Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ภัยพิบัติทางชีวภาค

ภัยพิบัติทางชีวภาค

Published by romrawin.nuty, 2022-08-08 01:41:14

Description: 8ภัยพิบัติทางชีวภาค

Search

Read the Text Version

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรอ่ื ง การเปล่ยี นแปลงทางกายภาพของโลกและภยั พบิ ตั ิทางธรรมชาติ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาสงั คมศกึ ษา 5 (ภมู ิศาสตร)์ รหสั วชิ า ส33101 ชน้ั มธั ยมศกึ ษาปที ่ี 6 เรอ่ื ง การเปลย่ี นแปลงทางกายภาพของโลกและภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ตด้ี เู มน 2 ชอ่ งเม็ก อาเภอสริ นิ ธร จังหวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจังหวดั อบุ ลราชธานี

ชดุ ท่ี 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค คำนำ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกและภัยพิบัติ ทางธรรมชาติ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 6 จัดทาขึ้นเพื่อเป็นสื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรม การเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหัสวิชา ส33101 เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ดว้ ยตนเอง นาไปใชใ้ นการเรียนการสอน ซอ่ มเสรมิ ได้ หรือใชใ้ นการสอนแทนได้เป็นอย่างดี เพื่อใหผ้ ู้เรียนมีความรู้ ความเขา้ ใจและพฒั นา ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นนวัตกรรมที่ช่วยลดบทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูปการเรียนรู้ที่ยึดผู้เรียนเป็นสาคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง ทาเป็น คิดเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซ่ึงสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลาง การศกึ ษาข้นั พื้นฐาน พุทธศกั ราช 2551 (ฉบับปรับปรงุ พ.ศ.2560) ทม่ี ุ่งเนน้ ให้ผเู้ รียนได้รับการ พัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การ แก้ปัญหา ความสามารถในการส่ือสาร การตัดสินใจ การนาความรไู้ ปใช้ในชีวิตประจาวนั ตลอดจนส่งเสริม ใหผ้ ้เู รียนมีจิตสังคมศึกษาคณุ ธรรมและค่านยิ มท่ถี ูกต้องเหมาะสม ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียน ทาให้มีความรู้ ความเข้าใจในเรื่องการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของโลกและภัยพิบัติทาง ธรรมชาติได้เป็นอย่างดี และมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น สามารถใช้เพ่ือศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุ วัตถุประสงค์ของหลกั สูตรได้ รมยร์ วินท์ เชดิ ชู โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ก

ชดุ ที่ 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค สำรบญั เรื่อง หนำ้ คำนำ ก สำรบัญ ข คำชี้แจงเกยี่ วกับกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้ ค แผนภูมิลำดบั ขัน้ ตอนกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้ ง คำชแ้ี จงกำรใชช้ ดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้สำหรับครู จ คำชีแ้ จงกำรใชช้ ุดกจิ กรรมกำรเรียนรู้สำหรับนักเรียน ฉ 1 มาตรฐานการเรยี นรู้/ตัวชวี้ ัด/จุดประสงค์การเรียนรู้สูต่ วั ช้วี ัด 2 สาระสาคญั 3 แบบทดสอบกอ่ นเรียน 6 บัตรเน้อื หา ชดุ ท่ี 8 เร่อื ง ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 24 บัตรกิจกรรมที่ 8.1 เรื่อง การเกิดภยั แลง้ และไฟปา่ 26 บัตรกจิ กรรมท่ี 8.2 เร่อื ง ภยั พิบัติธรรมชาติทางชวี ภาค 28 บตั รกจิ กรรมท่ี 8.3 ผงั มโนทศั น์ เรอื่ ง ภัยพบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างชวี ภาค 29 แบบทดสอบหลังเรยี น 32 กระดาษคาตอบแบบทดสอบกอ่ นเรียนและหลังเรียน 33 บรรณำนกุ รม 35 ภำคผนวก 36 เฉลยบตั รกจิ กรรมท่ี 8.1 เร่ือง การเกิดภยั แลง้ และไฟปา่ 38 เฉลยบตั รกิจกรรมท่ี 8.2 เรอ่ื ง ภยั พบิ ัติธรรมชาตทิ างชวี ภาค 40 เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี 8.3 ผังมโนทศั น์ เรือ่ ง ภยั พบิ ัติธรรมชาติทางชีวภาค 41 เฉลยแบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น 42 ประวัตยิ อ่ ผูจ้ ัดทำ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ ข

ชุดที่ 8 ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางชวี ภาค คำชแี้ จงเก่ียวกับชดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรู้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เร่ือง การเปล่ียนแปลงทางกายภาพของ โลกและภัยพิบัติทางธรรมชาติ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เพ่ือใช้ ประกอบการจัดการเรียนรู้ รายวิชาสังคมศึกษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหัสวิชา ส33101 ชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 6 โดยสอดคล้องตามหลักสตู รแกนกลางการศึกษาข้ันพน้ื ฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ หลักจิตวิทยาการเรียนรู้ ยึดแนวทางการฝึกที่เหมาะสมกบั ระดับ และวัย เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขในการทากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อ ส่งเสริมเจตคติที่ดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการ แก้ปัญหา และสามารถนาความรู้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้ มุ่งเน้นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วยชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ จานวน 8 ชดุ ดงั น้ี ชุดท่ี 1 เรอ่ื ง การเปลีย่ นแปลงทางธรณภี าค ชุดท่ี 2 เร่ือง การเปล่ียนแปลงทางบรรยากาศภาค ชุดท่ี 3 เรื่อง การเปลยี่ นแปลงทางอทุ กภาค ชุดที่ 4 เร่ือง การเปลยี่ นแปลงทางชีวภาค ชดุ ที่ 5 เรอ่ื ง ภยั พิบัติธรรมชาตทิ างธรณีภาค ชุดท่ี 6 เรื่อง ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางบรรยากาศภาค ชุดท่ี 7 เรื่อง ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาตทิ างอุทกภาค ชดุ ที่ 8 เรือ่ ง ภยั พบิ ัติธรรมชาตทิ างชวี ภาค 2. ชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ ชุดนี้เป็น ชุดท่ี 8 เรื่อง ภัยพิบัติธรรมชำติทำงชีวภำค ใชเ้ วลำ 2 ชวั่ โมง 3. ผู้ใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้นี้ควรศึกษาข้ันตอนการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้อย่าง ละเอียดกอ่ นใช้ ผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดน้ี จะมีประโยชน์ต่อนักเรียน และผู้สนใจที่จะนาไปใช้สอนและฝึกเด็กในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ มากยิ่งขึน้ ตอ่ ไป โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ ค

ชดุ ที่ 8 ภยั พิบัติธรรมชาติทางชีวภาค แผนภมู ลิ ำดับขน้ั ตอนกำรใช้ชุดกจิ กรรมกำรเรยี นรู้ อา่ นคาชีแ้ จงและคาแนะนาในการใช้ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ ศกึ ษาตัวช้วี ัดและจุดประสงค์การเรียนรู้ เสรมิ พน้ื ฐำน ทดสอบกอ่ นเรียน ผมู้ พี ืน้ ฐำนต่ำ ศกึ ษาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้ตามขั้นตอน ประเมินผลการจดั กิจกรรมการเรียนรจู้ ากชดุ กิจกรรม ไมผ่ ่ำน ทดสอบหลังเรยี น กำรทดสอบ ผ่ำนกำรทดสอบ ศึกษาชุดกจิ กรรมการเรียนรู้เรือ่ งต่อไป แผนภมู ิลำดบั ขั้นตอนกำรเรยี นโดยใชช้ ดุ กิจกรรมกำรเรียนรู้ ชดุ ที่ 8 เร่อื ง เรื่อง ภัยพิบตั ธิ รรมชำติทำงชีวภำค โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ ง

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค คำชี้แจงกำรใช้ชดุ กิจกรรมกำรเรียนรสู้ ำหรบั ครู ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ท่ีครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดท่ี 8 เร่ือง ภัยพิบัติธรรมชำติ ทำงชีวภำค ใช้เวลำในกำรทำกิจกรรม 2 ช่ัวโมง ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกตและรวบรวม ข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทาง สังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพื่อช่วยให้การ ดาเนนิ การจดั กจิ กรรมการเรยี นร้บู รรลุจดุ ประสงค์และมีประสิทธิภาพ ครูผ้สู อนควรดาเนนิ การดังนี้ 1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทาความเข้าใจเก่ียวกับคาชี้แจงการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สาหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพอื่ ที่ครูผู้สอนสามารถนาชุดกิจกรรมการเรยี นรู้ไปใช้ในการ จดั กิจกรรมการเรียนรูไ้ ด้อยา่ งมีประสทิ ธภิ าพ 2. ครผู สู้ อนเตรยี มสอ่ื การเรยี นการสอนให้พร้อม 3. ก่อนดาเนินการจัดกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ครูต้องเตรียมชุดกิจกรรมการเรียนรู้ไว้ บนโต๊ะประจากลุ่มให้เรียบร้อยและเพียงพอกับนักเรียนในกลุ่มซึ่งนักเรียนจะได้รับคนละ 1 ชุด ยกเวน้ ส่ือการสอนทีต่ ้องใชร้ ว่ มกัน 4. ครูต้องช้ีแจงให้นักเรียนรู้เก่ียวกับบทบาทของนักเรียนในการใชช้ ุดกจิ กรรมการเรียนรู้ ดงั นี้ 4.1 ศกึ ษาบทบาทของนักเรียนจากการปฏิบัติกจิ กรรมให้เข้าใจก่อนการเรยี นรู้โดยใช้ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ 4.2 ปฏิบัติกิจกรรมตามลาดับข้ันตอน อ่านคาช้ีแจงจากใบกิจกรรม เพื่อจะได้ทราบ วา่ จะปฏิบัตกิ ิจกรรมอะไร อย่างไร 4.3 นักเรียนต้องต้ังใจปฏิบัติกิจกรรมอย่างเต็มความสามารถ ต้องให้ความร่วมมือ ชว่ ยเหลือซงึ่ กันและกนั ไม่รบกวนผู้อน่ื และไมช่ ักชวนเพ่ือนใหอ้ อกนอกลู่นอกทาง 4.4 หลงั จากปฏิบัติกิจกรรมแล้ว นกั เรียนจะต้องจดั เก็บอุปกรณ์ทุกชิน้ ใหเ้ รียบรอ้ ย 4.5 เม่อื มีการประเมนิ ผลนักเรยี นต้องปฏิบตั ติ นอยา่ งตั้งใจและรอบคอบ 5. ขณะที่นกั เรียนทุกกลุ่มปฏิบตั ิกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูด เป็นรายกลมุ่ หรือรายบุคคล ตอ้ งไม่รบกวนกจิ กรรมของนกั เรียนกลุม่ อืน่ 6. ครูผู้สอนต้องเดินดูการทางานของนักเรียนแต่ละกลุ่มอย่างใกล้ชิด หากมีนักเรียนคน ใดหรือกลุ่มใดมปี ัญหาควรเขา้ ไปให้ความชว่ ยเหลือจนปัญหานั้นคล่คี ลายลง 7. การสรุปผลท่ีไดจ้ ากกิจกรรมการเรียนรู้ควรเปน็ กิจกรรมร่วมของนักเรียนทุกกลุ่มหรือ ตวั แทนของกลุ่มร่วมกนั ครคู วรเปิดโอกาสใหน้ ักเรยี นแสดงออกใหม้ ากท่ีสดุ 8. ประเมินผลการเรียนรูข้ องนกั เรียน เพอื่ ตรวจสอบผลการเรยี นรู้ของนักเรียน โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ จ

ชดุ ที่ 8 ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางชีวภาค คำช้แี จงกำรใช้ชดุ กจิ กรรมกำรเรยี นรสู้ ำหรับนกั เรียน ชดุ กจิ กรรมการเรยี นรู้ทนี่ ักเรียนไดศ้ ึกษาตอ่ ไปน้คี ือ ชดุ ที่ 8 เรือ่ ง ภัยพบิ ัตธิ รรมชำติทำง ชีวภำค ซ่ึงนักเรียนจะได้สารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม ทักษะกระบวนการทางสังคม ศึกษา กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหา ผ่านทางกระบวนการกลุ่ม เพ่ือให้เกิด ประโยชนส์ ูงสุด นกั เรยี นควรปฏิบัติตามคาชี้แจง ดังตอ่ ไปนี้ 1. ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สังคมศึกษา ชุดท่ี 8 เร่ือง ภัยพิบัติธรรมชำติทำงชีวภำค ใช้เวลำในกำรทำกจิ กรรม 2 ช่วั โมง 2. นักเรยี นทาแบบทดสอบกอ่ นเรยี น จานวน 10 ข้อ 3. นักเรียนทากิจกรรมเปน็ รายกล่มุ และศกึ ษาวธิ ดี าเนนิ กจิ กรรมให้เข้าใจ 4. นกั เรยี นปฏบิ ัติกจิ กรรมในชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้สงั คมศึกษา 5. นกั เรียนทากจิ กรรมในชุดกจิ กรรมการเรียนรใู้ ห้ครบ 6. นกั เรียนทาแบบทดสอบหลงั เรยี น จานวน 10 ข้อ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ ฉ

ชุดที่ 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค มาตรฐานการเรียนรู้ / ตวั ชว้ี ดั จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ส่ตู วั ชวี้ ดั / สาระสาคัญ  ชดุ ท่ี 8  เรื่อง ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค สาระ ภูมิศาสตร์ มาตรฐานการเรียนรู้ 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์ของสรรพสิ่งซ่ึงมีผลต่อกัน ใช้แผนที่และเคร่ืองมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูลตาม กระบวนการทางภมู ิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภมู ิสารสนเทศอยา่ งมีประสทิ ธิภาพ ตัวชี้วัด ม.4 – 6/2 วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ ซ่ึงทาให้เกิดปัญหาและภัยพิบัติทางธรรมชาติ ในประเทศไทยและภูมภิ าคต่าง ๆ ของโลก มาตรฐานการเรียนรู้ 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับส่ิงแวดล้อมทางกายภาพที่ก่อให้เกิดการ สร้างสรรค์วิถีการดาเนินชีวิต มีจิตสานึกและมีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร และส่ิงแวดลอ้ มเพ่อื การพัฒนาที่ยั่งยืน ตัวช้ีวัด ม.4 – 6/2 วิเคราะห์สถานการณ์ สาเหตุ และผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงด้าน ทรัพยากรธรรมชาตแิ ละส่ิงแวดล้อมของประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลก จุดประสงคก์ ารเรียนรู้สู่ตัวชี้วัด 1. วเิ คราะห์ลักษณะทางกายภาพที่ทาให้เกิดปัญหาหรอื ภยั พิบตั ธิ รรมชาติทางชีวภาคใน ประเทศไทยและภมู ภิ าคต่าง ๆ ของโลกได้ (K) 2. วเิ คราะห์ผลกระทบที่เกดิ จากภัยพิบัติธรรมชาติทางชีวภาคได้ (K) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 1

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 3. เสนอแนวทางป้องกันในการป้องกันตนเองและระวังภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาคได้ (P) 4. สนใจศึกษาเกีย่ วกบั ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาคเพ่ือนามาปรบั ใชใ้ นชีวติ ประจาวนั เพม่ิ มากขึน้ (A) 5. มคี วามสนใจใฝ่เรียนรู้หรืออยากรู้อยากเห็น ทางานร่วมกบั ผอู้ น่ื อย่างสร้างสรรค์ ยอมรับ ความคดิ เหน็ ของผู้อ่ืนได้ (A) สาระสาคญั ภัยพิบัติทางธรรมชาติเปน็ ปรากฏการณ์ทเ่ี กิดขน้ึ ตามธรรมชาตบิ นเปลือกโลก มีการเกิด แบบช้า ๆ ทาให้มีเวลาเตรียมรับมือได้ แต่บางภัยเกิดขึ้นอย่างรวดเร็วจนไม่มีเวลาเตรียมการรองรับ และมีท้งั ระดับท่ีไม่รุนแรงจนถงึ ระดับท่ีเป็นอันตรายจนทาใหเ้ กิดการบาดเจ็บและสูญเสียชีวติ อาคาร บ้านเรือนและทรัพย์สินเสียหายจานวนมาก เมื่อเกิดขึ้นแล้วย่อมส่งผลต่อการดาเนินชีวิต การประกอบอาชพี และเศรษฐกิจในพื้นทีท่ ป่ี ระสบภยั ทั้งในระยะสน้ั และระยะยาว ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางชวี ภาค ได้แก่ - ไฟป่า สาเหตุ ธรรมชาติ ฟ้าผา่ กิง่ ไมเ้ สยี ดสีกนั ภเู ขาไฟประทุ ภาวะภัยแล้ง - ภัยแล้ง สาเหตุ เกิดจากการผันแปรของสภาพอากาศ ความผิดปกติของตาแหน่ง ร่องมรสุม ขาดแหล่งกักเก็บน้าท่ีเพียงพอในช่วงภัยแล้ง การตัดไม้ทาลายป่า ความต้องการใชน้ า้ เพิม่ มากขน้ึ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 2

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค แบบทดสอบก่อนเรียน เร่อื ง ภัยพิบตั ธิ รรมชาติทางชีวภาค กลมุ่ สาระการเรียนรู้สงั คมศกึ ษา ฯ รายวิชาสงั คมศกึ ษา 5 (ภูมิศาสตร์) รหสั วชิ า ส33101 ชั้นมัธยมศกึ ษาปที ี่ 6 คาชี้แจง 1. แบบทดสอบฉบับน้ี จานวน 10 ข้อ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาท่ีใช้ 10 นาที 2. จงเลอื กคาตอบทถี่ กู ต้องท่ีสุด แล้วเขียนเคร่ืองหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ 1. การเกดิ ไฟปา่ มผี ลเสียต่อข้อใดมากท่สี ุด ก. ตน้ ไมไ้ ดร้ บั ความร้อน ข. สูญพันธไ์ุ ม้ พันธ์สุ ัตว์ปา่ ค. สัตวป์ า่ หนอี อกนอกป่าสงวน ง. บ้านเรอื น ทรพั ยส์ นิ ของชาวบ้านเสียหาย 2. แหล่งน้ามนั ส่วนใหญข่ องโลกอยบู่ รเิ วณใด ก. ตะวันออกกลาง ข. ตะวันออก ค. แอฟริกา ง. เอเชยี 3. ภยั ธรรมชาติในขอ้ ใดทจ่ี ะเกดิ ต่อเนอ่ื ง หลังจากมสี ถานการณภ์ ัยแล้ง ก. ไฟป่า ข. น้าทว่ ม ค. ดนิ ถล่ม ง. แผน่ ดินไหว 4. สาเหตหุ ลักของการสูญเสยี ผนื ปา่ ในประเทศออสเตรเลยี คือข้อใด ก. การบกุ รกุ ป่าเพ่ือทาการเกษตร ข. การถางปา่ เพ่ือทาไรเ่ ลือ่ นลอย ค. การขาดแคลนน้าและฝนทิ้งชว่ ง ง. ไฟป่าทัง้ จากฝีมือมนุษยแ์ ละจากธรรมชาติ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 3

ชดุ ท่ี 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค 5. ไฟปา่ ท่เี กดิ ในประเทศอนิ โดนเี ซียมักจะเกดิ ในเดือนใด ก. ตุลาคม ข. กนั ยายน ค. ธันวาคม ง. พฤศจกิ ายน 6. ขอ้ ใดกล่าวผิดเก่ียวกบั ปรากฏการณ์เอลนีโญ ก. กระแสนา้ อุ่นไหลกลบั ข. แปซฟิ กิ ตะวันตกชุ่มช้นื ค. แปซฟิ กิ ตะวนั ตกแหง้ แลง้ ง. ฝนตกทางแปซิฟิกตะวันออกมาก 7. ข้อใดไม่ใช่ผลกระทบทีเ่ กิดจากปรากฏการณเ์ อลนโี ญ ก. ไฟป่า ข. ภาวะแหง้ แล้ง ค. ปะการังฟอกขาว ง. ฤดูกาลเปลย่ี นแปลง 8. วิธกี ารใดเป็นการเตรียมความพรอ้ มเพอ่ื รบั สถานการณ์ภยั แล้งดีทส่ี ดุ ก. การทาฝนเทียม ข. วางแผนการใชน้ ้าอยา่ งประหยดั ค. คลมุ ฟางข้าวบริเวณแปลงผักและโคนตน้ ไม้ ง. ปลูกพชื คลุมดนิ เพือ่ ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน 9. ขอ้ ใดเปน็ วธิ ีการเตรียมความพรอ้ มรับสถานการณ์ การเกดิ หมอกควันทีถ่ กู ต้อง ก. ตดั ต้นไมใ้ หญ่และไมพ้ ุม่ เพอ่ื ปอ้ งกันไฟไหมจ้ ากฟ้าผ่า ข. ปดิ หน้าต่างไมใ่ ห้ควนั ออกไปรบกวนบ้านเรอื นใกลเ้ คียง ค. เผาขยะในปรมิ าณมาก ๆ เพือ่ ลดจานวนครั้งการเผาขยะ ง. หลีกเล่ยี งการเผาหรือการกระทากจิ กรรมทีก่ ่อใหเ้ กดิ ฝุ่นควนั เพม่ิ ขึ้น โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 4

ชุดท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค 10. การเกิดภาวะโลกรอ้ นมีสาเหตุสาคัญในขอ้ ใด ก. เกดิ ไฟปา่ อย่างต่อเนอ่ื ง ข. ป่าไมล้ ดน้อยส่งผลกระทบตอ่ สิง่ มีชีวติ ในปา่ ค. เกดิ โรคระบาดอยา่ งรุนแรงทาความเสียหายต่อชีวิตมนุษย์ ง. มนุษย์เป็นตัวการสาคัญในการปล่อยแกส๊ เรือนกระจกออกสูบ่ รรยากาศ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 5

ชุดที่ 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค บตั รเนอื้ หา ชุดท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค ภัยพบิ ัติธรรมชาติทางชวี ภาค 8.1 ไฟป่า (wildfire) 1) คาจากัดความ ไฟป่าเป็นไฟที่เผาไหม้เชื้อเพลิงในป่าและลุกลามโดยไม่มีขอบเขต เชื้อเพลงิ ธรรมชาติท่ถี กู เผาไหม้ ได้แก่ เศษไม้ ปลายไม้ ลกู ไม้ หญา้ เศษวชั พชื ไมพ้ มุ่ และตน้ ไม้ ความหมายของไฟป่า ไฟป่า หมายถึง ไฟท่ีเผาไหม้เชื้อเพลิงตามธรรมชาติในป่าหรือ ทุง่ หญ้า เช่น ใบไม้ เศษไม้ บนพ้ืนป่า หญ้า วัชพืช ไม้พื้นล่าง ไม้พุ่ม ก่ิงไม้แห้ง แล้วลุกลามโดยอิสระ โดยไม่สามารถควบคุม ได้ สร้างความเสียหายตอ่ สมดุลธรรมชาติ 2) กระบวนการเกิดไฟป่า การเกิดไฟป่าเป็นผลมาจากกระบวนการทางเคมี โดยเกิดจาก การรวมกันของปัจจัยท่ีมีอยู่ตามธรรมชาติ 3 ปัจจัย ได้แก่ เช้ือเพลิง ออกซิเจน และความร้อนท่ี เรียกว่า \"สามเหลี่ยมไฟ\" (fire triangle) รปู ท่ี 8.1 สามเหลีย่ มไฟ ที่มา : http://www.pinthong-group.com/tab/detail.php?id=38 กระบวนการเกิดไฟป่า กระบวนการเกิดไฟป่าข้ึนต่อองค์ประกอบ 3 ส่วน คือ ความร้อน แก๊สออกซิเจน และ เช้ือเพลิง พิจารณาได้ ดังนี้ พื้นที่ป่าไม้มีวัสดุเชื้อเพลิง เชน่ ต้นไมแ้ ห้ง กงิ่ ไม้แห้ง โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 6

ชดุ ที่ 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค ใบไม้แห้ง หญ้าแห้ง ในปริมาณมากเป็น พืน้ ฐานเอ้ือให้เกิดไฟป่า ต่อมาเม่ือเกิดความร้อนจากสาเหตุ ธรรมชาติ เช่น ฟ้าผ่า หรอื ถูกจุดขนึ้ โดยมนษุ ย์ พร้อมกับมีแก๊สออกซิเจนเป็นองค์ประกอบสาคัญทา ให้เกิดการลุกไหม้วัสดุเชื้อเพลิงต่าง ๆ ขึ้น ในผืนป่า ระยะแรกไฟป่าจะเกิดขึ้นที่จุดกาเนิดก่อน จากนนั้ จึงลุกลามจากจุดกาเนิดขยายวงกวา้ ง ออกไปในพนื้ ทีป่ ่า 2.1) เชื้อเพลิง สมบัติของเช้ือเพลิงมีอิทธิพลต่อการติดไฟแตกต่างกัน ได้แก่ ความชื้น ของเชื้อเพลิง เชื้อเพลิงท่ีมีความช้ืนต่า ย่อมติดไฟได้ง่ายและลุกลามเร็วกว่าเช้ือเพลิงที่มีความช้ืนสูง ขนาดของเชื้อเพลิง เช้ือเพลิงขนาดเล็กจะลุกไหม้ได้เร็วและง่ายกว่าเชื้อเพลิงขนาดใหญ่ ปริมาณ ของเช้ือเพลิง หากมีเชื้อเพลิงจานวนมากจะติดไฟและลุกลามได้เร็ว และความต่อเน่ืองของเชื้อเพลิง หากเช้ือเพลงิ อยตู่ ดิ ชิดกัน ไฟย่อมลกุ ลามต่อเนื่องได้เร็ว 2.2) ออกซิเจน เป็นแก๊สที่เป็นองค์ประกอบหลักของอากาศโดยท่ัวไป ในป่าจะมี ออกซิเจนกระจายอยู่อย่างสม่าเสมอ' อย่างไรก็ตาม ปริมาณและสัดส่วนของออกซิเจนในอากาศใน ปา่ ณ บริเวณอ่ืน ๆ อาจเปลย่ี นแปลงได้บา้ งตามการผันแปรของความเร็วและทิศทางลม 2.3) ความร้อน แหล่งความร้อนท่ีทาให้เกิดไฟป่าแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แหล่งความ ร้อนจากธรรมชาติ เช่น ฟ้าผ่า การเสียดสีของกิ่งไม้ การรวมแสงอาทิตย์ผ่าน หยดน้าค้าง ภูเขาไฟ ปะทุ และแหล่งความรอ้ นจากมนุษยซ์ ง่ึ เกิดจากการจุดไฟในป่าด้วยสาเหตุ 3) ประเภทของไฟป่า แบง่ ตามประเภทเช้อื เพลงิ ที่ถูกเผาไหมเ้ ปน็ 3 ประเภท ดงั น้ี รปู ท่ี 8.2 แผน่ ดนิ แยกและทรดุ ตัวลงจากแรงส่นั สะเทือนของแผน่ ดินไหวรุนแรง ท่ีมา : หนังสอื เรยี นรายวิชาพ้นื ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภูมิศาสตร์ ชัน้ มัธยมศกึ ษาปที ี่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด (หน้า 205) ประเภทของไฟป่า 1. ไฟใต้ดิน เป็นไฟที่ไหม้วัสดุเชื้อเพลิงท่ีอยู่ในดินและใต้ดิน เช่น ไฟไหม้ป่าพรุ มีความ รุนแรงนอ้ ย โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 7

ชุดที่ 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 2. ไฟผิวดิน เป็นไฟที่ไหม้วัสดุเช้ือเพลิงตามผิวดิน เช่น เศษไม้ เศษใบไม้ หญ้าแห้ง มอี ัตราลุกลามตั้งแตช่ า้ จนถงึ เร็วมาก 3. ไฟเรือนยอด เป็นไฟท่ีไหม้วัสดุเรือนยอดไม้ แล้วเกิดการลุกลามจากเรือนยอดหน่ึงสู่ เรือนยอดตอ่ ไป ไฟป่าชนิดน้ีจึงมี ความรนุ แรงมาก รูปท่ี 8.3 ประเภทของไฟป่า ท่มี า : https://socialyrc.files.wordpress.com/ 4) สาเหตุการเกิดไฟปา่ แบ่งได้ ดังน้ี 4.1) สาเหตุจากธรรมชาติ มดี ังนี้ 1. ฟ้าผ่า เป็นสาเหตสุ าคญั ของการเกดิ ไฟป่าในเขตอบอุ่นของต่างประเทศ เช่น ใน สหรัฐอเมริกาและแดนาดา มีทั้งฟ้าผา่ แห้ง คือ ฟ้าที่ผ่าในขณะท่ไี ม่มฝี น และฟา้ ผ่าเปียกเกิดข้ึนในฤดู ร้อนทีเ่ กดิ พายุฝนฟ้าคะนอง 2. กิ่งไม้เสียดสีกัน เกิดข้ึนในพื้นท่ีป่าท่ีมีไม้ขึ้นอย่างหนาแน่น และมีสภาพอากาศ ร้อนและแห้งจัด มีกระแสลมแรง เช่น ในป่าไผ่ ป่าสน 3. การปะทขุ องภูเขาไฟ 4. ภาวะภัยแล้งจากการเปล่ยี นแปลงสภาพภมู ิอากาศของโลก เป็นอีกสาเหตทุ ่ีทา ให้เกิดไฟปา่ บอ่ ยขนึ้ เนอ่ื งจากมรี ะยะเวลาเกิดความแหง้ แลง้ ถ่มี ากขึ้น 4.2) สาเหตุจากมนษุ ย์ มีดงั นี้ 1. การเผาป่าเพ่ือเก็บหาของป่า การล่าสัตว์เป็นสาเหตุหลักท่ีทาให้เกิดไฟป่า รนุ แรงมากทีส่ ุด เพื่อให้ปา่ โล่งจะไดเ้ ข้าพ้นื ท่ีปา่ ไดส้ ะดวก สัตว์ป่าหนีไฟออกมาให้ล่าไดง้ า่ ย 2. การเผาไร่หรือเศษพืชเกษตร เพ่ือกาจัดวัชพืชหรือเศษซากพืชท่ีเหลือจากการ เกบ็ เกย่ี ว เพอื่ เตรยี มพน้ื ท่ีเพาะปลูกในรอบต่อไป 3. ความประมาทในการเข้าใช้พื้นท่ีหรือพักแรมในป่า มีการก่อกองไฟแล้วลืมดับ หรือดบั ไม่สนิท โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 8

ชุดที่ 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 5) การกระจายการเกดิ ไฟป่าของโลก รูปท่ี 8.4 แผนท่แี สดงพ้นื ท่ีเสย่ี งการเกิดไฟป่าของโลก ทม่ี า : หนงั สอื เรยี นรายวชิ าพ้ืนฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ศิ าสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 206) จากแผนที่ พบว่าบริเวณทมี่ โี อกาสในการเกดิ ไฟป่าได้มากกวา่ สว่ นอืน่ ๆ ของโลกได้แก่ ทวีป อเมริกาเหนือ ในสหรัฐอเมริกา แคนาดา ทวีปอเมริกาใต้ เช่น บราซิล อาร์เจนตินา อุรุกวัย ทวีป แอฟริกา เช่น แองโกลา คองโก แทนซาเนีย แซมเบีย เนื่องจากพ้ืนท่ีดังกล่าวอยู่ในเขตอบอุ่น และมี กระแสน้าเย็นไหลผ่าน ทาให้ปริมาณไอน้าในบรรยากาศน้อย มีความแห้งแล้งมากยิ่งข้ึน เช่น กระแสน้าเยน็ เบงเกวลาไหลเลียบชายฝ่งั ด้านตะวันตกของทวีปแอฟริกา กระแสน้าเย็นเปรูไหลเลียบ ชายฝ่ังด้านตะวันตกของทวีปอเมริกาใต้ ความแห้งแล้งจึงทาให้พื้นท่ีดังกล่าวมีโอกาสเส่ียงเกิดไฟป่า จากสาเหตุทางธรรมชาติไดม้ ากกวา่ ปกติ ไฟป่าในประเทศไทยเกิดจากการกระทาของมนุษย์เป็นหลักและบางส่วนเกิดจากธรรมชาติ ในชว่ งเดือนพฤศจิกายน – เมษายน เปน็ ช่วงท่ีมีสถิตกิ ารเกิดไฟป่าสูง เพราะสภาพอากาศแหง้ ตน้ ไม้ ผลัดใบและหญ้าแห้งตายจานวนมาก เมื่อเกิดไฟป่าจึงลุกลามอย่างรวดเร็วโดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วง เดือนกุมภาพันธ์ - เมษายน เป็นช่วงท่ีมีจุดความร้อนจานวนมากจึงเสี่ยงต่อการเกิดไฟป่าสูง โดยเฉพาะพื้นที่บริเวณภาคเหนือและภาคตะวันตกเส่ียงต่อการเกิดไฟป่าสูง ขณะที่พ้ืนที่ภาค ตะวนั ออกเฉียงเหนือ ภาคตะวนั ออก และภาคใต้ เสี่ยงตอ่ การเกิดไฟป่ารองลงมาตามลาดับ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 9

ชุดท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค 6) ภยั ต่าง ๆ ท่ีเกดิ จากไฟปา่ รนุ แรง มีดังนี้ 1. ปัญหาหมอกควัน ก่อให้เกิดสภาวะอากาศเป็นพิษ ทาลายสุขภาพของมนุษย์ โดยเฉพาะโรคระบบทางเดินหายใจ นอกจากนี้ ควันไฟยงั บดบังแสงอาทิตย์ สง่ ผลตอ่ ทัศนวสิ ยั ในการ ขับข่ี บางครั้งทาให้เครื่องบินไม่สามารถลงจอดได้ ส่งผลให้เกิดความเสียหายทางเศรษฐกิจและลด ความสวยงามของภูมิประเทศทางธรรมชาติ 2. พ้ืนท่ีป่าและพรรณไม้ถูกเผาไหม้ ไม้พุ่มและทุ่งหญ้าถูกทาลาย ต้นไม้เกิดแผลไฟไหม้ และทาให้ต้นไม้ตาย อย่างไรก็ตาม ในระยะยาวไฟป่าอาจมีประโยชน์ทาให้เกิดทุ่งหญ้าแทนพ้ืนที่ป่า ได้ หรอื พรรณไม้หลายชนดิ อาจปรับตัวจากการถกู ไฟป่าเผา จนกลายเปน็ ระบบนิเวศใหม่ 3. ทาให้หน้าดินเปิดโล่ง จากการที่ไฟป่าเผาทาลายสิ่งปกคลุมดิน ทาให้ดนิ เสื่อมสภาพ เม่ือมีฝนตก หน้าดินไม่มีส่ิงปกคลุมทาให้น้าไหลบ่าไปบนหนา้ ดิน เกิดการพังทลายของดินตะกอนดิน ไหลลงสแู่ หลง่ นา้ ทาใหล้ าน้าตืน้ เขินและคุณภาพนา้ เส่อื มโทรมลง 4. สัตว์ป่าลดลงและเกิดการอพยพของสัตว์ป่า เนื่องจากแหล่งอาหาร แหล่งน้า และที่ อย่อู าศัยถกู ทาลาย 7) เหตุการณ์ไฟปา่ ที่รุนแรง ครั้งสาคัญ เชน่ เหตกุ ารณ์ ไฟปา่ ในสหรฐั อเมริกา พ.ศ. 2560 สาเหตุ : เกิดจากอิทธิพลของกระแสลมแซนตาแอนา (Santa Ana) ท่ีพัดอากาศร้อน และแห้งแล้งจากทะเลทรายเข้ามาภายในพ้ืนที่ ก่อให้เกิดไฟป่าลุกลามเผาผลาญพื้นที่เป็นบริเวณ กว้างในหลายเมอื งของรัฐแคลิฟอร์เนีย เช่น เมอื งเวนทูรา (Ventura) เมืองแซนตาบาร์บารา (Santa Barbara) เมื่อเดือนธนั วาคม พ.ศ.2560 ผลกระทบ : ไฟป่าครั้งรุนแรงน้ีมีชื่อเรียกว่า \"ไฟป่าทอมัส\" (Thomas Fire) ได้เผาผลาญ พน้ื ที่ปา่ ไปถงึ 281,893 เอเคอร์ หรือประมาณ 1,140 ตารางกโิ ลเมตร สิ่งปลูกสร้างถกู ทาลาย 1,063 แห่งเสียหาย 280 แห่ง มีผู้เสียชีวิตอย่างน้อย 1 คน ประชาชนประมาณ 2 แสนคน ต้องอพยพออก จากบา้ นเรอื น สร้างความเสยี หายมากกวา่ 100 ล้านดอลลาร์สหรัฐ หรือประมาณ 3,500 ล้านบาท โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 10

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค รูปที่ 8.5 ไฟป่าทอมัส เป็นไฟปา่ ครัง้ รุนแรงท่เี กิดขนึ้ ในรัฐแคลิฟอร์เนีย พ.ศ.2560 ทีม่ า : http://www.siamtownus.com/2016/New-1712000062-1.aspx เหตกุ ารณ์ ไฟปา่ ในประเทศออสเตรเลยี พ.ศ.2561 รูปที่ 8.6 ไฟป่าในประเทศออสเตรเลยี พ.ศ.2561 ทีมา : https://themomentum.co/australia-bushfires-2019 โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 11

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค สาเหตุ : เกิดจากฟ้าผ่าแห้ง เนื่องจากสภาพอากาศท่ีร้อนจัด โดยมีอุณหภูมิสูงถึง 46 องศา เซลเซียส สภาพอากาศแห้งและมีเช้ือเพลิง คือ ต้นไม้และใบไม้แห้ง มกี ระแสลมแรง ทาให้ไฟลุกลาม อย่างรวดเรว็ ผลกระทบ : ทาใหไ้ ฟป่าลกุ ลามอยา่ งรวดเร็วในพื้นที่ 3,000 ตารางกโิ ลเมตร จนไมส่ ามารถ ควบคุมเพลิงได้ ป่าไม้และท่งุ หญ้าถูกเผาทาลายเปน็ บริเวณกว้าง มผี ู้เสยี ชีวติ ประมาณ 230 คน พ้ืนท่ี ชุมชนและบา้ นเรือนถูกเผาไหม้กว่า 700 หลงั คาเรือน มผี ู้ไร้ที่อย่อู าศยั อกี กวา่ 5,000 คน สถานการณ์ไฟไหม้ป่ารุนแรงในรัฐนิวเซาท์เวลส์และควีนส์แลนด์ ทางตะวันออกของ ประเทศออสเตรเลียยังคงวิกฤติ แม้ว่า รัฐนิวเซาท์เวลส์ จะประกาศลดระดับความรุนแรงจากภัย พิบัติลงมาเป็นการแจ้งเตือนภัยระดับสูงแล้วก็ตาม แต่เนื่องด้วยกระแสลมแรงและความแห้ง แล้ง ยังคงทาให้เกิดไฟลุกลามอย่างต่อเนื่อง โดยมีจุดที่เกิดไฟไหม้ป่าอีกประมาณ 100 จุดในรัฐ นิวเซาท์เวลส์ และอีกกว่า 60 จุด ในรัฐควีนส์แลนด์ ไฟป่าจุดที่ใหญ่ที่สุด คือจุดที่เรียกว่า ลิเบอเรชัน เทรล ในรัฐนิวเซาท์เวลส์ ทางตะวันตก ของอ่าวคอฟฟ์ส ทีมดับเพลิงยังไม่สามารถควบคุมไฟป่าได้ โดยไฟป่าลุกลามกินพื้นที่เกือบห้า ล้านไร่ เป็นระยะทางนับพันกิโลเมตรเลยทีเดียว ทางการระดมนักดับเพลิงกว่า 3,000 นาย เร่ง ควบคุมสถานการณ์ มีบ้านเรือนประชาชนในรัฐนิวเซาท์เวลส์ถูกไฟป่าลุกลามได้รับความเสียหาย เป็นจานวน กว่า 150 หลัง คิดเป็นมูลค่าความเสียหายกว่า 40 ล้านดอลลาร์ และขณะนี้มีผู้เสียชีวิตแล้วอย่าง น้อยสามราย นอกจากนี้ยังมีรายงานว่าในเขตป่านั้นเป็นเขตพื้นที่เขตอนุรักษ์ ซึ่งมีโคอาล่าอาศัยอยู่ กว่า 600 ตัว ประมาณการณ์ว่ามีโคอาล่ามากกว่า 300 ตัวเสียชีวิตจากการถูกไฟป่าคลอก ตาย โดยบางตัวมีลักษณะไหม้เกรียมอยู่ในท่าที่กาลังเกาะอยู่บนต้นไม้ แต่ก็ยังมีโคอาล่าบางส่วน ที่ช่วยเหลือออกมาได้ทัน โดยต้องนาตัวส่งโรงพยาบาลสัตว์เพ่ือนาตัวไปรักษาต่อไป 8) การจดั การภยั พบิ ัติไฟป่า มีดงั น้ี 8.1) มาตรการ มีดังนี้ 1. รวบรวมขอ้ มูลไฟปา่ เช่น สภาพพื้นท่ี สถิติไฟป่า เพื่อนามาใช้ศึกษาและวางแผน งานการควบคุมไฟปา่ โดยแผนงานต้องครอบคลุมทั้งด้านการป้องกนั และการดับไฟ 2. เตรียมความพร้อมท้ังบุคลากรและเคร่ืองมือ โดยเน้นการเข้าถึงพื้นที่อย่าง รวดเร็วและการบรู ณาการการทางานร่วมกนั ของหน่วยงานทเ่ี กี่ยวข้อง 3. จัดการเช้ือเพลิง ด้วยการทาแนวกันไฟ การลดปริมาณเชื้อเพลิง การเผาตาม กาหนดในพน้ื ทเ่ี ส่ียง เปน็ การใช้ประโยชน์จากไฟเพอ่ื จดั การป่าไม้ โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 12

ชดุ ท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 4. กาหนดเขตควบคมุ ไฟป่า ในพืน้ ที่ท่มี ีความเส่ยี งตอ่ การเกิดไฟป่า 8.2) วิธปี อ้ งกนั ทาได้ ดังนี้ 1. ให้ความรู้แก่ประชาชน เพื่อช้ีแจงให้ทราบถึงผลเสียของไฟป่า ประโยชน์ของป่า ไม้ และขอความร่วมมือใหป้ ระชาชนเลิกจดุ ไฟเผาป่า และหนั กลบั มาชว่ ยกันดูแลป่า 2. การฝึกอบรม เพ่ือให้ประชาชนทาหน้าที่ป้องกันไฟและดับไฟป่าที่เกิดข้ึนใน ทอ้ งถ่นิ ของตนเอง โดยมีหนว่ ยงานดูแลเรือ่ งวิชาการและอุปกรณ์ในการดับไฟ 8.3) การปฏิบตั ิตน ทาได้ ดงั นี้ รูปที่ 8.7 การปฏิบัตติ นเมื่อเกิดไฟปา่ ทมี่ า : หนังสือเรียนรายวชิ าพนื้ ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ิศาสตร์ ชน้ั มัธยมศึกษาปีท่ี 4 – 6 บริษทั อักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากดั (หนา้ 210) โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 13

ชุดที่ 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 8.2 ภยั แล้ง (drought) 1) คาจากัดความ ภัยแล้งเป็นภัยที่เกิดข้ึนจากการท่ีมีฝนตกน้อยกว่าปกติต่อเนื่องเป็น เวลานาน ทาให้เกิดการขาดแคลนน้าใช้เพื่อการอุปโภคบริโภคและการเกษตร ความรุนแรงของช่วง ฝนแล้งน้ันข้ึนอยู่กับความช้ืนในอากาศ ระยะเวลาที่เกิดความแห้งแล้ง และขนาดของพื้นท่ีที่ได้รับ ผลกระทบ 2) กระบวนการเกิดภัยแล้ง มดี งั นี้ ㆍ ในช่วงฤดูฝนเกิดฝนแล้ง หรือเกิดฝนทิ้งช่วงเป็นระยะเวลานาน ทาให้ปริมาณฝน เฉลีย่ ตา่ กว่าค่าปกติ เชน่ มฝี นตกนอ้ ยกว่า 1 มิลลิเมตรติดตอ่ กนั เกนิ 15 วนั ㆍ พื้นทน่ี อกเขตชลประทานขาดแคลนน้าเพาะปลกู เลีย้ งสัตว์ และใช้ในครวั เรอื น ㆍ พ้นื ดินแห้ง พืชขาดน้านานจะเห่ียวและล้มตาย สัตว์เลย้ี งตอ้ งย้ายไปหาแหล่งนา้ ㆍ ระดับน้าใต้ดินลดลง ต้นไม้ใหญ่จะเหี่ยวเฉา พ้ืนท่ีโล่งที่พืชล้มตายไปแล้ว ดินแตกระแหง เช่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่มีเกลือหิน (rock sal) อยู่ใต้ดินนั้น บริเวณผวิ หน้าดินจะมีข้เี กลือตกกระฉาบอยู่ตามพ้ืนดนิ 3) ประเภทของภยั แลง้ ภยั แลง้ มี 3 ประเภท ดงั นี้ 3.1) ภัยแล้งทางอุตุนิยมวิทยา (meteorological drought) เป็นภัยแล้งที่เกิดขึ้น เนื่องจากปริมาณฝนโดยเฉล่ียมีปริมาณน้อยกว่าค่าเฉลี่ย เม่ือเปรียบเทียบกับค่าเฉล่ียของช่วง ระยะเวลายาวนานในอดตี 3.2) ภัยแล้งทางการเกษตร (agricultural drought) เป็นภัยแล้งท่ีความชื้นในดินไม่ เพียงพอท่ีพืชจะนาไปใช้ประโยชน์ได้ โดยเปรียบเทียบจากผลผลิตของพืชที่ปลูกในสภาวะทพี่ ืชใช้น้า ปกติ หากผลผลิตท่ีได้ในช่วงเวลานั้นมีปริมาณน้อยกว่าโดยเฉล่ียแล้ว อาจมีสาเหตุจากน้าในดินขาด แคลน ทาใหป้ รมิ าณและผลผลติ ทางการเกษตรลดนอ้ ยลง 3.3) ภัยแลง้ ทางอทุ กวิทยา (hydrological drought) เปน็ ภยั แล้งทปี่ ริมาณนา้ ในแม่นา้ หนอง บึง ทะเลสาบ รวมถึงอ่างเก็บน้าลดลง มีระดับต่ากว่าปกติ และระดับน้าใต้ดินก็มีระดับลดลง ตา่ กว่าปกติ ปจั จยั ทสี่ ่งผลต่อความรนุ แรงของภยั แลง้ 1. ปริมาณฝนและความช้ืนในอากาศ พ้ืนท่ีท่ีมีปริมาณฝนและความช้ืนในอากาศน้อย ภัยแล้งจะรุนแรงมากกวา่ พนื้ ที่ทม่ี ีปริมาณฝนและความชนื้ ในอากาศสูง 2. เขตชลประทานและแหล่งน้า พ้ืนที่ท่ีอยู่ในเขตชลประทานและมีแหล่งน้าธรรมชาติ มาก ภัยแล้งจะรุนแรงน้อยกวา่ พน้ื ทท่ี อ่ี ยูน่ อกเขตชลประทาน 3. ความชื้นและลักษณะการอุ้มน้าของดิน พ้ืนที่ท่ีเป็นดินเหนียวจะมีความชื้นในดินสูง และอุ้มน้าได้มาก ภยั แลง้ จึงรนุ แรงนอ้ ยกว่าพื้นที่ท่ีเป็นดนิ ร่วน หรอื ดนิ ทราย โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 14

ชุดที่ 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค 4) สาเหตุการเกิดภยั แล้ง มีดงั นี้ 4.1) เกิดการผนั แปรของสภาพอากาศ ฝนไมต่ กตามฤดูกาล ตกน้อย ทิง้ ช่วงทาให้มี น้ากกั เก็บในแหลง่ นา้ น้อย ในฤดูแล้งท่ีอากาศร้อนการระเหยของน้าจะมีมากขน้ึ ทาให้น้าในแหล่ง น้าลดระดบั จนถึงภาวะวกิ ฤต 4.2) ความผดิ ปกติของตาแหน่งร่องมรสุม ทาให้มีฝนตกในพน้ื ทีน่ ้อยกวา่ ปกติหรือด วามผดิ ปกตเิ นือ่ งจากพายุหมุนเขตร้อนกอ่ ตวั เคลื่อนทผี่ า่ นมาน้อยกว่าปกติ 4.3) ขาดแหล่งกักเก็บน้าท่ีเพียงพอในช่วงภัยแล้ง ซ่ึงอาจเกิดจากข้อจากัดทางภูมิ ประเทศ หรือแหล่งน้าได้รับการพัฒนาที่ไม่เหมาะสม มีขนาดเล็กเกินไป นามาใช้ประโยชน์ไม่ เพียงพอ หรอื บางแห่งอยู่ไกลจากชมุ ชนเกินไป 4.4) การตัดไม้ทาลายป่า ทาให้ขาดความชุ่มชื้นและซึมซับเก็บน้า ซ่ึงมีผลกระทบ ต่อการเปลี่ยนแปลงองคป์ ระกอบของภมู อิ ากาศ เช่น ความช้ืน อณุ หภูมิ 4.5) ความต้องการใช้น้าเพิ่มขึ้น จากจานวนประชากรที่มากขึ้น ทาให้น้ามีปริมาณ ลดน้อยลงอยา่ งมาก 5) การกระจายการเกิดภัยแล้งของโลก รปู ท่ี 8.8 แผนท่ีแสดงพน้ื ที่เสี่ยงการเกิดภยั แลง้ ของโลก ทีม่ า : หนงั สอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ิศาสตร์ ชน้ั มธั ยมศึกษาปีที่ 4 – 6 บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากัด (หน้า 212) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 15

ชดุ ท่ี 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค จากแผนท่ี จะเห็นว่าในภูมิอากาศเขตร้อนและเขตอบอุ่นของทวีปต่าง ๆ มีระดับความ รุนแรงของภัยแล้งแตกต่างกันตามช่วงระยะเวลาเกิดฝนแล้งและฝนทิ้งช่วง ซึ่งเป็นผลจาก ปรากฏการณ์เอลนีโญ พื้นที่ประสบภัยแล้ง เช่น ทวีปเอเชยี ในประเทศอินเดีย เกิดภัยแล้งจากฝนตก น้อย และไม่ตกเลยในช่วงต้นเดือนเมษายน-พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย ในรัฐนิวเซาท์เวลส์และรัฐแถบชายฝั่งตะวันออกของประเทศออสเตรเลีย ไม่มีฝนตกในช่วงเดือน สิงหาคม - ต้นกันยายน พ.ศ. 2561 ทวีปแอฟริกาในประเทศแถบชายฝั่งมหาสมุทรอินเดียและตอน เหนอื ของอา่ วกินีฝนตกนอ้ ยกวา่ ปกติ หรอื เกิดฝนทิง้ ช่วงในฤดูฝน ภัยแล้งในประเทศไทยส่วนใหญ่เกิดจากโดยจะเกิดใน 2 ชว่ ง ไดแ้ ก่ ช่วงฤดูหนาวต่อเนื่องฤดู ร้อน เริ่มจากคร่ึงหลังของเดือนตุลาคมเป็นต้นไป บริเวณประทศไทยตอนบนมีปริมาณฝนลดลงจน เข้าสู่ฤดูฝนในช่วงกลางเดือนพฤษภาคมของปีถัดไป ภัยลักษณะนี้เกิดประจาทุกปี และช่วงกลางฤดู ฝน ประมาณปลายเดือนมิถุนายน - กรกฎาคมมีฝนทิ้งช่วงเกิดข้ึน ภัยแล้งลักษณะนี้เกิดขึ้นในบาง บรเิ วณ เช่น ภาคตะวนั ออกเฉียงเหนอื ตอนกลาง รปู ที่ 8.9 แผนทีแ่ สดงพื้นทีเ่ สย่ี งภยั แลง้ ในประเทศไทย ทม่ี า : หนังสือเรียนรายวชิ าพ้นื ฐานสงั คมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมิศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษัทอักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 213) โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 16

ชดุ ท่ี 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 6) ภัยต่าง ๆ ที่เกดิ จากภยั แล้งรุนแรง มดี ังน้ี 1. ขาดแดลนน้า สาหรับใชใ้ นการอุปโภคบริโภค การเกษตร การประมง ปศุสตั ว์ ระบบ นิเวศ และการผลติ พลงั งานจากนา้ 2. ส่งิ มีชวี ิตในระบบนิเวศแหลง่ น้าตายและสูญพนั ธ์ุ ก่อให้เกิดความเสียหายตอ่ ถิ่นท่ีอยู่ อาศัยของสตั วป์ า่ ตามมา 3. เกดิ ไฟปา่ เน่อื งจากสภาพอากาศทีร่ อ้ นและแล้งจดั 4. สร้างความเสียหายทางเศรษฐกิจ เพราะกระบวนการผลิตทั้งภาคเกษตรกรรมและ อุตสาหกรรมไดร้ ับความเสียหาย ทาให้ผลผลติ ไมเ่ พยี งพอตอ่ การบริโภค 7) เหตกุ ารณภ์ ัยแล้งท่ีรนุ แรง ครง้ั สาคญั เชน่ ภัยแลง้ ครงั้ ใหญใ่ นทวีปแอฟรกิ า พ.ศ. 2554 รปู ที่ 8.10 แผนที่แสดงพื้นท่ีประสบภัยแลง้ ในแอฟรกิ า ทีม่ า : หนงั สือเรียนรายวชิ าพืน้ ฐานสังคมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภมู ิศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปที ่ี 4 – 6 บริษทั อักษรเจรญิ ทศั น์ อจท. จากดั (หนา้ 214) สาเหตุ : เกิดจากปรากฏการณ์ลานีญา ซึ่งรุนแรงผิดปกติ ทาให้ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล นบั เปน็ ภยั แลง้ ทรี่ นุ แรงทส่ี ุดในรอบ 60 ปี โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 17

ชดุ ที่ 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค ผลกระทบ : ทาให้ประชาชนในแถบจะงอยแอฟริกา เช่น เคนยา เอธิโอเปีย โซมาเลีย ขาด แคลนอาหารและน้าจานวนกว่า 13.3 ล้านคน มีผู้เสียชีวิตกว่า 1 แสนคน และประชาชนกว่า 12 ล้านคน ซ่ึงในสถานการณ์ความขาดแคลนจานวนน้ีเป็นเด็กถึง 2 ล้านคน ต้องอพยพออกจาก ภูมิลาเนา นอกจากนี้ ประชาชนยังประสบกับปัญหาโรคระบาดเน่ืองจากไม่มีระบบสุขอนามัยท่ีดี และภัยดังกล่าวยังส่งผลกระทบต่อสัตว์ตา่ ง ๆ ทาให้ลม้ ตายเป็นจานวนมากเพราะขาดน้าและอาหาร รปู ท่ี 8.11 ซากแกะและแพะทา่ มกลางความแห้งแลง้ รุนแรงในภูมภิ าคโซมาลแิ ลนด์ ที่มา : http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6b/2011_Horn_of_Africa_famine_Oxfam_01.jpg เป็นทุพภิกขภัย (famine) อันเกิดข้ึนในหลายท้องท่ีของจงอยแอฟริกา เนื่องจากภัยแล้ง สาหัสท่ีเกิดข้ึนตลอดแอฟริกาตะวันออกภัยแล้งน้ี ว่ากันว่า \"รุนแรงที่สุดในรอบหกสิบปี\" เกิดจาก วกิ ฤตอิ าหารซ่ึงอุบัติขน้ึ ทว่ั โซมาเลีย, เอธิโอเปียและเคนยา และยงั ใหผ้ ู้คนมากกว่า 13.3 ลา้ นคนผจญ ทกุ ขเวทนาในการเล้ียงชีพ ผู้ที่อาศัยอยู่ทางโซมาเลียตอนใต้จานวนมากได้อพยพไปยังประเทศเพ่ือน บ้าน เคนยาและเอธิโอเปีย ซึ่งทาให้ท้ังสองแห่งนั้นเกิดแออัด สภาพท่ีไม่ถูกสุขลักษณะประกอบกับ ทุพโภชนาการอย่างรุนแรง เป็นเหตุให้เกิดการเสียชีวิตจานวนมาก บรรดาประเทศในและรายรอบ จงอยแอฟริกา เป็นต้นว่า จิบูติ, ซูดาน, เซาท์ซูดาน และอูกานดาบางส่วน ก็เผชิญวิกฤติอาหารนี้ เชน่ กนั โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 18

ชุดท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค ต้นเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2554 เครือข่ายระบบเตือนทุพภิกขภัยล่วงหน้า (Famine Early Warning Systems Network หรือเรียกโดยย่อว่า FEWS-Net) ประกาศภาวะฉุกเฉินในหลาย ๆ พนื้ ที่อันไพศาลของโซมาเลียใต้, เอธิโอเปยี ตะวันออกเฉียงใต้ และเคนยาตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งถ้า ปราศจากการประกาศดังกล่าว ก็เป็นท่ีคาดหมายได้ว่าทุพภิกขภัยจะกินวงกว้างกว่านี้มาก วันท่ี 20 เดือนน้ัน สหประชาชาติประกาศอย่างเป็นทางการในโซมาเลียใต้ซ่ึงภาวะทุพภิกขภัย นับเป็นการ ประกาศทุพภิกขภัยคร้ังแรกหลังทุพภิกขภัยในเอธิโอเปีย พ.ศ. 2527-2528 สืบมา ในครั้งน้ัน ชาว เอธิโอเปยี มากกว่าหนง่ึ ล้านคนไดถ้ ึงแก่ชวี ติ ส่วนในทพุ ภิกขภยั ครงั้ นี้ เชื่อว่าผู้คนมากกว่าหน่ึงแสนคน ในโซมาเลียใต้ได้จบชีวิตลงก่อน ประกาศของสหประชาชาติแล้ว การตอบสนอง ทางมนุษยธรรมต่อ เหตุการณ์ดังกล่าวเป็นไปอย่างยากเข็ญ เพราะขาดเงินทุนสนับสนุนระดับนานาชาติเป็นอันมาก ประกอบกับความม่ันคงในภูมิภาคประสบภัยก็เป็นประเด็น ที่ทุกฝ่ายหาความวางใจมิได้ ในจานวน เงิน สนับสนุนที่สหประชาชาตริ อ้ งขอ 2.5 พันลา้ นดอลล่าร์สหรัฐน้ัน องคก์ ารได้รับแลว้ 63% สภาพอากาศเหนือมหาสมุทรแปซิฟิก รวมทั้งปรากฏการณ์ลานีญารุนแรงผิดปกติ ทาให้ฝน ไม่ตกต้องตามฤดูกาลกว่าสองฤดูกาลติดตอ่ กันแล้ว ในเคนยาและเอธิโอเปียขาดแคลนฝนในปีนี้ ส่วน ในโซมาเลียขาดแคลนฝนต้ังแต่ปีที่แล้ว ในหลายพื้นที่ อัตราหยาดน้าฟ้าระหว่างช่วงฤดูฝนหลัก ระหว่างปลายเดือน มีนาคมถึงต้นเดือนมิถุนายนมีค่าน้อยกว่า 30% ของค่าเฉลี่ยระหว่าง พ.ศ. 2538-2553 การขาดฝนทาให้ปศสุ ตั วล์ ้มตายเป็นอันมาก ในบางพ้ืนท่สี ูงถงึ 40%-60% ซ่งึ ลดปรมิ าณ การผลิตน้านมเช่นเดียวกับการเก็บเกี่ยวพืชผลซึ่งไม่ได้ผลดี เป็นท่ีคาดกันว่าฝนจะไม่ตกกระท่ังเดือน กันยายน พ.ศ. 2554 วิกฤตดังกล่าวทวีความเลว ร้ายลงโดยกิจกรรมของฝ่ายกบฏทางตอนใต้ของ โซมาเลียจากกลุม่ อลั -ชาบาบ เหตุการณ์ ภยั แล้งทรี่ ุนแรงในสหรัฐอเมริกา พ.ศ. 2557 สาเหตุ : เน่ืองจากมีปริมาณฝนในเดือนธันวาคมน้อยกว่าค่าปกติกว่าคร่ึง ปริมาณหิมะบน เทือกเขาเชียร์รา เนวาดา ทางตอนเหนือของรัฐแคลิฟอร์เนียตกน้อย ซึ่งเป็นแหล่งผลิตน้าจืดสาคัญ โดยปกติมีค่าความหนาเฉล่ียไม่น้อยกว่า 165 เซนติเมตร แต่ความหนาของหิมะลดเหลือประมาณ 5 เซนติเมตร พ้ืนที่มีอุณหภูมิพ้ืนผิวสูงมาก เป็นการเพ่ิมระดับความร้อนและแล้งมากขึ้นร้อยละ 36 ทาใหพ้ นื้ ทก่ี วา่ ครึ่งหนง่ึ ของรัฐแคลิฟอรเ์ นยี เกิดความแห้งแล้งอย่างรนุ แรง ผลกระทบ : แคลิฟอร์เนียเป็นรัฐที่มีพื้นที่ทางภาพเปรียบเทียบทะเลสาบโอโรวิลล์ รัฐแคลิฟอร์เนียในภาวะปกติและภาวะภัยแล้งการเกษตรกว้างใหญ่มากแห่งหนึ่ง จึงได้รับผลกระทบ จากภัยแล้งรุนแรงมากท่ีสดุ อ่างเก็บน้าซาคราเมนโตและลุ่มแม่น้าซานเฮาดวินมีปริมาณน้าน้อยมาก ทงั้ นี้ ชาวแคลิฟอร์เนยี ใชน้ า้ เฉลย่ี ประมาณ 686 ลิตรต่อวนั ทาให้ผู้บรหิ ารของรฐั ต้องจัดระบบการปัน ส่วนการใชน้ ้าอยา่ งเร่งด่วน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 19

ชุดท่ี 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค รปู ที่ 8.12 ภยั แล้งท่ีรุนแรงในสหรฐั อเมริกา พ.ศ. 2557 ท่มี า : https://th.public-welfare.com/4326400-drought-in-california-in-2014 รปู ที่ 8.13 ภยั แล้งทีร่ ุนแรงในรัฐแคลิฟอร์เนีย พ.ศ. 2557 ทม่ี า : https://th.public-welfare.com/4326400-drought-in-california-in-2014 โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 20

ชดุ ที่ 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค สภาพภูมิอากาศของรัฐแคลิฟอร์เนียเป็นของแถบกึ่งเขตร้อนเมดิเต อร์เรเนียน มันเป็นลักษณะของฤดูร้อนและแห้ง ฤดูร้อนอุณหภูมิสูงกว่า 30 ° C เป็นเร่ืองธรรมดาการ เร่งรัดไม่อยู่ในเวลานี้ ในฤดูท่องเที่ยวปริมาณความชื้นลดลงเล็กน้อย แต่เวลาหลักในการ เติมเต็มความชุ่มชื้นสารองคือฤดูหนาวเมื่อหิมะตกบนภูเขาจานวนมาก ในฤดูใบไม้ผลิน้า หิมะละลายไหลลงสู่แม่น้าทะเลสาบและอ่างเก็บน้า พวกเขากลายเป็นแหล่งน้าหลักตลอด ฤดูร้อนสาหรับประชากรและเศรษฐกิจของรัฐ หิมะช่วยเติมความชุ่มชื้นให้กับดินในทุ่งนา และทุ่งหญ้า ฤดูร้อนปี 2556 ก็แห้งแล้งเช่นกัน เป็นผลให้อ่างเก็บน้ากลายเป็นตื้นขึ้นน้าสารอง ลดลง ความหวังในการ เติมเต็มทรัพยากรของพวกเขาไม่เป็นจริงเนื่องจากฤดูหนาว กลายเป็นหิมะเล็กน้อย โดยทั่วไปในแคลิฟอร์เนียระดับหิมะไม่สูงกว่า 13% ของปกติ แม่นา้ ไหลลดลง เ ห ตุผ ล ใ น ก า ร ข า ด หิม ะ คือ โ ซ น ข อ ง ค ว า ม ดัน บ ร ร ย า ก า ศ สูง ซึ่ง ท อ ด ย า ว ไ ป ต า ม ชายฝั่งมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมดของสหรัฐอเมริกา แอนติไซโคลนชนิดนี้มักไม่ได้มีชีวิตอยู่ เพื่อดูฤดูหนาว แต่ในปีนี้มันคงอยู่และกลายเป็นอุปสรรคต่อมวลอากาศชื้นที่มาจาก อะแลสกา อากาศชื้นถูกบังคับให้ข้ามสิ่งกีดขวางนี้ซึ่งนาไปสู่หิมะตกหนักในส่วนอื่น ๆ ของสหรัฐอเมริกา นั่นคือสิ่งที่ทาให้เกิดภัยแล้งที่เลวร้ายที่สุดในแคลิฟอร์ เนีย ภาพแสดง ให้เห็นว่าในช่วงฤดูหนาวปี 2014 (ซ้าย) หิมะตกน้อยกว่าปี 2013 หลายเท่า (ในภาพ ขวา) รปู ท่ี 8.14 ภยั แลง้ ท่รี ุนแรงในรัฐแคลิฟอร์เนีย พ.ศ. 2557 ทมี่ า : https://th.public-welfare.com/4326400-drought-in-california-in-2014 โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 21

ชุดที่ 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค ความแห้งแล้งในแคลิฟอร์เนียทาให้เกษตรกรได้รับผลกระทบอย่างรุนแรง ฟาร์มประสบปัญหาการขาดแคลนน้ามากที่สุด รัฐแคลิฟอร์เนียให้ผลผลิตพืชผัก เ กื อ บ ค รึ่ ง ห นึ่ ง ข อ ง ป ร ะ เ ท ศ ด้ ว ย น้า ส า ม ใ น สี่ ข อ ง ที่ ใ ช้ สา ห รั บ ก า ร ช ล ป ร ะ ท า น ใ น ไ ร่ น า ส ว น องุ่นอัลมอนด์และมะกอก ทุ่งจานวนมากในฤดูใบไม้ผลิยังคงไม่ถูกเพาะปลูกเนื่องจากข าด ความชุ่มชื้นในดิน เจ้าของสวนชี้นาน้าที่มีอยู่เพียงเพื่อรองรับการเติบโตของต้นไม้เพื่อให้ พวกเขาไม่ตายจากความแห้งแล้งและไม่จาเป็นต้องคิดเกี่ยวกับผลผลิตสูง ปศุสัตว์ของรัฐประสบความสูญเสียอย่างหนักเช่นกัน เนื่องจากการขาดน้า เกษตรกรต้องลดการปศุสัตว์ขายมันราคาถูก หญ้าบนเนินเขาไม่ได้รับอาหารจากการ ตกตะกอน เพื่อรักษาปศุสัตว์ของวัวมีความจาเป็นต้องนาเข้าหญ้าแห้งจากรัฐอื่น ๆ และ เกษตรกรไม่ได้นับค่าใช้จ่ายดังกล่าว เกษตรกรขอความช่วยเหลือจากรัฐบาลของรัฐและสหรัฐอเมริกา แต่ก็ไม่เพียงพอ เจ้าของฟาร์มจานวนมากสูญเสียทุกสิ่งที่พวกเขามี และครอบครัวฟาร์มนับสิบถูกบังคับให้ ไปยังรัฐอ่ืน อุตสาหกรรมของรัฐก็ได้รับความเสียหายเนื่องจากภัยแล้ง การขาดหิมะนาไปสู่ การตื้นเขินของแม่น้าและทะเลสาบซึ่งทาให้เกิดการหยุดชะงักในการทางานของโรงไฟฟ้า พ ลัง น้า ข อ ง รัฐ ก า ร จ่า ย ก ร ะ แ ส ไ ฟ ฟ้า ใ น ช่ว ง ชั่ว โ ม ง เ ร่ง ด่ว น ไ ด้ผิด ป ก ติ เ ป็น ผ ล ใ ห้ ผู้ประกอบการอุตสาหกรรมถูกบังคับให้ลดการผลิต 8) การจดั การภัยพิบัติภยั แล้ง มีดังนี้ 8.1) มาตรการ มดี งั นี้ 1. จัดระบบการชลประทานให้มีประสิทธิภาพมากข้ึน มีการจัดสรรการใช้น้าอย่าง เหมาะสม เพ่อื ใหม้ ีปริมาณนา้ สารองไว้ใช้หากเกดิ ภยั แล้ง 2. จัดหาและก่อสร้างแหล่งนา้ หรอื แหล่งกักเก็บน้าขนาดใหญ่ การพฒั นาพ้นื ท่ชี มุ่ นา้ การขุดลอกลาน้าเพ่ือเป็นแหลง่ กักเก็บน้า รวมถึงพัฒนาแหลง่ น้าใต้ดินท่ีมีปริมาณมากและมีคุณภาพ เพ่ือนามาใช้ประโยชน์ในการอุปโภคบริโภค และการเกษตร 3. จัดทาระบบเตือนภัยแล้ง เช่น การจัดทาปฏิทินระบุถึงระยะเวลาที่อาจเกิดภัย และให้ความรแู้ ก่ประชาชนถงึ การเตรยี มรบั มือและผลกระทบท่ไี ด้รบั จากภัยแล้ง 8.2) วธิ ปี ้องกนั ทาได้ ดังน้ี 1. ตดิ ตามสภาวะอากาศ ฟงั คาแจ้งเตอื นจากหนว่ ยงานทีเ่ กย่ี วข้อง 2. เตรียมอุปกรณ์หรอื ภาชนะสาหรับกักเกบ็ น้าเพ่อื ให้มีน้าใช้เพียงพอในกรณเี กิดภัย แลง้ หรอื เมอ่ื ถงึ ยามจาเป็น 3. ปลกู ป่าไม้มากข้นึ เพือ่ ใหม้ คี วามช้นื เพยี งพอท่จี ะทาใหเ้ กิดฝน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 22

ชุดที่ 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 8.3) การปฏิบัตติ น ทาได้ ดงั นี้ รปู ที่ 8.15 การปฏบิ ตั ิตนเมื่อเกดิ ภยั แล้ง ท่ีมา : หนงั สือเรียนรายวิชาพื้นฐานสงั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม ภูมศิ าสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปีที่ 4 – 6 บริษัทอักษรเจรญิ ทัศน์ อจท. จากัด (หนา้ 216) กล่าวโดยสรุป โลกตอ้ งเผชิญกับภัยพิบัติทางธรรมชาติมากมาย เช่น วาตภัย อุทกภัย ไฟป่า แผ่นดินไหว ภูเขาไฟปะทุ สึนามิ ซ่ึงล้วนส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและชีวิตความเป็นอยู่ของ มนุษย์ ท่ีนับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น ดังน้ัน จึงจาเป็นท่ีทุกฝ่ายจะต้องหาทางป้องกันและ แก้ปัญหาเพื่อให้ธรรมชาติและมนุษย์สามารถดารงอยู่ต่อไปได้อย่างยั่งยืนภัยธรรมชาติครั้งรุนแรง ทีส่ ุดของโลก โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 23

ชุดท่ี 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค บตั รกิจกรรมที่ 8.1 เรอ่ื ง การเกดิ ภยั แล้งและไฟป่า คาชีแ้ จง : ใหน้ ักเรยี นสบื คน้ ข้อมูลเก่ยี วกับการเกดิ ภยั แล้งและไฟปา่ แล้วตอบคาถามต่อไปน้ี 1. การเกิดความแห้งแล้งในประเทศไทยเกี่ยวข้องกับปฏิสัมพันธ์ทางภูมิศาสตร์ในด้านใด และมี ลักษณะอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. พนื้ ท่ีบรเิ วณใดของประเทศไทยทีม่ ักประสบปัญหาความแหง้ แลง้ และมสี าเหตมุ าจากสิ่งใด …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ไฟปา่ สามารถเกดิ ข้ึนเองตามธรรมชาตไิ ด้หรอื ไม่ อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 24

ชดุ ท่ี 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค 4. ไฟปา่ ก่อใหเ้ กิดผลกระทบต่อระบบนิเวศอยา่ งไรบ้าง อธิบายพรอ้ มยกตวั อยา่ งพอสังเขป …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. การจดั การภัยพบิ ตั ภิ ัยแลง้ ควรปฏบิ ตั ิอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 25

ชดุ ท่ี 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค บัตรกิจกรรมที่ 8.2 เร่อื ง ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางชวี ภาค คาชี้แจง ใหน้ กั เรียนเขยี นแผนภาพการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติธรรมชาตทิ างชีวภาค …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 26

ชุดท่ี 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 27

ชุดท่ี 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค บตั รกิจกรรมที่ 8.3 แผนผงั มโนทัศน์ เร่ือง ภยั พบิ ตั ธิ รรมชาติทางชวีภาค คาช้ีแจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ที่เก่ียวกับ “ภัยพิบัติธรรมชาติทางชีวภาค” เป็นแผนผังมโนทัศน์ (Concept Mapping) ในกระดาษทแ่ี จกให้แลว้ นาเสนอผลงานหนา้ ชั้นเรยี น โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 28

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค แบบทดสอบหลังเรียน เรือ่ ง ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางชวี ภาค กลมุ่ สาระการเรียนรูส้ งั คมศกึ ษา ฯ รายวชิ าสงั คมศึกษา 5 (ภูมศิ าสตร์) รหัสวชิ า ส33101 ชั้นมัธยมศึกษาปที ี่ 6 คาช้แี จง 1. แบบทดสอบฉบบั นี้ จานวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาทีใ่ ช้ 10 นาที 2. จงเลอื กคาตอบท่ถี ูกต้องท่ีสดุ แล้วเขยี นเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคาตอบ 1. ภัยธรรมชาติในขอ้ ใดทีจ่ ะเกิดตอ่ เนือ่ ง หลังจากมีสถานการณภ์ ัยแล้ง ก. ไฟป่า ข. น้าท่วม ค. ดินถล่ม ง. แผน่ ดนิ ไหว 2. การเกดิ ไฟปา่ มผี ลเสียต่อข้อใดมากท่สี ดุ ก. ตน้ ไม้ได้รบั ความร้อน ข. สญู พนั ธ์ุไม้ พันธ์ุสตั วป์ า่ ค. สตั วป์ ่าหนีออกนอกป่าสงวน ง. บา้ นเรอื น ทรพั ยส์ ินของชาวบ้านเสยี หาย 3. แหล่งนา้ มันส่วนใหญ่ของโลกอยบู่ ริเวณใด ก. ตะวนั ออกกลาง ข. ตะวันออก ค. แอฟริกา ง. เอเชีย 4. สาเหตหุ ลักของการสญู เสียผนื ปา่ ในประเทศออสเตรเลยี คือข้อใด ก. การบุกรุกป่าเพ่ือทาการเกษตร ข. การถางป่าเพ่ือทาไร่เลือ่ นลอย ค. การขาดแคลนนา้ และฝนท้ิงชว่ ง ง. ไฟปา่ ท้งั จากฝมี ือมนุษยแ์ ละจากธรรมชาติ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 29

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค 5. ไฟป่าที่เกดิ ในประเทศอินโดนเี ซยี มักจะเกิดในเดอื นใด ก. ตลุ าคม ข. กนั ยายน ค. ธันวาคม ง. พฤศจิกายน 6. ข้อใดกล่าวผิดเก่ียวกบั ปรากฏการณ์เอลนโี ญ ก. กระแสน้าอุน่ ไหลกลบั ข. แปซิฟิกตะวนั ตกชุม่ ช้ืน ค. แปซฟิ กิ ตะวันตกแหง้ แล้ง ง. ฝนตกทางแปซฟิ ิกตะวันออกมาก 7. ข้อใดไม่ใชผ่ ลกระทบท่ีเกิดจากปรากฏการณ์เอลนโี ญ ก. ไฟป่า ข. ภาวะแหง้ แลง้ ค. ปะการังฟอกขาว ง. ฤดูกาลเปล่ยี นแปลง 8. วิธกี ารใดเปน็ การเตรยี มความพร้อมเพ่ือรับสถานการณ์ภยั แล้งดีทส่ี ดุ ก. การทาฝนเทียม ข. วางแผนการใช้นา้ อย่างประหยัด ค. คลุมฟางขา้ วบรเิ วณแปลงผักและโคนต้นไม้ ง. ปลกู พืชคลมุ ดินเพอ่ื ป้องกันการพังทลายของหน้าดิน 9. การเกิดภาวะโลกรอ้ นมีสาเหตสุ าคัญในขอ้ ใด ก. เกดิ ไฟป่าอย่างต่อเนอื่ ง ข. ปา่ ไม้ลดนอ้ ยสง่ ผลกระทบต่อสิง่ มชี วี ิตในป่า ค. เกดิ โรคระบาดอย่างรุนแรงทาความเสียหายต่อชวี ิตมนุษย์ ง. มนุษย์เปน็ ตวั การสาคญั ในการปลอ่ ยแก๊สเรือนกระจกออกสบู่ รรยากาศ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 30

ชุดท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 10. ข้อใดเปน็ วิธีการเตรยี มความพรอ้ มรับสถานการณ์ การเกิดหมอกควันทถ่ี ูกต้อง ก. ตดั ตน้ ไม้ใหญ่และไมพ้ มุ่ เพื่อป้องกันไฟไหมจ้ ากฟ้าผ่า ข. ปิดหนา้ ต่างไม่ใหค้ วนั ออกไปรบกวนบา้ นเรอื นใกลเ้ คยี ง ค. เผาขยะในปริมาณมาก ๆ เพ่ือลดจานวนครง้ั การเผาขยะ ง. หลกี เลยี่ งการเผาหรือการกระทากจิ กรรมทกี่ อ่ ให้เกิด ฝนุ่ ควนั เพ่ิมข้ึน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 31

ชุดที่ 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค กระดาษคาตอบ แบบทดสอบก่อนเรยี นและหลงั เรยี น ชุดท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาตทิ างชวี ภาค แบบทดสอบกอ่ นเรียน ง แบบทดสอบหลังเรยี น ง ข้อ ก ข ค ขอ้ ก ข ค 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเตม็ 10 คะแนน ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 32

ชุดที่ 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชีวภาค บรรณานกุ รม กรมทรัพยากรธรณี. 2544. ธรณวี ิทยาประเทศไทยเฉลิมพระเกียรตพิ ระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั เนอื่ งในวโรกาสพระราชพธิ ีมหามงคลเฉลมิ พระชนมพรรษา 6 รอบ 5 ธนั วาคม 2542. (พิมพ์ครัง้ ท่ี 1). กรงุ เทพฯ : กองธรณวี ิทยากรมทรพั ยากรธรณี. กรมทรัพยากรธรณี. 2550. ธรณีวิทยาประเทศไทย. (พิมพ์ครงั้ ท่ี 2). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พด์ อกเบย้ี . คณะกรรมการวิชาสง่ิ แวดลอ้ ม เทคโนโลยีและชีวติ ศนู ยว์ ชิ าบูรณาการ หมวดวิชาศกึ ษาทว่ั ไป มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์, 2549. ส่งิ แวดล้อมเทคโนโลยีและชีวติ . กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาเกษตรศาสตร์. ภาควชิ าปฐพีวิทยา มหาวิทยาลยั เกษตรศาสตร์. 2548. ปฐพวี ทิ ยาเบื้องตน้ . กรงุ เทพมหานคร: มหาวทิ ยาลยั เกษตรศาสตร์. ภาควชิ าภมู ศิ าสตร์ คณะศกึ ษาศาสตร์ มหาวทิ ยาลยั รามคาแหง. 2535. ภูมศิ าสตรเ์ ศรษฐกจิ . กรงุ เทพมหานคร : มหาวทิ ยาลัยเกษตรศาสตร์. ชัชพล ทรงสุนทรวงศ.์ 2546. มนุษยก์ ับส่ิงแวดลอ้ ม. กรงุ เทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ดาภา ไชยพรธรรม. 2537. สึนามแิ ผ่นดินไหวภัยใกลต้ วั . กรุงเทพมหานคร : ยโู รปา เพรส. เทพพรรณี เสตสุบรรณ. (ม.ป.ป. ). ภยั พิบตั ิจากธรรมชาตใิ นเขตร้อน. กรุงเทพมหานคร : โอเดยี นสโตร์. นิวตั ิ เรอื งพานชิ . 2528. การอนุรกั ษท์ รัพยากรและสง่ิ แวดลอ้ ม. กรงุ เทพมหานคร : เฉลิมชาญ การพมิ พ์. ประสิทธ์ิ ทีฆพฒุ ิ และศุภฤกษ์ ตันศรีรตั นวงศ.์ 2549. คมู่ ือเตือนภยั พิบตั ิทางธรรมชาติ. กรุงเทพมหานคร : ดอกหญ้า กรุป๊ . ระวิวรรณ ต้ังตรงขันต,ิ พรวมิ ล สว่างชม และภาณภุ ัทร วงศว์ รปัญญา. 2564. แบบฝกึ สมรรถนะ การคิด เนน้ Geo-Literacy ภูมศิ าสตร์ ม.4-6. (พิมพ์ครง้ั ท่ี 1) กรุงเทพฯ : ไทยรม่ เกลา้ , บรษิ ัทอกั ษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด ราชบัณฑิตยสถาน. 2558. พจนานกุ รมศพั ท์ธรณวี ทิ ยา A-M. (พิมพค์ รงั้ ที่ 2). กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พ์คณะรฐั มนตรีและราชกิจจานุเบกษา. ราชบัณฑิตยสถาน. 2558. พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา N-Z. (พิมพค์ ร้ังที่ 2). กรงุ เทพฯ : สานักพมิ พค์ ณะรฐั มนตรีและราชกจิ จานุเบกษา. สถาบันส่งเสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2551. หนังสอื เรยี นรายวิชาพนื้ ฐาน วิทยาศาสตร์ ดวงดาวและโลกของเรา. (พิมพค์ รั้งท่ี 1). กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 33

ชุดท่ี 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวทิ ยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2551. หนงั สอื เรยี นรายวิชาพื้นฐาน โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพ์ครัง้ ท่ี 8). กรงุ เทพฯ : โรงพิมพ์ สกสค. สถาบันสง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตรแ์ ละเทคโนโลยี. 2554. หนงั สอื เรียนรายวชิ าเพิ่มเติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ. (พิมพค์ รัง้ ที่ 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ สกสค. สถาบนั สง่ เสรมิ การสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. 2561. หนังสอื เรียนรายวิชาเพ่มิ เติม โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ เล่ม 1. (พิมพค์ รั้งท่ี 1). กรงุ เทพฯ : โรงพมิ พ์ แห่งจุฬาลงกรณม์ หาวิทยาลยั . อภสิ ทิ ธ์ิ เอ่ยี มหนอ่ และคณะ. 2564. หนังสือเรยี นรายวิชาพนื้ ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ภมู ิศาสตร์ ชั้นมธั ยมศกึ ษาปีที่ 4-6. (พิมพ์คร้ังท่ี 8) กรงุ เทพฯ : ไทยร่มเกลา้ , บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จากัด https://themomentum.co/australia-bushfires-2019 https://th.public-welfare.com/4326400-drought-in-california-in-2014 Africa_famine_Oxfam_01.jpg https://socialyrc.files.wordpress.com/ http://upload.wikimedia.org/wikipedia/commons/6/6b/2011_Horn_of_ http://www.pinthong-group.com/tab/detail.php?id=38 http://www.siamtownus.com/2016/New-1712000062-1.aspx โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 34

ชุดที่ 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ 35

ชุดที่ 8 ภัยพิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี 8.1 เร่ือง การเกดิ ภัยแล้งและไฟป่า คาชแี้ จง : ให้นักเรยี นสืบค้นขอ้ มูลเก่ียวกับการเกดิ ภัยแล้งและไฟป่าแล้วตอบคาถามต่อไปนี้ 1. การเกิดความแห้งแล้งในประเทศไทยเกี่ยวข้องกับปฏิสัมพันธ์ทางภูมิศาสตร์ในด้านใด และมี ลักษณะอยา่ งไร ……แน…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………ก…า…ร…เก…ิด…คว…า…ม…แ…ห้…งแ…ล…้งใ…น…ป…ร…ะเ…ท…ศไ…ท…ย…เก…ี่ย…ว…ข้อ…ง…ก…ับ…ป…ฏิส…ัม…พ…ัน…ธ…์ท…าง…ภ…ูม…ิศ…าส…ต…ร…์ใน…ส…่ว…น…ขอ…ง…… ……บร…ร…ย…าก…า…ศ…ภา…ค…ก…ล…่า…วค…ือ……ช่ว…ง…เว…ล…าก…า…ร…ปก…ค…ล…ุม…พ…้ืน…ท่ีข…อ…ง…ล…มม…ร…ส…ุม…มีอ…ิท…ธ…ิพ…ล…อย…่า…ง…ย่ิง…ต…่อ…กา…ร…เก…ิด…… ……คว…า…ม…แ…ห…้งแ…ล…้ง…ใน…ป…ร…ะ…เท…ศ…ไ…ท…ย …เม…่ือ…ล…ม…ม…ร…สุม…ต…ะ…ว…ัน…ต…กเ…ฉ…ีย…งใ…ต…้อ…่อน…ก…า…ล…ัง…ลง…ป…ก…ค…ล…ุมพ…้ื…นท…ี่ใ…น…… ……ระ…ย…ะเ…ว…ลา…ส…น้ั …ล…ง …ห…รอื …ล…ม…มร…ส…ุม…ต…ะว…ัน…อ…อ…กเ…ฉ…ียง…เห…น…อื …ท…นี่ …าค…ว…า…มห…น…า…ว…เย…น็ …แห…้ง…แ…ล…้งจ…า…กต…อ…น…เห…น…ือ…… ……ขอ…ง…ท…วีป…ท…ี่ม…ีก…า…ลัง…แ…ร…งห…ร…ือ…พ…ัดม…า…เร…็ว…ก…ว่า…ป…ก…ต…ิ ก…็ท…า…ให…้เก…ิด…ค…ว…าม…แ…ห…้ง…แล…้ง…ข…้ึน…ได…้ น…อ…ก…จ…าก…น…ี้ …กา…ร…… ……เก…ดิ …พ…าย…ุห…ม…นุ …เข…ต…ร้อ…น…ท…ี่ม…ีอ…ทิ ธ…พิ …ล…ต…่อ…ปร…ิม…า…ณ…น…้าฝ…น…ใน…ป…ร…ะ…เท…ศ…ไท…ย…น…้อ…ย…กว…่า…2…ล…ูก…ก…็อ…า…จส…่ง…ผ…ล…ให…้ … ……ใน…ป…ีน…นั้ …เก…ดิ …คว…า…ม…แห…ง้ …แ…ลง้…ข…ึ้น…ได…้ …………………………………………………………………………………………… 2. พน้ื ที่บรเิ วณใดของประเทศไทยทีม่ ักประสบปัญหาความแหง้ แลง้ และมีสาเหตุมาจากส่ิงใด …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………พ…้ืน…ท…่ีท…่ีได…้ร…ับ…ผ…ลก…ร…ะ…ท…บจ…า…ก…ภ…ัยแ…ล…้ง…มา…ก…ไ…ด…้แ…ก่ …บ…ริเ…ว…ณ…ภ…าค…ต…ะ…วัน…อ…อ…ก…เฉ…ีย…งเ…ห…น…ือต…อ…น…ก…ลา…ง…… …เ…พ…ร…าะ…เ…ป็น…บ…ร…ิเว…ณ…ท…ี่อ…ิท…ธ…ิพ…ล…ขอ…ง…ล…ม…มร…ส…ุม…ต…ะ…วัน…ต…ก…เฉ…ีย…ง…ใต…้เข…้า…ไ…ปไ…ม…่ถ…ึง…แ…ละ…ถ…้า…ป…ีใด…ท…่ีไ…ม่ม…ีพ…า…ย…ุ … …ห…ม…นุ …เข…ต…ร…้อ…นเ…ค…ลอื่…น…ผ…า่ …นใ…น…แ…น…วด…งั …กล…า่ …ว…แล…ว้ …จ…ะ…ก…อ่ ใ…ห…เ้ ก…ิด…ภ…ัย…แล…ง้ …รนุ…แ…ร…งม…า…ก…ย่ิง…ข…นึ้ ……………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ไฟป่าสามารถเกดิ ขนึ้ เองตามธรรมชาตไิ ด้หรอื ไม่ อย่างไร …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………ไ…ฟ…ป…่าส…า…ม…าร…ถ…เก…ิด…ข…้ึน…เอ…ง…ต…าม…ธ…ร…รม…ช…า…ติ…โด…ย…ม…ีส…า…เห…ต…ุ เ…ช่…น…ก…าร…เ…กิด…ฟ…้า…ผ…่าท…า…ใ…ห้ต…้น…ไ…ม…้เก…ิด…… …ไ…ฟ…ไห…ม…้ …มกั…เ…กิด…ข…ึ้น…ม…าก…ใ…น…ป…่าไ…ม…เ้ ข…ต…อบ…อ…ุ่น…ข…อ…งส…ห…ร…ฐั อ…เม…ร…ิก…าแ…ล…ะ…ป…ระ…เ…ทศ…แ…ค…น…าด…า…ก…า…รเ…ส…ยี …ดส…ีก…ัน…… …ข…อ…ง…กิ่ง…ไ…ม้แ…ห…้ง…ใน…ช…่ว…งเ…วล…า…ท…อ่ี …าก…า…ศ…ร้อ…น…แ…ล…ะแ…ห…้ง…แล…้ง…ม…ัก…เก…ิด…ข…ึ้น…ใน…พ…้ืน…ท…่ีป…่าท…ี่ม…ีไ…ม…ข้ ึ้น…อ…ย…ู่ห…น…าแ…น…่น…… …เ…ช…น่ …ป…า่ …ไผ…่แ…ละ…ป…่า…ส…น…………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 36

ชุดท่ี 8 ภยั พบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค 4. ไฟปา่ ก่อใหเ้ กดิ ผลกระทบต่อระบบนิเวศอยา่ งไรบา้ ง อธบิ ายพร้อมยกตวั อย่างพอสังเขป …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… …………ไ…ฟ…ป…่าม…ีผ…ล…กร…ะ…ท…บ…ตอ่…ร…ะ…บ…บน…เิ…วศ…ห…ล…า…ยป…ร…ะ…ก…าร…เ…น…่ือง…ด…ว้ …ยป…า่ …ไม…้เ…ป…น็ แ…ห…ล…ง่ ข…อ…ง…ค…วา…ม…ส…ัมพ…ัน…ธ…์ … …ข…อ…ง…สงิ่…ม…ีช…ีวติ…ท…ัง้ …พ…ืชแ…ล…ะ…ส…ัตว…์ต…่า…ง …ๆ…ต…วั …อย…่า…งข…อ…ง…ผล…ก…ร…ะท…บ……เช…่น…ก…า…รส…ูญ…พ…นั …ธ…์ขุ …อง…พ…ืช…จ…าก…ก…า…รถ…ูก…… …เ…ผ…าไ…ห…ม…้ ก…าร…ส…ูญ…พ…นั …ธ…์ขุ อ…ง…ส…ตั ว…จ์ …า…กก…า…รถ…ูก…ท…า…ลา…ย…ท…่ีอ…ยอู่…า…ศ…ยั แ…ล…ะ…แ…หล…่ง…อ…าห…า…ร…ก…าร…เ…กิด…ม…ล…พ…ิษ…ท…าง…… …อ…า…ก…าศ…จ…า…ก…แก…๊ส…แ…ล…ะเ…ถ…้าถ…่า…น…ข…อง…ก…า…รเ…ผา…ไ…ห…ม้…ก…าร…ข…า…ดแ…ห…ล…่ง…ป…่าไ…ม…้ท…่ีเป…็น…ต…้น…น้…าล…า…ธา…ร…แ…ล…ะ…กา…ร…… …ส…ญู …เ…ส…ยี ค…ว…า…มอ…ดุ …ม…ส…มบ…รู…ณ…์ข…อ…งด…นิ …จ…าก…ก…า…รท…่ีห…น…้า…ดิน…ถ…ูก…เผ…า…ท…าล…า…ย……………………………………………… 5. การจัดการภยั พิบัตภิ ยั แล้ง ควรปฏิบตั อิ ยา่ งไร 37 …แ…น…ว…ค…า…ตอ…บ………………………………………………………………………………………………………………………… ………………ม…า…ต…รก…า…ร…ม…ีด…งั …น…้ี ………………………………………………………………………………………………… ……………………………1.…จ…ัด…ร…ะบ…บ…ก…า…รช…ล…ป…ร…ะท…า…น…ให…้ม…ีป…ร…ะส…ิท…ธ…ิภ…าพ…ม…า…ก…ขึ้น……ม…ีก…าร…จ…ัด…สร…ร…ก…าร…ใช…้น…้า…… …อ…ย…่า…งเ…ห…มา…ะ…ส…ม…เพ…ือ่…ใ…หม้…ปี…ร…มิ …าณ……นา้…ส…าร…อ…ง…ไว…ใ้ ช…ห้ …า…กเ…ก…ดิ ภ…ัย…แ…ล…ง้ ………………………………………………… ……………………………2.…จ…ัด…ห…า…แล…ะ…ก…่อ…ส…ร้า…ง…แ…ห…ล่ง…น…้า…ห…รือ…แ…ห…ล…่ง…กัก…เ…ก…็บ…น้…าข…น…า…ด…ให…ญ…่ …ก…าร…พ…ัฒ…น…า…… …พ…้ืน…ท…่ีช…ุ่ม…น…้า…ก…าร…ข…ุด…ล…อก…ล…า…น…้าเ…พ…ื่อเ…ป…็น…แห…ล…่ง…ก…ักเ…ก…็บ…น้า……รว…ม…ถ…ึงพ…ัฒ…น…า…แ…ห…ล่ง…น…้า…ใต…้ด…ิน…ท…่ีมีป…ร…ิม…า…ณ…… …ม…า…ก…แ…ละ…ม…คี …ณุ …ภ…าพ…เ…พ…่ือน…า…ม…าใ…ช…ป้ …ระ…โ…ยช…น…์ใ…นก…า…ร…อุป…โ…ภ…คบ…ร…ิโ…ภค……แ…ละ…ก…า…รเ…กษ…ต…ร…………………………… ……………………………3.…จ…ดั …ท…าร…ะ…บ…บ…เต…ือ…น…ภัย…แ…ล…ง้ …เช…่น…ก…า…ร…จัด…ท…า…ป…ฏ…ิทนิ…ร…ะ…บ…ุถึง…ร…ะย…ะ…เ…วล…า…ท…่อี า…จ…เก…ิด…… …ภ…ัย……แล…ะ…ให…ค้ …ว…าม…ร…ู้แ…ก…่ปร…ะ…ช…าช…น…ถ…ึงก…า…ร…เต…รีย…ม…ร…บั …มอื…แ…ล…ะ…ผล…ก…ร…ะท…บ…ท…่ีไ…ดร้…ับ…จ…าก…ภ…ยั …แ…ลง้…………………… ………………ว…ิธ…ีป…อ้ ง…ก…ัน…ท…า…ได…้ …ดัง…น…ี้ …………………………………………………………………………………………… ……………………………1.…ต…ิด…ต…าม…ส…ภ…า…วะ…อ…าก…า…ศ…ฟ…ัง…ค…าแ…จ…ง้ เ…ต…อื น…จ…า…กห…น…ว่ …ย…งา…น…ท…เี่ ก…ีย่ …วข…้อ…ง…………………… ……………………………2.…เ…ต…รีย…ม…อ…ุป…กร…ณ…์ห…ร…ือ…ภา…ช…น…ะ…สา…ห…ร…ับ…กัก…เ…ก็บ…น…้า…เพ…่ือ…ใ…ห้…มนี…้า…ใช…้เ…พ…ียง…พ…อ…ใน…ก…ร…ณ…ี … …เ…ก…ิด…ภัย…แ…ล…ง้ ห…ร…ือ…เม…่ือ…ถ…ึงย…า…มจ…า…เป…น็ …………………………………………………………………………………………… ……………………………3.…ป…ล…ูก…ป…่าไ…ม…ม้ า…ก…ข…ึน้ …เพ…อื่ …ให…ม้ …ีค…วา…ม…ช…ืน้ …เพ…ีย…งพ…อ…ท…จ่ี …ะ…ทา…ใ…หเ้…ก…ิด…ฝน………………………… ………………ก…า…รป…ฏ…ิบ…ัต…ติ …น……มีด…งั…น…ี้. …………………………………………………………………………………………… ……………………………1…. ส…า…ร…อง…ภ…า…ชน…ะ…เ…ก็บ…ก…ัก…น…้าไ…ว…้ให…้เ…พ…ียง…พ…อ…ใน…ช…่ว…งฤ…ด…ูฝ…น…เ…พ…ื่อจ…ะ…ไ…ด้ม…ีน…้า…ไว…้ใ…ช้ใ…น…… …ย…า…ม…ข…าด…แ…ค…ลน…ช…ว่ …งเ…ก…ดิ ภ…า…ว…ะภ…ยั …แ…ล…้ง ……………………………………………………………………………………… ……………………………2…. เ…ต…รีย…ม…ส…ร้า…ง…ระ…บ…บ…ก…กั …เก…็บ…น…า้ ใ…น…พ…้ืนท…ก่ี…า…ร…เก…ษ…ต…ร …เช…่น…ข…ดุ …บ…อ่ …นา้……ร่อ…ง…น…า้ …เพ…่ือ…… …จ…ะ…ได…้ม…แี …ห…ล…่งน…า้ …ส…าร…อ…งไ…ว้ใ…ช…้ป…ระ…โ…ยช…น…์ …………………………………………………………………………………… ……………………………3…. ต…ดิ …ต…า…มส…ภ…า…วะ…อ…า…กา…ศ…ฟ…ัง…ค…าเ…ต…อื น…จ…า…ก…ทา…ง…รา…ช…ก…าร…ร…ว…ม…ท…งั้ เ…ตร…ยี …ม…ห…มา…ย…เล…ข…… โทรศพั ท์ ฉุกเฉนิ เพือ่ ขอนา้ ไว้บริโภคอุปโภค หรอื ดบั ไฟป่า 4. กาจัดวัสดุเชือ้ เพลิงรอบทพี่ ัก เพ่อื ป้องกันการ เกดิ ไฟปา่ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ

ชุดที่ 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค บตั รกิจกรรมที่ 8.2 เรอื่ ง ภัยพบิ ัตธิ รรมชาติทางชวี ภาค คาชแี้ จง ให้นักเรยี นเขยี นแผนภาพการปฏิบัติตนเมื่อเกิดภัยพิบัติธรรมชาตทิ างชีวภาค …ก…า…รป…ฏ…ิบ…ตั …ิต…น…เม…่ือ…เก…ิด…ไฟ…ป…่า…………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพเิ ศษ 38

ชุดท่ี 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …ก…า…ร…ป…ฏบิ…ตั…ติ …น…เม…่ือ…เ…กดิ…ภ…ยั …แ…ล…ง้ ……………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 39

ชดุ ที่ 8 ภัยพบิ ตั ิธรรมชาติทางชีวภาค เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 8.3 แผนผังมโนทศั น์ เรือ่ ง ภยั พิบัตธิ รรมชาติทางชีวภาค คาช้ีแจง ให้นักเรียนสรุปความรู้ท่ีเก่ียวกับ “ภัยพิบัติธรรมชาติทางชีวภาค” เป็นแผนผัง มโนทศั น์ (Concept Mapping) ในกระดาษท่แี จกให้แลว้ นาเสนอผลงานหนา้ ชน้ั เรียน ขนึ้ อยู่กับดุลพนิ ิจของครผู ู้สอน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 40

ชดุ ที่ 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลงั เรยี น ชุดท่ี 5 ภยั พิบัตธิ รรมชาตทิ างธรณภี าค แบบทดสอบก่อนเรยี น แบบทดสอบหลงั เรยี น ข้อ ก ข ค ง ขอ้ ก ข ค ง 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10  10  โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ 41

ชุดท่ี 8 ภยั พิบตั ิธรรมชาติทางชวี ภาค ประวตั ิย่อผจู้ ดั ทา ชอื่ – สกลุ นายรมยร์ วินท์ เชิดชู วัน เดือน ปี เกดิ วนั ที่ 22 สิงหาคม พ.ศ. 2521 สถานทีเ่ กิด บา้ นเลขที่ 10/2 หมู่ 18 ตาบลกระโพ อาเภอท่าตูม จังหวดั สุรนิ ทร์ โทรศัพท์ 082-1363696 ตาแหนง่ หนา้ ที่ปัจจุบัน ครู วทิ ยฐานะ ครูชานาญการพเิ ศษ สถานทที่ างานในปัจจบุ ัน โรงเรยี นเบ็ตตี้ดเู มน 2 ช่องเม็ก ตาบลชอ่ งเม็ก อาเภอสริ ินธร จังหวดั อบุ ลราชธานี สังกัดองค์การบริหารสว่ นจังหวัดอบุ ลราชธานี ประวตั กิ ารศึกษา ปรญิ ญาตรี ครุศาสตรบัณฑิต วชิ าเอก เทคโนโลยแี ละนวตั กรรม พ.ศ. 2544 การศกึ ษา สถาบนั ราชภฏั สรุ นิ ทร์ ปริญญาโท ศกึ ษาศาสตรมหาบัณฑิต พ.ศ. 2553 สาขาการบรหิ ารการศกึ ษา มหาวิทยาลัยรามคาแหง ประสบการณก์ ารทางาน พ.ศ. 2551 ตาแหน่ง นักวชิ าการศึกษา องค์การบรหิ ารสว่ นตาบลพลงตาเอ่ียม อาเภอวงั จันทร์ จงั หวดั ระยอง พ.ศ. 2553 ครผู ้ชู ว่ ย โรงเรยี นมัธยมบา้ นบางกะปิ สานักงานเขตบางกะปิ สานกั การศึกษา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2555 ครู คศ1. โรงเรยี นมธั ยมบา้ นบางกะปิ สานกั งานเขตบางกะปิ สานักการศึกษา กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2559 ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการ โรงเรยี นเบต็ ตดี้ ูเมน 2 ช่องเมก็ ตาบลชอ่ งเม็ก อาเภอสริ ินธร จังหวดั อุบลราชธานี สังกัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั อุบลราชธานี พ.ศ. 2561 ตาแหน่งครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ โรงเรียนเบ็ตต้ีดูเมน 2 ช่องเม็ก ตาบลช่องเมก็ อาเภอสิรนิ ธร จงั หวัดอุบลราชธานี สงั กัดองคก์ ารบรหิ ารส่วนจังหวดั อบุ ลราชธานี โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู านาญการพิเศษ 42

ชดุ กิจกรรมการเรยี นรู้ เรอื่ ง การเปลยี่ นแปลงทางกายภาพของโลก และภยั พบิ ตั ทิ างธรรมชาติ กลมุ่ สาระการเรยี นรสู้ งั คมศกึ ษา ศาสนา และวฒั นธรรม รายวิชาสงั คมศึกษา 5 (ภมู ศิ าสตร)์ รหสั วชิ า ส33101 ชน้ั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 6 โรงเรียนเบต็ ตดี้ เู มน 2 ชอ่ งเมก็ อาเภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อุบลราชธานี


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook