภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ และระบุกำลังขยายท่ใี ช้ วิธคี ำนวณกำลังขยาย กำลังขยายของกลอ้ ง = กำลังขยายของเลนสใ์ กล้ตา x กำลังขยายของ เลนส์ใกลว้ ัตถุ เช่น กำลงั ขยายของกลอ้ ง = 10 x 40 = 400 หมายความวา่ ภาพท่ีมองเหน็ จากกล้องจลุ ทรรศนม์ ีขนาดใหญ่กวา่ วตั ถจุ รงิ 400 เท่า
ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ที่ 2 เรือ่ ง กล้องจุลทรรศน์ 29 ใบกจิ กรรมท่ี 2.1 เรอื่ ง สว่ นประกอบของกล้องจุลทรรศน์ คำสัง่ ระบอุ งค์ประกอบของกลอ้ งจลุ ทรรศน์ และอธิบายหนา้ ที่ 1) เลนสใ์ กลต้ า เป็นเลนสน์ นู ทำหน้าทีข่ ยายภาพของวัตถุ โดยทว่ั ไปมีกำลงั ขยาย 10x สามารถถอดเปล่ียนกำลังขยายได้ 2) ปมุ่ ปรบั ภาพหยาบ ทำหน้าท่ี ปรบั ภาพให้คมชัดยงิ่ ขึ้น 3) แขนกล้อง เปน็ ส่วนท่ีเชอื่ มระหว่างตัวกล้องกับฐาน 4) ปุ่มปรบั ภาพละเอยี ด สำหรบั ใช้หมนุ ปรบั ภาพของวัตถใุ ห้เหน็ ชัดเจนย่ิงขึน้ 5) จานหมุน ใช้เปลี่ยนกำลังขยายเลนสใ์ กล้วัตถุ 6) เลนสใ์ กลว้ ัตถุ เป็นเลนสน์ ูน ทำหน้าท่ีขยายภาพของวัตถุใหเ้ ลนส์ใกล้ตา โดยจะขยาย ภาพให้ใหญแ่ ละทำให้เห็นรายละเอยี ดของภาพดขี น้ึ มีทั้งกำลงั ขยายต่ำและสูง (4x 10x 40x 100x) 7) แท่นวางวัตถุ เปน็ แทน่ สำหรบั วางวัตถุหรือสไลด์ มีชอ่ งกลมอยู่ตรงกลางเพื่อใหแ้ สงจาก ด้านล่างส่องผ่านขนึ้ มาได้ 8) ไอรสิ ไดอะแฟรม ปรับขนาดของรูรับแสง 9) แหลง่ กำเนดิ แสง อาจเป็นกระจกเงาหรอื หลอดไฟ 10) เลนส์รวมแสง รวมแสงใหเ้ ขน้ ข้นึ เพื่อส่งไปยงั วตั ถทุ ต่ี อ้ งการศึกษา
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 2 เร่อื ง กล้องจลุ ทรรศน์ 30 ข้นั ตอนการปฏิบตั กิ จิ กรรม จดุ ประสงค์การเรียนรู้ นักเรียนสามารถอธบิ ายและบอกความแตกตา่ งระหวา่ ง ภาพตวั อกั ษรของจรงิ กบั ภาพทไี่ ด้จากการส่องกล้องจลุ ทรรศน์ ได้ คำช้ีแจง : ใหน้ ักเรียนศึกษาวิธกี ารทำกิจกรรมและลงมือ ปฏบิ ตั ิตามข้ันตอนที่กำหนดให้ วัสดุอุปกรณ์ 1. กลอ้ งจุลทรรศน์ 2. กระดาษพมิ พต์ วั อักษร ก วิธีทำ 1. นำตัวอักษร ก ใสล่ งไปในแผ่นสไลค์ แลว้ ปิดดว้ ยแผ่น ปิดสไลค์ 2. นำแผ่นสไลคท์ ีม่ ตี วั อักษร วางบนแท่นวางสไลค์ 3. ปรับแสงและความละเอียดของภาพให้ชดั เจน 4. สงั เกตภาพทไี่ ด้ บันทึกผลการทดลอง
ชุดกจิ กรรมการเรยี นรู้ท่ี 2 เรือ่ ง กล้องจลุ ทรรศน์ 31 บันทึกผลการทำกจิ กรรม ตวั อกั ษรที่มองเหน็ ผ่านกลอ้ ง จลุ ทรรศน์ ตวั อกั ษรทพี่ ิมพ์ ก คำถามทา้ ยกิจกรรม 1.ตัวอกั ษรทนี่ กั เรยี นมองผ่านกลอ้ งจุลทรรศน์มลี กั ษณะอย่างไร ตวั อกั ษรมลี กั ษณะใหญข่ ้นึ และเป็นภาพเสมอื นหวั กลบั ………………………… ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. 2. เมอื่ นักเรยี นลองเลอื่ นสไลดไ์ ปทางขวาบน ภาพจะมีทศิ ทางไปทางใด ซ้ายล่าง (ภาพจะไปในทศิ ทางตรงกันข้ามกับสไลดเ์ สมอ)………………………. ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………….. สรุปผลการทดลอง เมอ่ื นำตวั อักษร ก ไปสอ่ งในกลอ้ งจุลทรรศน์ พบว่าตัวอักษรมลี ักษณะ ใหญข่ น้ึ และเป็นภาพเสมอื นหวั กลับ........................................................... .................................................................................................................... .................................................................................................................... ....................................................................................................................
ชดุ กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 3 เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์ 32 แผนการจัดการเรียนรู้ หนว่ ยการเรยี นรทู้ ี่ 2 หนว่ ยของส่ิงมีชีวิต เวลา 15 ช่ัวโมง หนว่ ยการเรยี นรยู้ ่อยท่ี 11 เร่ือง เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ รหสั วิชา/ชื่อวชิ า ว 21101 กลมุ่ สาระการเรียนรู้วทิ ยาศาสตร์ ระดับชนั้ มธั ยมศกึ ษาปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2563 เวลา 3 ชั่วโมง ผู้สอน นางสาวอารยา ตานี มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.2 เขา้ ใจสมบัติของสิ่งมีชีวิต หน่วยพนื้ ฐานของสง่ิ มีชีวติ การลำเลียงสารผา่ นเซลล์ ความสัมพันธ์ ของโครงสรา้ ง และหน้าทีข่ อง ระบบตา่ ง ๆ ของสัตว์และมนุษย์ท่ีทำงานสมั พนั ธ์กนั ความสัมพันธข์ อง โครงสร้าง และหนา้ ท่ขี องอวยั วะต่าง ๆ ของพชื ทที่ ำงานสมั พันธก์ นั รวมท้งั นำความร้ไู ปใชป้ ระโยชน์ ตัวชี้วัด ม.1/1 เปรยี บเทียบรูปรา่ งลักษณะและโครงสร้างของเซลล์พืชและเซลล์สัตวร์ วมทง้ั บรรยายหน้าท่ี ของผนงั เซลลเ์ ย่ือห้มุ เซลลไ์ ซโทพลาซึม นิวเคลยี ส แวควิ โอล ไมโทคอนเดรยี และคลอโรพลาสต์ ม.1/2 ใชก้ ล้องจุลทรรศน์ใชแ้ สงศึกษาเซลล์และโครงสรา้ งตา่ ง ๆ ภายในเซลล์ สาระสำคญั เซลล์พชื และเซลล์สตั ว์มีรูปร่างทแ่ี ตกต่างกัน เซลล์พืชสว่ นใหญ่มีรูปรา่ งคอ่ นข้างเหลี่ยม ส่วน เซลล์ สัตวม์ รี ูปรา่ งไม่เป็นเหลีย่ มเหมือนเซลล์พืช มีสว่ ยประกอบภายในเซลลท์ ่ีทำหนา้ ท่แี ตกต่างกัน โครงสรา้ งพ้ืนฐานทีพ่ บทัง้ ในเซลล์พชื และเซลลส์ ัตวแ์ ละสามารถสงั เกตได้ด้วยกล้องจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง ไดแ้ ก่ เยอื่ ห้มุ เซลล์ ไซโทพลาซึม และนวิ เคลยี ส โครงสรา้ งที่พบในเซลล์พืชแตไ่ มพ่ บในเซลล์สัตว์ ไดแ้ ก่ ผนังเซลล์และคลอโรพลาสต์ สาระการเรียนรู้ ด้านความรู้ 1) เซลลพ์ ชื และเซลล์สตั ว์ ด้านทกั ษะ 1.1) ดา้ นทักษะกระบวนการทางวทิ ยาศาสตร์ 1) ทกั ษะการสงั เกต 2) ทกั ษะการจัดกระทำ 3) ทักษะการลงความเหน็ จากขอ้ มูล 1.2) ดา้ นทักษะการใช้อปุ กรณ์วทิ ยาศาสตร์
ชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ท่ี 3 เซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ 33 1) กล้องจลุ ทรรศน์ ดา้ นเจตคตทิ างวิทยาศาสตร์ 1) มคี วามอยากรู้อยากเหน็ 2) ใฝ่รู้ใฝ่เรียน 3) มุ่งมัน่ ในการทำงาน จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 1.อธิบายเก่ียวกบั รปู รา่ งโครงสร้างของเซลลพ์ ชื และเซลล์สัตวไ์ ด้ (K) 2.สามารถใชก้ ลอ้ งจุลทรรศนไ์ ด้ถูกตอ้ ง (P) 3.ใหค้ วามร่วมมือในการทำกจิ กรรม (A) ชนิ้ งานหรอื ภาระงาน ใบกิจกรรมที่ 11 เรื่อง เซลล์พืชและเซลล์สัตว์ กิจกรรมการเรยี นรู้ (รปู แบบการสอนแบบสบื เสาะหาความรู้ : 5Es) ขนั้ ตอนท่ี 1 : ขั้นสร้างความสนใจ (Engagement) 1.1 ช้ีแจงเรื่องและจดุ ประสงคก์ ารเรยี นร้กู ับนกั เรียน 1.2 นกั เรยี นและครูรว่ มกันทบทวนบทเรยี นท่ีเรียนมาในคาบทีแ่ ล้วและถามคำถามกระตุน้ ความสนใจวา่ - นักเรยี นคิดว่าเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตว์เหมอื นกนั ม้ยั -สงสยั มั้ยว่ารปู ร่างของเซลลเ์ ปน็ อยา่ งไร 1.3 ครูนำส่ือการสอนมาให้นกั เรยี นดหู นา้ ชั้นเรียน แลว้ กระตุน้ ความสนใจโดยให้ทำกจิ กรรมต่อ บัตรคำเกยี่ วกบั โครงสรา้ งของเซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตว์ ข้นั ตอนท่ี 2 : ขนั้ สำรวจและคน้ หา (Exploration) 2.1 นกั เรียนแบ่งกลมุ่ กลุม่ ละ 5 คน 8 กลุม่ โดยคละความสามารถ (เก่ง ปานกลาง อ่อน) 2.2 ใหต้ วั แทนแต่ละกลุ่มออกมารับอุปกรณ์ในการทำชุดกิจกรรมท่ี 11 เรอื่ งเซลล์พืชและเซลล์สัตว์ ไดแ้ ก่ นำ้ เขม็ เขย่ี กา้ นสำลี หลอดหยด กระดาษทิชชู กล้องจุลทรรศน์ ปากคีบปลายแหลม สารละลายไอโอดนี น้ำเกลือ กระจกสไลดแ์ ละกระจกปิดสไลด์ หัวหอมแดง สาหรา่ ยหางกระรอก 2.4 นักเรยี นศึกษาวิธีทดลองชดุ กจิ กรรม ตอนท่ี 1 ศึกษาเซลลพ์ ืช
ชดุ กิจกรรมการเรียนรทู้ ี่ 3 เซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ 34 2.4.1 ผา่ หัวหอมแดง แล้วใช้ปากคีบปลายแหลมหรอื เขม็ เข่ยี ลอกเยือ่ ด้านในหวั หอมแดง จากนั้นตัด เย่อื ทลี่ อกไดเ้ ปน็ ช้นิ เล็ก ๆ 2.4.2 วางเนอ้ื เย่อื หอมแดงลงบนกระจกสไลดท์ ี่มหี ยดนำ้ แลว้ หยดสารละลายไอโอดีน 1 หยด บนเย่ือ หัวหอมแดง 2.4.3 ปิดดว้ ยกระจกปิดสไลด์ โดยวางกระจกเอยี งทำมงุ 45 องศากับกระจกสไลด์ แลว้ คอ่ ย ๆ ปิดไป บนแผ่นสไลด์ 2.4.4 ใชก้ ระดาษทชิ ชแู ตะข้าง ๆ กระจกปิดสไลด์เพ่ือซับน้ำสว่ นเกนิ ออก แลว้ นำสไลด์ไปศึกษาด้วย กลอ้ งจุลทรรศน์ โดยใชเ้ ลนสใ์ กล้วัตถุกำลังขยายต่ำและกำลังขยายสูง ตามลำดับ สงั เกตและ บนั ทกึ ภาพท่เี ห็นภายใตก้ ลอ้ งจุลทรรศน์ 2.4.5 ใช้ปากกาคบี ปลายแหลมเด็ดใบสาหร่ายหางกระรอกบริเวณใกล้สว่ ยยอด 2.4.6 วางบนหยดนำ้ บนกระจกสไลด์ และปดิ ดว้ ยกระจกปดิ สไลด์ 2.4.7 นำสไลด์ไปศึกษาด้วยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ โดยใช้เลนส์ใกลว้ ตั ถุกำลังขยายต่ำและกำลงั ขยายสงู ตามลำดบั สังเกตและบนั ทกึ ภาพที่เหน็ ภายใต้กล้องจุลทรรศน์ ตอนท่ี 2 ศกึ ษาเซลลส์ ัตว์ 2.4.8 ใช้ก้านสำลสี ะอาดขูดเบา ๆ ทดี่ า้ นในของกระพงุ้ แกม้ แล้วนำไปแตะลงบนกระจกสไลดท์ ี่มีหยด น้ำเกลือ 2.4.9 หยดสารละลายไอโอดีน 1 หยด ลงบนเซลล์เย่อื บุขา้ งแก้มบนกระจกสไลด์ แล้วปิดด้วยกระจก ปดิ สไลด์ 2.4.10 สไลด์ไปศึกษาดว้ ยกลอ้ งจุลทรรศน์ โดยใช้เลนสใ์ กล้วตั ถกุ ำลังขยายต่ำและกำลังขยายสูง ตามลำดบั สงั เกตและบนั ทกึ ภาพที่เห็นภายใต้กล้องจลุ ทรรศน์ ขัน้ ตอนที่ 3 : ขั้นอธบิ ายและลงข้อสรปุ (Explanation) 3.1 ตัวแทนนกั เรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ ผลการปฏบิ ตั ิกิจกรรมของกล่มุ ตนเองท่ไี ดศ้ ึกษา คน้ คว้ามาให้เพ่ือนฟงั หนา้ ชั้นเรยี น 3.2 นกั เรยี นและครู รว่ มกนั อภปิ ราย และสรุปผลการทำกจิ กรรม โดยครใู ชค้ ำถามสรุปความเข้าใจอีก คร้ังว่า เซลล์พชื และเซลล์สัตวม์ ีรูปร่างทแี่ ตกต่างกัน เซลล์พชื ส่วนใหญม่ ีรูปรา่ งค่อนขา้ งเหลี่ยม ส่วน เซลล์ สตั ว์มีรปู ร่างไมเ่ ป็นเหล่ียมเหมือนเซลลพ์ ืช มีสว่ ยประกอบภายในเซลล์ที่ทำหน้าท่ีแตกตา่ งกนั โครงสรา้ งพืน้ ฐานทีพ่ บท้งั ในเซลล์พชื และเซลลส์ ัตวแ์ ละสามารถสังเกตได้ดว้ ยกลอ้ งจลุ ทรรศน์ใชแ้ สง ไดแ้ ก่ เยือ่ หุ้มเซลล์ ไซโทพลาซมึ และนิวเคลียส โครงสร้างทพี่ บในเซลลพ์ ชื แต่ไม่พบในเซลล์สตั ว์ ได้แก่ ผนังเซลลแ์ ละคลอโรพลาสต์ ขน้ั ตอนท่ี 4 : ขน้ั ขยายความรู้ (Elaboration) 4.1 ครใู หน้ ักเรยี นศึกษา คน้ คว้าเพ่มิ เติมเก่ียวกับการลำเลียงสารภายในเซลล์
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรทู้ ่ี 3 เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั ว์ 35 ข้นั ตอนที่ 5 : ขน้ั ประเมนิ (Evaluation) 5.1 แบบประเมนิ ใบกิจกรรม 5.2 แบบสังเกตทกั ษะการปฏิบัติงานรายบคุ คล 5.3 แบบสงั เกตเจตคตริ ายบุคคล การวดั และประเมนิ ผล ประเดน็ การประเมนิ วธิ ีการประเมิน เคร่อื งมอื เกณฑ์ ดา้ นความรู้ ทำใบกิจกรรม แบบประเมนิ ใบ นักเรียนไดเ้ กณฑร์ อ้ ยละ - เซลลพ์ ืชและเซลล์สัตว์ ทักษะ สงั เกตพฤติกรรม กิจกรรม 70 ผ่านเกณฑ์ 1.1) ทกั ษะทางวิทยาศาสตร์ การปฏิบัตงิ าน - ทักษะการสังเกต แบบประเมนิ ดา้ น นักเรียนผ่านเกณฑใ์ น - ทกั ษะการจัดกระทำ รายบุคคล ทกั ษะ/กระบวนการ ระดบั ดขี ้นึ ไป - ทักษะการลงความเห็นจาก ขอ้ มลู สังเกตพฤตกิ รรม แบบประเมนิ เจตคติ นกั เรยี นผ่านเกณฑ์ใน 1.2) ทักษะการใช้อปุ กรณ์ รายบคุ คล ทางวทิ ยาศาสตร์ ระดับดขี น้ึ ไป วิทยาศาสตร์ - กลอ้ งจลุ ทรรศน์ เจตติทางวิทยาศาสตร์ - มคี วามอยากรู้อยากเห็น - ใฝร่ ู้ใฝเ่ รยี น - มงุ่ มัน่ ในการทำงาน สือ่ /แหล่งการเรยี นรู้ สือ่ การเรยี นรู้ ชดุ กจิ กรรมท่ี 11 เร่อื ง เซลลพ์ ชื และเซลลส์ ตั ว์ แหลง่ การเรยี นรู้ ห้องปฏิบัติการวทิ ยาศาสตร์
ชดุ กิจกรรมการเรยี นร้ทู ี่ 3 เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ัตว์ 36 ประเด็นการประเมิน เกณฑก์ ารประเมินใบกจิ กรรม 1 ระดับคุณภาพ 32 1. ความรู้ สามารถสรปุ ความรู้ สามารถสรปุ ความรไู้ ด้ครบ สรุปความรูไ้ ม่ ไดค้ รบ ตรงประเด็น ตรงประเด็นและมีความ ถูกตอ้ ง และถกู ต้องทุกหัวขอ้ ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ 2.การเชอื่ มโยงความรู้ สามารถเชอ่ื มโยง สามารรถเชือ่ มโยงความรู้ สามารถเช่อื มโยง ความรไู้ ด้ถูกต้อง ไดแ้ ละลำดบั ความสำคัญ ความรู้ได้ แตไ่ ม่ ตามลำดบั ค่อนขา้ งครบ เป็นไปตามลำดับ ความสำคัญ ความสมั พันธ์ 3. ความสะอาด ช้ินงานมีความสะอาด ช้นิ งานมีความสะอาด ชน้ิ งานไม่สะอาด เรยี บร้อย เรยี บร้อยในรแู บบท่ี เรยี บร้อยและมี ขาดความเปน็ ถูกตอ้ งและสวยงาม ขอ้ บกพรอ่ งเพียงเล็กน้อย ระเบยี บเรียบรอ้ ย เกณฑก์ ารประเมิน ชว่ งคะแนน ระดับคุณภาพ 8-9 ดีมาก 6-7 ดี 4-5 ค่อนขา้ งดี 2-3 พอใช้ 1 ปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผา่ น ไดร้ ะดบั คุณภาพดขี ึ้นไป
ชดุ กจิ กรรมการเรียนรู้ที่ 3 เซลลพ์ ืชและเซลลส์ ตั ว์ 37 แบบประเมนิ ใบกจิ กรรม คำช้แี จง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ จากการทำใบกิจกรรมของผู้เรียน โดยใหร้ ะดบั คะแนนลงในตารางที่ตรง กับพฤตกิ รรมของผูเ้ รยี น (ดูเกณฑใ์ นหน้าตอ่ ไป) เกณฑ์การใหค้ ะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรบั ปรงุ เลขที่ ช่อื - สกลุ ความรู้ การเชือ่ มโยง ความสะอาด รวม 123 ความรู้ เรียบร้อย 123 123 ลงชอื่ ................................................... ผูป้ ระเมนิ .............../.............../................
ชุดกจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 3 เซลล์พชื และเซลลส์ ัตว์ 38 เกณฑก์ ารประเมินทกั ษะทางวทิ ยาศาสตร์ ประเดน็ การประเมิน 3 ระดบั คณุ ภาพ 1 2 1. การสงั เกต บอกรายละเอียดของ บอกรายละเอยี ดของ บอกรายละเอยี ดของ ขอ้ มลู และตอบคำถาม 2. การจดั กระทำ จากการสังเกตได้อยา่ ง ขอ้ มลู และตอบคำถามจา ข้อมลู และตอบคำถาม 3. การลงความเหน็ ถูกต้อง จากข้อมลู สามารถจัดการกับขอ้ มลู การสงั เกตไดอ้ ยา่ งถูกต้อง จาการสังเกตได้ไม่ ในรูปแบบของกราฟได้ อยา่ งถกู ต้อง หรอื ขาดบางสว่ น ถูกต้อง สามารถลงความเห็นจาก ขอ้ มูล โดยไม่ผ่าน สามารถจัดการกบั ข้อมูล สามารถจัดการกับข้อมูล กระบวนการคดิ ไดอ้ ยา่ ง ถูกต้อง ในรูปแบบของกราฟได้ ในรูปแบบของกราฟไม่ ถูกตอ้ งบางสว่ น สมบรู ณ์และไม่ถกู ต้อง สามารถลงความเหน็ จาก สามารถลงความเห็นจาก ขอ้ มลู โดยไมผ่ า่ น ขอ้ มูลไดไ้ มถ่ ูกตอ้ ง กระบวนการคดิ ได้อย่าง ถูกต้องเป็นบางสว่ น เกณฑก์ ารประเมิน ชว่ งคะแนน ระดบั คณุ ภาพ 8-9 ดมี าก 6-7 ดี 4-5 2-3 คอ่ นข้างดี 1 พอใช้ ปรับปรงุ เกณฑ์การผา่ น ไดร้ ะดับคุณภาพดขี น้ึ ไป
ชุดกิจกรรมการเรยี นร้ทู ่ี 3 เซลล์พืชและเซลลส์ ตั ว์ 39 แบบสงั เกตทักษะการปฏิบัติงานรายบุคคล คำชีแ้ จง : ให้ผู้สอนประเมนิ จากการสังเกตพฤติกรรมของผเู้ รยี นในการปฏิบัตกิ ิจกรรม โดยให้ระดบั คะแนนลงในตารางท่ีตรงกบั พฤติกรรมของผู้เรียน (ดูเกณฑ์ในหน้าตอ่ ไป) เกณฑ์การใหค้ ะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ต้องปรบั ปรงุ รายการประเมนิ เลขท่ี การ ัสงเกต รวม ช่อื - สกลุ การ ัจดกระทำ การลงความเห็นจาก ข้อ ูมล ลงชือ่ ................................................... ผู้ประเมิน .............../.............../...............
ชุดกิจกรรมการเรยี นรทู้ ี่ 3 เซลล์พืชและเซลล์สตั ว์ 40 เกณฑก์ ารประเมนิ ทกั ษะการใชอ้ ปุ กรณว์ ิทยาศาสตร์ ระดบั คณุ ภาพ ประเดน็ การ 5 4 32 1 ประเมิน 1. เลอื กใช้ 1. กลอ้ ง 1. เลือกใช้เลนสว์ ัตถทุ ี่ 1. เลอื กใชเ้ ลนส์ 1. เลือกใช้เลนส์ 1. เลือกใช้ เลนสว์ ัตถุที่ กาํ ลังขยาย จลุ ทรรศน์ กาํ ลงั ขยายต่ำสดุ วตั ถทุ ่กี าํ ลังขยาย วัตถุทีก่ าํ ลัง เลนสว์ ตั ถุท่ี ตำ่ สุด 2. หมนุ ปมุ่ ปรับความ ต่ำสุด ขยายต่ำสุด กาํ ลงั ขยาย คมชดั ตามเขม็ นาฬิกาเพื่อ 2. หมุนปุม่ ปรบั 2. หมนุ ปุ่มปรับ ตำ่ สดุ ปรับเลนสต์ าให้ต่ำสดุ เกือบ ความคมชัดตาม ความคมชัด 2. หมุนป่มุ ถงึ กระจกสไลด์ เข็มนาฬิกาเพอ่ื ตามเข็มนาฬกิ า ปรบั ความ 3. วางแผ่นสไลดบ์ นแท่น ปรับเลนสต์ าให้ เพ่ือปรบั เลนส์ คมชัดตาม ใหว้ ัตถุที่ต้องการอย่ตู รงกับ ต่ำสุดเกอื บถึง ตาให้ต่ำสุด เข็มนาฬกิ า ชอ่ งบนแท่น กระจกสไลด์ เกอื บถึง เพ่ือปรับ 4.ปรบั กระจกเงาใหแ้ สง 3. วางแผ่นสไลด์ กระจกสไลด์ เลนสต์ าให้ สะท้อนมาท่ีวัตถุบน สไลด์ บนแท่นใหว้ ตั ถทุ ี่ 3. วางแผน่ ตำ่ สดุ เกอื บ 5.มองผ่านเลนสพ์ ร้อมทั้ง ต้องการอยตู่ รง สไลดบ์ นแทน่ ถึงกระจก คอ่ ยๆหมนุ ปมุ่ ทวน เขม็ กบั ชอ่ งบนแท่น ให้วัตถุท่ี สไลด์ นาฬิกา เพ่ือปรับระยะ 4.ปรับกระจกเงา ต้องการอยู่ตรง เลนสท์ ีละน้อยจน มองเห็น ให้แสงสะท้อน กบั ชอ่ งบนแทน่ วตั ถชุ ดั เจนแล้วกดทบั ให้ มาทวี่ ตั ถุบน แนน่ ด้วยที่ หนบี ทั้งสอง สไลด์ ข้าง เกณฑ์การประเมนิ ชว่ งคะแนน ระดับคณุ ภาพ 5 ดมี าก 4 ดี 3 2 คอ่ นข้างดี 1 พอใช้ ปรบั ปรุง เกณฑก์ ารผ่าน ไดร้ ะดบั คุณภาพดขี ึ้นไป
ชดุ กจิ กรรมการเรยี นร้ทู ่ี 3 เซลลพ์ ชื และเซลล์สัตว์ 41 แบบสังเกตทักษะการปฏิบตั ิงานรายบคุ คล คำชี้แจง : ใหผ้ ู้สอนประเมนิ จากการสังเกตพฤตกิ รรมของผเู้ รียนในการปฏบิ ัตกิ จิ กรรม โดยใหร้ ะดบั คะแนนลงในตารางทตี่ รงกับพฤตกิ รรมของผ้เู รยี น (ดูเกณฑ์ในหน้าต่อไป) เกณฑ์การให้คะแนน : 3 = ดี, 2 = พอใช้, 1 = ตอ้ งปรบั ปรงุ รายการประเมนิ เลขท่ี ชอื่ - สกลุ กล้องจลุ ทรรศน์ รวม ลงชื่อ ................................................... ผ้ปู ระเมนิ .............../.............../...............
Search