Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่ 7

ชุดที่ 7

Published by romrawin.nuty, 2022-08-23 07:42:49

Description: ชุดที่ 7

Search

Read the Text Version

รายวชิ าสงั คมศึกษา 5 รหสั วชิ า ส23101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 สาระหนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวติ ในสงั คม ชดุ ท่ี 7 : การเมืองการปกครองในปจั จุบนั นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ดี ูเมน 2 ช่องเม็ก อาํ เภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี



ห น้ า | ก คาํ นาํ ชุดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สาระหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม จัดทําขึ้นเพ่ือเป็น สื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส23101 ชุดการเรียนรู้แบบอภิปัญญา มีฐานความคิดมาจากทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความสามารถของบุคคล ที่มีต่อกระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรท่ีเหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถ เลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้นักเรียนได้เรียนด้วยตนเอง ตามอัตภาพและตามความสามารถ ใช้สอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนท่ียังเรียนไม่ทัน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่าน และเป็นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทําเป็น ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่องผสมผสานสาระการเรียนรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนและสมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นนวัตกรรมท่ีช่วยลดบทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูปการ เรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง คิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ ผ้เู รียนมจี ิตวทิ ยาศาสตร์คุณธรรมและคา่ นยิ มทถ่ี ูกต้องเหมาะสม ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนทําให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม ได้เป็นอย่างดี และมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอํานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้ และเป็น ประโยชน์ตอ่ ทางการศึกษาตอ่ ไป รมย์รวนิ ท์ เชิดชู โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | ข สารบัญ เรือ่ ง หนา้ คํานํา ก สารบญั ข คําช้ีแจงเก่ยี วกบั การใช้ชดุ การเรยี นรู้ ค แผนภูมลิ ําดบั ขัน้ ตอนการใช้ชุดการเรยี นรู้ ง คาํ ชแ้ี จงการใช้ชุดการเรยี นรู้สาํ หรับครู จ คําชแี้ จงการใช้ชุดการเรียนรูส้ ําหรบั นกั เรยี น ฉ 1 สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ 1 สาระสาํ คัญ 2 จดุ ประสงค์การเรียนรู้ 3 แบบทดสอบก่อนเรียน 6 กจิ กรรมอภิปญั ญา เรอ่ื ง การเมอื งการปกครองในปัจจบุ นั 7 บัตรเนือ้ หา ชุดที่ 7 เรือ่ ง การเมืองการปกครองในปัจจุบัน 27 กิจกรรมอภปิ ญั ญา เรือ่ ง การเมอื งการปกครองในปจั จุบนั 29 บัตรกิจกรรมท่ี 1 เรอ่ื ง การเมอื งการปกครองในปัจจบุ นั 31 บตั รกิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ เร่ือง การเมืองการปกครองในปัจจุบนั 33 บัตรกิจกรรมท่ี 3 แบบฝึกหัด เรื่อง การเมอื งการปกครองในปจั จบุ ัน 35 แบบทดสอบหลังเรียน 38 กระดาษคําตอบแบบทดสอบก่อนเรียนและหลังเรยี น 39 บรรณานุกรม 40 ภาคผนวก 41 เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 1 กิจกรรมอภิปัญญา เร่อื ง การเมอื งการปกครองในปจั จบุ ัน 43 เฉลยบัตรกจิ กรรมที่ 2 กจิ กรรมพัฒนาการเรียนรู้ เร่อื ง การเมอื งการปกครองในปจั จุบนั 45 เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 3 แบบฝกึ หัด เร่ือง การเมืองการปกครองในปัจจุบนั 47 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรยี น 49 ประวัติย่อผจู้ ัดทาํ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | ค คาํ ช้ีแจงเกยี่ วกบั ชุดการเรยี นรู้ ชุดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 สาระหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม จัดทําขึ้นเพื่อเป็นส่ือนวัตกรรม ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส23101 ชุดการเรียนรู้ แบบอภิปัญญามีฐานความคิดมาจากทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความสามารถของบุคคลท่ีมีต่อ กระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรท่ีเหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถเลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพื่อให้การเรียนรู้หรือการ ปฏิบัติงานต่างๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซ่ึงองค์ประกอบของ Metacognition มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ความรู้ (2) การควบคุมตนเอง และ (3) ความตระหนัก ต่อกระบวนการคิด โดยสอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขใน การทํากิจกรรมการเรียนรู้ และเพ่ือส่งเสริมเจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และสามารถนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ มงุ่ เน้นพฒั นาผู้เรียนใหเ้ กิดการเรยี นรู้ ซึ่งประกอบด้วยชุดการเรยี นรู้ จํานวน 8 ชดุ ดังนี้ ชุดท่ี 1 เรือ่ ง กฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ชุดที่ 2 เรื่อง กฎหมายอาญา ชดุ ท่ี 3 เรื่อง สิทธมิ นุษยชน ชดุ ที่ 4 เรื่อง วฒั นธรรมและภูมปิ ญั ญาไทย ชดุ ที่ 5 เร่อื ง วฒั นธรรมสากล ชดุ ที่ 6 เรื่อง สงั คมไทยในปัจจบุ นั ชุดท่ี 7 เรอ่ื ง รปู แบบการปกครองในยคุ ปัจจุบัน ชุดท่ี 8 เรื่อง ปัญหาที่เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยและแนวทาง แกป้ ัญหา ชุดการเรียนรู้ ชุดนี้เป็น ชุดที่ 7 เรื่อง การเมืองการปกครองในปัจจุบัน ใช้เวลา 2 ชั่วโมง ผูใ้ ชช้ ุดการเรยี นรู้น้ีควรศกึ ษาขนั้ ตอนการใช้ชุดการเรียนร้อู ยา่ งละเอยี ดกอ่ นใช้ ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อนักเรียนและผู้สนใจท่ีจะ นําไปใชส้ อนและฝกึ เด็กในปกครองในการพฒั นากระบวนการเรยี นร้ใู หม้ ีคุณภาพมากย่ิงขึ้นตอ่ ไป โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | ง แผนภูมลิ ําดับข้นั ตอนการใช้ชุดการเรยี นรู้ อ่านคาํ ช้แี จงและคําแนะนําในการใช้ชดุ การเรียนรู้ ศกึ ษาตัวชีว้ ดั และจดุ ประสงคก์ ารเรียนรู้ ทดสอบก่อนเรียน ศึกษาชดุ การเรยี นรู้ตามขน้ั ตอน ประเมินผลการจดั กจิ กรรมการเรยี นรจู้ ากชดุ การเรยี นรู้ ทดสอบหลังเรียน ผ่านการทดสอบ ศึกษาชุดการเรียนรู้เร่ืองต่อไป ชุดท่ี 7 เรอ่ื ง การเมืองการปกครองในปัจจบุ ัน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | จ คําชี้แจงการใช้ชุดการเรยี นรู้สําหรับครู ชุดการเรียนรู้แบบอภิปัญญาที่ครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปน้ีคือ ชุดท่ี 7 เร่ือง การเมืองการ ปกครองในปัจจุบัน กิจกรรม 2 ชั่วโมง เป็นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทําเป็น ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่องผสมผสานสาระการเรียนรู้ด้าน ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนและสมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมที่ดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ โดยการนําอภิปัญญา (Metacognition) การรู้ความคิด หรือการคิดเกี่ยวกับความคิด ซ่ึงเป็นปัญญา สูงสุดของการเรียนรู้ หรือความสามารถของบุคคลท่ีมีต่อกระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรที่ เหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถเลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพ่ือให้การเรียนรู้หรือการปฏิบัติงานต่าง ๆ บรรลุ ตามวัตถุประสงค์ได้อยา่ งมีประสิทธภิ าพ ครูผู้สอนควรดําเนินการ ดงั นี้ 1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทําความเข้าใจเก่ียวกับคําชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้สําหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อท่ีครูผู้สอนสามารถนําชุดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดช้ันเรียน การเตรียมแหล่งเรียนรู้ การเตรียมสื่อ/อุปกรณ์ ท่ีใช้ในการ เรยี นการสอน 2. การจัดช้นั เรยี นจะจดั ใหน้ กั เรียนนงั่ เป็นรายบคุ คลหรอื กลมุ่ ก็ได้ 3. ใหน้ ักเรียนทาํ แบบทดสอบก่อนเรยี นกอ่ นเพอื่ วดั พืน้ ฐานความรู้รายบุคคล 4. แจ้งจดุ ประสงค์ให้นกั เรยี นทราบ 5. แจกชุดการเรียนรใู้ ห้นักเรียนให้นักเรียนได้ศึกษา แนะนําวิธีการการใช้ชุดการเรียนรู้เพื่อ นกั เรียนจะได้ปฏิบัตอิ ยา่ งถกู ตอ้ ง 6. ดาํ เนินการสอนตามกิจกรรมการเรียนรู้ที่กาํ หนดในแผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ 7. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูดเป็น รายกล่มุ หรือรายบคุ คล ต้องไม่รบกวนกิจกรรมของนักเรยี นกลมุ่ อ่ืน 8. หลังจากนักเรียนศึกษาชุดการเรียนรู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูให้นักเรียน ทําใบกิจกรรม ทํา แบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลการเรียนของนักเรียนแจ้งคะแนนให้นักเรียนทราบเพ่ือนําไป พัฒนาตนเองให้ชวั่ โมงต่อไป 9. ครูคอยแนะนําช้ีแจง ให้กําลังใจนักเรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียนในระหว่างเรียนเพ่ือ ประเมินพฤตกิ รรมนกั เรยี น 10. หลังจากปฏบิ ัติกจิ กรรมแลว้ นักเรยี นจะตอ้ งจดั เก็บอุปกรณ์ทุกชิน้ ใหเ้ รียบร้อย โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | ฉ คาํ ชี้แจงการใชช้ ดุ การเรยี นรูส้ ําหรับนักเรยี น ชุดการเรียนรู้ที่นักเรียนได้ศึกษาต่อไปน้ี คือ ชุดที่ 7 เร่ือง การเมืองการปกครองในปัจจุบัน นักเรียนจะได้สํารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหาผ่าน ทางกระบวนการกลุ่ม การรู้ความคิด หรือการคิดเกี่ยวกับความคิด ท่ีเป็นปัญญาสูงสุดของการเรียนรู้ แบบอภิปัญญา โดยจะช่วยให้นักเรียนสามารถวางแผนและทบทวนความคิดของตนเองอย่างเป็น ระบบ สามารถเลือกวิธีการเรียนรู้และประเมินผลที่เหมาะสมกับตนเอง และถ่ายทอดความคิด ออกมาเพื่อให้การเรียนรู้หรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ เกดิ ประโยชนส์ งู สดุ นักเรียนควรปฏิบัตติ ามคาํ ช้แี จง ดังต่อไปนี้ 1. นักเรียนรับชุดการเรยี นรู้ ชดุ ที่ 7 เร่ือง การเมืองการปกครองในปัจจุบนั 2. นกั เรียนอา่ นคาํ แนะนําคําชแี้ จงการใช้ชุดการเรยี นรู้ใหเ้ ข้าใจ 3. นักเรียนศึกษาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสําคัญ และจุดประสงค์ การเรยี นรู้ เพื่อใหท้ ราบว่าไดศ้ ึกษาเน้อื หาและเข้ารว่ มกิจกรรมไดค้ วามร้อู ะไร 4. นักเรียนเร่ิมทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพื่อประเมินพ้ืนฐานความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เรือ่ ง วฒั นธรรมและภมู ิปัญญาไทย 5. นักเรียนศึกษา และทําความเข้าใจเนื้อหาตั้งแต่เร่ิมต้นกระท้ังถึงหน้าสุดท้ายตามลําดับ และทาํ ใบกิจกรรมท่ี 1 ใบกจิ กรรมที่ 2 และใบกจิ กรรมท่ี 3 เรอื่ ง การเมืองการปกครองในปัจจบุ ัน 6. นักเรยี นอา่ นและทํากจิ กรรมตามทกี่ าํ หนดอยา่ งรอบคอบและครบถ้วน 7. นักเรียนตรวจคําตอบจากเฉลยใบกิจกรรมที่ 1 ใบกิจกรรมท่ี 2 และใบกิจกรรมที่ 3 ส่งผล งานการทาํ ใบกจิ กรรมท้ายเล่มชุดการเรยี นรู้ เพอ่ื ให้ครตู รวจและบนั ทกึ ผล 8. นักเรียนทาํ กิจกรรมเสร็จแล้วจดั เก็บอปุ กรณ์ประกอบการเรยี นให้เรยี บร้อย 9. นกั เรียนทุกคนทํากิจกรรมครบแล้วจากนัน้ จึงทาํ แบบทดสอบหลงั เรียน จํานวน 10 ขอ้ 10. ในการทํากิจกรรมและแบบทดสอบต่าง ๆ ให้นักเรียนทําด้วยความตั้งใจ และมีความ ซือ่ สัตย์ตอ่ ตนเองให้มากที่สดุ โดยไม่ดเู ฉลยกอ่ นทําใบกจิ กรรมและแบบทดสอบกอ่ นหรือหลงั เรยี น 11. นักเรียนจําทําเสร็จช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับความสามารถและทักษะของนักเรียนเองไม่ จําเป็นตอ้ งทําเสร็จพร้อมกนั แตใ่ หท้ าํ เสรจ็ ทันตามเวลาทก่ี ําหนด 12. นกั เรยี นรับฟงั การรายงานผลคะแนนคําชมเชย และคาํ แนะนาํ เพ่ิมเตมิ จากครู โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 1 สาระการเรยี นรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรยี นรู้แกนกลาง 1) ระบอบการปกครองแบบต่าง ๆ ที่ใช้ในยุคปัจจุบัน เช่น การปกครองระบอบเผด็จการ การปกครองระบอบประชาธิปไตย 2) ความแตกต่าง ความคล้ายคลึงของการปกครองของไทยกับประเทศอื่น ๆ ท่ีมีการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย - รูปแบบการปกครองในยุคปัจจุบนั - เปรยี บเทยี บการปกครองของไทยกับประเทศทป่ี กครองแบบประชาธิปไตย สาระท่ี 2 หนา้ ทีพ่ ลเมือง วัฒนธรรม และการดาํ เนินชวี ติ ในสังคม มาตรฐานการเรยี นรู้ ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปัจจุบัน ยึดม่ัน ศรัทธา และธํารงรักษา ไวซ้ ึง่ การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยอันมพี ระมหากษตั ริย์ทรงเปน็ ประมขุ ตวั ชี้วัด ม.3/1 อธิบายระบอบการปกครองแบบตา่ ง ๆ ทใี่ ช้ในยคุ ปจั จบุ นั ม.3/2 วิเคราะห์ เปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอ่ืน ๆ ที่มีการ ปกครองระบอบประชาธิปไตย สาระสาํ คญั การปกครองระบอบเผด็จการและระบอบประชาธิปไตยเป็นระบอบการปกครองที่ใช้อยู่ ในยุคปัจจุบัน โดยประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตย ซ่ึงมีส่วนที่มีความคล้ายคลึง และแตกตา่ งจากประเทศอื่น อันมีรฐั ธรรมนูญเปน็ กฎหมายสงู สดุ ในการปกครองประเทศ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 2 ประเทศต่าง ๆ ในโลกมีระบอบการเมืองการปกครองเป็นของตนเองตามสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของประเทศนั้น เพ่ือเป็นแบบแผนในการ ปฏิบัติและเป็นข้อตกลงระหว่างรัฐกับประชาชน ซ่ึงจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ระบอบการ ปกครองของแต่ละประเทศจะแตกต่างกัน โดยข้ึนอยู่กับแนวคิดและอุดมการณ์ทางการเมืองใน ปัจจุบันระบอบการปกครองในโลกที่เด่นชัด ได้แก่ ระบอบประชาธิปไตยและระบอบเผด็จการสําหรับ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษัตริยท์ รงเป็นประมุข จุดประสงค์การเรียนรู้ 1. อธิบายความหมายและองค์ประกอบสําคัญของการปกครองระบอบประชาธิปไตย และการปกครองระบอบเผด็จการได้ (K) 2. อธบิ ายลกั ษณะการปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทยได้ (K) 3. เปรียบเทียบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นที่มีการปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตยได้ (P) 4. เหน็ คุณค่าของศึกษารูปแบบการปกครองในปจั จบุ ันเพ่มิ มากข้ึน (A) โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 3 แบบทดสอบก่อนเรยี น เรอื่ ง การเมืองการปกครองในปัจจุบัน กล่มุ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส23101 ชัน้ มธั ยมศึกษาปีที่ 3 คาํ ช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จาํ นวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทใ่ี ช้ 10 นาที 2. จงเลือกคําตอบท่ีถูกต้องทส่ี ดุ แล้วเขยี นเครือ่ งหมาย  ลงในกระดาษคําตอบ 1. การปกครองในระบอบประชาธปิ ไตยโดยใชร้ ะบบสภาคู่มขี ้อดอี ยา่ งไร ก. ทาํ ให้เกดิ ดลุ แห่งอาํ นาจในรฐั สภา ข. การปฏิบตั ิหนา้ ท่ขี องสภามคี วามรวดเร็ว ค. ส้นิ เปลืองงบประมาณในการพจิ ารณากฎหมาย ง. มสี ภาผู้แทนราษฎรทาํ หนา้ ท่ีกล่นั กรองกฎหมาย 2. ขอ้ ใดแสดงถึงการมีส่วนร่วมตามแนวพหนุ ิยม ก. การเจรจากนั อย่างสันติ ข. การแต่งต้ังประธานนกั เรยี น ค. การส่งออกและนําเข้าสินคา้ ง. การแข่งขันตอบปญั หาส่งิ แวดล้อม 3. ระบอบเผด็จการใหค้ วามสาํ คัญกบั ส่งิ ใดน้อยทส่ี ุด ก. ความเป็นชาตนิ ยิ ม ข. ความมั่นคงของรฐั ค. ความเป็นเอกภาพของรัฐบาล ง. ความมมี นษุ ยธรรมและเสรีภาพ 4. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในระบบรฐั สภาประกอบดว้ ยหลกั การใช้อาํ นาจในขอ้ ใด ก. หลักการแยกอํานาจ หลกั ดุลแห่งอํานาจ ข. หลักการรวมอํานาจ หลักการถว่ งดุลอํานาจ ค. หลักการเชือ่ มโยงอาํ นาจ หลักดลุ แหง่ อาํ นาจ ง. หลกั การเชือ่ มโยงอาํ นาจ หลักการกระจายอาํ นาจ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 4 5. การกระทาํ ของประชาชนในขอ้ ใดมผี ลดีตอ่ การพฒั นาประชาธปิ ไตยของไทยมากที่สดุ ก. อา่ นขา่ วหนังสือพิมพ์และวเิ คราะห์การกระทําของบุคคล ข. แจง้ ตาํ รวจจบั ผู้รา้ ยท่ีกระทาํ ความผดิ ในโอกาสที่เหมาะสม ค. ศกึ ษาขอ้ มลู ความรเู้ ก่ียวกบั การเมืองการปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ง. มีส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ ขององค์กรที่เกี่ยวกับประชาธิปไตย และประพฤติตนอยู่ ในกฎระเบยี บ 6. ข้อใดตอ่ ไปน้เี ป็นลกั ษณะร่วมของระบอบเผด็จการ ก. ไมม่ ีการจํากดั สิทธิเสรภี าพของประชาชน ข. มีการต้งั สถาบันขึ้นมาตรวจสอบและถว่ งดลุ อํานาจ ค. เปดิ โอกาสให้ประชาชนมสี ่วนร่วมทางการปกครอง ง. ไมค่ ํานึงถงึ หลกั สิทธมิ นุษยชนและศกั ดศ์ิ รคี วามเป็นมนษุ ย์ 7. การปฏิบัติในขอ้ ใดช่วยปลูกฝังคา่ นิยมประชาธปิ ไตยใหเ้ ยาวชน ก. ทิง้ ขยะให้เป็นท่ี ข. บรจิ าคเงินชว่ ยเหลือน้าํ ทว่ ม ค. ลงคะแนนเสยี งเลือกหัวหนา้ หอ้ ง ง. เรยี นพิเศษในชว่ งปดิ ภาคเรยี นฤดูรอ้ น 8. ระบอบเผด็จการแบบอาํ นาจนยิ ม มลี ักษณะสาํ คัญหลายประการ ยกเว้นขอ้ ใด ก. กําหนดบทบาทและควบคมุ พฤติกรรมของพลเมอื งอย่างชัดเจน ข. ใช้อํานาจรัฐตรวจสอบหน่วยงานที่ดําเนนิ การบนั่ ทอนความมน่ั คงของรัฐ ค. มหี ลักบริหารและตดั สินใจโดยคณะบคุ คลทเี่ ป็นผบู้ ริหารราชการแผน่ ดิน ง. ประชาชนในประเทศมีหน้าที่ปฏิบัติตนตามผู้นําและไม่ทําตนเป็นอุปสรรคขัดขวาง ทางการเมอื ง โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 5 9. ขอ้ ใดจดั เป็นบทบาทสําคญั ในการเลอื กตงั้ ของคณะกรรมการการเลอื กตั้ง (กกต.) ก. ตรวจสอบและช่วยประชาสัมพนั ธก์ ารเลอื กคนดีของพรรคการเมืองต่างๆ ข. กําหนดใหต้ ัวแทนประชาชนเขา้ ไปมีสว่ นรว่ มกับการลงคะแนนเสยี งเลือกต้ัง ค. ดําเนินการคัดสรรผู้ท่ีได้รับการคัดเลือกเป็นสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเพื่อประกาศ รายชือ่ ง. ตรวจสอบการเลือกตั้งให้ดําเนินไปอย่างสุจริต และมีอํานาจในการระงับการเลือกตั้งที่มี การทุจรติ 10. ประเทศใดมีรูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภาเช่นเดียวกับประเทศ ไทย ก. เมยี นมา ลาว ข. ฟลิ ิปปนิ ส์ ลาว ค. มาเลเซีย อินเดีย ง. เวยี ดนาม ฟลิ ปิ ปินส์ โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 6 กิจกรรมอภิปญั ญา เรือ่ ง การเมอื งการปกครองในปจั จบุ ัน ข้นั ท่ี 1 ความตระหนกั ในความรู้ 1. นักเรยี นมีความรเู้ กย่ี วกับการเมืองการปกครองในปัจจุบนั อะไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… …………………………………………………………...……………………………………………………………………………… 2. นักเรยี นควรศกึ ษาเพ่ิมเตมิ อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… 3. นักเรียนจะศกึ ษาอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… ตอบถกู ต้องท้งั หมด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกต้องเล็กนอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 7 บตั รเนื้อหา ชุดท่ี 6 การเมืองการปกครองในปจั จุบัน ประเทศต่าง ๆ ในโลกมีระบอบการเมืองการปกครองเป็นของตนเองตามสภาพแวดล้อมทาง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และภูมิหลังทางประวัติศาสตร์ของประเทศนั้น เพื่อเป็นแบบแผนในการ ปฏิบัติและเป็นข้อตกลงระหว่างรัฐกับประชาชน ซ่ึงจะส่งผลต่อการพัฒนาประเทศ ระบอบการ ปกครองของแต่ละประเทศจะแตกต่างกัน โดยขึ้นอยู่กับแนวคิดและอุดมการณ์ทางการเมืองใน ปัจจุบันระบอบการปกครองในโลกท่ีเด่นชัด ได้แก่ ระบอบประชาธิปไตยและระบอบเผด็จการสําหรับ ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอนั มีพระมหากษตั ริยท์ รงเปน็ ประมขุ 1. รูปแบบการปกครองในยุคปัจจบุ ัน การปกครองเป็นแบบแผนเพ่ือให้ประเทศมีกระบวนการบริหารจัดการท่ีเป็นระบบ อาจมี ความเหมือนหรือแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศตามภูมิหลังทางประวัติศาสตร์และปัจจัยส่ิงแวดล้อม ทางสังคมของประเทศนั้น โดยประชาชนจะต้องปฏิบัติตามบทบาทหน้าที่ของตนอย่างสมบูรณ์ เพื่อให้การเมืองการปกครองมีเสถียรภาพ ในปัจจุบันรูปแบบการปกครองท่ีชัดเจน ได้แก่ การ ปกครองระบอบประชาธปิ ไตย ระบอบเผดจ็ การ และการปกครองระบอบสมบรู ณาญาสทิ ธิราชย์ 1.1 การปกครองระบอบประชาธิปไตย การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองโดยประชาชนและเพ่ือประชาชน เป็นการปกครองที่มุ่งส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชน มีอํานาจอธิปไตยเป็นอํานาจสูงสุดในการ ปกครองประเทศเป็นของประชาชน โดยมีคณะบุคคลที่เป็นตัวแทนของประชาชนมาจากการเลือกต้ัง เข้าไปทําหน้าที่บริหารบ้านเมือง เรียกว่า \"รัฐบาล\" ได้รับเลือกมาจากประชาชนตามกระบวนการ เลือกตง้ั อยา่ งโปร่งใส เปน็ ไปตามท่ีกฎหมายหรอื รัฐธรรมนญู บัญญัตไิ ว้ รูปแบบการปกครองระบอบประชาธิปไตย ใช้หลักการรวมอํานาจและการกระจาย อํานาจแบง่ รปู แบบการปกครองได้ ดังนี้ 1. ประชาธปิ ไตยในระบบรฐั สภา ㆍ มีพระมหากษัตริย์หรือประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ แต่ไม่มีหน้าที่รับผิดชอบ ทางการเมือง ㆍ มีผนู้ าํ ฝา่ ยบริหาร คอื นายกรัฐมนตรี ทาํ หน้าท่บี ริหารราชการแผน่ ดิน โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 8 2. ประชาธิปไตยในระบบประธานาธบิ ดี ㆍ มีประธานาธิบดีเป็นทั้งประมุขของรัฐและผู้นําฝ่ายบริหาร มีรัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยใน การดาํ เนนิ การด้านต่าง ๆ 3. ประชาธปิ ไตยในระบบก่ึงประธานาธบิ ดีกงึ่ รฐั สภา ㆍ มีประธานาธิบดีเป็นประมุขของรัฐ มีอํานาจสูงสุด เป็นผู้แต่งตั้งนายกรัฐมนตรี และทาํ หนา้ ที่บริหารร่วมกนั 1) การปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรฐั สภา มอี งค์ประกอบสําคญั ดังน้ี 1.1) ประมุขของรัฐ การมีประมุขของรัฐจะเป็นไปตามความเช่ือและพัฒนาการทาง ประวัตศิ าสตร์ของแต่ละประเทศ ประมุขของรัฐมี 2 ลกั ษณะ ได้แก่ 1. แบบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ พระมหากษัตริย์ทรงมีฐานะเป็นประมุข ของรัฐ ท่ีเรียกว่า \"ราชอาณาจักร\" พระมหากษัตริย์ทรงเป็นกลางทางการเมือง ไม่ต้องมีหน้าที่ รับผิดชอบในทางการเมือง เพราะมีฝ่ายบริหารหรือฝ่ายรัฐบาลรับผิดชอบแทนอยู่แล้ว ทรงใช้พระ ราชอํานาจในฐานะประมุขของรัฐและในฐานะอ่ืน ๆ ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญประเทศท่ีใช้การ ปกครองในรูปแบบนี้ เชน่ ประเทศไทย ญีป่ ุ่น กมั พชู า มาเลเซยี องั กฤษ 2. แบบประธานาธิบดี เป็นการปกครองในลักษณะ \"สาธารณรัฐ\" มีประธานาธิบดี เป็นประมุขของรัฐ มีท้ังท่ีมาจากการเลือกตั้งโดยตรงจากประชาชนและการเลือกทางอ้อมจากรัฐสภา ไม่ต้องรับผิดชอบทางการเมือง ประธานาธิบดีในรูปแบบน้ีมีฐานะเป็นประมุขของรัฐคล้ายกับ พระมหากษัตริย์ คือ ไม่ต้องรับผิดชอบในทางการเมือง เพราะจะมีนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นําฝ่ายบริหาร ทําหน้าที่รับผิดชอบทางการเมืองการปกครองประเทศที่ใช้การปกครองในรูปแบบน้ี เช่น ประเทศ บังกลาเทศ ฟินแลนด์ โปรตเุ กส 1.2) ผู้นําฝ่ายบริหาร คือ \"นายกรัฐมนตรี\" เป็นหัวหน้าคณะรัฐมนตรี ทําหน้าท่ีฝ่าย บรหิ ารและรบั ผดิ ชอบตอ่ สภาในการบริหารราชการแผ่นดนิ 1.3) รัฐสภา เป็นสถาบันหลักท่ีมีความสําคัญอย่างมากทางการเมือง มีท้ังอํานาจนิติ บัญญัตแิ ละอาํ นาจควบคมุ ฝ่ายบรหิ ารเปน็ หวั ใจสาํ คัญ 1.4) หลกั การใช้อํานาจ ประกอบด้วยหลัก ๒ ประการ ไดแ้ ก่ 1. หลักการเช่ือมโยงอํานาจ เป็นการเช่ือมโยงระหว่างอํานาจนิติบัญญัติและอํานาจ บริหาร หมายถึง ฝ่ายนิติบัญญัติมีอํานาจในทางนิติบัญญัติ คือ จัดทําและพิจารณากฎหมายมีอํานาจ ควบคุมฝ่ายบริหาร เร่ิมต้ังแต่ให้ความเห็นชอบผู้ที่จะดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี ให้ความเห็นชอบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 9 นโยบายของฝ่ายบริหารและควบคุมการทํางานของฝ่ายบริหาร ซ่ึงอาจนําไปสู่การเปิดอภิปรายไม่ ไวว้ างใจรฐั บาล รวมถึงการต้งั กระท้ถู ามในประเด็นต่าง ๆ ทเ่ี กี่ยวกบั การบริหารราชการแผ่นดิน 2. หลักดุลแห่งอํานาจ เพื่อให้การบริหารบ้านเมืองดําเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ นายกรัฐมนตรีซึ่งเป็นประมุขฝ่ายบริหารมีอํานาจในการยุบสภา ส่งผลให้สภาต้องสิ้นสุดลง แต่ตัว นายกรัฐมนตรียังคงดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรีรักษาการ เพ่ือดําเนินการไปสู่การเลือกต้ังสมาชิก สภาผู้แทนราษฎรในครัง้ ตอ่ ไป การปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภาจึงมีลักษณะเฉพาะตัว คือ ฝ่าย บริหารหรือฝ่ายนิติบัญญัติอาจไม่ได้ดํารงอยู่จนดรบวาระ 4 ปี หรือ 5 ปี ตามท่ีกําหนดไว้ใน รัฐธรรมนูญแต่ละประเทศ 2) การปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดี มีองค์ประกอบ สําคญั ดังนี้ 2.1) ประมุขของรัฐ คือ ผู้ที่ดํารงตําแหน่งประธานาธิบดี เป็นท้ังประมุขของรัฐและ ผู้นําฝ้ายบริหารอยู่ในบุคคลเดียวกันและมาจากการเลือกตั้งของประชาชน มีอํานาจในการปกครอง ประเทศอย่างแท้จริง และเป็นผู้สรรหาและแต่งต้ังคณะรัฐมนตรี รัฐมนตรีเป็นผู้ช่วยในการดําเนินการ ด้านต่าง ๆ ตามสังกัดกระทรวง โดยวุฒิสภามีอํานาจในการให้ความเห็นชอบหรือปฏิเสธบุคคลที่ ประธานาธิบดีเสนอขอแต่งต้ัง รวมทั้งคณะรัฐมนตรี ท้ังน้ี การเปล่ียนแปลงรัฐมนตรีเป็นเรื่องปกติ แตกต่างจากระบบรัฐสภาที่ถือหลักการบริหารในรูปแบบคณะรัฐมนตรี ดังนั้น รัฐมนตรีในระบบน้ีจะ รับคําส่ังโดยตรงจากประธานาธิบดี 2.2) รัฐสภา เป็นสถาบันนิติบัญญัติ อาจมีสภาเดียวหรือสองสภาก็ได้ข้ึนอยู่กับ รปู แบบของแต่ละประเทศ สมาชกิ สภามีบทบาทหน้าที่หลักทางดา้ นนติ ิบญั ญัตเิ ป็นสําคญั 2.3) หลักการใช้อํานาจ ยึดหลกั การใช้อํานาจ 2 ประการ ไดแ้ ก่ 1. หลักการแยกอํานาจ เป็นการแยกอํานาจระหว่างฝ่ายบริหาร คือ ประธานาธิบดีกับฝ่ายนิติบัญญัติ คือ รัฐสภา โดยท้ังสองฝ่ายมาจากการเลือกตั้งจากประชาชน ประธานาธิบดีจึงมีอํานาจการบริหารอย่างแท้จริง ส่วนฝ่ายสมาชิกสภาก็มีอํานาจในการออก กฎหมาย โดยท้ังสองฝ่ายต่างดําเนินการกิจของตนไปตามกระบวนการที่กําหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ สมาชิกสภาไม่มีอํานาจในการลงมติไม่ไว้วางใจฝ่ายบริหาร และประธานาธิบดีก็ไม่มีอํานาจในการยุบ สภา 2. หลักการยับยั้งและถ่วงดุลอํานาจ คือ การท่ีประธานาธิบดีมีอํานาจใน การยับยั้งกฎหมายที่ออกโดยรัฐสภาได้ในทางกลับกัน สภาก็มีอํานาจในการถอดถอนประธานาธิบดี ได้ในกรณีที่มีความผิดร้ายแรงสําหรับวาระในการดํารงตําแหน่งประธานาธิบดีและสมาชิกสภาใน โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 10 แต่ละประเทศมีความแตกต่างกันไป เช่น สหรัฐอเมริกามีวาระ 4 ปี ประเทศอินโดนีเซียมีวาระ 5 ปี ประเทศฟิลิปปินส์มีวาระ 6 ปี โดยท่ัวไปการปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบประธานาธิบดีจะ มีเสถียรภาพและมั่นคง ดังน้ัน รัฐบาลจึงมักอยู่ครบวาระเป็นส่วนใหญ่ทําเนียบขาว (White House) เป็นสถานท่ีพักและสถานที่ประเทศท่ีใช้การปกครองในรูปแบบนี้ทํางานของประธานาธิบดี สหรัฐอเมริกา เปน็ สัญลักษณ์ของ เชน่ สหรฐั อเมริกา ฟิลปิ ปินส์ อินโดนีเซยี การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยในระบบประธานาธบิ ดีสําคญั ดังนี้ 3) การปกครองระบอบประชาธิปไตยในระบบถงึ ประธานาธิบดถี ึงรฐั สภา มอี งค์ประกอบ 3.1) ประมุขของรัฐ ประธานาธิบดีอยู่ในฐานะประมุขของรัฐมาจากการเลือกตั้งจาก ประชาชน ร่วมบริหารประเทศกับคณะรัฐมนตรีในฐานะประธานที่ประชุมคณะรัฐมนตรี ซ่ึงเท่ากับว่า ประธานาธิบดีเป็นผู้นําฝ่ายบริหารอีกตําแหน่งด้วย เนื่องจากเป็นผู้มีอํานาจกําหนดนโยบายทาง การเมืองในด้านต่าง ๆ เช่น การปกครอง การต่างประเทศ การทหาร รวมถึงนโยบายสําคัญอ่ืน ๆ วาระการดํารงตําแหน่งของประธานาธิบดีในแต่ละประเทศอาจแตกต่างกัน เช่น ประเทศฝรั่งเศส และเกาหลใี ตม้ ีวาระ 5 ปี หรือในศรีลังกามวี าระ 6 ปี 3.2) คณะรัฐมนตรี ประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ได้รับการแต่งต้ังจาก ประธานาธิบดี และประธานาธิบดีมีอํานาจถอดถอนผู้ดํารงตําแหน่งดังกล่าวออกจากตําแหน่งได้ นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีอํานาจในการบริหารประเทศอย่างแท้จริง โดยมีนายกรัฐมนตรีเป็น หัวหน้ารัฐบาล และมีรัฐมนตรที ําหนา้ ทร่ี ับผดิ ชอบต่อรฐั สภา 3.3) รัฐสภา เป็นสภานิติบัญญัติท่ีมาจากการเลือกต้ังโดยประชาชน โดยทั่วไปจะเป็น ระบบสองสภา ทําหน้าท่ีออกกฎหมายและควบคมุ ฝ่ายบรหิ ารหรือรัฐมนตรี 3.4) หลกั การใชอ้ ํานาจ ประกอบดว้ ยหลัก 2 ประการ ดงั น้ี 1. หลักการแยกอํานาจ เป็นการแยกอํานาจระหว่างประธานาธิบดีในฐานะฝ่าย บริหารกบั รฐั สภาในฐานะฝา่ ยนติ ิบญั ญัติ 2. หลักการเชื่อมโยงอํานาจ คือ การที่นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีซึ่งทําหน้าที่ ฝ่ายบริหารมาจากการแต่งตั้งของประธานาธิบดีโดยผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา และรัฐสภามี อาํ นาจควบคมุ การบรหิ ารของคณะรฐั มนตรีควบค่ไู ปกบั การทําหนา้ ทใ่ี นฝา่ ยนติ ิบญั ญตั ิ ประเทศทใ่ี ชก้ ารปกครองในรูปแบบน้ี เช่น มองโกเลยี ฝรัง่ เศส 1.2 การปกครองระบอบเผด็จการ การปกครองระบอบเผด็จการเป็นการปกครองภายใต้อํานาจของผู้นําเพียงคนเดียว หรือกลุ่มชนช้ันนําเพียงกลุ่มเดียว ประชาชนถูกจํากัดสิทธิเสรีภาพและการมีส่วนร่วมในการปกครอง โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 11 การแบ่งรูปแบบการปกครองแบบเผด็จการโดยพิจารณาจากขอบเขตการใช้อํานาจ แบ่งเป็น 2 รปู แบบ ไดแ้ ก่ เผด็จการอํานาจนิยมและเผดจ็ การแบบเบ็ดเสร็จ ดงั น้ี เผด็จการอาํ นาจนยิ ม เกิดจากตัวผู้นําหรือณะบุคคลที่อาศัยกําลังอํานาจหรือการสนับสนุนจากกองทัพ เข้า ทําการยึดอํานาจจากรัฐบาลเดิม การออกคําส่ังของคณะรัฐประหารเป็นเหมือนกฎหมายในการ ปกครองประเทศ การเขา้ ไปมอี ํานาจ ลกั ษณะการปกครอง ㆍ ผู้นํา คณะบุคคลที่มีอํานาจได้รับการ ㆍ มุ่งควบคุมกิจกรรมทางการเมืองเป็นหลัก ไม่ สนับสนุนจากกองทัพเข้ายึดอํานาจจากรัฐบาล เปิดกว้างในด้านสิทธิมนุษยชน การมีส่วนร่วม เดิม ของประชาชน เสรภี าพของประชาชน ㆍ ไม่มีการควบคุมสถาบันทางสังคม สามารถ ผนู้ ํา ทํากิจกรรมต่าง ๆ ได้ปกติแต่ต้องไม่สร้างความ ㆍ มีอํานาจตัดสินใจในการปกครองและบริหาร กระทบกระเทือนต่อภาพลักษณ์หรือเสถียรภาพ เพียงผ้เู ดยี ว ทางการเมืองของรัฐบาล ㆍ ใช้อํานาจควบคุมการปกดรอง การบริหาร ㆍ ใช้อํานาจรัฐแทรกแซงองค์กรหรือหน่วยงาน ประเทศ ต่าง ๆ ท่บี ่นั ทอนความม่ันคงของรัฐบาล ㆍ ควบคมุ กระบวนการยุตธิ รรม ㆍ ควบคุมกระบวนการยุติธรรม โดยสามารถ ดําเนินการได้ แต่อาจมีการประกาศกฎเพ่ิมเดิม เพ่ือดวามสงบสุข เผดจ็ การแบบเบ็ดเสรจ็ เกิดจากแนวคิดหรืออุดมการณ์ของผู้นําในการปกครองประเทศ เนhนรวบอํานาจการ ปกครองทั้งหมดขึ้นกับผู้นําหรือชนชั้นนําเพียงฝ่ายเดียวอย่างเด็ดขาด ได้แก่ กิจกรรมทางการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สงั คมและวฒั นธรรม การเขา้ ไปมอี ํานาจ ลักษณะการปกครอง ㆍ เกิดจากแนวคิด อุดมการณข์ องผู้นําในการ ㆍ ยึดมน่ั ในอดุ มการณข์ องผนู้ ําและต้องปฏิบตั ิ ปกครองประเทศ ตามอย่างเคร่งครดั ประชาชนต้องใหก้ ารยกยอ่ ง ผ้นู ํา หากฝา้ ฝืนจะถกู ลงโทษอย่างรุนแรง โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 12 ผนู้ ํา ㆍ มีพรรคการเมืองเพียงพรรคเดียว โดยถือว่า ㆍ มีอุดมการณ์แนวคิดทางการเมืองแบบรวม เป็นพรรคมวลชนมีกระบวนการถ่ายโอนอํานาจ อํานาจเบ็ดเสร็จ ท้ังด้านการเมืองการปกครอง ภายในพรรค ประชาชนไม่สามารถมีส่วนร่วม เศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม ตดั สินใจได้ ㆍ มีการผูกขาดและแทรกแซงสื่อมวลชน เพ่ือ ป้องกันการแพรข่ อ้ มูล ข่าวสารที่ขัดต่ออุดมการณ์ผู้นํา โดยรัฐบาลจะใช้ ส่อื มวลชนในการ ㆍ โฆษณาชวนเชื่อแนวคิด นโยบายต่างๆ มุ่งเน้นหลักกําลังอํานาจ ให้ความสําคัญกับการ เสรมิ ความแข็งแกรง่ ใหก้ องทัพ การปกครองระบอบเผด็จการแบบเบ็ดเสรจ็ จาํ แนกออกเป็น 2 รปู แบบ ดงั น้ี เผด็จการฟาสซิสต์ เกิดข้ึนคร้ังแรกในประเทศอิตาลีโดยเบนีโต มุสโสลินี เป็นผู้นําในช่วงท่ี ประเทศมีการเปลี่ยนแปลงทางสังคมสู่ระบบอุตสาหกรรม มุสโสลินี นํานโยบายการโฆษณาชวนเชื่อ และสร้างภาพลักษณ์ให้ยึดม่ันในตัวผู้นําท่ีจะนําประเทศไปรอด โดยถือว่า\"ถ้าเช่ือผู้นําชาติไม่แตก สลาย\" นันความรักชาติหรือชาตินิยมท่ีรุนแรง ส่งเสริมกลุ่มนายทุน มีความเชื่อว่าสงครามเป็นส่ิงท่ี ชอบธรรม อดอล์ฟ ฮิตเลอร์ ได้นําแนวคิดของระบอบฟาสซิสต์มาใช้ปกครองประเทศเยอรมนี แต่จะมี ลักษณะเฉพาะตัวท่ีเน้นความเป็นชาตินิยม ปลูกฝังให้ประชาชนมีความศรัทธา เคารพเช่ือฟังผู้นํา ปลูกจิตสํานึกให้มีความภาคภูมิใจในชาติ มีความเชื่อม่ัน ว่าชาติของตนมีความสมบูรณ์แบบที่สุด เหมาะสมท่ีจะเปน็ ผนู้ าํ ของโลกในอนาคต เผด็จการคอมมิวนิสต์ เหมา เจ๋อตง เป็นผู้นําหลักการคอมมินิสต์มาปฏิวัติประเทศจีน โดยมี พ้ืนฐานมาจากลัทธิมากซ์-เลนินนิสต์ (Marxism-Leninism) เน้นหลักการคอมมิวนิสต์ท้ังนโยบาย ปฏิวัติตลอดกาล ทฤษฎีความขัดแย้ง และแนวทางปฏิวัติของชนชั้นกรรมาชีพ โดยให้ความสําคัญกับ การใช้ชาวนาเป็นกําลังหลักในการต่อสู้ทางชนชั้น รัฐบาลได้ยึดที่ดินทํากินของเอกชนมาเป็นของ รัฐบาล และใช้ระบบการผลิตแบบนารวม หรือระบบคอมมูน (Commune) ชาวนามีฐานะเป็น แรงงานของรัฐโดยได้รับผลตอบแทนเท่ากันการปกครองระบอบเผด็จการมีรูปแบบท่ีแตกต่างกัน ออกไป แต่มีลักษณะร่วมกันที่มีความคล้ายคลึงกัน เช่น มีการจํากัสิทธิเสรีภาพของประชาชน ไม่ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 13 คํานึงถึงหลักสิทธิมนุษยชนไม่ต้องการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครอง ให้ความสําคัญ กับผู้นํา ไม่มีการตรวจสอบและถ่วงดุลอํานาจ ไม่มีการกําหนดระยะเวลาการอยู่ในอํานาจ มีการ นําเสนอข้อมูลข่าวสารเก่ียวกับผลงานของผู้นํา ผู้นําสูงสุดมาจากการสืบทอดอํานาจหรือพรรค การเมืองท่ีใหญ่ที่สุดผูกขาดอํานาจเช่น ผู้นําสูงสุดของจีนมาจากพรรคคอมมิวนิสต์ เกาหลีเหนือมา จากพรรดแรงงานซึ่งเป็นพรรคใหญ่ท่ีสุด เวียดนามมาจากพรรคคอมมิวนิสต์และความเห็นชอบของ สภาแหง่ ชาตเิ วียดนาม และผนู้ าํ สูงสุดของลาวมาจากการเลือกต้ังของสมาชิกสภาแหง่ ชาติ 1.3 การปกครองระบอบสมบูรณาญาสิทธริ าชย์ ระบอบการปกครองที่มีกษัตริย์เป็นผู้ปกครองและมีสิทธ์ิขาดในการบริหารประเทศ ประเทศที่ใช้ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในปัจจุบัน เช่น ประเทตบรูไน ปกครองด้วยระบบสุลต่าน โดยองค์สุลด่านมีอํานาจเด็ดขาดเพียงผู้เดียว มีฐานะเป็นสมเด็จพระราชาธิบดี และเป็นประมุขสูงสุด ของประเทศ ดํารงตําแหน่งนายกรัฐมนตรี เป็นหัวหน้ารัฐบาลในการบริหารประเทศ มีลักษณะเด่น คือ ความเป็นเอกภาพและภราดรภาพของประชาชน ประชาชนจะเคารพต่อสุลต่าน ซึ่งสอดคล้องกับ หลักการของศาสนาอิสลามท่ีเคารพเช่ือฟังผู้นํา ประเทศซาอุดีอาระเบีย มีพระมหากษัตริย์เป็น ประมุขของรัฐ เป็นผู้นําศาสนา มีมกุฎราชกุมารเป็นผู้สืบราชบัลลังก์ พระมหากษัตริย์ทรงมีพระราช อํานาจสูงสุดในการบริหาร การปกครองและการทหารนอกจากนี้ ยังมีประเทศอ่ืนที่ปกครองด้วย ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ เชน่ โอมาน เอสวาตนิ ี กาตาร์ นครรฐั วาตกิ ัน 1.4 การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของไทย ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ พระมหากษัตริย์ทรงอยู่เหนือการเมืองและ ทรงใช้อํานาจอธิปไตยแทนประชาชน ได้แก่ ทรงใช้อํานาจนิติบัญญัติผ่านทางรัฐสภา อํานาจบริหาร ผ่านทางคณะรฐั มนตรี และอํานาจตุลาการผา่ นทางศาล โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 14 รูปที่ 7.1 1) การใช้อํานาจนิติบัญญัติทางรัฐสภา รัฐสภาไทยประกอบด้วย 2 สภา คือ สภา ผู้แทนราษฎรและวุฒสิ ภา โดยสมาชิกสภาผ้แู ทนราษฎรมาจากการเลอื กตง้ั จากประชาชนทั่วประเทศ แบบแบ่งเขตเลือกต้ังและจากบัญชีรายชื่อของพรรคการเมือง ส่วนวุฒิสภามาจากการเลือกกันเอง ของผู้ท่ีมีความรู้ความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์อาชีพ หรือการทํางานด้านต่าง ๆ ที่หลากหลายของ สงั คม รฐั สภามีอํานาจหน้าที่ ดังนี้ 1.1) เสนอชื่อบุคคลเป็นนายกรัฐมนตรี เป็นหน้าที่ของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรโดย บุคคลที่ได้รับการแต่งตั้งเป็นนายกรัฐมนตรีตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน (รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560) จะต้องเป็นผู้ท่ีได้รับความเห็นชอบด้วยคะแนนเสียงมากกว่า กงึ่ หน่งึ ของจํานวนสมาชกิ ทั้งหมดเทา่ ท่มี ีอยขู่ องสภาผู้แทนราษฎร 1.2) หน้าที่ในการตรากฎหมาย เป็นการทําหน้าท่ีร่วมกันของสภาผู้แทนราษฎรและ วุฒิสภา แต่ผู้มีอํานาจในการริเร่ิมการตรากฎหมาย คือ สภาผู้แทนราษฎร เมื่อสภาผู้แทนราษฎรมีมติ ผ่านร่างกฎหมายนั้นแล้ว หากวุฒิสภาเห็นว่าร่างกฎหมายนั้นดีแล้ว ก็มีมติให้ผ่านร่างกฎหมายแต่หาก เห็นว่ากฎหมายนั้นยังมีข้อบกพร่อง ก็จะมีมติให้แก้ไข แต่หากเห็นว่ากฎหมายไม่สมควรที่จะ ประกาศใช้ วฒุ สิ ภากม็ อี ํานาจยบั ยง้ั ร่างกฎหมายนั้นตามช่วงเวลาท่รี ฐั ธรรมนญู กําหนดไว้ โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 15 1.3) ถ่วงดุลอํานาจระหว่างกัน โดยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรมีสิทธิตั้งกระทู้ถาม คณะรัฐมนตรีหรือขอเปิดอภิปรายท่ัวไปเพ่ือลงมติไม่ไว้วางใจนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรีส่วน วุฒิสภามีสิทธิขอเปิดอภิปรายท่ัวไปเพ่ือให้คณะรัฐมนตรีแถลงข้อเท็จจริง และมีสิทธิตั้งกระทู้ถามการ บริหารราชการของคณะรฐั มนตรี 2) การใช้อํานาจบริหารทางคณะรัฐมนตรี พระมหากษัตริย์ทรงแต่งต้ังนายกรัฐมนตรีและ รัฐมนตรี มีหน้าท่ีบริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกัน มีอํานาจหน้าท่ีสําคัญใน การบริหารประเทศ ดงั น้ี 2.1) กําหนดนโยบาย ในการบริหารราชการแผ่นดินและบริหารราชการแผ่นดินให้ เป็นไปตามนโยบายท่แี ถลงไวต้ อ่ รฐั สภา 2.2) รักษากฎหมายและความสงบเรียบร้อย เพ่ือให้ประชาชนได้รับความปลอดภัย และสามารถดําเนนิ ชีวติ ไดอ้ ยา่ งสงบสุข 2.3)กํากับดูแลการทํางานของกระทรวงด่าง 1 เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายรัฐบาล รวมถึงควบคุมข้าราชการ เพือ่ ใหข้ า้ ราชการประจํานํานโยบายไปปฏิบัติให้เกิดผลดี 2.4) ประสานงานกับกระทรวงต่าง ๆ ท่ีมีการทํางานร่วมกัน เพ่ือให้ดําเนินงานไปได้ อย่างสอดคลอ้ งและมีประสิทธิภาพ 2.5) ออกมติต่าง ๆ เพื่อให้กระทรวงและกรมถือปฏิบัติ เพราะคณะรัฐมนตรีเป็น ผู้บริหารสูงสุดในแต่ละกระทรวง ทําหน้าท่ีออกระเบียบข้อบังคับ พิจารณาวินิจฉัยช้ีขาด และลงมติ เรอ่ื งตา่ ง ๆ ตามทแี่ ตล่ ะกระทรวงเสนอมา 2.6) กํากับและดูแลการบริหารราชการส่วนภูมิภาค เพ่ือให้นํานโยบายและภารกิจของ รัฐบาลจากส่วนกลางไปปฏิบัติในจังหวัดให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนอย่างเท่าเทียมรวดเร็ว และมี คุณภาพ 3) การใช้อํานาจตุลาการทางศาล ศาลทําหน้าที่ให้ความยุติธรรมแก่ประชาชนในการ พิพากษาคดี ใหเ้ ปน็ ไปตามกฎหมายดว้ ยความยตุ ิธรรม ศาลไทยมี 4 ประเภท ดงั น้ี ศาลยตุ ิธรรม - พจิ ารณาพิพากษาคดีท้งั ปวง ยกเว้นคดที ี่รัฐธรรมนญู กาํ หนดให้อยใู่ นศาลอ่ืน - ศาลชัน้ ต้น เปน็ ศาลแรกในการดาํ เนนิ คดี เช่น คดแี พ่ง คดอี าญา - ศาลอทุ ธรณ์ พิจารณาคดีแพ่งและคดอี าญาท่ีมกี ารอุทธรณจ์ ากศาลชั้นตน้ ศาลฎีกา พิจารณาดดีขั้นสุดท้าย ถือว่าส้ินสุดคดีตาลฎีกาแบ่งออกเป็นแผนกต่าง ๆ เช่น ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองทําหน้าที่พิจารณาพิพากษาคดีผู้ดํารง ตําแหน่งทางการเมือง เช่น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 16 ข้าราชการทางการเมืองที่ถูกกล่าวหาว่าร่ํารวยผิดปกติ กระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าท่ีราชการ ตามประมวลกฎหมายอาญา หรือกระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่หรือทุจริตต่อหน้าที่ตามกฎหมาย อ่ืน รวมทั้งกรณีบุคคลอื่นท่ีเป็นตัวการ ผูใ้ ชห้ รือผู้สนับสนนุ ศาลรฐั ธรรมนญู พิจารณาวินิจฉัยข้อกฎหมายในรัฐธรรมนูญว่ามีข้อขัดแย้งกับรัฐธรรมนูญหรือไม่ เช่น ร่าง พระราชบัญญัติประกอบรัฐธรรมนูญ พิจารณาความขัดแย้งเก่ียวกับอํานาจหน้าที่ระหว่างรัฐสภา คณะรัฐมนตรี หรือองค์กรตามรัฐธรรมนูญท่ีไม่ใช่ศาล และกรณีอ่ืนตามที่รัฐธรรมนูญและ พระราชบญั ญัติประกอบรัฐธรรมนูญบญั ญัตไิ ว้ ศาลปกครอง พิจารณาพิพากษาคดีปกครอง เป็นคดีพิพาทระหว่างหน่วยงานราชการหน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หรือเจ้าหน้าที่รัฐกับเอกชน หรือระหว่างหน่วยงานราชการ หน่วยงานรัฐ รัฐวิสาหกิจ องค์กรปกครองส่วนท้องถ่ิน หรือเจ้าหน้าที่รัฐด้วยกัน อันเนื่องมาจากการ ใช้อํานาจปกครอง หรือจากการดําเนินกิจการทางปกครองของหน่วยงานดังกล่าวหรือเจ้าหน้าท่ีรัฐ ตามทกี่ ฎหมายบญั ญัติ ศาลทหาร พิจารณาพิพากษาคดีอาญาซ่ึงผู้กระทําผิดเป็นบุคคลที่อยู่ในอํานาจศาลทหารและคดีอื่น ตามทก่ี ฎหมายบัญญัติ 4) ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย์ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยมี บทบัญญัติว่า \"ประเทศไทยมีการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข\" และ \"อํานาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย พระมหากษัตริย์ผู้ทรงเป็นประมุขทรงใช้อํานาจนั้นทาง รัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ\" ดังนั้นพระมหากษัตริย์ของไทยจึง ทรงอยู่เหนือการเมอื ง ทรงมีฐานะและพระราชอํานาจตามรฐั ธรรมนญู ดังนี้ 4.1) ทรงอยู่ในฐานะประมุขของประเทศ ทรงใช้อํานาจอธิปไตยผ่านทางรัฐสภา คณะรัฐมนตรี และศาล ตามทีร่ ฐั ธรรมนญู บัญญัติ 4.2) ทรงเป็นพุทธมามกะและทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภก ในสังคมไทยมีคนอยู่ร่วมกัน หลากหลายศาสนา พระมหากษัตริย์ทรงทํานุบํารุงอุปถัมภ์คํ้าชูทุกศาสนาท่ีคนไทยนับถือ ทําให้อยู่ รว่ มกันอย่างสนั ตสิ ุข 4.3) ทรงดํารงตําแหน่งจอมทัพไทย ทรงเป็นขวัญและกําลังใจให้เหล่าทหารในการทํา หน้าที่ปอ้ งกันประเทศชาติ โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 17 4.4) ทรงเป็นกลางและทรงอยู่เหนือการเมือง หมายถึง ไม่ทรงสนับสนุนนักการเมือง คนใดคนหนึ่งหรือพรรคการเมืองใดพรรคการเมืองหนึ่ง แต่พระองค์จะทรงใช้พระราชอํานาจในการ แนะนํา ตักเตือน รวมถึงให้กําลังใจนักการเมืองและประชาชนชาวไทยให้ทําหน้าที่ของตนอย่าง ซ่อื สัตย์สจุ ริต เพื่อประโยชนส์ ว่ นรวมของประเทศชาติ 4.5) ทรงดํารงอยู่ในฐานะอันเป็นท่ีเคารพสักการะ ผู้ใดจะละเมิด กล่าวหา หรือ ฟ้องร้องพระมหากษัตริย์ในทางใด ๆ มิได้ นอกจากนี้ ยังทรงไว้ซ่ึงพระราชอํานาจท่ีจะสถาปนาพระ ฐานันดรศกั ดิแ์ ละพระราชทานเครือ่ งราชอสิ ริยาภรณ์ 4.6) ทรงเป็นตัวแทนของปวงชนชาวไทย ในการติดต่อกับประมุขของแต่ละประเทศ โดยจะทรงแต่งต้ังเอกอัครราชทูตไปประจําประเทศต่าง ๆ นอกจากน้ี ยังทรงปฏิบัติพระราชกรณียกิจ ต้อนรับบรรดาประมุขของประเทศต่าง ๆ และคณะทูต เพ่ือการเจริญสัมพันธไมตรีกับประเทศต่าง ๆ ทวั่ โลก 4.7) ทรงเป็นเอกลักษณ์และศูนย์รวมแห่งความสามัคดี สถาบันพระมหากษัตริย์อยู่คู่ สังคมไทยมายาวนาน เป็นศูนย์รวมจิตใจ ความรัก ความสามัคคีของคนในชาติ พระราชกรณียกิจของ พระมหากษัตริย์ล้วนสะท้อนถึงความเป็นชาติร่วมกันของคนไทย ทําให้คนไทยเกิดสํานึกในความเป็น อนั หนึ่งอันเดยี วกัน 2. เปรยี บเทยี บการปกครองของไทยกับประเทศทปี่ กครองแบบประชาธปิ ไตย ในปัจจุบันมีหลายประเทศท่ีปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตย แต่ก็มีความแตกต่างกันใน รายละเอียด ในท่ีน้ียกตัวอย่างเปรียบเทียบการปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศในทวีป เอเชีย ๔ ประเทศ ซึ่งมีวัฒนธรรมและวิถีการดําเนินชีวิตคล้ายคลึงกัน ได้แก่ ราชอาณาจักรไทย มาเลเซีย สาธารณรัฐฟิลิปปีนส์ และสาธารณรัฐสิงคโปร์ โดยวิเคราะห์โครงสร้างทางการปกครองท่ี สําคญั ดงั น้ี โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 18 รปู ที่ 7.2 โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 19 รปู ท่ี 7.3 การปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยกับประเทศอ่ืน ๆ ในโลก มีทั้งความ เหมือนและความแตกต่างกันในรายละเอียดตามบริบทของแต่ละประเทศ ท้ังน้ี ได้ยึดหลักการ เดียวกัน คือ การให้ความสําคัญตามหลักสิทธิมนุษยชน การมีสิทธิเสรีภาพและความเสมอภาค และ การมีส่วนร่วมของประชาชน อย่างไรก็ตาม ในหลายประเทศรวมทั้งประเทศไทยยังคงมีปัญหาความ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 20 วุ่นวายทางการเมือง การรัฐประหารยึดอํานาจ และการทุจริตคอร์รัปชัน ทําให้การเมืองไม่มี เสถียรภาพส่งผลกระทบตอ่ การพฒั นาทางการเมอื งการปกครองและการพฒั นาประเทศ 3. รัฐธรมนูญฉบับปัจจุบันกับการเลือกต้ัง การมีส่วนร่วมของประชาชน และการ ตรวจสอบอํานาจรฐั รัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศ โดยรัฐธรรมนูญทุกฉบับได้ให้ ความสําคัญต่อแนวทางการปฏิบัติ การดําเนินงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับการเมืองการปกครอง เพ่ือให้มี แบบแผนชัดเจนและเกิดประสิทธิภาพสูงสุด ปัจจุบันประเทศไทยประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช 2560 เป็นฉบับที่ 20 ได้มีบทบัญญัติเก่ียวกับการเลือกตั้ง การมีส่วน รว่ มทางการเมอื งของประชาชน และการตรวจสอบการใช้อํานาจรฐั ดังน้ี 3.1 การเลือกต้งั การไปเลือกต้ังเป็นหน้าที่ของคนไทยทุกคนที่มีสิทธิเลือกตั้ง เม่ือมีอายุไม่ต่ํากว่า 18 ปี ในวันเลือกต้ัง ทั้งเลือกตั้งในระดับท้องถ่ินและระดับประเทศ โดยมีคณะกรรมการการเลือกต้ัง (กกต.) เป็นผู้ดาํ เนินการจดั การเลือกตัง้ อยา่ งยุติธรรมและโปร่งใส 1) ลักษณะของการเลือกต้ัง การเลือกต้ังช่วยส่งเสริมให้การปกครองระบอบ ประชาธิปไตยดาํ เนินไปอยา่ งราบรนื่ และมีเสถียรภาพ จะตอ้ งมลี กั ษณะ ดงั นี้ 1. เป็นการเลือกตั้งที่ให้สิทธิเสรีภาพแก่ประชาชนอย่างเต็มที่ และเป็นไปตาม กาํ หนดเวลาทบี่ ัญญตั ไิ วใ้ นรฐั ธรรมนูญ 2. เป็นการเลือกต้ังท่ีใช้วิธีออกเสียงลงคะแนนโดยตรงและลับ คือ การท่ีประชาชน ผู้มีสิทธิเลือกตั้งลงคะแนนเสียงด้วยตนเอง เพ่ือเลือกคนที่ตนเองเห็นว่ามีความเหมาะสม โดยไม่ เปดิ เผยให้ผู้อืน่ ทราบวา่ ได้ลงคะแนนให้ใคร พรรคใด 3. มีการโฆษณาประชาสัมพันธ์ตามส่ือต่าง ๆ เชิญชวนให้ประชาชนไปใช้สิทธิ เลือกตั้งอย่างพร้อมเพรียง เป็นท่ีน่าสังเกตว่าในหลายประเทศรวมถึงประเทศไทย ได้กําหนดให้การ เลอื กตงั้ เป็นหน้าทข่ี องประชาชน ซ่งึ ถ้าหากผู้ใดไม่ไปเลอื กต้งั กจ็ ะเสียสทิ ธบิ างประการ 4. เป็นการเลือกตั้งที่มีความยุติธรรมต่อบุคคลทุกฐานะ ทุกคนต่างมีสิทธิเท่าเทียม กันในการออกไปใช้สิทธิเลือกตั้ง การเลือกต้ังจะต้องดําเนินไปอย่างบริสุทธ์ิและโปร่งใส ดังน้ัน ใน หลายประเทศรวมถึงประเทศไทยจึงได้กําหนดให้มีคณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.) เป็น ผู้ดําเนินการจัดการเลือกต้ัง ควบคุมดูแลค่าใช้จ่ายต่าง ๆ ในการเลือกตั้ง และตรวจสอบให้การ เลือกตั้งมีความบริสุทธ์ิ โปร่งใส และเที่ยงธรรม หากก่อนการประกาศผลการเลือกตั้ง คณะกรรมการ การเลือกต้ังเห็นว่าการเลือกต้ังน้ันไม่โปร่งใสหรือมีการดําเนินการอย่างทุจริต ก็มีอํานาจในการสั่งให้ นบั คะแนนใหม่หรอื ทําการเลือกตั้งใหม่ได้ หากมีหลกั ฐานอ่นื ควรเชือ่ ไดว้ ่ามกี ารทจุ ริตการเลอื กต้ัง โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 21 2) การเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน รัฐธรรมนูญ กําหนดใหม้ ีจํานวนสมาชกิ สภาผแู้ ทนราษฎรจํานวน 500 คน มาจากการเลอื กตั้ง 2 แบบ ได้แก่ รปู ที่ 7.4 โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 22 รปู ที่ 7.5 โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 23 3.2 การมีส่วนรว่ มทางการเมอื งของประชาชน การปกครองระบอบประชาธิปไตยเป็นการปกครองเพ่ือให้ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่าง เสมอภาคเท่าเทียมกันอย่างมีความสุข ดังน้ัน การมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของประชาชน จึงมคี วามสาํ คญั อย่างยง่ิ รฐั ธรรมนญู ฉบับปจั จุบันจงึ ไดบ้ ัญญัตกิ ารมีส่วนรว่ มของประชาชน ดงั น้ี 1. ประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมโดยตรงในการเสนอกฎหมายและนโยบาย เช่น กําหนดให้การไปใช้สิทธิเลือกตั้ง การลงประชามติ เป็นหน้าที่ของคนไทยที่ต้องมีหน้าท่ีไปใช้สิทธิ สามารถเลือกลงมติได้อยา่ งอิสระ โดยคํานงึ ถงึ ผลประโยชน์ของประเทศเป็นสาํ คญั 2. ประชาชนและชุมชนมีสิทธิเข้าชื่อเพ่ือเสนอแนะต่อหน่วยงานของรัฐ ให้ดําเนินการ ท่ีเป็นประโยชน์ต่อประชาชนหรือชุมชน หรืองดเว้นไม่ดําเนินการสิ่งที่จะก่อให้เกิดผลเสียต่อ ประชาชน ชุมชน และหน่วยงานรัฐต้องพิจารณาข้อเสนอแนะนั้นโดยให้ประชาชนมีส่วนร่วม พิจารณาด้วย 3. ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ ฟ้ืนฟู และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศลิ ปวฒั นธรรม และจารตี ประเพณอี ันดีงาม 4. ส่งเสริมให้ประชาชนและชุมชนท้องถ่ินมีส่วนร่วมในการดําเนินการ และได้รับ ประโยชนใ์ นการคมุ้ ครอง บาํ รุงรักษาฟืน้ ฟทู รพั ยากรธรรมชาติ 5. สง่ เสริมใหป้ ระชาชนรว่ มรณรงค์ ป้องกันต่อตา้ นการทุจริต และซเี้ บาะแสการทุจริต 6. ส่งเสริมให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการพัฒนาประเทศด้านต่าง ๆ การจัดทําบริการ สาธารณะ การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐ การต่อต้านการทุจริต รวมท้ังการตัดสินใจทางการเมือง และการอ่ืน ๆ ทอ่ี าจมีผลกระทบตอ่ ประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชนท่ีกล่าวมา แสดงให้เห็นได้อย่างชัดเจนว่า รัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทยให้ความสําคัญต่อการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชนเป็นอย่างมากซึ่งเป็น การส่งเสรมิ การมีส่วนรว่ มทางการปกครองระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จรงิ 3.3 การตรวจสอบการใช้อาํ นาจรัฐ การตรวจสอบการใช้อํานาจรัฐตามรัฐธรรมนูญเป็นการใช้อํานาจตุลาการในการ พิพากษาคดีและการทําหน้าท่ีขององค์กรอิสระในการตรวจสอบความถูกต้องของการทําหน้าที่ บริหารราชการแผ่นดินของรัฐและผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ให้เป็นไปตามรัฐธรรมนูญและ คุ้มครองสิทธิเสรีภาพของประชาชน แบ่งออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ การตรวจสอบทรัพย์สิน การ ตรวจสอบการกระทําท่ีเป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ การถอดถอนผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ออกจากตาํ แหนง่ และการดาํ เนินคดีอาญาผู้ดาํ รงตําแหนง่ ทางการเมือง โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 24 การตรวจสอบทรัพย์สิน ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง เช่น นายกรัฐมนตรี รัฐมนตรี สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร สมาชิกวุฒิสภา ผู้บริหารท้องถ่ิน และสมาชิกสภาท้องถ่ิน เช่น นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัด นายกองค์การบริหารส่วนตําบล นายกเทศมนตรี ประธานสภาจังหวัด มีหน้าท่ีย่ืนบัญชีแสดงรายการ ทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่สมรส และบุตรที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ ต่อคณะกรรมการป้องกันและ ปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ (ป.ป.ช.) ทุกครัง้ ท่ีเขา้ รบั ตาํ แหน่งหรอื พน้ ตําแหน่ง การตรวจสอบการกระทําที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง จะต้องไม่กระทําการที่เป็นการขัดกันแห่งผลประโยชน์ โดยไม่กระทําการดังต่อไปนี้ เช่น สมาชิกสภา ผู้แทนราษฎรและสมาชิกวุฒิสภาต้องไม่ใช้สถานะหรือตําแหน่งทางการเมืองเข้าไปก้าวก่ายหรือ แทรกแซงเพื่อผลประโยชน์ของตนเอง ของผู้อื่น หรือของพรรคการเมือง ไม่ว่าโดยทางตรงหรือ ทางออ้ มเชน่ การปฏบิ ตั ริ าชการ หรือการดําเนนิ งานในหน้าทปี่ ระจาํ ของข้าราชการ การดําเนินคดีอาญาผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองท่ีมี พฤติกรรมรํ่ารวยผิดปกติส่อไปในทางทุจริตต่อหน้าท่ี ส่อว่ากระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ราชการ ส่อว่ากระทําความผิดต่อตําแหน่งหน้าที่ในการยุติธรรม ส่อว่าจงใจใช้อํานาจหน้าท่ีขัดต่อบทบัญญัติ แห่งรัฐธรรมนูญหรือกฎหมาย หรือฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานทางจริยธรรมอย่างร้ายแรง โดย คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.)มีอํานาจไต่สวนและเสนอเรื่องต่อ อัยการสูงสุด เพื่อฟ้องคดีต่อศาลฎีกาแผนกคดีทางอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมือง หรือเสนอ เรือ่ งต่อศาลฎกี าแล้วแต่กรณี ท้ังนี้ ศาลฎีกาแผนกคดีอาญาของผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองมีอํานาจพิจารณาคดีบุคคลที่ เป็นตัวการ ผู้ใช้ ผู้สนับสนุน ผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองในการกระทําผิดทางอาญาข้างต้น รวมท้ัง ผู้ให้ ผู้ขอให้หรือรับว่าจะให้ทรัพย์สิน หรือประโยชน์อ่ืนให้กับผู้ดํารงตําแหน่งทางการเมืองดังกล่าว เพ่อื จูงใจใหก้ ระทําการไมก่ ระทําการ หรือประวิงการกระทาํ อันมิชอบต่อหนา้ ที่ 3.4 บทบญั ญัติเกย่ี วกบั รัฐบาล รัฐบาลประกอบด้วยนายกรัฐมนตรีเป็นผู้นํารัฐบาลและรัฐมนตรีอ่ืนอีกไม่เกิน 35 คน ประกอบเป็นคณะรัฐมนรี มีหน้าที่บริหารราชการแผ่นดินตามหลักความรับผิดชอบร่วมกันรัฐบาลจึง เป็นส่วนสําคัญอยา่ งยิ่งในการปกครองประเทศให้เจริญกา้ วหน้าตอ่ ไป 1) ดวามจําเป็นในการมีรัฐบาลตามระบอบประชาธิปไตย ทุกประเทศในโลกอาจมีการ ปกครองในระบอบที่แตกต่างกันออกไป แต่ไม่ว่าประเทศเหล่าน้ันจะปกครองด้วยระบอบใดก็ตามก็ จําเป็นที่จะต้องมีรัฐบาลเพื่อบริหารบ้านเมือง โดยเฉพาะอย่างย่ิงในการปกครองระบอบ ประชาธิปไตย รัฐบาลมีความจําเป็นอย่างมากเพื่อขับเคล่ือนในการบริหารประเทศและนําพา โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 25 ประเทศชาติไปสู่ความเจริญก้าวหน้าต่อไป ซ่ึงรัฐบาลที่ดีนั้นจะต้องมีนโยบายที่เป็นประโยชน์ต่อ ความเป็นอยู่และคุณภาพชีวิตของประชาชนทั่วไป เป็นรัฐบาลท่ีไม่ทุจริตและมีความมุ่งม่ันในการ พัฒนาประเทศอย่างแทจ้ ริง 2) อํานาจหน้าที่และบทบาทของรัฐบาลในการบริหารประเทศ รัฐบาลมีหน้าท่ีในการ ใช้อํานาจบริหารในการบริหารประเทศให้มีความสงบเรียบร้อย ประชาชนมีความสุข มีการจัดทํา ยุทธศาสตร์ชาติเป็นเป้าหมายการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืนตามหลักธรรมาภิบาล เพ่ือใช้เป็นกรอบ ในการจัดทําแผนพัฒนาต่าง ๆ ให้สอดคล้องและบูรณาการกัน โดยรัฐธรรมนูญฉบับปจั จบุ ันได้บญั ญัติ หนา้ ที่และแนวนโยบายแหง่ รฐั ในการบริหารประเทศ สรปุ ได้ ดงั นี้ 2.1) ด้านความมั่นคงและการบังคับใช้กฎหมาย รัฐต้องรักษาไว้ซึ่งการปกครอง ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข ดูแลให้การปฏิบัติตามกฎหมายและการ บังคับใช้กฎหมายมีความเคร่งครัด ได้รับความเป็นธรรม และให้ประชาชนเข้าถึงกระบวนการ ยุติธรรมได้โดยสะดวก รวดเร็ว นอกจากนี้ รัฐต้องส่งเสริมสนับสนุนให้ความรู้กับประชาชน ท้ัง อันตรายท่ีเกิดจากการทุจริตและประพฤติมิชอบในภาครัฐและเอกชน ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการ รณรงคต์ ่อตา้ น 2.2) ด้านการศึกษา ดําเนินการให้เด็กทุกคนได้รับการศึกษาเป็นเวลา 12 ปี ต้ังแต่ ก่อนเรียนจนจบการศึกษาภาคบังคับอย่างมีคุณภาพ โดยไม่เก็บค่าใช้จ่าย และส่งเสริมให้มีการเรียนรู้ ตลอดชีวิต จัดให้มีและส่งเสริมการวิจัยและพัฒนาทางวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี ให้เกิดความรู้ การ พัฒนาและนวัตกรรม เพื่อความเข้มแข็งของสังคมและเสริมสร้างความสามารถของคนในชาติรัฐมี หน้าทีจ่ ัดการศกึ ษาใหเ้ ด็กไทยทุกคนไดร้ บั การศกึ ษาอย่างท่วั ถึงและเทา่ เทียมกัน 2.3) ด้านการสาธารณสุข ดําเนินการให้ประชาชนได้รับบริการสาธารณสุขท่ีมี ประสิทธิภาพอย่างท่ัวถึง เสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพและการป้องกัน โรค เข้าถึงการรักษาและพัฒนาภูมิปัญญาด้านแพทย์แผนไทยให้เกิดประโยชน์สูงสุด รัฐต้อง ดําเนินการให้มีสาธารณูปโภคขั้นพ้ืนฐานท่ีจําเป็นต่อการดํารงชีวิตของประชาชนอย่างทั่วถึงตาม หลักการพฒั นาอย่างยงั่ ยืน 2.4) ด้านการต่างประเทศ ส่งเสริมสัมพันธไมตรีกับนานาประเทศ โดยถือหลัก ความเสมอภาคในการปฏิบัติต่อกัน ไม่แทรกแซงรัฐมีหน้าที่ดําเนินการด้านสาธารณสุขที่มีมาตรฐาน กิจการภายในของกันและกัน ให้ความร่วมมือกับเพื่อให้ประชาชนเข้าถึงการรักษาสุขภาพท่ีดีองค์กร ระหว่างประเทศ และคมุ้ ครองผลประโยชนข์ องชาตแิ ละของคนในประเทศ โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 26 2.5) ด้านครอบครัว เสริมสร้างความเข้มแข็งของครอบครัว จัดให้มีท่ีอยู่ท่ี เหมาะสมส่งเสริมการพัฒนาสุขภาพ เพื่อการมีสุขภาพกายและจิตใจที่เข้มแข็ง ส่งเสริมด้านกีฬา ให้ ความชว่ ยเหลอื เดก็ สตรี เยาวชน ผสู้ งู อายุ คนพกิ าร ผูย้ ากไร้ ใหส้ ามารถดาํ รงชวี ติ ได้อย่างมีคณุ ภาพ 2.6) ด้านสิทธิผู้บริโภค ให้ความคุ้มครองและพิทักษ์สิทธิของผู้บริโภค เช่น ด้าน การรับรู้ข้อมูลท่ีเป็นจริง ด้านความปลอดภัย ด้านความเป็นธรรมในการทําสัญญา และอื่นๆ ท่ีเป็น ประโยชนต์ อ่ ผบู้ รโิ ภค 2.7) ด้านเศรษฐกิจและการคลัง จัดระบบเศรษฐกิจให้ประชาชนมีโอกาสได้รับ ประโยชน์จากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศ สามารถพ่ึงพาตนเองได้ตามหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง จัดหรือดําเนินการให้มีสาธารณูปโภคข้ันพ้ืนฐานท่ีจําเป็นต่อการดํารงชีวิตของ ประชาชนอย่างทั่วถึงตามหลักการพัฒนาอย่างย่ังยืน ส่งเสริมให้ประชาชนมีความสามารถในการ ทํางานอย่างเหมาะสมกับศักยภาพและวัย และการมีงานทํา คุ้มครองแรงงานให้ได้รับความปลอดภัย และมีสุขอนามัยที่ดีในการทํางน มีรายได้ สวัสดิการ และสิทธิประโยชน์ที่เหมาะแก่การดํารงชีวิต คุ้มครองการใช้แรงงาน รักษาวินัยทางการเงินการคลังอย่างเคร่งครัด เพื่อให้ฐานะทางการเงินการ คลังของประเทศมเี สถยี รภาพและมั่นคง นอกจากน้ี รัฐบาลยังมีบทบาทหน้าท่ีเพื่อการรักษาเสถียรภาพทางด้านเศรษฐกิจให้ มีความเจริญเติบโตอย่างมั่นคง ลดความเหลื่อมลํ้าของประชาชนในประเทศ วางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ ส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประชาชนในประเทศ ส่งเสริมการลงทุนทั้งในประเทศและระหว่าง ประเทศจดั ให้มีสาธารณูปโภคและโดรงสรา้ งพื้นฐานที่จาํ เป็น เช่น ถนน ไฟฟา้ ประปา 2.8) ด้านศาสนา ศิลปวัฒนธรรม รัฐพึ่งอุปถัมภ์และคุ้มครองพระพุทธศาสนาและ ศาสนาอื่น โดยการสนับสนุนการศึกษาและการเผยแผ่ศาสนา เพื่อให้เกิดการพัฒนาจิตใจและปัญญา และการอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างสันติสุข ดําเนินการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และส่งเสริมภูมิปัญญาท้องถิ่น ศิลปะ วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณีอันดีงามของท้องถ่ิน โดยให้ประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมใน กจิ กรรมของทอ้ งถิ่น 2.9) ด้านการเข้าถึงข้อมูลข่าวสาร รัฐต้องเปิดเผยข้อมูลข่าวสารที่ไม่เก่ียวกับ ความม่นั คง ให้ประชาชนไดเ้ ขา้ ถึงและรบั รู้ข้อมลู ไดโ้ ดยสะดวก โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 27 กิจกรรมอภปิ ัญญา เรอ่ื ง การเมอื งการปกครองในปัจจุบัน ขัน้ ที่ 2 การควบคุมตนเอง ส่ิงทท่ี าํ ผลลัพธ์ เปา้ หมายของการเรียน สรุป......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. สงิ่ ที่ตอ้ งปรบั ปรุง..................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ตอบถูกต้องทงั้ หมด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกต้องบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ต้องเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 28 ข้นั ที่ 3 ความตระหนกั ตอ่ กระบวนการคดิ 1. การปกครองระบอบประชาธิปไตยกับการปกครองระบอบเผด็จการมคี วามแตกตา่ งกันอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. จากสถานการณ์การเมืองการปกครองของไทยในปัจจุบัน นกั เรียนมคี วามคิดเห็นอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกตอ้ งทง้ั หมด เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกตอ้ งบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกต้องเล็กน้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 29 . บัตรกิจกรรมท่ี 1 เรือ่ ง การเมอื งการปกครองในปัจจุบนั คําชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนตอบคําถามตอ่ ไปนใ้ี หถ้ กู ตอ้ ง 1. การปกครองระบอบประชาธิปไตยกับการปกครองระบอบเผด็จการมีความแตกตา่ งกันอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ประชาชนในประเทศทีป่ กครองด้วยระบอบประชาธปิ ไตยกบั ประเทศทป่ี กครองดว้ ยระบอบ เผดจ็ การ มคี วามเหมือนหรอื แตกต่างกนั อยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยของไทย รัฐบาล ประชาชน มบี ทบาทหน้าทีอ่ ยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 30 4. เพราะเหตใุ ดการพัฒนาการเมืองการปกครองของไทยจงึ ยงั ประสบปัญหา และมแี นวทางการ แก้ปญั หาอย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จากสถานการณ์ทางการเมืองการปกครองของไทยในปัจจบุ ัน นกั เรยี นจะมีแนวทางอยา่ งไร เพ่ือการพัฒนาการเมืองการปกครอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกตอ้ งทั้งหมด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกตอ้ งเลก็ น้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 31 บตั รกิจกรรมที่ 2 สร้างสรรค์พัฒนาการเรียนรู้ เร่ือง การเมอื งการปกครองในปัจจบุ นั คาํ ชี้แจง ใหน้ ักเรยี นแต่ละกลุ่ม ดําเนนิ กจิ กรรมตามท่กี าํ หนดให้ตอ่ ไปนี้ กจิ กรรมที่ 1 แบ่งกลุ่ม สืบคันข้อมูลการเมืองการปกครองของประเทศสมาชิกอาเซียน 1 ประเทศในประเด็น เช่น รูปแบบของรัฐ รูปแบบการปกครอง ประมุขของรัฐ ประมุขฝ่ายบริหาร รัฐสภา พรรดการเมือง วิเคราะห์สถานการณ์ทาง การเมืองในปัจจบุ ันสรุปสาระสําคัญ นาํ เสนอในชัน้ เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ตอ้ งทั้งหมด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 32 กจิ กรรมที่ 2 กิจกรรมเล่าข่าว ให้นักเรียนศึกษา สืบคันข่าว สถานการณ์ทางการเมืองการ ปกครองของไทยในปัจจุบัน วิเคราะห์สถานการณ์ในประเด็น เช่น เหตุการณ์ ในข่าวสาเหตุ ผลกระทบ แนวทางการป้องกันหรือแก้ไข สรุปสาระสําคัญ เล่าให้เพ่ือนในชั้นเรยี นฟงั …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกตอ้ งทั้งหมด เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกต้องเลก็ น้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 33 บตั รกิจกรรมที่ 3 แบบฝกึ หดั เรือ่ ง การเมอื งการปกครองในปัจจุบัน คําชแ้ี จง : ใหน้ ักเรยี นสบื ค้นข้อมูลแล้วตอบคาํ ถามตอ่ ไปนี้ 1. “พระมหากษตั รยิ ์ทรงเป็นกลางทางการเมือง” หมายความวา่ อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ประธานาธิบดีของสหรัฐอเมริกามีที่มาและอาํ นาจอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในระบบก่งึ ประธานาธิบดีนัน้ ประธานาธิบดีและนายกรฐั มนตรีมีอาํ นาจหนา้ ทแ่ี ตกตา่ งกันอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 4. ประเทศทป่ี กครองด้วยระบอบเผดจ็ การ ประชาชนจะมคี วามเป็นอยอู่ ย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 34 5. เพราะเหตุใดฮิตเลอร์สามารถครองอํานาจในการบริหารประเทศเยอรมนีได้อย่างมีประสิทธิภาพ ในชว่ ง ค.ศ. 1933-1945 …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 6. การปกครองระบอบประชาธิปไตยกบั การปกครองระบอบเผดจ็ การแตกต่างกันอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 7. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของประเทศไทยกบั ประเทศเพือ่ นบา้ นที่มกี ารปกครองระบอบ ประชาธปิ ไตย มีความแตกตา่ งกันในประเด็นใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกต้องทั้งหมด เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกต้องเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 35 แบบทดสอบหลังเรยี น เร่ือง การเมืองการปกครองในปจั จุบนั กลุ่มสาระการเรยี นรู้สังคมศกึ ษา ฯ รายวิชาสังคมศกึ ษา 5 รหัสวชิ า ส23101 ชั้นมธั ยมศกึ ษาปที ี่ 3 คําช้ีแจง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จํานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทีใ่ ช้ 10 นาที 2. จงเลอื กคําตอบทถ่ี ูกตอ้ งท่สี ุด แลว้ เขียนเครอ่ื งหมาย  ลงในกระดาษคาํ ตอบ 1. บทบาทการมีส่วนรว่ มของประชาชนตามวธิ ที างประชาธปิ ไตยขอ้ ใดสาํ คญั ที่สุด ก. การจบั กลุ่มวิพากษว์ ิจารณร์ ฐั บาล ข. การแสดงความคิดเห็นของตนผ่านสอ่ื สังคมออนไลน์ ค. การออกไปใช้สิทธิทางการเมอื งในการเลือกต้ังทกุ คร้งั ง. การจดั ทาํ แผน่ พับรณรงค์ตอ่ ตา้ นการทุจรติ คอรร์ ปั ชนั 2. ข้อใดสอดคล้องกบั ระบอบเผดจ็ การแบบเบด็ เสร็จ ก. มพี รรคการเมอื งพรรคเดยี ว เน้นหลักกาํ ลงั อํานาจ ข. มกี ารแยกอํานาจระหว่างฝ่ายบรหิ ารกับฝ่ายนิติบญั ญัติ ค. รัฐสภามีบทบาททสี่ ุดในการควบคมุ อํานาจฝา่ ยบรหิ ารและนติ ิบญั ญัติ ง. ผนู้ ําประเทศมีอาํ นาจในการกําหนดนโยบายทางการเมอื งในส่วนทีส่ ําคัญ 3. ข้อใดเป็นปญั หาสาํ คญั ตอ่ การพัฒนาประชาธปิ ไตยของไทย ก. การทําประชามติ ข. การทํารฐั ประหาร ค. การใช้สิทธเิ ลือกตั้ง ง. การรวมกลุ่มจดั ตั้งพรรคการเมอื ง 4. พระมหากษตั ริยไ์ ทยทรงใชอ้ ํานาจอธิปไตยผ่านองค์กรในข้อใด ก. อาํ นาจบรหิ ารทางรฐั สภา ข. อํานาจนิตบิ ัญญัตทิ างรฐั สภา ค. อาํ นาจตุลาการทางรัฐสภา ง. อาํ นาจนติ บิ ญั ญัตทิ างศาล โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 36 5. นายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมีหน้าที่ยื่นบัญชีแสดงรายการทรัพย์สินและหนี้สินของตน คู่ สมรส และบตุ รทย่ี งั ไมบ่ รรลนุ ิติภาวะตอ่ หน่วยงานใด ก. คณะกรรมการการเลอื กต้ัง ข. สํานักงานตรวจเงนิ แผ่นดนิ ค. ศาลฎกี า ศาลแพง่ และศาลอาญา ง. คณะกรรมการปอ้ งกนั และปราบปรามการทุจรติ แหง่ ชาติ 6. ปัญหาในขอ้ ใดทเ่ี ป็นอุปสรรคสําคญั ต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยมากทีส่ ุด ก. การซ้ือสิทธิขายเสียง ข. ขาดการประชาสมั พันธ์ ค. การศกึ ษาท่ไี มเ่ ท่าเทยี มกัน ง. ประชาชนว่างงานจํานวนมาก 7. เม่ือเกิดความขัดแย้งขึ้นระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหารตามระบอบประชาธิปไตย ควรปฏิบตั อิ ย่างไร ก. ส่งเรือ่ งให้ศาลรัฐธรรมนญู วนิ จิ ฉยั ข. ตลุ าการศาลปกครองทาํ หนา้ ทไ่ี กล่เกลีย่ ค. เสนอญัตติใหร้ ฐั สภารว่ มหารอื แก้ไขปญั หา ง. คนื อาํ นาจให้แกป่ ระชาชนเพ่อื เลอื กต้ังใหม่ 8. การมรี ะบบพรรคการเมืองหลายพรรคสะทอ้ นแนวคิดในเรอ่ื งใด ก. การจํากัดสิทธิเสรีภาพ ข. การรวมอํานาจเขา้ สูศ่ นู ยก์ ลาง ค. ความเหล่อื มลาํ้ ทางการปกครอง ง. ความเสมอภาคทางประชาธปิ ไตย โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 37 9. องค์การบริหารส่วนจังหวัด เป็นองค์กรท่ีมีอิสระในการดําเนินงานตามกฎหมาย สอดคล้องกับ ข้อใด ก. รฐั บาลกระจายอาํ นาจใหอ้ งคก์ รปกครองส่วนท้องถนิ่ ข. การเชอ่ื มโยงอาํ นาจระหว่างส่วนกลางและส่วนทอ้ งถนิ่ ค. การพฒั นาระบบงานภาครัฐ ด้วยวธิ ีการปรบั ปรงุ องค์กร ง. การบริหารราชการแผ่นดนิ แบบกระจายอํานาจสว่ นภูมภิ าค 10. ปัจจัยในข้อใดเป็นพื้นฐานสาํ คญั ของการสร้างสงั คมประชาธปิ ไตยทดี่ ี ก. รฐั บาลต้องจรงิ จังในการพัฒนาแต่เพยี งฝา่ ยเดียว ข. ประชาชนร้จู กั ใชส้ ิทธแิ ละหน้าทีข่ องตนตามกฎหมาย ค. พรรคการเมืองต้องมเี สถยี รภาพและความม่ันคงกอ่ น ง. ประชาชนเห็นแกป่ ระโยชน์ส่วนตนมากกวา่ สว่ นรวม โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 38 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรียน ง ขอ้ ก ข ค ขอ้ ก ข ค 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 39 บรรณานุกรม กระมล ทองธรรมชาติ. 2548. องค์กรตามรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท. ไทยรม่ เกลา้ , บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จาํ กัด เกรียงศกั ด์ิ ราชโคตร. 2552. การเมืองการปกครองไทย (901-106) : Thai Government and Politics. กรุงเทพมหานคร : ดวงแก้ว. ขจติ จิตเสรี. 2553. องค์การระหวา่ งประเทศ. กรงุ เทพมหานคร : วญิ ญูชน. ดํารง ฐานดี และคณะ. 2565. หนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ และภมู ศิ าสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3. (พมิ พค์ รง้ั ที่ 9) กรงุ เทพฯ : ไทยรม่ เกล้า, บริษทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จาํ กัด นนั ทวัฒน์ บรมานันท์. ม.ป.ป. กฎหมายปกครอง. กรงุ เทพมหานคร : วญิ ญูชน. ราชบณั ฑิตยสถาน. 2556. พจนานกุ รมศัพทก์ ฎหมายไทย. พิมพค์ รัง้ ท่ี 9 (แก้ไขเพ่ิมเติม). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน. สภาทนายความ. 2540. กฎหมายเบอ้ื งตน้ สาํ หรับประชาชน. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์. เสน่ห์ จามริก. 2549. การเมอื งไทยกับการพัฒนารฐั ธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ติ าํ รา สงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร.์ สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ. 2544. แนวทางการสืบค้นวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สาํ นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดนิ และสาํ นักงานค้มุ ครองสิทธิและชว่ ยเหลือทางกฎหมายแกป่ ระชาชน. ม.ป.ป. รวมกฎหมายทป่ี ระชาชนควรรู้. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท. https://www.baanjomyut.com/library_3/thai_society/index.html https://culturealhuman.wordpress.com/tag/วฒั นธรรมสากล/ http://www.digitalschool.club/digitalschool/social1_1_1/social1_2/more/page32.php http://www.widemagazine.com/4221 https://saimoon.thai.ac/client-upload/saimoon/uploads/files โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 40 โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 41 . เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 1 เรอ่ื ง การเมอื งการปกครองในปจั จุบัน คําชี้แจง ใหน้ ักเรยี นตอบคําถามต่อไปนีใ้ ห้ถกู ตอ้ ง 1. การปกครองระบอบประชาธปิ ไตยกับการปกครองระบอบเผด็จการมคี วามแตกตา่ งกนั อยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ประชาชนในประเทศทป่ี กครองดว้ ยระบอบประชาธปิ ไตยกับประเทศทป่ี กครองดว้ ยระบอบ เผดจ็ การ มคี วามเหมือนหรอื แตกตา่ งกนั อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. การปกครองระบอบประชาธิปไตยของไทย รัฐบาล ประชาชน มบี ทบาทหน้าที่อยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 42 4. เพราะเหตใุ ดการพัฒนาการเมืองการปกครองของไทยจงึ ยงั ประสบปัญหา และมแี นวทางการ แก้ปญั หาอย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. จากสถานการณ์ทางการเมืองการปกครองของไทยในปัจจบุ ัน นกั เรยี นจะมีแนวทางอยา่ งไร เพ่ือการพัฒนาการเมืองการปกครอง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกตอ้ งทั้งหมด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกตอ้ งเลก็ น้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook