Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่ 3

ชุดที่ 3

Published by romrawin.nuty, 2022-08-22 01:42:03

Description: ชุดที่ 3

Search

Read the Text Version

รายวชิ าสงั คมศึกษา 5 รหสั วชิ า ส23101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 สาระหนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวติ ในสงั คม ชดุ ท่ี 3 : สทิ ธมิ นุษยชน นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ดี ูเมน 2 ช่องเมก็ อาํ เภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี



ห น้ า | ก คาํ นาํ ชุดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สาระหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม จัดทําขึ้นเพ่ือเป็น สื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส23101 ชุดการเรียนรู้แบบอภิปัญญา มีฐานความคิดมาจากทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความสามารถของบุคคล ที่มีต่อกระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรท่ีเหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถ เลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้นักเรียนได้เรียนด้วยตนเอง ตามอัตภาพและตามความสามารถ ใช้สอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนท่ียังเรียนไม่ทัน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่าน และเป็นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทําเป็น ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่องผสมผสานสาระการเรียนรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนและสมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นนวัตกรรมท่ีช่วยลดบทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูปการ เรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง คิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ ผ้เู รียนมจี ิตวทิ ยาศาสตร์คุณธรรมและคา่ นยิ มทถ่ี ูกต้องเหมาะสม ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนทําให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม ได้เป็นอย่างดี และมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอํานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้ และเป็น ประโยชน์ตอ่ ทางการศึกษาตอ่ ไป รมย์รวนิ ท์ เชิดชู โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

สารบญั ห น้ า | ข เรือ่ ง หนา้ คาํ นํา ก สารบญั ข คําชแ้ี จงเกีย่ วกับการใช้ชดุ การเรยี นรู้ ค แผนภูมิลําดบั ข้ันตอนการใช้ชุดการเรยี นรู้ ง คําชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรูส้ ําหรับครู จ คาํ ช้ีแจงการใช้ชดุ การเรยี นรู้สาํ หรบั นักเรยี น ฉ 1 สาระการเรยี นรู้ / มาตรฐานการเรยี นรู้ 1 สาระสําคัญ 2 จุดประสงค์การเรียนรู้ 3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น 6 อภิปัญญา เร่ือง สิทธิมนษุ ยชน 7 บตั รเนื้อหา ชุดที่ 3 เร่อื ง สทิ ธมิ นษุ ยชน 18 ภิปญั ญา เรอ่ื ง สทิ ธิมนษุ ยชน 19 บตั รกจิ กรรมท่ี 1 เร่อื ง สทิ ธมิ นษุ ยชน 22 บตั รกิจกรรมที่ 2 กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง สทิ ธมิ นษุ ยชน 24 บตั รกจิ กรรมท่ี 3 แบบฝึกหดั เรอ่ื ง สทิ ธิมนุษยชน 26 แบบทดสอบหลงั เรียน 29 กระดาษคําตอบแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น 30 บรรณานกุ รม 31 ภาคผนวก 32 เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง สทิ ธิมนษุ ยชน 35 เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 2 กิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ เรื่อง สิทธมิ นษุ ยชน 37 เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 3 แบบฝึกหดั เรื่อง สทิ ธมิ นษุ ยชน 39 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลังเรยี น 40 ประวตั ยิ ่อผ้จู ดั ทํา โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | ค คําช้ีแจงเกี่ยวกบั ชุดการเรยี นรู้ ชุดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 สาระหน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม จัดทําข้ึนเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรม ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส23101ชุดการเรียนรู้ แบบอภิปัญญามีฐานความคิดมาจากทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความสามารถของบุคคลท่ีมีต่อ กระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรที่เหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถเลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพื่อให้การเรียนรู้หรือการ ปฏิบัติงานต่างๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงองค์ประกอบของ Metacognition มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ความรู้ (2) การควบคุมตนเอง และ (3) ความตระหนัก ต่อกระบวนการคิด โดยสอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขใน การทํากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริมเจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และสามารถนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ มงุ่ เนน้ พฒั นาผเู้ รียนให้เกดิ การเรยี นรู้ ซึง่ ประกอบดว้ ยชุดการเรียนรู้ จาํ นวน 8 ชุด ดังน้ี ชดุ ท่ี 1 เรื่อง กฎหมายแพง่ และพาณิชย์ ชุดท่ี 2 เรื่อง กฎหมายอาญา ชุดท่ี 3 เรื่อง สิทธมิ นุษยชน ชดุ ท่ี 4 เรื่อง วฒั นธรรมและภมู ิปญั ญาไทย ชดุ ท่ี 5 เรอื่ ง วัฒนธรรมสากล ชดุ ที่ 6 เร่อื ง สังคมไทยในปจั จุบนั ชุดที่ 7 เรื่อง รปู แบบการปกครองในยุคปัจจบุ ัน ชุดที่ 8 เร่ือง ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยและแนวทาง แก้ปัญหา ชุดการเรียนรู้ ชุดนี้เป็น ชุดท่ี 3 เร่ือง สิทธิมนุษยชน ใช้เวลา 2 ชั่วโมง ผู้ใช้ชุดการเรียนรู้น้ี ควรศกึ ษาขั้นตอนการใช้ชดุ การเรยี นรู้อย่างละเอยี ดกอ่ นใช้ ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อนักเรียนและผู้สนใจท่ีจะ นําไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพฒั นากระบวนการเรียนรูใ้ หม้ ีคณุ ภาพมากย่ิงข้นึ ตอ่ ไป โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | ง แผนภมู ิลาํ ดบั ขนั้ ตอนการใช้ชุดการเรยี นรู้ อา่ นคําชี้แจงและคําแนะนําในการใช้ชุดการเรยี นรู้ ศกึ ษาตวั ชวี้ ดั และจดุ ประสงค์การเรยี นรู้ ทดสอบกอ่ นเรยี น ศกึ ษาชุดการเรยี นรู้ตามขัน้ ตอน ประเมินผลการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้จากชดุ กิจกรรม ทดสอบหลงั เรียน ผ่านการทดสอบ ศกึ ษาชุดการเรยี นรู้เรื่องต่อไป ชุดท่ี 3 เรอ่ื ง สทิ ธมิ นษุ ยชน โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | จ คาํ ช้แี จงการใชช้ ุดการเรียนรู้สาํ หรบั ครู ชุดการเรียนรู้แบบอภิปัญญาที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดที่ 3 เร่ือง สิทธิมนุษยชน กิจกรรม 2 ชั่วโมง เป็นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทํา ได้ คิดเป็น ทําเป็น ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเน่ืองผสมผสานสาระการเรียนรู้ด้านต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วน และสมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยการนํา อภิปัญญา (Metacognition) การรู้ความคิด หรือการคิดเก่ียวกับความคิด ซึ่งเป็นปัญญาสูงสุดของ การเรียนรู้ หรือความสามารถของบุคคลท่ีมีต่อกระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรที่เหมาะสมกับ ตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถเลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการ เรียนรู้ของตนเองได้ เพ่ือให้การเรียนรู้หรือการปฏิบัติงานต่าง ๆ บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมี ประสทิ ธิภาพ ครผู ้สู อนควรดําเนินการ ดงั น้ี 1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทําความเข้าใจเก่ียวกับคําช้ีแจงการใช้ชุดการเรียนรู้สําหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพ่ือที่ครูผู้สอนสามารถนําชุดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดช้ันเรียน การเตรียมแหล่งเรียนรู้ การเตรียมส่ือ/อุปกรณ์ ท่ีใช้ในการ เรียนการสอน 2. การจัดช้นั เรียนจะจัดให้นักเรยี นนงั่ เป็นรายบุคคลหรอื กลุ่มก็ได้ 3. ใหน้ ักเรยี นทําแบบทดสอบกอ่ นเรียนก่อนเพ่ือวดั พื้นฐานความรู้รายบุคคล 4. แจง้ จุดประสงคใ์ หน้ ักเรียนทราบ 5. แจกชุดการเรียนรใู้ ห้นักเรียนให้นักเรียนได้ศึกษา แนะนําวิธีการการใช้ชุดการเรียนรู้เพื่อ นกั เรยี นจะได้ปฏบิ ตั อิ ยา่ งถกู ต้อง 6. ดาํ เนินการสอนตามกจิ กรรมการเรยี นรทู้ ีก่ าํ หนดในแผนการจดั กจิ กรรมการเรียนรู้ 7. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูดเป็น รายกลมุ่ หรอื รายบุคคล ต้องไมร่ บกวนกิจกรรมของนักเรยี นกลุ่มอ่นื 8. หลังจากนักเรียนศึกษาชุดการเรียนรู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูให้นักเรียน ทําใบกิจกรรม ทํา แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลการเรียนของนักเรียนแจ้งคะแนนให้นักเรียนทราบเพื่อนําไป พัฒนาตนเองให้ช่ัวโมงต่อไป 9. ครูคอยแนะนําชี้แจง ให้กําลังใจนักเรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียนในระหว่างเรียนเพื่อ ประเมินพฤติกรรมนักเรียน 10. หลงั จากปฏิบตั ิกิจกรรมแล้ว นักเรยี นจะตอ้ งจัดเกบ็ อุปกรณท์ กุ ช้ินให้เรยี บรอ้ ย โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | ฉ คาํ ชีแ้ จงการใชช้ ดุ การเรียนรู้สําหรบั นักเรยี น ชุดการเรียนรู้ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปนี้ คือ ชุดท่ี 3 เรื่อง สิทธิมนุษยชน นักเรียนจะได้ สํารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้น ข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหาผ่านทางกระบวนการ กลุ่ม การรู้ความคิด หรือการคิดเก่ียวกับความคิด ที่เป็นปัญญาสูงสุดของการเรียนรู้ แบบอภิปัญญา โดยจะช่วยให้นักเรียนสามารถวางแผนและทบทวนความคิดของตนเองอย่างเป็นระบบ สามารถเลือก วิธีการเรียนรู้และประเมินผลที่เหมาะสมกับตนเอง และถ่ายทอดความคิดออกมาเพ่ือให้การเรียนรู้ หรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด นักเรยี นควรปฏิบัตติ ามคาํ ชีแ้ จง ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. นักเรยี นรับชุดการเรยี นรู้ ชุดท่ี 3 เรอ่ื ง สิทธิมนษุ ยชน 2. นกั เรยี นอ่านคําแนะนาํ คาํ ชแ้ี จงการใช้ชดุ การเรียนรู้ใหเ้ ขา้ ใจ 3. นักเรียนศึกษาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวช้ีวัด สาระสําคัญ และจุดประสงค์ การเรียนรู้ เพอ่ื ใหท้ ราบว่าไดศ้ ึกษาเนือ้ หาและเข้ารว่ มกจิ กรรมไดค้ วามรู้อะไร 4. นักเรียนเริ่มทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือประเมินพ้ืนฐานความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรอ่ื ง สทิ ธมิ นุษยชน 5. นักเรียนศึกษา และทําความเข้าใจเน้ือหาต้ังแต่เริ่มต้นกระทั้งถึงหน้าสุดท้ายตามลําดับ และทําใบกิจกรรมท่ี 1 ใบกจิ กรรมท่ี 2 และใบกิจกรรมท่ี 3 เรอื่ ง สิทธิมนุษยชน 6. นักเรยี นอ่านและทาํ กจิ กรรมตามท่กี าํ หนดอย่างรอบคอบและครบถ้วน 7. นักเรียนตรวจคําตอบจากเฉลยใบกิจกรรมที่ 1 ใบกิจกรรมที่ 2 และใบกิจกรรมที่ 3 ส่งผล งานการทําใบกิจกรรมท้ายเลม่ ชุดการเรยี นรู้ เพอื่ ให้ครูตรวจและบนั ทกึ ผล 8. นกั เรียนทาํ กิจกรรมเสรจ็ แลว้ จัดเกบ็ อปุ กรณ์ประกอบการเรยี นใหเ้ รียบร้อย 9. นักเรยี นทุกคนทํากจิ กรรมครบแลว้ จากน้ันจึงทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน จาํ นวน 10 ขอ้ 10. ในการทํากิจกรรมและแบบทดสอบต่าง ๆ ให้นักเรียนทําด้วยความต้ังใจ และมีความ ซือ่ สัตยต์ ่อตนเองให้มากท่ีสดุ โดยไมด่ ูเฉลยกอ่ นทาํ ใบกจิ กรรมและแบบทดสอบก่อนหรือหลงั เรยี น 11. นักเรียนจําทําเสร็จช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับความสามารถและทักษะของนักเรียนเองไม่ จําเป็นตอ้ งทาํ เสรจ็ พรอ้ มกนั แตใ่ หท้ าํ เสรจ็ ทันตามเวลาท่ีกาํ หนด 12. นกั เรยี นรบั ฟงั การรายงานผลคะแนนคาํ ชมเชย และคําแนะนําเพ่มิ เติมจากครู โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 1 สาระการเรยี นรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1) ความหมายและความสําคัญของสทิ ธมิ นุษยชน 2) การมีส่วนร่วมคุ้มครองสิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ตามวาระ และโอกาสท่ีเหมาะสม สาระท่ี 2 หน้าทพี่ ลเมือง วฒั นธรรม และการดําเนนิ ชีวติ ในสังคม มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าท่ีของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธํารง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอย่างสนั ตสิ ุข ตัวชว้ี ดั ม.3/2 มสี ่วนร่วมในการปกป้องคมุ้ ครองผ้อู นื่ ตามหลักสิทธิมนษุ ยชน สาระสาํ คัญ มนุษย์ที่เกิดมาในสังคมน้ันย่อมมีความแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นฐานะ เชื้อชาติ ศาสนา ความคิด ความเช่ือ แต่ทุกคนย่อมมีสิทธิ เสรีภาพ และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ ท่ีเรียกว่า สิทธิ มนุษยชน สิทธิมนุษยชนมีความสําคัญต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์ ดังนั้นทุกคนจึงต้องมีส่วนร่วมในการ ปกปอ้ งค้มุ ครองสิทธิมนษุ ยชนของผอู้ ่ืนตามหลกั สทิ ธมิ นษุ ยชนในโอกาสทเ่ี หมาะสม องค์กรด้านสิทธิมนุษยชนท้ังในระดับชาติ ระดับระหว่างประเทศ และระดับภาคประชา สังคม ต่างมีบทบาทหนา้ ทีใ่ นการคุม้ ครองมนุษย์ตามหลกั สิทธิมนุษยชน โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 2 จุดประสงคก์ ารเรยี นรู้ 1. อธิบายความหมายและความสําคญั ของสทิ ธมิ นุษยชนได้ (K) 2. จาํ แนกความสาํ คัญของสทิ ธิมนษุ ยชนทพ่ี บในชีวติ ประจําวนั ได้ (P) 3. วเิ คราะห์แนวทางการมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองผอู้ น่ื ตามหลักสทิ ธมิ นษุ ยชนได้ (K) 4. มีส่วนรว่ มในการปกปอ้ งคุ้มครองผ้อู น่ื ตามหลักสทิ ธิมนุษยชนท่ีพบในชีวิตประจาํ วนั ได้ (P) 5. อธิบายบทบาทหน้าท่ีขององค์กรด้านสิทธิมนุษยชนระดับชาติ ระดับระหว่างประเทศ และระดับภาคประชาสังคมได้ (K) 6. จําแนกผลการดําเนนิ งานขององคก์ รด้านสิทธิมนษุ ยชนได้ (P) 7. เห็นคุณค่าของศึกษาความหมายและความสําคัญของสิทธิมนุษยชนเพ่ิมมากขึ้น มีส่วนร่วม ในการปกป้องคุ้มครองผู้อ่ืนตามหลักสิทธิมนุษยชนเพิ่มมากขึ้น เห็นคุณค่าของศึกษาการดําเนินงาน ขององค์กรดา้ นสทิ ธิมนุษยชนเพมิ่ มากขึน้ (A) โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 3 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น เร่อื ง สิทธิมนษุ ยชน กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศกึ ษา ฯ รายวิชาสังคมศกึ ษา 5 รหัสวิชา ส23101 ชนั้ มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 3 คาํ ช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบับน้ี จํานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทใี่ ช้ 10 นาที 2. จงเลอื กคําตอบทีถ่ ูกตอ้ งทีส่ ุด แล้วเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคําตอบ 1. ขอ้ ใด ไม่ใช่ หลักการของสทิ ธมิ นษุ ยชน ก. บุคคลมีสิทธิในการถือสัญชาติ ข. บคุ คลมสี ิทธิทจ่ี ะบังคบั ผอู้ ืน่ ได้ ค. บคุ คลมีสทิ ธใิ นการดาํ รงชีวิตอยอู่ ย่างมีเสรีภาพ ง. บุคคลมสี ทิ ธทิ จ่ี ะไดร้ ับการพักผอ่ นจากการทาํ งาน 2. ขอ้ ใด ไม่ใช่ อาํ นาจหนา้ ทีข่ องคณะกรรมการสทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ ชาติ ก. สง่ เสรมิ ความร่วมมือและประสานงานระหวา่ งหน่วยราชการและองค์กรอน่ื ในดา้ นสิทธิ มนษุ ยชน ข. เสนอแนะนโยบายต่อคณะรฐั มนตรเี กีย่ วกบั การส่งเสรมิ และคมุ้ ครองสทิ ธิมนุษยชน ค. ตรวจสอบและรายงานเกย่ี วกับการกระทาํ ทเ่ี ป็นการละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน ง. ตดั สนิ และลงโทษผทู้ ก่ี ระทําผิดเกีย่ วกับการละเมิดสทิ ธมิ นษุ ยชน 3. ประชาชนเสนอเรือ่ งราวรอ้ งทุกขไ์ ปยังหน่วยงานท่เี กี่ยวข้องเมื่อไม่ไดร้ ับความเปน็ ธรรมคือ สทิ ธิด้านใด ก. สทิ ธสิ ว่ นบคุ คล ข. สทิ ธใิ นการรวมกลมุ่ และในชุมชน ค. สทิ ธิการเมอื งการปกครองและสาธารณะ ง. สิทธใิ นความเสมอภาคและการสง่ เสรมิ ของรฐั โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 4 4. ข้อใดเปน็ การละเมิดสิทธิแรงงาน ก. นายจ้าง แจ้งสวัสดกิ ารตา่ ง ๆ แกล่ ูกจา้ ง ข. นายจ้างพาแรงงานต่างด้าวไปข้ึนทะเบยี น ค. ลกู จา้ งทํางานลว่ งเวลาโดยไม่ได้รับค่าโอที ง. ลูกจา้ งไดร้ ับการฝกึ อบรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน 5. ขอ้ ใดเปน็ การคุ้มครองด้านเสรภี าพ ก. การนบั ถือศาสนา ข. การรกั ษาพยาบาล ค. การพักผ่อนจากการทํางาน ง. การได้รบั การศกึ ษาขัน้ พน้ื ฐาน 6. การคุ้มครองสิทธิมนษุ ยชนเกีย่ วกบั นาํ้ มีประโยชน์อยา่ งไร ก. ทําใหป้ ระชาชนมีนํา้ ใช้ได้อย่างไม่จาํ กดั ข. ทาํ ให้ประชาชนมนี ้าํ ใชเ้ พอ่ื อปุ โภคและบริโภค ค. ทาํ ให้ประชาชนประกอบอาชีพไดอ้ ย่างหลากหลาย ง. ทาํ ให้เกิดองค์กรต่าง ๆ ท่เี กยี่ วขอ้ งกับสิทธมิ นุษยชนมากขึน้ 7. UNICEF เปน็ องคก์ รที่ทาํ หน้าทใ่ี ด ก. ส่งเสริมดา้ นการศกึ ษา ข. ป้องกันและยตุ กิ ารทาํ ร้ายสิทธมิ นษุ ยชน ค. สง่ เสรมิ ความคุ้มครองทางสังคมในแรงงานทกุ กลุ่ม ง. ปกปอ้ งค้มุ ครองเด็กจากการถกู ทาํ รา้ ย และล่วงละเมิด 8. ขอ้ ใดเปน็ แนวทางการแกป้ ัญหาเกย่ี วกบั สิทธมิ นษุ ยชนทีท่ ําได้ดว้ ยตนเอง ก. เผยแพรค่ วามรู้เกย่ี วกบั สทิ ธมิ นษุ ยชนทางโทรทัศน์ วิทยุ ข. จัดตั้งหนว่ ยงานเพ่ือร้องเรียนเกย่ี วกบั ปญั หาของคนในชุมชน ค. แจง้ เบาะแสเก่ียวกบั ปญั หาการละเมดิ สิทธทิ ่ีพบเห็นใหห้ นว่ ยงานที่เก่ยี วขอ้ งทราบและ ดําเนินการแกไ้ ข ง. เขา้ รว่ มฟงั การประชุมด้านสังคมและสทิ ธมิ นษุ ยชนกบั ประเทศต่าง ๆ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 5 9. เด็กหญิงนก อาศยั อยู่กับแมแ่ ละนา้ ชาย เด็กหญงิ นก เปน็ เดก็ พิการทางสายตา อยมู่ าวนั หน่งึ น้าชายได้ ข่มขืนเดก็ หญงิ นก และถูกน้าชายขม่ ขวู่ ่าห้ามบอกใคร มเิ ช่นนั้นจะถกู ฆ่า จาก เหตกุ ารณ์ดงั กลา่ วเปน็ ปญั หาสทิ ธมิ นุษยชนดา้ นใด ก. ปัญหาการละเมิดสิทธสิ ตรี ข. ปัญหาความรนุ แรงในครอบครวั ค. ปัญหาการเลอื กปฏิบัตติ อ่ ผู้พกิ าร ง. ปัญหาการละเมิดสิทธิกลุ่มชาตพิ ันธ์ุ 10. หนว่ ยงานใดมหี น้าทีพ่ จิ ารณาพพิ ากษาคดีท่ีเป็นกรณพี ิพาทระหว่างเอกชนกบั หน่วยงาน ราชการ ก. คณะกรรมการทไ่ี ดร้ บั การแต่งตั้งแต่ละจงั หวัด ข. คณะกรรมการสทิ ธมิ นษุ ยชนแหง่ ชาติ ค. สาํ นกั ผ้ตู รวจการแผน่ ดิน ง. ศาลปกครอง โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 6 กจิ กรรมอภปิ ัญญา เรื่อง สทิ ธิมนษุ ยชน ขั้นที่ 1 ความตระหนกั ในความรู้ 1. นักเรยี นมคี วามร้เู ก่ียวกับสทิ ธิมนุษยชน อะไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… …………………………………………………………...……………………………………………………………………………… 2. นักเรียนควรศกึ ษาเพมิ่ เติมอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… …………………………………………………………...……………………………………………………………………………… 3. นักเรยี นจะศกึ ษาอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… …………………………………………………………...……………………………………………………………………………… ตอบถกู ตอ้ งท้ังหมด เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งเล็กนอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 7 บตั รเนื้อหา ชดุ ท่ี 3 สิทธมิ นุษยชน มนุษย์ท่ีเกิดมาในสังคมน้ันย่อมมีความแตกต่างกันไป ไม่ว่าจะเป็นฐานะ เช้ือชาติ ศาสนา ความคิด ความเช่ือ แต่ไม่ว่าจะมีความแตกต่างกันเพียงใด มนุษย์ทุกคนย่อมมีสิทธิ เสรีภาพ และศักด์ิศรีความเป็นมนุษย์ เรียกว่า สิทธิมนุษยชน ในปัจจุบันเราจะเห็นได้ว่ามีหน่วยงานทั้งภาครัฐ และเอกชนท่ีก่อตั้งข้ึนเพ่ือทําหน้าท่ีปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ซึ่งเป็นการช่วยให้มนุษย์มีคุณภาพ ชวี ติ ท่ีดีข้ึนและอยู่รว่ มกนั ไดอ้ ย่างสนั ตสิ ขุ รูปที่ 3.1 สทิ ธิมนษุ ยชนและสทิ ธเิ สรภี าพ https://www.labour.go.th/index.php/54523-2020-06-18-04-03-28 โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 8 1. ความหมายและความสําคญั ของสทิ ธมิ นุษยชน สิทธิมนุษยชนถือเป็นอํานาจอันชอบธรรมท่ีกฎหมายรับรองให้มนุษย์กระทําการใด ๆ โดย ไมก่ ระทบสทิ ธขิ องผอู้ นื่ ไดอ้ ยา่ งอิสระ และไม่แบง่ แยกชนชนั้ ฐานะ หรอื ชาตกิ าํ เนิด รูปที่ 3.2 หลกั การสาํ คญั สทิ ธมิ นุษยชน https://www.labour.go.th/index.php/54523-2020-06-18-04-03-28 1.1 ความหมายของสิทธิมนษุ ยชน แนวความคิดเรื่องสิทธิมนุษยชน ได้ถูกนํามาใช้เป็นกลไกหนึ่งใน \"กฎบัตร สหประชาชาติ\" (พ.ศ. 2488) เพ่ือปกป้องคุ้มครองมิให้เกิด เช่น สงครามโลกคร้ังที่ 2 ที่มนุษยชาติ ต้องสังเวยชีวิตไปจํานวนมหาศาล คําว่า \"สิทธิมนุษยชน\" จึงปรากฏอยู่ในคําปรารภ ความมุ่งหมาย โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 9 และหลักการของกฎบัตรสหประชาชาติหลายมาตราที่รัฐสมาชิกองค์การสหประชาชาติได้ให้การ รับรองไว้ เช่น ในความมุ่งหมายประการหนึ่ง คือ \"เพื่อทําการร่วมมือระหว่างประเทศในอันท่ีจะ แก้ปัญหาระหว่างประเทศทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และมนุษยธรรม และส่งเสริมสนับสนุน การเคารพสทิ ธิมนษุ ยชน\" รปู ที่ 3.3 ขอบเขตสิทธิมนษุ ยชน https://www.labour.go.th/index.php/54523-2020-06-18-04-03-28 ในเวลาต่อมาเม่ือมีคําประกาศ \"ปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ\" (พ.ศ. 2491) ซ่ึงถือว่าเป็นเอกสารแม่บทของสิทธิมนุษยชน แต่ก็มิได้ให้ความหมายของคําว่าสิทธิ มนุษยชนไว้แตป่ ระการใด โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 10 ปฏิญญาสากลฯ จึงจัดได้ว่าเป็นแนวทางปฏิบัติของสิทธิมนุษยชน โดยมีสิทธิ เสรีภาพที่ สําคัญของมนุษย์ระบุไว้ เช่น สิทธิต่อชีวิต เสรีภาพและความปลอดภัยของบุคคล เสรีภาพทาง ความคิดและการแสดงออก ความเสมอภาค การศึกษา อาชีพ และการมีส่วนร่วมแนวทางปฏิบัติใน ปฏิญญาสากลฯ ถือเป็นการให้ความหมายคําว่า สิทธิมนุษยชนไว้แบบกว้าง ๆ สําหรับให้รัฐสมาชิกท่ี ให้การรับรองปฏิญญาสากลฯ นําไปเป็นแนวทางปฏิบัติประเทศไทยถือเป็น 1 ใน 48 ประเทศแรก ของโลกที่ลงคะแนนเสียงรับรองและให้ความสําคัญต่อสิทธิมนุษยชน ซึ่งพระราชบัญญัติประกอบ รัฐธรรมนูญว่าด้วยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ พ.ศ. 2560 ได้ให้ความหมายของสิทธิ มนุษยชนว่าหมายถึง ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพและความเสมอภาคของบุคคล บรรดาท่ี ได้รับการรับรองหรือคุ้มครองตามรัฐธรรมนูญตามกฎหมาย หรือตามหนังสือสัญญาที่ประเทศไทย เปน็ ภาคีและมีพนั ธกรณที ่จี ะต้องปฏบิ ัตติ าม 1.2 ความสาํ คัญของสทิ ธมิ นษุ ยชน ในปัจจุบันท่ัวโลกได้ให้ความสําคัญต่อสิทธิมนุษยชน และมีความพยายามที่จะ กําหนดมาตรฐานท่ีเก่ียวกับสิทธิมนุษยชน เพ่ือให้มนุษย์ได้รับการปกป้องและคุ้มครองอย่างเท่าเทียม กัน นอกจากนี้ ยังมีการดําเนินการท่ีจะช่วยให้ประเทศต่าง ๆ ในโลกมีการพัฒนาทางด้านสิทธิ มนุษยชนให้ดีย่ิงขึ้น จะเห็นได้ว่า เร่ืองสิทธิมนุษยชนกลายเป็นประเด็นสําคัญระดับโลก ซึ่งสามารถ สรุปความสําคญั ของสทิ ธมิ นุษยชนได้ ดังนี้ 1) ส่งเสริมให้มนุษย์ทุกคนได้รับการปฏิบัติด้วยความเสมอภาคเท่าเทียมกัน ท้ังศักด์ิศรีและสิทธิ ไม่ถูกแบ่งแยกให้เกิดความแตกต่างกันในเร่ืองใด ๆ เช่น เช้ือชาติ สีผิว ชาติ กาํ เนดิ เผา่ พันธุ์ เพศ อายุ ภาษา ศาสนา ความคิดเห็นทางการเมือง และอ่ืน ๆ 2) ส่งเสริมให้มนุษย์ทุกคนได้รับการปฏิบัติอย่างยุติธรรม โดยเฉพาะการได้รับความ คุ้มครองจากกฎหมายท่ีเท่าเทียมกัน รวมถึงได้รับการพิจารณาคดีอย่างเป็นธรรมจากศาลตลอดจน การดําเนนิ การตามข้ันตอนของกระบวนการยตุ ธิ รรม 3) ส่งเสริมให้มนุษยม์ คี วามเป็นอยู่และคุณภาพชวี ิตทีด่ ขี ึ้น โดยการทไี่ ด้รับสทิ ธิต่าง ๆ ที่เหมาะสม ไม่ว่าจะเป็นสิทธิในทรัพย์สิน สิทธิในมาตรฐานการครองชีพ การประกันการว่างงานการ ได้รับค่าจ้างท่ีเพียงพอต่อการยังชีพ การเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน การศึกษา การได้รับ การคุ้มครองลิขสิทธิ์และสิทธิบัตร รวมถึงสิทธิในการเข้ารับการพัฒนาในด้านต่าง ๆ ที่จําเป็นต่อการ ดาํ รงชวี ิต 4) ส่งเสริมโอกาสแก่มนุษย์ทุกคนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ทางสังคม โดยได้รับ การสนับสนุนให้เข้าไปมีส่วนร่วมในการคิด แสดงความคิดเห็น หรือการตัดสินใจในกิจกรรมทางสังคม โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 11 เช่น สิทธิในการชุมนุมทางการเมือง สิทธิในการเสนอแนะแนวทางการแก้ไขปัญหาสังคม สิทธิในการ เลือกตัง้ ตลอดจนสิทธิในการดาํ รงตาํ แหนง่ ทางการเมือง 5) ส่งเสริมให้มนุษย์มีอิสระ เสรีภาพในการดําเนินชีวิต โดยทุกคนสามารถทํากิจกรรม ต่าง ๆ ที่ไม่ขัดต่อกฎหมายและไม่เกิดความเดือดร้อนต่อผู้อื่นได้อย่างเสรี ตลอดจนได้รับความ คุ้มครองเสรีภาพทางความคิด เช่น เสรีภาพในการนับถือศาสนา การแสดงออก การแสวงหาและการ รับรู้ข้อมูลข่าวสาร การชุมนุมอย่างสงบ การรวมกันเป็นสมาคม และสิทธิในการมีส่วนร่วมในกิจการ สาธารณะ 6) ส่งเสริมให้มนุษย์ทุกคนมีเสรีภาพในการแสดงความคิดเห็น ถึงแม้มนุษย์สามารถ แสดงออกในด้านต่าง ๆ ได้อย่างเท่าเทียม แต่จะต้องเคารพสิทธิของผู้อื่นแสดงให้เห็นได้ว่า สิทธิ มนุษยชนมีความสําคัญต่อประชากรโลก โดยองค์การสหประชาชาติในฐานะองค์การระหว่างประเทศ ได้ให้ความสําคัญพยายามเรียกร้องและดําเนินการจัดทําสนธิสัญญาหลักด้านสิทธิมนุษยชนมาเป็น ลาํ ดบั จํานวน 7 ฉบับ ซง่ึ มผี ลดําเนินการสําหรบั รฐั สมาชกิ สหประชาชาตใิ นปัจจุบัน ดังนี้ ประเทศไทยเข้าเป็นภาคีสนธิสัญญาแล้วทั้ง ๗ ฉบับ ซึ่งสะท้อนให้เห็นเจตนารมณ์อย่าง ชัดเจนที่ร่วมกับประชาคมระหว่างประเทศระดับสากล ในการส่งเสริมและคุ้มครองสิทธิมนุษยชนโดย ใน พ.ศ. ๒๕๕๓-๒๕๕๔ ประเทศไทยได้รับเลือกจากประเทศสมาชิกให้ดํารงตําแหน่งประธานคณะ มนตรีสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ มีหน้าท่ีรับคําร้องเรียนจากบุคคลในเรื่องการละเมิดสิทธิ มนุษยชน สอดสอ่ งดแู ลกติกาสากลเร่ืองสิทธพิ ลเมืองและการเมือง สิทธิมนุษยชนมีความสัมพันธ์ท่ีเช่ือมโยงกับการเมืองการปกครองระบอบประชาธิปไตย เนื่องจากแนวคิดและการปฏิบัติด้านสิทธิมนุษยชนเป็นการวางรากฐานไปสู่ความเป็นประชาธิปไตย และถือเป็นตัวชี้วัดความเป็นประชาธิปไตยในแต่ละประเทศ เพราะเมื่อมีสิทธิมนุษยชนก็จะเกิดท้ัง หน้าที่ของผู้ปกครองหรือรัฐบาล และหน้าท่ีมนุษยชนท่ีจะต้องเอ้ือเสื้อเก้ือกูลกันด้วยความเมตตา กรุณา การปลูกฝงั เรอื่ งน้ีจึงถือเปน็ ส่งิ สาํ คัญและจาํ เป็นในสงั คม 2. การมสี ว่ นรว่ มในการปกปอ้ งค้มุ ครองผอู้ ่ืนตามหลักสิทธมิ นุษยชน เร่ืองสิทธิมนุษยชนในปัจจุบันมีความเปล่ียนแปลงไป คือ มิไช่เป็นการกิจของรัฐบาลเพียง ฝ่ายเดียวเท่านั้น องค์กรพัฒนาเอกชนและภาคประชาสังคมทางด้านสิทธิมนุษยชนในประเทศ และต่างประเทศก็ได้เข้ามามีส่วนร่วม โดยมีศักยภาพในการดําเนินงานการมีส่วนร่วมขององค์กรภาค ประชาสังคม ใกล้เคียงกับประสิทธิภาพของรัฐบาล ซึ่งมีอิทธิพลต่อความเห็นของสาธารณชนมาก พอสมควร โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 12 โดยหลักการแล้ว สิทธิมนุษยชนข้ึนอยู่กับการรับรองหรือการประกันสิทธินั้นโดยกฎหมาย หากกฎหมายได้รับการตราไว้อย่างเป็นธรรม และได้รับการปฏิบัติอย่างเท่ียงธรรม ประชาชนก็จะไม่ ถูกละเมิดสิทธิได้ง่าย แต่ทั้งน้ี ประชาชนควรมีส่วนร่วมในการรับรู้ด้านสิทธิมนุษยชน และนําไป ปฏิบัติเพื่อสร้างสรรค์ความดีงามในทุกด้านของชีวิตตามหลักสิทธิมนุษยชน ท้ังทางกายและทางจิต วิญญาณ ซ่ึงสังคมไทยมีพระพุทธศาสนาเป็นทุนทางสังคมด้านสิทธิมนุษยชนอยู่แล้ว เช่น ศีล 5 การ แผ่เมตตา การไมเ่ บยี ดเบยี นผอู้ ่นื นอกจากนี้ สื่อทั้งหลายได้มีการเฝ้าติดตามบทบาทของท้ังภาครัฐและภาคประชาสังคม อย่างใกล้ชิด ซึ่งในส่วนของรัฐบาลมีบทบาทหน้าท่ีในการส่งเสริมหลักสิทธิมนุษยชน เช่น คุ้มครอง และพัฒนาเด็กและเยาวชน ส่งเสริมให้เอกซนและชุมชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาสุขภาพและ จัดบริการสาธารณสุข รัฐต้องปฏิบัติตามสนธิสัญญาด้านสิทธิมนุษยชนที่ประเทศไทยเป็นภาคี อีกท้ัง ยังกาํ หนดใหม้ ีองคก์ รอิสระ คอื คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแหง่ ชาตมิ ีบทบาทในการบรหิ ารร่วมกบั องคก์ รภาคประชาชน เพ่อื เปน็ องคก์ รท่ีมอี าํ นาจอสิ ระในการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชน 2.1 การมีสว่ นรว่ ม \"รบั รู้\" การมสี ว่ นร่วมรับรู้จะชว่ ยใหเ้ ราทราบถึงสทิ ธิอนั พึงมที ง้ั ของตนเองและผอู้ ื่น ในฐานะ คนไทยควรมีส่วนร่วมรับรู้สิทธิ เสรีภาพของตนเองตามท่ีรัฐธรรมนูญกําหนดไว้ในบทบัญญัติท่ีให้ ความสําคัญเร่ืองสิทธิมนุษยชน โดยแยกออกเป็นส่วนต่าง ๆ ที่ทุกคนควรมีส่วนร่วมในการรับรู้เพื่อ นาํ ไปสูก่ ารปฏบิ ตั อิ ย่างถูกตอ้ งตรงตามเป้าหมายของรัฐธรรมนญู ดงั นี้ 1) สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล เป็นการระบุถึงสิทธิ เสรีภาพท่ัวไป ซ่ึงเป็นพื้นฐานสําคัญ ที่ประชาชนชาวไทยพงึ มี เช่น บคุ คลย่อมมสี ิทธิและเสรีภาพในชีวติ และรา่ งกาย เสรีภาพในเคหสถาน ตลอดจนการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้ายหรือไร้มนุษยธรรมจะกระทํามิได้ ท้ังน้ี การลงโทษตามคํา พิพากษาของศาลหรือตามท่ีกฎหมายบัญญัติ ไม่ถือว่าเป็นการลงโทษด้วยวิธีการโหดร้ายหรือไร้ มนุษยธรรม 2) สิทธใิ นกระบวนการยตุ ิธรรม เปน็ การระบุถึงสิทธิทบี่ คุ คลพึงได้รับการค้มุ ครองใน กระบวนการยุติธรรมหรือกระบวนการทางกฎหมาย เช่น บุคคลไม่ต้องรับโทษอาญา เว้นแต่ได้ กระทําการอันกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาที่กระทําน้ันบัญญัติเป็นความผิดและกําหนดโทษไว้ และโทษท่ี จะลงแก่บุคคลนั้นจะหนักกว่าโทษที่กําหนดไว้ในกฎหมายที่ใช้อยู่ในเวลาท่ีกระทําความผิดมิได้โดยใน คดีอาญาต้องสันนิษฐานไว้ก่อนว่าผู้ต้องหาหรือจําเลยไม่มีความผิด ก่อนมีคําพิพากษาอันถึงท่ีสุดที่ แสดงว่าบคุ คลไดก้ ระทําความผดิ ซ่ึงจะปฏบิ ตั ิต่อบุคคลนน้ั เสมือนเปน็ ผ้กู ระทาํ ความผดิ มิได้ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 13 3) สิทธิในทรัพย์สิน เช่น สิทธิของบุคคลในทรัพย์สินย่อมได้รับการคุ้มครองขอบเขต แห่งสิทธิและการจํากัดสิทธิเช่นว่าน้ีย่อมเป็นไปตามที่กฎหมายบัญญัติ การสืบมรดกย่อมได้รับความ ค้มุ ครองและเป็นไปตามทก่ี ฎหมายบญั ญตั ิ 4) สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ เช่น บุคคลย่อมมีเสรีภาพในการ ประกอบอาชีพและมีสิทธิได้รับหลักประกันความปลอดภัยและสวัสดิภาพในการทํางาน รวมทั้ง หลักประกันในการดํารงชีพ ท้ังในระหว่างการทํางานและเมื่อพันภาวะการทํางาน ทั้งนี้ เป็นไปตามที่ กฎหมายบญั ญตั ิ 5) สิทธิและเสรีภาพในการศึกษา เช่น บุคคลย่อมมีสิทธิเสมอกันในการรับการศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 ปี ท่ีรัฐจะต้องจัดให้อย่างทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย รวมไปถึงผู้ ยากไร้ ผู้พิการ ทุพพลภาพ หรือผู้อยู่ในสภาวะยากลําบาก ต้องได้รับสิทธินี้และได้รับการสนับสนุน จากรัฐเพื่อให้ได้รับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอื่น ตลอดจนการจัดการศึกษาอบรมขององค์กร วิชาชีพหรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรู้ด้วยตนเองเยาวชนไทยทุกคนย่อมมี สิทธิเท่าเทียมกันที่จะได้รับการและการเรียนรู้ตลอดชีวิต ย่อมได้รับการคุ้มครองศึกษาขั้นพื้นฐานเพื่อ นําความรไู้ ปใชใ้ นชีวติ ต่อไปและส่งเสรมิ ทเ่ี หมาะสมจากรัฐเช่นเดยี วกนั 6) สิทธิในการได้รับบริการสาธารณสุขและสวัสดิการจากรัฐ เช่น บุคคลย่อมมีสิทธิ เสมอกันในการรับบริการทางสาธารณสุขท่ีเหมาะสมและได้มาตรฐาน และผู้ยากไร้มีสิทธิได้รับการ รักษาพยาบาลจากสถานบริการสาธารณสุขของรัฐโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ซ่ึงต้องเป็นไปอย่างทั่วถึงและ มีประสิทธิภาพ รวมถึงมีสิทธิได้รับการป้องกันและขจัดโรคติดต่ออันตรายจากรัฐอย่างเหมาะสมโดย ไมเ่ สยี คา่ ใชจ้ า่ ยและทันต่อเหตกุ ารณ์ 7) สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน เช่น บุคคลย่อมมีสิทธิท่ีจะฟ้องหน่วยงาน ราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ ราชการส่วนท้องถิ่น หรือองค์กรอื่นของรัฐที่เป็นการได้รับการ รักษาพยาบาลที่เหมาะสมเป็นสิทธิท่ีรัฐนิติบุคคล ให้รับผิดเนื่องจากการกระทําหรือการต้องบริการ แก่ประชาชนคนไทยทุกคนละเวน้ การกระทาํ ของข้าราชการ พนักงาน หรอื ลกู จ้างของหนว่ ยงานน้นั 8) สิทธิชุมชน เช่น บุคคลซ่ึงรวมกันเป็นชุมชนท้องถ่ิน หรือชุมชนท้องถิ่นด้ังเดิม ย่อมมีสิทธิอนุรักษ์หรือฟ้ืนฟูจารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถ่ิน ศิลปวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น และของชาติ และมีส่วนร่วมในการจัดการบํารุงรักษา ตลอดจนอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ส่งิ แวดล้อมรวมทัง้ ความหลากหลายทางชวี ภาพอยา่ งสมดลุ และยั่งยนื 9) สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ เช่น บุคคลย่อมดําเนินการหรือกระทําการต่าง ๆ เพ่ือให้ ได้มาการปกครองในระบอบประซาธิปไตยโดยจะต้องดําเนินการภายใต้ขอบเขตของกฎหมายไม่ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 14 ส่งผลเสียหายต่อชาติ เช่น การชุมนุมอย่างสงบ แสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผลและหลีกเลี่ยงการใช้ ความรุนแรง 2.2 การมสี ว่ นรว่ ม \"ปฏบิ ัติ\" การมีส่วนร่วมปฏิบัติถือเป็นส่ิงสําคัญ เพราะหากคนในสังคมมีส่วนร่วมในการรับรู้ เพียงอย่างเดียว การปกป้องคุ้มครองตนเองและผู้อ่ืนตามหลักสิทธิมนุษยชนก็ไม่เกิดผล การมีส่วน รว่ มปฏบิ ัตทิ ีจ่ ะก่อใหเ้ กดิ ประโยชน์แก่สงั คม สามารถทําได้หลายวิธี ดังนี้ 1) การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิดเห็น คือ การที่คนในสังคมต่างแสดงความ คิดเห็นอย่างมีเหตุผลและยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น เพ่ือให้ได้แนวทางเสริมสร้างคุณค่าของ ชีวิตและชุมชน โดยไม่กระทบกระเทือนต่อความม่ันคงของรัฐ และปกป้องรักษาสิทธิ เสรีภาพ เกียรติยศชื่อเสยี ง ตลอดจนสทิ ธิในครอบครัว หรือความเป็นอยสู่ ่วนตวั ของบคุ คลอน่ื 2) การมีส่วนร่วมช่วยเหลือผู้ยากไร้ แม้ว่าบุคคลจะมีความแตกต่างกันเพียงใด แต่ทุกคนย่อมมีศักด์ิตรีความป็นมนุษย์เท่าเทียมกัน โดยเฉพาะผู้ยากไร้ ผู้พิการ ผู้สูงอายุ ผู้อยู่ใน สภาวะท่ียากลําบาก และผู้ด้อยโอกาส ก็จะต้องได้รับสิทธิต่าง ๆ ตามหลักสิทธิมนุษยชน โดยเรา สามารถมีส่วนร่วมได้ เช่น ให้ความช่วยเหลือ อํานวยความสะดวกตามความเหมาะสม หรือมีส่วน ร่วมในการเสนอหรอื ผลกั ดนั กฎหมายที่จะทาํ ให้คณุ ภาพชวี ิตของบคุ คลเหล่าน้นั ดีขึ้น 3) การมีส่วนร่วมสนับสนุนเด็กและเยาวชน เร่ิมต้ังแต่การมีส่วนร่วมสนับสนุนให้ เด็กมีสิทธิอยู่รอดและได้รับการพัฒนาท้ังด้านร่างกาย จิตใจ และสติปัญญา และต้องคํานึงถึงการมี ส่วนรว่ มในการทํากิจกรรมท่ีสร้างสรรคข์ องเดก็ และเยาวชนเปน็ สาํ คญั 4) การสร้างความเป็นเอกลักษณ์ของชุมชน ชุมชนแต่ละแห่งต่างมีเอกลักษณ์ที่ดี งามเป็นของตนเอง เช่น มีภูมิทัตน์ที่สวยงาม มีแนวคิดหรือวัฒนธรรมเฉพาะตัว สิ่งเหล่าน้ีถือเป็นสิ่งท่ี มีคุณค่าของชุมชน ดังน้ัน สมาชิกในชุมชนจึงควรมีส่วนร่วมในการสร้างเสริม รักษา ถ่ายทอด เอกลักษณ์ของชุมชนสู่สาธารณชน และอนุรักษ์สืบสานให้คงอยู่ต่อไป เพราะเป็นสิ่งแสดงถึงการเป็น ชุมชนเขม้ แขง็ และมีความสุข 5) การมีส่วนร่วมในการให้ความเมตตา คือ การท่ีคนในสังคมอาศัยอยู่ร่วมกันด้วย การเห็นอกเห็นใจซึ่งกันและกัน ตลอดจนรู้จักการให้อภัย เอื้ออาทร เอ้ือเฟ้ือเผ่ือแผ่ ไม่เบียดเบียนไม่ เอาเปรียบผอู้ ื่น และมีความเคารพระหว่างกันในกลุ่มชาติพนั ธุข์ องแต่ละบุคคล 6) การมีสว่ นรว่ มสรา้ งสรรค์ อาจอยู่ในรูปแบบของการรวมกลุม่ กันจัดตง้ั เป็นองค์กร หรือเครือข่ายงาน เพ่ือดําเนินกิจกรรมสร้างสรรค์ทางด้านสิทธิมนุษยชนในด้านต่าง ๆ เช่น การ จัดการฐานทรัพยากรเพื่อความยั่งยืน การรวมกลุ่มและการมีส่วนร่วมในการปกครองท้องถิ่นการ ควบคุมคณุ ภาพส่งิ แวดลอ้ มตามหลักการพัฒนาท่ียั่งยืน รวมถงึ การกําจดั มลพิษท่ีมีผลตอ่ สขุ อนามยั โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 15 7) การประชาสัมพันธ์และเผยแพร่การท่ีคนในสังคมจะมีความตระหนักและเห็น ความสําคัญต่อการปกป้องคุ้มครองตนเองและผู้อ่ืนตามหลักสิทธิมนุษยชนได้ ส่ิงหนึ่งที่มีความสําคัญ คือ การช่วยกันเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม เป็นหน่ึงกิจกรรมเพ่ือการมีด้านสิทธิ มนุษยชนทั้งในโรงเรียนและชุมชน โดยส่วนร่วมสร้างสรรค์ตามหลักสิทธิมนุษยชนท่ีทุกคนควรใช้ส่ือ รปู แบบต่าง ๆ ใหเ้ กิดประโยชนม์ ากท่สี ุดให้ความสนใจ 3. องคก์ รดา้ นสทิ ธิมนุษยชน สิทธิมนุษยชนเป็นหลักการสากลที่ทั่วโลกกําลังให้ความสนใจ การเคารพสิทธิมนุษยชนจึง มีความสําคัญเหนือไปกว่าการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ ข้อบังคับของสังคม หรือกฎหมายการดําเนินการ ด้านสิทธิมนุษยชน ซึ่งมิได้เป็นหน้าท่ีของรัฐบาลเพียงฝ่ายเดียวเท่าน้ัน หากแต่เป็นหน้าท่ีของ หน่วยงาน องค์กร หรือกลุ่มต่าง ๆ ทางสังคมร่วมด้วยปัจจุบันองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนท้ังภายใน และตา่ งประเทศมีอย่เู ปน็ จํานวนมาก ซง่ึ เข้ามามีบทบาทและมีส่วนรว่ มในการคมุ้ ครองสิทธมิ นษุ ยชน 3.1 องคก์ รสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ประเทศไทยถือได้ว่าเป็นประเทศหนึ่งท่ีเห็นความสําคัญในเร่ืองสิทธิมนุษยชน เห็น ได้จากองคก์ รหรือหนว่ ยงานภาครัฐตา่ ง ๆ ท่รี บั ผดิ ชอบเก่ียวกับสิทธมิ นุษยชน ดงั นี้ 1) คณะกรรมการสิทธมิ นุษยชนแหง่ ชาติ มอี าํ นาจหน้าที่ เช่น 1. ตรวจสอบและรายงานการกระทําหรือการละเลยการกระทําอันเป็นการ ละเมิดสทิ ธิมนุษยชน หรอื ไมเ่ ป็นไปตามพันธกรณรี ะหว่างประเทศ 2. เสนอเร่ืองพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลรัฐธรรมนูญ ในกรณีท่ีเห็นชอบตามท่ีมี ผรู้ อ้ งเรยี นว่า บทบัญญตั แิ ห่งกฎหมายใดกระทบตอ่ สทิ ธิมนษุ ยชน 3. เสนอเรื่องพร้อมด้วยความเห็นต่อศาลปกครอง ในกรณีที่เห็นชอบตามที่มีผู้ ร้องเรียนว่ากฎ คําสงั่ หรือการกระทําอืน่ ใดในทางปกครองกระทบตอ่ สิทธิมนษุ ยชน 4. ฟอ้ งคดีต่อตาลยตุ ธิ รรมแทนผูเ้ สยี หาย เมอื่ ได้รบั การรอ้ งขอจากผูเ้ สียหายและ เปน็ กรณีทเี่ หน็ สมควรเพ่อื แกไ้ ขปัญหาการละเมิดสิทธมิ นษุ ยชนเป็นส่วนรวม 2) หน่วยงานบริหารราชการแผ่นดิน มีหลายหน่วยงานที่ร่วมดูแล เช่น กระทรวง การพัฒนาสังคมและความม่ันคงของมนุษย์ ทําหน้าท่ีเกี่ยวกับการพัฒนาสังคม การสร้างความเป็น ธรรมและความเสมอภาคในสังคม การส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพและความม่ันคงในชีวิตสถาบัน ครอบครัวและชุมชนกระทรวงศึกษาธิการ รับผิดชอบในการจัดการดําเนินการ และการให้บริการ ทางการศึกษาเพ่ือให้พลเมืองทุกคนได้รับการศึกษาตามสมควรแก่ความสามารถและฐานะของบุคคล โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 16 กรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพ รับผิดชอบเกี่ยวกับสิทธิและเสรีภาพท่ีประชาชนพึงได้รับตามกฎหมาย โดยการจัดวางระบบและส่งเสริมความรู้เกี่ยวกับกรมคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพตลอดจนการ ดําเนินการใหพ้ ยาน ผ้เู สียหาย และจาํ เลยในคดอี าญาได้รับการค้มุ ครองและชว่ ยเหลอื ในเบือ้ งต้น 3.2 องค์กรพฒั นาเอกชนดา้ นสิทธมิ นุษยชน หนว่ ยงานเอกชนทดี่ าํ เนินการเก่ียวกบั สทิ ธมิ นุษยชนในรูปแบบต่าง ๆ มดี ังน้ี 1) มลู นิธเิ ด็ก เปน็ หนว่ ยงานทางด้านสิทธมิ นุษยชนท่มี ีวตั ถุประสงคห์ ลกั ในการจดั ตง้ั ดังนี้ 1. ช่วยเหลือเด็กด้านปัจจัยพื้นฐานการดําเนินชีวิต และสวัสดิการต่าง ๆ ให้เด็ก มพี ฒั นาการท่ีเหมาะสมทัง้ ทางร่างกาย สตปิ ัญญาและจติ ใจ 2. ค้นหาทางเลือกทางการศึกษาท่ีเด็กในสังคมจะต้องได้รับการดูแลทั้งทางด้าน ร่างกายและเหมาะสม และใหเ้ ดก็ ได้ใชส้ ทิ ธิ เสรีภาพในการจติ ใจ รบั ฟังความคิดเห็น 3. ค้นหางานศิลปะ ดนตรี นิทาน ที่ส่งเสริมจินตนาการและความคิดสร้างสรรค์ ให้กบั เดก็ ในสังคม 4. ช่วยเหลือเด็กท่ีถูกละเมิดสิทธิให้พ้นจากความทุกข์ทรมาน เช่น ถูกทารุณ ถกู ทอดทิ้งถูกใช้แรงงานทีผ่ ิดกฎหมาย หรอื เป็นโสเภณเี ด็ก ให้มีโอกาสทด่ี สี ําหรับชวี ติ ในอนาคต 5. สง่ เสริมบทบาทของครอบครวั ใหเ้ ป็นรากฐานท่ีดแี กช่ ีวิตเด็ก 6. กระตุ้นเตือนสาธารณชนให้ตระหนักและให้ความสําคัญในเรื่องการพิทักษ์ สทิ ธขิ องเดก็ และปัญหาเดก็ ไทย นอกจากน้ี มูลนิธิเด็กยังได้ดําเนินการเพื่อสนับสนุนปฏิญญาว่าด้วยสิทธิเด็กของ สหประชาชาติ เชน่ ช่วยเหลอื เด็กทกุ ขย์ ากและถูกทอดทิ้งใหม้ ีการพฒั นาการอย่างสมบูรณ์ ท้ังด้าน รา่ งกายและจิตใจ 2) คณะกรรมการรณรงค์เพื่อสิทธิมนุษยชน (ครส.) เป็นองค์กรภาคประชาสังคม ด้านสทิ ธิมนษุ ยชนในประเทศไทย ซง่ึ ทาํ งานด้านนโยบายสังคม กฎหมาย และการสรา้ งสรรคพ์ นื้ ฐาน ดา้ นสิทธิมนุษยชนรว่ มกับเครอื ข่ายองคก์ รสทิ ธมิ นุษยชนระหว่างประเทศ 3) มูลนิธิเพ่ือนหญิง เป็นองค์กรพัฒนาเอกชนซึ่งมีฐานะเป็นนิติบุคคลและมี บทบาทพิทักษ์สิทธิและให้ความช่วยเหลือสตรีที่ตกอยู่ในสถานการณ์เลวร้ายหรือภาวะวิกฤต เช่น ภัยคุกคามทางเพศ ถูกทําร้าย และมีบทบาทในการผลักดันนโยบายในการคุ้มครองสิทธิสตรีใน ด้านตา่ ง ๆ โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 17 3.3 องคก์ รระหวา่ งประเทศดา้ นสิทธิมนุษยชน ในหลายประเทศได้จัดต้ังองค์กรด้านสิทธิมนุษยชนข้ึนมากมาย หน่วยงานที่มี บทบาทเดน่ ชดั มดี งั นี้ 1) คณะมนตรีสิทธมิ นษุ ยชนแหง่ สหประชาชาติ (United Nations Human Rights Council: UNHRC) เป็นองค์กรหลักที่เป็นส่วนหนึ่งขององค์การสหประชาชาติ มีบทบาทหน้าท่ีใน การติดตาม ตรวจสอบ ให้คําแนะนํา และดําเนินกิจกรรมเกี่ยวกับสิทธิมนุษยชน มีสํานักงานใหญ่อยู่ ที่นครเจนีวา ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ ใน พ.ศ. 2553 ประเทศไทยได้รับเลือกจากประเทศสมาชิกให้ ดํารงตาํ แหน่งประธานคณะมนตรสี ทิ ธิมนษุ ยชนแหง่ สหประชาชาติ 2) องค์การทุนเพื่อเด็กแห่งสหประชาชาติ หรือยู่นิเซฟ (United Nations Children's Fund: UNICEF) เป็นหน่วยงานขององค์การสหประชาชาติ ที่ให้การดูแลและให้ความ ช่วยเหลือด้านมนุษยชน พัฒนาการ สุขภาพ ความเป็นอยู่ของเด็กทั่วโลก ตลอดจนพัฒนาการศึกษา พ้นื ฐานความเทา่ เทียมกนั ระหวา่ งเพศ การปกป้องเด็กจากความรุนแรง การทารุณทํารา้ ยเด็ก การใช้ แรงงานเดก็ โรคติดตอ่ ถึงเดก็ และพิทักษ์สทิ ธขิ องเดก็ 3) องค์การแรงงานระหว่างประเทศ หรือไอแอลโอ (International Labour Organization: ILO) ก่อต้ังข้ึนก่อนที่จะมีองค์การสหประชาชาติ และถือเป็นองค์กรแรกที่เข้ามาอยู่ ในเครือสหประชาชาติซ่ึงประเทศไทยมีส่วนร่วมในฐานะผู้ริเร่ิมก่อต้ัง มีภารกิจหลัก คือ ช่วยเหลือผู้ใช้ แรงงานท่ัวโลกให้ได้รับความยุติธรรมจากสังคม มีคุณภาพชีวิตและสภาพการทํางานท่ีดีมีรากฐาน แนวคดิ คือ ความเคารพในสทิ ธมิ นษุ ยชน ถอื วา่ มสี ่วนชว่ ยเสริมสร้างความมนั่ คงทางเศรษฐกจิ 4) องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International: Al) เป็นองค์การเอกชน ท่ีมีจุดประสงค์ในการคันคว้า ดําเนินการป้องกัน และยุติการละเมิดสิทธิมนุษยชน เพื่อแสวงหาความ ยุติธรรมสําหรบั ผทู้ ถี่ กู ละเมดิ สิทธิ ตัง้ อยใู่ นกรงุ ลอนดอน ประเทศอังกฤษ กล่าวโดยสรุป เร่ืองสิทธิมนุษยชนถือเป็นประเด็นที่มีความสําคัญ โดยเฉพาะอย่าง ย่ิงในประเทศที่มีลักษณะสังคมแบบประชาธิปไตย ท่ีมีการรวมกลุ่มจัดตั้งเป็นหน่วยงานหรือองค์กร เพื่อดําเนินการพัฒนาเร่ืองสิทธิมนุษยชน ซ่ึงประทศไทยได้ให้ความสําคัญในเรื่องสิทธิมนุษยชน เช่นกัน ดังจะเห็นได้จากบทบัญญัติหลายมาตราท่ีเกี่ยวข้องกับสิทธิมนุษยชนดังนั้น การท่ีเราเป็น สมาชิกของสังคมประชาธิปไตยคนหนึ่ง เราจึงควรมีความตระหนักในเร่ืองสิทธิมนุษยชนและมีส่วน รว่ มในการสง่ เสริมด้านสิทธมิ นษุ ยชน เพ่ือท่มี นุษยใ์ นสังคมจะไดอ้ ยรู่ ่วมกันอยา่ งมคี วามสุข  โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ขัน้ ที่ 2 การควบคุมตนเอง กจิ กรรมอภปิ ัญญา ห น้ า | 18 เปา้ หมายของการเรียน เรือ่ ง สิทธมิ นษุ ยชน ผลลัพธ์ สง่ิ ทท่ี าํ สรปุ ......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. สงิ่ ท่ตี อ้ งปรับปรุง..................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ตอบถกู ตอ้ งทง้ั หมด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ต้องเล็กน้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ตอบผดิ / ไม่ตอบ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 19 บตั รกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง สทิ ธิมนุษยชน คาํ ชแี้ จง 1. ให้นักเรยี นตอบคาํ ถามตามสถานการณ์ทก่ี ําหนดให้ตอ่ ไปนี้ 2. ใหน้ กั เรียนอ่านสถานการณ์ทกี่ ําหนดให้ และเขยี นวิธีคิดลงในขอ้ สอบ 3. ถ้าต้องการเปล่ียนคําตอบหรือวิธีคิด ไม่ต้องลบคําตอบหรือวิธีคิดเดิมออกแต่ให้ขีดเส้นทับ คาํ ตอบหรอื วิธคี ิดเดิม แลว้ จงึ เขียนคาํ ตอบหรือวธิ คี ดิ ใหม่ สถานการณ์ท่ี 1 ชาวบ้านสดุ ทนแจ้งจบั พ่อเมายาทบุ ตีลกู 1 ขวบ ชาวบ้านในตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เข้าแจ้งความ ดําเนินคดีพ่ออายุ 30 ปี ท่ีเมาแล้วทําร้ายร่างกายลูกสาวอายุเพียง 1 ปี ซึ่งตามร่างกายเด็กมี บาดแผลจํานวนมาก หน่วยกู้ชีพเทศบาลเมืองท่าโขลง ตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เข้าช่วยเหลือเด็กหญิงอายุประมาณ 1 ปี หลังถูก นายวรรณะ สอนเครือ ซ่ึง เป็นพ่อทุบตีจนเป็นแผลทั่วร่างกาย ชาวบ้านกล่าวว่ารู้สึกสงสารเด็กจึงแจ้งไปยังหน่วยกู้ชีพ เทศบาลเมืองท่าโขลงเข้ามาช่วยเหลือแม่เด็กกล่าวว่า นายวรรณะไม่มีอาชีพการงานเป็นหลัก แหล่ง และชอบขอเงินไปซ้ือยาบ้ามาเสพ เมื่อเมายาจะทุบตีลูกเมียเป็นประจํา จนกระทั่ง เมื่อคืนน้ี ชาวบ้านต้องเข้าไปช่วยเหลอื แม่และเดก็ ออกมาขณะถกู นายวรรณะทาํ ร้ายรา่ งกาย ล่าสุดหน่วยกู้ชีพเทศบาลเมืองท่าโขลงช่วยเหลือและนําเด็กไปรักษาตัวท่ีโรงพยาบาล คลองหลวงและพาแม่เด็กเข้าแจ้งความกับตํารวจภูธรคลองหลวง เพื่อดําเนินคดีข้อหาทําร้าย รา่ งกายกบั นายวรรณะ ซง่ึ หลังจากกอ่ เหตุไดห้ ลบหนีไปแล้ว ที่มา : http://news.sanook.com/1032776-ชาวบา้ นแจง้ ความจบั ทุบตลี กู อายุ 1 ปี.htm1 1. บคุ คลใดในขา่ วท่ีถกู ละเมิดสิทธิมนุษยชน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 20 2. บุคคลใดในขา่ วมสี ่วนร่วมในการปกปอ้ งสิทธิมนษุ ยชนของผู้อืน่ และมีผลดอี ยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ถ้านักเรียนอยู่ในเหตุการณ์ในข่าวน้ีจะมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้ อย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… เรอ่ื งท่ี 2 พ่อข่มขืนลูกมาราธอน มีลูกด้วยกัน 3 คน พ่อข่มขืนลูกสาวในไส้มาราธอน ต้ังแต่อายุ 14 ยัน 17 ปี จนมีลูกด้วยกันถึง 3 คน ครอบครวั ไม่มใี ครสงสัย หลังโยนความผดิ ให้ลกู สาวมีพฤตกิ รรมชอบเทย่ี วและมั่วผูช้ าย เมื่อ 24 มิถุนายน 54 สภ.คลองหลวง ได้จับกุมตัวนายสมชาย (นามสมมติ) อายุ 44 ปี ตามหมายจับศาลจังหวัดธัญบุรี เลขท่ี 1124/2554 ข้อหาข่มขืนกระทําชําเราหญิงอ่ืนโดยขู่เข็ญ ด้วยประการใดโดยใช้กําลังประทุษร้าย ซ่ึงหญิงน้ันอยู่ในภาวะไม่สามารถขัดขืนได้และเป็นการก ระทําต่อผู้สืบสันดาน โดยสามารถจับกุมได้ท่ีท่าเรือบริษัทเทอร์ราโก อ.นครหลวง จ. พระนครศรีอยุธยา จากการสอบสวนนายสมชายให้การรับสารภาพว่า ได้ข่มขืนกระทําชําเราลูก สาวตัวเองตงั้ แตอ่ ายุ 14 ปี จนกระทั่งปัจจุบันอายุ 17 ปี โดยมีบุตรด้วยกันแล้ว 3 คน ซึ่งบุตรคน ล่าสุดเพ่ิงคลอดออกมาเพียง 10 วัน ส่วนเหตุผลท่ีไม่มีใครรู้แม้แต่ภรรยาเอง เนื่องจากนาย สมชายเป็นคนบังคับไม่ให้ลูกสาวบอกใคร โดยขู่ว่าจะไม่ให้เงินและจะไม่ช่วยเล้ียงดูลูกให้ ซ่ึงตัว ลูกสาวสงสารลกู กลัววา่ จะไมม่ ีคนช่วยเล้ยี งลูกประกอบกับยังไมม่ ีงานทาํ จึงยอมทําตาม โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 21 เรือ่ งที่ 2 พ่อข่มขนื ลกู มาราธอน มลี ูกด้วยกนั 3 คน (ต่อ) ในตอนแรกท่ีบุตรสาวคลอดลูกออกมาทั้งสองคน นายสมชายไม่ยอมรับว่าเป็นลูกของ ตนและได้โยนความผิดให้กับลูกสาวว่ามีพฤติกรรมชอบเที่ยวและมั่วผู้ชาย ทําให้ญาติและเพ่ือน บ้านหลงเชื่อไม่ติดใจสงสัย แต่สุดท้ายก็จนมุมด้วยพยานหลักฐาน จึงได้ยอมรับว่าลูกท้ังหมดเป็น ลูกของตนจรงิ ท้ังน้ีผู้ส่ือข่าวรายงานว่าระหว่างสอบสวนนายสมชาย มีอาการเครียดมากถึงกับใช้ ศีรษะฟาดกบั ปนู ตลอดเวลาและ บอกว่าจะขอชดใช้ความผดิ ที่ก่อข้นึ ในคุกตอ่ ไป ท่มี า : http://www.pattayadailynews.com/th/2011 1. บุคคลใดในขา่ วที่ถกู ละเมดิ สทิ ธมิ นษุ ยชน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. บคุ คลใดในข่าวมสี ่วนร่วมในการปกป้องสิทธิมนษุ ยชนของผู้อื่น และมผี ลดีอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ถ้านักเรียนอยู่ในเหตุการณ์ในข่าวนี้จะมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้ อยา่ งไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 22 บตั รกิจกรรมที่ 2 กิจกรรม สรา้ งสรรค์พฒั นาการเรียนรู้ เรอื่ ง สิทธิมนุษยชน กจิ กรรมท่ี 1 นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทําการศึกษาค้นคว้าหน่วยงานที่มีบทบาททางด้านสิทธิมนุษยชนท้ัง ภายในประเทศและต่างประเทศ โดยเลือกศึกษา 1 หน่วยงาน และนําเสนอในประเด็นหัวข้อ เก่ียวกับผลงานด้านสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการวิเคราะห์ผลท่ีเป็นประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติ บนั ทกึ การค้นคว้า นาํ สง่ ครผู สู้ อน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 23 กิจกรรมท่ี 2 นักเรียนสืบคันข่าวที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและองค์กรเอกชนท่ีมีบทบาทด้านสิทธิ มนุษยชนจากสื่อต่าง ๆ แล้วทําการเขียนสรุปข่าวในประเด็นท่ีสําคัญ รวมถึงแสดงความคิดเห็นท่ี มีตอ่ ข่าวดังกลา่ ว สรุปความร้ลู งในกระดาษรายงานและนาํ มาอภปิ รายในชัน้ เรยี น …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… กจิ กรรมที่ 3 นักเรียนเล่าประสบการณ์จริงท่ีเคยพบเห็นเกี่ยวกับเร่ืองสิทธิมนุษยชนคนละเรื่อง หนา้ ชนั้ เรยี น และอภปิ รายสรุปรว่ มกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 24 บตั รกจิ กรรมท่ี 3 แบบฝึกหดั เรอื่ ง สทิ ธิมนษุ ยชน 1. การดาํ รงชวี ติ โดยคํานงึ ถึงหลักสิทธิมนุษยชนกอ่ ใหเ้ กิดประโยชน์อยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ปัจจุบันประเทศไทยมีกรณีใดบา้ งท่ีเปน็ การละเมดิ สทิ ธิมนษุ ยชนทพี่ บเห็นได้บอ่ ยครั้ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. หากคนไทยทุกคนเห็นความสําคัญและมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองผู้อ่ืนจากการถูกละเมิด สิทธมิ นษุ ยชนจะส่งผลดีอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 25 4. นกั เรียนสามารถเขา้ ไปมสี ่วนร่วมในการสง่ เสริมเรื่องสิทธมิ นุษยชนได้อยา่ งไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การปฏบิ ัติตามหลกั ศาสนาเปน็ การสง่ เสริมสทิ ธิมนุษยชนอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 26 แบบทดสอบกอ่ นเรียน เรอื่ ง สทิ ธิมนุษยชน กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศกึ ษา 5 รหสั วชิ า ส23101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 3 คาํ ชแ้ี จง 1. แบบทดสอบฉบบั น้ี จาํ นวน 10 ขอ้ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาท่ีใช้ 10 นาที 2. จงเลอื กคําตอบที่ถูกต้องท่สี ุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาํ ตอบ 1. ข้อใด ไมใ่ ช่ อาํ นาจหน้าทีข่ องคณะกรรมการสิทธมิ นษุ ยชนแห่งชาติ ก. ส่งเสรมิ ความร่วมมอื และประสานงานระหวา่ งหน่วยราชการและองค์กรอ่นื ในดา้ นสิทธิ มนษุ ยชน ข. เสนอแนะนโยบายตอ่ คณะรัฐมนตรเี กีย่ วกับการสง่ เสรมิ และคมุ้ ครองสิทธิมนุษยชน ค. ตรวจสอบและรายงานเก่ียวกับการกระทําที่เป็นการละเมดิ สิทธิมนษุ ยชน ง. ตัดสินและลงโทษผู้ที่กระทําผดิ เกย่ี วกบั การละเมิดสิทธิมนษุ ยชน 2. ประชาชนเสนอเรื่องราวร้องทกุ ขไ์ ปยังหนว่ ยงานทเี่ กี่ยวข้องเมือ่ ไม่ไดร้ บั ความเป็นธรรมคอื สทิ ธดิ ้านใด ก. สทิ ธิสว่ นบคุ คล ข. สทิ ธิในการรวมกลุม่ และในชมุ ชน ค. สทิ ธิการเมืองการปกครองและสาธารณะ ง. สิทธใิ นความเสมอภาคและการสง่ เสริมของรัฐ 3. ข้อใด ไม่ใช่ หลกั การของสทิ ธมิ นษุ ยชน ก. บุคคลมีสทิ ธใิ นการถอื สัญชาติ ข. บคุ คลมสี ทิ ธทิ ่ีจะบงั คบั ผอู้ ื่นได้ ค. บคุ คลมีสิทธิในการดํารงชีวิตอยู่อยา่ งมเี สรีภาพ ง. บุคคลมีสทิ ธิที่จะไดร้ ับการพกั ผ่อนจากการทาํ งาน โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 27 4. ขอ้ ใดเป็นการละเมิดสิทธิแรงงาน ก. นายจ้าง แจ้งสวัสดิการตา่ ง ๆ แกล่ ูกจ้าง ข. นายจ้างพาแรงงานตา่ งดา้ วไปขน้ึ ทะเบยี น ค. ลูกจา้ งทาํ งานลว่ งเวลาโดยไมไ่ ดร้ บั ค่าโอที ง. ลกู จ้างไดร้ ับการฝกึ อบรมพฒั นาฝมี อื แรงงาน 5. การคุม้ ครองสทิ ธิมนษุ ยชนเกีย่ วกบั น้ํามปี ระโยชน์อยา่ งไร ก. ทาํ ให้ประชาชนมนี า้ํ ใช้ไดอ้ ย่างไมจ่ าํ กัด ข. ทําใหป้ ระชาชนมีนา้ํ ใช้เพ่อื อุปโภคและบริโภค ค. ทําให้ประชาชนประกอบอาชีพได้อยา่ งหลากหลาย ง. ทาํ ให้เกดิ องค์กรต่าง ๆ ที่เกย่ี วขอ้ งกบั สทิ ธมิ นุษยชนมากขึ้น 6. UNICEF เปน็ องคก์ รที่ทาํ หน้าท่ใี ด ก. สง่ เสริมดา้ นการศกึ ษา ข. ป้องกนั และยตุ กิ ารทํารา้ ยสทิ ธิมนุษยชน ค. ส่งเสริมความคุม้ ครองทางสงั คมในแรงงานทกุ กลุม่ ง. ปกป้องค้มุ ครองเดก็ จากการถกู ทาํ ร้าย และลว่ งละเมิด 7. ขอ้ ใดเปน็ การคมุ้ ครองดา้ นเสรีภาพ ก. การนับถือศาสนา ข. การรกั ษาพยาบาล ค. การพกั ผอ่ นจากการทํางาน ง. การไดร้ ับการศกึ ษาขน้ั พื้นฐาน 8. ขอ้ ใดเป็นแนวทางการแก้ปญั หาเกี่ยวกับสิทธมิ นุษยชนทที่ ําไดด้ ้วยตนเอง ก. เผยแพรค่ วามรเู้ กีย่ วกบั สทิ ธิมนุษยชนทางโทรทศั น์ วิทยุ ข. จดั ตั้งหน่วยงานเพอื่ ร้องเรยี นเกยี่ วกบั ปญั หาของคนในชุมชน ค. แจง้ เบาะแสเกยี่ วกบั ปญั หาการละเมดิ สทิ ธิทพี่ บเหน็ ใหห้ นว่ ยงานทเ่ี ก่ยี วข้องทราบและ ดําเนนิ การแกไ้ ข ง. เข้าร่วมฟงั การประชุมดา้ นสงั คมและสิทธิมนุษยชนกบั ประเทศตา่ ง ๆ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 28 9. หน่วยงานใดมหี น้าท่พี จิ ารณาพิพากษาคดที เ่ี ป็นกรณีพิพาทระหวา่ งเอกชนกับหน่วยงาน ราชการ ก. คณะกรรมการทไ่ี ดร้ ับการแตง่ ตงั้ แตล่ ะจงั หวดั ข. คณะกรรมการสทิ ธิมนุษยชนแห่งชาติ ค. สํานักผตู้ รวจการแผน่ ดิน ง. ศาลปกครอง 10. เด็กหญิงนก อาศัยอยู่กับแม่และน้าชาย เด็กหญิงนก เป็นเด็กพิการทางสายตา อยู่มาวัน หน่ึงน้าชายได้ ข่มขืนเด็กหญิงนก และถูกน้าชายข่มขู่ว่าห้ามบอกใคร มิเช่นน้ันจะถูกฆ่า จาก เหตกุ ารณด์ งั กลา่ วเปน็ ปัญหาสทิ ธิมนษุ ยชนด้านใด ก. ปญั หาการละเมิดสทิ ธิสตรี ข. ปัญหาความรุนแรงในครอบครวั ค. ปัญหาการเลอื กปฏิบตั ิต่อผพู้ ิการ ง. ปญั หาการละเมดิ สทิ ธิกลุ่มชาตพิ ันธุ์ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 29 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรียน ง ขอ้ ก ข ค ขอ้ ก ข ค 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 30 บรรณานุกรม กระมล ทองธรรมชาติ. 2548. องค์กรตามรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน. กรงุ เทพมหานคร : ม.ป.ท. ไทยร่มเกลา้ , บรษิ ทั อกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จํากัด เกรียงศักด์ิ ราชโคตร. 2552. การเมอื งการปกครองไทย (901-106) : Thai Government and Politics. กรงุ เทพมหานคร : ดวงแกว้ . ขจิต จติ เสรี. 2553. องคก์ ารระหว่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร : วญิ ญูชน. ดาํ รง ฐานดี และคณะ. 2565. หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม หน้าทีพ่ ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดําเนินชีวติ ในสงั คม เศรษฐศาสตร์ และภมู ิศาสตร์ ช้ันมธั ยมศึกษาปที ่ี 3. (พิมพ์ครัง้ ที่ 9) กรุงเทพฯ : ไทยรม่ เกลา้ , บรษิ ทั อกั ษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จํากัด นนั ทวัฒน์ บรมานนั ท์. ม.ป.ป. กฎหมายปกครอง. กรุงเทพมหานคร : วญิ ญูชน. ราชบัณฑติ ยสถาน. 2556. พจนานกุ รมศพั ท์กฎหมายไทย. พมิ พค์ ร้ังท่ี 9 (แกไ้ ขเพ่ิมเตมิ ). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑติ ยสถาน. สภาทนายความ. 2540. กฎหมายเบอ้ื งต้นสําหรับประชาชน. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพมิ พ์. เสนห่ ์ จามริก. 2549. การเมืองไทยกับการพฒั นารัฐธรรมนญู . กรงุ เทพมหานคร : มูลนิธิตํารา สงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร.์ สาํ นกั งานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหง่ ชาติ. 2544. แนวทางการสบื คน้ วัฒนธรรมทอ้ งถน่ิ ไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพมิ พ์ สกสค. ลาดพรา้ ว. สาํ นกั งานผู้ตรวจการแผน่ ดนิ และสํานกั งานค้มุ ครองสทิ ธแิ ละชว่ ยเหลือทางกฎหมายแกป่ ระชาชน. ม.ป.ป. รวมกฎหมายทปี่ ระชาชนควรรู้. กรงุ เทพมหานคร : ม.ป.ท. https://www.labour.go.th/index.php/54523-2020-06-18-04-03-28 โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 31 โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 32 เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 1 เร่อื ง สทิ ธมิ นษุ ยชน คาํ ช้ีแจง 1. ให้นกั เรยี นตอบคาํ ถามตามสถานการณ์ทีก่ ําหนดให้ต่อไปน้ี 2. ให้นักเรยี นอา่ นสถานการณ์ทก่ี ําหนดให้ และเขยี นวิธคี ิดลงในขอ้ สอบ 3. ถ้าต้องการเปลี่ยนคําตอบหรือวิธีคิด ไม่ต้องลบคําตอบหรือวิธีคิดเดิมออกแต่ให้ขีดเส้นทับ คาํ ตอบหรอื วิธีคิดเดิม แลว้ จึงเขียนคาํ ตอบหรือวธิ ีคดิ ใหม่ สถานการณ์ที่ 1 ชาวบา้ นสุดทนแจ้งจบั พอ่ เมายาทุบตลี กู 1 ขวบ ชาวบ้านในตําบลคลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เข้าแจ้งความ ดําเนินคดีพ่ออายุ 30 ปี ท่ีเมาแล้วทําร้ายร่างกายลูกสาวอายุเพียง 1 ปี ซึ่งตามร่างกายเด็กมี บาดแผลจํานวนมาก หน่วยกู้ชีพเทศบาลเมืองท่าโขลง ตําบลคลองหน่ึง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี เข้าช่วยเหลือเด็กหญิงอายุประมาณ 1 ปี หลังถูก นายวรรณะ สอนเครือ ซึ่ง เป็นพ่อทุบตีจนเป็นแผลท่ัวร่างกาย ชาวบ้านกล่าวว่ารู้สึกสงสารเด็กจึงแจ้งไปยังหน่วยกู้ชีพ เทศบาลเมืองท่าโขลงเข้ามาช่วยเหลือแม่เด็กกล่าวว่า นายวรรณะไม่มีอาชีพการงานเป็นหลัก แหล่ง และชอบขอเงินไปซ้ือยาบ้ามาเสพ เมื่อเมายาจะทุบตีลูกเมียเป็นประจํา จนกระทั่ง เมื่อคืนน้ี ชาวบ้านต้องเขา้ ไปช่วยเหลอื แม่และเดก็ ออกมาขณะถูกนายวรรณะทาํ ร้ายร่างกาย ล่าสุดหน่วยกู้ชีพเทศบาลเมืองท่าโขลงช่วยเหลือและนําเด็กไปรักษาตัวท่ีโรงพยาบาล คลองหลวงและพาแม่เด็กเข้าแจ้งความกับตํารวจภูธรคลองหลวง เพ่ือดําเนินคดีข้อหาทําร้าย ร่างกายกบั นายวรรณะ ซ่ึงหลังจากกอ่ เหตุไดห้ ลบหนไี ปแล้ว ท่ีมา : http://news.sanook.com/1032776-ชาวบ้านแจ้งความจบั ทบุ ตีลูกอายุ 1 ปี.htm1 1. บคุ คลใดในข่าวทีถ่ ูกละเมิดสิทธิมนษุ ยชน …แ…น…ว…ค…าํ …ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………เ…ด็ก…ห…ญ…งิ …อ…าย…ุ …1…ป…ี ……………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 33 2. บคุ คลใดในข่าวมีส่วนร่วมในการปกป้องสทิ ธิมนษุ ยชนของผู้อนื่ และมีผลดีอยา่ งไร …แ…น…ว…ค…ําต…อ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………-……ช…า…ว…บ…้าน…ใ…นต…ํา…บ…ล…คล…อ…ง…ห…นึง่…อ…าํ …เภ…อ…ค…ล…อง…ห…ล…วง……จงั…ห…ว…ดั ป…ท…มุ …ธ…าน…ี ………………………………… …………-……ช…ว่ …ย…เห…ล…อื …แม…แ่ …ล…ะ…เด…ก็ …ออ…ก…ม…า…ขณ……ะถ…ูก…น…าย…ว…ร…รณ…ะ…ท…ํา…รา้…ย…ร่า…ง…ก…าย……ช…่วย…เ…หล…อื …ไ…ม่ใ…ห…้เด…็ก…ถ…กู … ………………ท…ุบ…ต…อี …กี …ต…อ่ ไ…ป………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ถ้านักเรียนอยู่ในเหตุการณ์ในข่าวนี้จะมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้ อย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… เกณฑ์การให้คะแนน ตอบถกู ตอ้ งท้ังหมด ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ต้องเล็กน้อย ให้ 1 คะแนน ตอบถูกตอ้ งบางสว่ น ให้ 2 คะแนน ตอบผิด / ไมต่ อบ ให้ 0 คะแนน เรอ่ื งที่ 2 พอ่ ข่มขืนลกู มาราธอน มลี กู ด้วยกนั 3 คน พ่อข่มขืนลูกสาวในไส้มาราธอน ตั้งแต่อายุ 14 ยัน 17 ปี จนมีลูกด้วยกันถึง 3 คน ครอบครวั ไมม่ ีใครสงสัย หลังโยนความผิดให้ลกู สาวมีพฤตกิ รรมชอบเท่ยี วและมวั่ ผูช้ าย เม่ือ 24 มิถุนายน 54 สภ.คลองหลวง ได้จับกุมตัวนายสมชาย (นามสมมติ) อายุ 44 ปี ตามหมายจับศาลจังหวัดธัญบุรี เลขท่ี 1124/2554 ข้อหาข่มขืนกระทําชําเราหญิงอื่นโดยขู่เข็ญ ด้วยประการใดโดยใช้กําลังประทุษร้าย ซ่ึงหญิงน้ันอยู่ในภาวะไม่สามารถขัดขืนได้และเป็นการก ระทําต่อผู้สืบสันดาน โดยสามารถจับกุมได้ท่ีท่าเรือบริษัทเทอร์ราโก อ.นครหลวง จ. พระนครศรีอยุธยา จากการสอบสวนนายสมชายให้การรับสารภาพว่า ได้ข่มขืนกระทําชําเรา ลูกสาวตัวเองต้ังแต่อายุ 14 ปี จนกระทง่ั ปัจจุบันอายุ 17 ปี โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 34 เร่อื งที่ 2 พอ่ ขม่ ขืนลกู มาราธอน มลี กู ดว้ ยกนั 3 คน (ตอ่ ) โดยมีบุตรด้วยกันแล้ว 3 คน ซึ่งบุตรคนล่าสุดเพิ่งคลอดออกมาเพียง 10 วัน ส่วนเหตุผลท่ีไม่มี ใครรู้แม้แต่ภรรยาเอง เน่ืองจากนายสมชายเป็นคนบังคับไม่ให้ลูกสาวบอกใคร โดยขู่ว่าจะไม่ให้เงิน และจะไม่ช่วยเล้ียงดูลูกให้ ซึ่งตัวลูกสาวสงสารลูกกลัวว่าจะไม่มีคนช่วยเล้ียงลูกประกอบกับยังไม่มี งานทาํ จงึ ยอมทําตาม ในตอนแรกที่บุตรสาวคลอดลูกออกมาทั้งสองคน นายสมชายไม่ยอมรับว่าเป็นลูกของตนและ ได้โยนความผิดให้กับลูกสาวว่ามีพฤติกรรมชอบเที่ยวและมั่วผู้ชาย ทําให้ญาติและเพื่อนบ้านหลงเช่ือ ไม่ตดิ ใจสงสัย แต่สุดทา้ ยก็จนมมุ ด้วยพยานหลกั ฐาน จึงได้ยอมรับว่าลูกทงั้ หมดเปน็ ลกู ของตนจริง ทั้งนี้ผู้ส่ือข่าวรายงานว่าระหว่างสอบสวนนายสมชาย มีอาการเครียดมากถึงกับใช้ศีรษะ ฟาดกบั ปนู ตลอดเวลาและบอกว่าจะขอชดใช้ความผดิ ทกี่ ่อข้ึนในคุกตอ่ ไป ทมี่ า : http://www.pattayadailynews.com/th/2011 1. บคุ คลใดในข่าวทถ่ี กู ละเมดิ สิทธมิ นุษยชน …แ…น…ว…ค…าํ …ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………ล…ูก…ส…าว…ท…ถ่ี …ูกพ…่อ…ข…่ม…ข…นื …กร…ะ…ท…ําช…าํ …เร…า…อา…ย…ุ 1…4…ป…ี …จน…ก…ร…ะท…ั่ง…ป…ัจ…จุบ…ัน…อ…า…ยุ…1…7…ป…ี ……………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. บคุ คลใดในขา่ วมีสว่ นรว่ มในการปกป้องสทิ ธมิ นุษยชนของผอู้ นื่ และมีผลดีอยา่ งไร …แ…น…ว…ค…าํ …ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………-………พล…เ…ม…ือง…ด…ี ต…าํ …รว…จ…ผ…ูพ้ …พิ …า…กษ…า…………………………………………………………………………………… …………-………ทาํ…ใ…ห…้ลกู…ส…า…วพ…้น…จ…า…กก…า…รถ…ูก…พ…่อ…ข…่มข…นื ……กา…ร…ถกู…ท…า…รนุ…ท…า…ง…กา…ย…แ…ละ…จ…ิต…ใจ…ท…ํา…ให…้เ…ด…ก็ ส…า…ว…มี…… …………………คุณ……ภา…พ…ช…ีวิต…ท…ีด่ …ขี …ึ้น…ม…ร…อิส…ร…ะ…ใน…ก…า…รด…ํา…เน…นิ …ช…ีวิต…………………………………………………………… 3. ถ้านักเรียนอยู่ในเหตุการณ์ในข่าวนี้จะมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองสิทธิมนุษยชนได้ อยา่ งไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ต้องท้ังหมด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกต้องบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถูกต้องเล็กน้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ตอบผิด / ไมต่ อบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 35 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 2 กิจกรรม สร้างสรรค์พฒั นาการเรียนรู้ เรอ่ื ง สิทธมิ นษุ ยชน กจิ กรรมท่ี 1 นักเรียนแบ่งกลุ่ม ทําการศึกษาค้นคว้าหน่วยงานที่มีบทบาททางด้านสิทธิมนุษยชนท้ัง ภายในประเทศและต่างประเทศ โดยเลือกศึกษา 1 หน่วยงาน และนําเสนอในประเด็นหัวข้อ เก่ียวกับผลงานด้านสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการวิเคราะห์ผลที่เป็นประโยชน์ต่อสังคมและ ประเทศชาติ บนั ทกึ การคน้ คว้า นาํ สง่ ครูผู้สอน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 36 กจิ กรรมที่ 2 นักเรียนสืบคันข่าวที่เกี่ยวกับสิทธิมนุษยชนและองค์กรเอกชนที่มีบทบาทด้านสิทธิ มนุษยชนจากส่ือต่าง ๆ แล้วทําการเขียนสรุปข่าวในประเด็นท่ีสําคัญ รวมถึงแสดงความคิดเห็นท่ี มตี อ่ ขา่ วดงั กลา่ ว สรุปความรลู้ งในกระดาษรายงานและนํามาอภิปรายในชนั้ เรยี น …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… กจิ กรรมท่ี 3 นักเรียนเล่าประสบการณ์จริงท่ีเคยพบเห็นเกี่ยวกับเรื่องสิทธิมนุษยชนคนละเร่ือง หน้าชนั้ เรยี น และอภปิ รายสรุปรว่ มกัน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกตอ้ งท้งั หมด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ต้องเล็กน้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ตอบผิด / ไมต่ อบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 37 เฉลยบัตรกิจกรรมที่ 3 แบบฝกึ หดั เรื่อง สิทธิมนษุ ยชน 1. การดํารงชีวิตโดยคํานงึ ถงึ หลกั สทิ ธมิ นุษยชนก่อใหเ้ กิดประโยชนอ์ ย่างไร …แ…นว…ค…าํ …ต…อบ…………………………………………………………………………………………………………………………… ………-……ท…าํ …ให…้ส…งั …ค…มเ…ก…ดิ ค…ว…า…มร…ัก…ส…า…ม…ัคค…ี…แ…ละ…อ…ย…รู่ ่ว…ม…ก…ัน…ได…อ้ …ยา่…ง…ม…ีคว…า…ม…สขุ…………………………………… ………-……ท…าํ …ให…้ม…น…ษุ …ย…์ม…ีเส…รภี…า…พ…ใน…ก…า…รแ…ส…ด…งค…ว…า…มค…ดิ…เ…ห็น……ค…ณุ …ภ…าพ…ช…วี …ติ …ท่ดี…ีข…ึ้น…แ…ละ…อ…ย…ู่ร่ว…ม…ก…นั …ได…้ ……… ……………อ…ย…่า…งส…นั …ต…ิส…ุข…………………………………………………………………………………………………………… ………-……ส…ง่ …เส…ร…มิ …ให…้ม…น…ุษ…ยท์…กุ …ค…น…ได…ร้ …ับ…กา…ร…ป…ฏ…ิบัต…ดิ …้ว…ย…คว…า…ม…เส…ม…อภ…า…ค…เท…า่ …เท…ีย…ม…กัน……อ…ย่า…ง…ยตุ…ิธ…ร…รม……… ………-……ส…ง่ …เส…ร…มิ …โอ…ก…าส…แ…ก…ม่ …นุษ…ย…์ท…กุ …ค…นใ…ห…ม้ …ีส…่วน…ร…่วม…ใ…น…กจิ…ก…ร…รม…ต…่า…ง…ๆ…ใ…นส…งั …ค…ม…ม…ีอ…สิ ร…ะ…เส…ร…ีภ…าพ……… ……………ใ…น…ก…าร…ด…ําเ…น…ิน…ชวี…ติ ……………………………………………………………………………………………………… 2. ปจั จบุ ันประเทศไทยมีกรณีใดบา้ งที่เปน็ การละเมิดสทิ ธิมนษุ ยชนที่พบเหน็ ไดบ้ อ่ ยคร้งั …แ…นว…ค…ํา…ต…อบ…………………………………………………………………………………………………………………………… ……………-………ก…าร…ล…ะ…เม…ิด…ทา…ง…ด…า้ น…ร…่าง…ก…า…ยแ…ล…ะ…จติ…ใ…จ…………………………………………………………………… ……………-………ก…าร…ล…ะ…เม…ิด…สทิ…ธ…ิแ…ล…ะเ…ส…รภี …า…พ…ใน…ก…า…รแ…ส…ด…งอ…อ…ก………………………………………………………… ……………-………ก…าร…ใช…ค้ …ว…าม…ร…ุน…แ…รง…แ…ละ…ก…า…รล…ะ…เม…ิด…ส…ทิ …ธขิ…อ…ง…เด…ก็ ……ได…้แ…ก่…ส…ิท…ธิก…า…รม…ีช…ีว…ติ …รอ…ด……ส…ทิ …ธทิ …่ี …… ……………………จ…ะไ…ด…ร้ ับ…ก…า…รป…ก…ป…้อ…งค…ุ้ม…ค…ร…อง……ส…ิท…ธทิ…จ่ี …ะ…ได…ร้ …ับ…กา…ร…พ…ัฒ…น…า………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. หากคนไทยทุกคนเห็นความสําคัญและมีส่วนร่วมในการปกป้องคุ้มครองผู้อื่นจากการถูกละเมิด สิทธิมนุษยชนจะสง่ ผลดอี ย่างไร …แ…นว…ค…าํ …ต…อบ…………………………………………………………………………………………………………………………… ………-……ท…าํ…ให…้ส…งั …ค…มเ…ก…ดิ ค…ว…า…ม…รัก…ส…า…ม…ัค…คี…แ…ละ…อ…ย…ูร่ ่ว…ม…ก…ัน…ได…้อ…ย…า่ ง…ม…ีคว…า…ม…สุข…………………………………… ………-……ท…ํา…ให…ม้…น…ุษ…ย…ม์ …ีคณุ……ภา…พ…ช…วี …ติ ท…่ดี …ขี …้ึน…แ…ละ…อ…ย…ู่ร่ว…ม…ก…ัน…ได…อ้ …ย่า…ง…ส…นั ต…ิส…ขุ ……………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 38 4. นักเรียนสามารถเข้าไปมีสว่ นร่วมในการส่งเสริมเร่อื งสิทธิมนษุ ยชนไดอ้ ย่างไรบา้ ง …แ…นว…ค…าํ …ต…อบ…………………………………………………………………………………………………………………………… ………-………ช…ว่ ย…ส…อ…ด…ส่อ…ง…ด…แู ล…พ…ฤ…ต…ิกร…ร…ม…ท…่ีสอ่…ไ…ป…ใน…ท…า…งล…ะ…เม…ิด…ส…ิทธ…มิ …น…ษุ …ย…ชน……แล…ว้ …แ…จ…้งใ…ห…้ผ้ทู…ี่ม…หี …น…า้ ท…ี่…… ………………ร…ับผ…ิด…ช…อ…บ…จดั …ก…า…ร …………………………………………………………………………………………………… ………-………ศ…กึ ษ…า…ใ…ห้ม…คี …ว…าม…เ…ข…า้ ใ…จแ…ล…ะ…รับ…ท…ร…า…บว…่า…ต…น…เอ…ง…ม…ีสิท…ธ…ิข…ั้น…พ…น้ื ฐ…า…น…อ…ะไ…รบ…า้…ง…เ…ชน่……สิท…ธ…ิใ…น……… ………………ช…วี ติ…แ…ล…ะร…า่ …งก…า…ย…ส…ิท…ธ…ใิ น…ก…าร…น…บั …ถ…อื ศ…า…ส…น…า ………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การปฏิบตั ิตามหลักศาสนาเปน็ การสง่ เสริมสิทธิมนษุ ยชนอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ต้องทงั้ หมด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกตอ้ งบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ตอบผิด / ไม่ตอบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 39 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น แบบทดสอบหลังเรยี น ข้อ ก ข ค ง ข้อ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10  10  โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 40 ประวตั ยิ อ่ ผจู้ ดั ทาํ ชอื่ – สกุล นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู วนั เดือน ปี เกดิ วันที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2521 สถานที่เกดิ บ้านเลขท่ี 10/2 หมู่ 18 ตําบลกระโพ อําเภอท่าตูม จังหวัดสุรินทร์ โทรศัพท์ 082-136-369-6 ตาํ แหนง่ หนา้ ทป่ี ัจจุบนั ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ สถานที่ทํางานในปัจจุบัน โรงเรียนเบ็ตต้ีดเู มน 2 ช่องเม็ก ตาํ บลชอ่ งเมก็ อาํ เภอสริ ินธร จงั หวัดอบุ ลราชธานี สังกดั องคก์ ารบริหารสว่ นจงั หวัดอบุ ลราชธานี ประวัตกิ ารศกึ ษา พ.ศ. 2544 ปริญญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต วิชาเอก เทคโนโลยีและนวัตกรรม การศึกษา สถาบนั ราชภฏั สรุ นิ ทร์ พ.ศ. 2553 ปริญญาโท ศึกษาศาสตรมหาบณั ฑิต สาขาการบริหารการศกึ ษา มหาวทิ ยาลัยรามคําแหง ประสบการณก์ ารทาํ งาน พ.ศ. 2551 ตาํ แหน่ง นักวิชาการศกึ ษา องคก์ ารบริหารส่วนตําบลพลงตาเอ่ียม อําเภอวงั จนั ทร์ จังหวัดระยอง พ.ศ. 2553 ครผู ้ชู ่วย โรงเรียนมัธยมบา้ นบางกะปิ สาํ นกั งานเขตบางกะปิ สาํ นักการศึกษา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 ครู คศ.1 โรงเรยี นมัธยมบ้านบางกะปิ สํานักงานเขตบางกะปิ สาํ นักการศึกษา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2559 ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ชอ่ งเม็ก ตาํ บลช่องเม็ก อําเภอสริ ินธร จังหวดั อบุ ลราชธานี สงั กดั องคก์ ารบรหิ ารส่วนจงั หวัดอบุ ลราชธานี พ.ศ. 2561 ตาํ แหน่งครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ โรงเรียนเบต็ ต้ีดเู มน 2 ช่องเมก็ ตาํ บลชอ่ งเมก็ อําเภอสิรนิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี สงั กัดองคก์ ารบริหารส่วนจงั หวดั อุบลราชธานี โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ



โรงเรยี นเบต็ ต้ดี ูเมน 2 ช่องเม็ก อาํ เภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook