Important Announcement
PubHTML5 Scheduled Server Maintenance on (GMT) Sunday, June 26th, 2:00 am - 8:00 am.
PubHTML5 site will be inoperative during the times indicated!

Home Explore ชุดที่ 6

ชุดที่ 6

Published by romrawin.nuty, 2022-08-23 07:42:17

Description: ชุดที่ 6

Search

Read the Text Version

รายวชิ าสงั คมศึกษา 5 รหสั วชิ า ส23101 ชน้ั มธั ยมศึกษาปีท่ี 3 สาระหนา้ ท่พี ลเมอื ง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวติ ในสงั คม ชดุ ท่ี 6 : สงั คมไทยในปจั จบุ นั นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ โรงเรยี นเบต็ ต้ดี ูเมน 2 ช่องเมก็ อาํ เภอสริ นิ ธร จงั หวดั อบุ ลราชธานี องคก์ ารบรหิ ารสว่ นจงั หวดั อบุ ลราชธานี



ห น้ า | ก คาํ นาํ ชุดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับ ชั้นมัธยมศึกษาปีท่ี 3 สาระหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม จัดทําขึ้นเพ่ือเป็น สื่อนวัตกรรมประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส23101 ชุดการเรียนรู้แบบอภิปัญญา มีฐานความคิดมาจากทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความสามารถของบุคคล ที่มีต่อกระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรท่ีเหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถ เลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพ่ือให้ผู้เรียนใช้ ประกอบกิจกรรมการเรียนการสอนและสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง ช่วยให้นักเรียนได้เรียนด้วยตนเอง ตามอัตภาพและตามความสามารถ ใช้สอนซ่อมเสริมให้แก่นักเรียนท่ียังเรียนไม่ทัน ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการอ่าน และเป็นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทําเป็น ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่องผสมผสานสาระการเรียนรู้ด้านต่างๆ อย่างได้สัดส่วนและสมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพ่ือให้ ผู้เรียนมีความรู้ ความเข้าใจและพัฒนาผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนของผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม เป็นนวัตกรรมท่ีช่วยลดบทบาทของครูตามแนวทางการปฏิรูปการ เรียนรู้ท่ียึดผู้เรียนเป็นสําคัญ เป็นกิจกรรม การเรียนรู้ที่ส่งเสริมให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง คิดเป็น ทําเป็น แก้ปัญหาได้ สามารถพัฒนาตนเอง ได้เต็มตามศักยภาพ ซึ่งสอดคล้องกับหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ท่ีมุ่งเน้นให้ผู้เรียน ได้รับการพัฒนาทั้งด้านความรู้ กระบวนการคิด กระบวนการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา ความสามารถในการสื่อสาร การตัดสินใจ การนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวัน ตลอดจนส่งเสริมให้ ผ้เู รียนมจี ิตวทิ ยาศาสตร์คุณธรรมและคา่ นยิ มทถ่ี ูกต้องเหมาะสม ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้น้ีจะเป็นประโยชน์ต่อผู้เรียนทําให้มีความรู้ ความเข้าใจเก่ียวกับหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม ได้เป็นอย่างดี และมี ผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนสูงข้ึน สามารถใช้เพื่อศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเป็นสื่อที่มีประสิทธิภาพ สามารถอํานวยประโยชน์ต่อการเรียนการสอนให้บรรลุวัตถุประสงค์ของหลักสูตรได้ และเป็น ประโยชน์ตอ่ ทางการศึกษาตอ่ ไป รมย์รวนิ ท์ เชิดชู โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

สารบญั ห น้ า | ข เรื่อง หนา้ คาํ นํา ก สารบญั ข คาํ ช้ีแจงเกย่ี วกับการใช้ชุดการเรียนรู้ ค แผนภูมิลําดบั ขน้ั ตอนการใช้ชุดการเรยี นรู้ ง คําช้ีแจงการใช้ชดุ การเรยี นรสู้ าํ หรบั ครู จ คาํ ชี้แจงการใช้ชุดการเรยี นรสู้ าํ หรับนักเรียน ฉ 1 สาระการเรียนรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ 1 สาระสําคญั 2 จุดประสงคก์ ารเรียนรู้ 3 แบบทดสอบก่อนเรยี น 6 กจิ กรรมอภปิ ญั ญา เร่อื ง สงั คมไทยในปจั จุบนั 7 บตั รเน้ือหา ชดุ ที่ 6 เรอ่ื ง สังคมไทยในปจั จบุ ัน 28 กิจกรรมอภิปัญญา เร่ือง สงั คมไทยในปจั จบุ ัน 30 บตั รกจิ กรรมท่ี 1 เรอื่ ง สังคมไทยในปจั จบุ ัน 32 บัตรกจิ กรรมที่ 2 กิจกรรมพฒั นาการเรียนรู้ เร่ือง สังคมไทยในปัจจบุ นั 36 บัตรกจิ กรรมที่ 3 แบบฝกึ หดั เรื่อง สังคมไทยในปัจจุบนั 37 แบบทดสอบหลงั เรยี น 40 กระดาษคําตอบแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 41 บรรณานุกรม 42 ภาคผนวก 43 เฉลยบตั รกิจกรรมที่ 1 เรอื่ ง สงั คมไทยในปัจจบุ นั 45 เฉลยบัตรกิจกรรมท่ี 2 กิจกรรมพัฒนาการเรียนรู้ เร่อื ง สงั คมไทยในปจั จบุ นั 49 เฉลยบตั รกจิ กรรมที่ 3 แบบฝกึ หัด เรื่อง สังคมไทยในปัจจบุ ัน 50 เฉลยแบบทดสอบกอ่ นเรยี นและหลังเรยี น 51 ประวัตยิ ่อผู้จดั ทาํ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | ค คาํ ชีแ้ จงเกย่ี วกบั ชดุ การเรยี นรู้ ชุดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ระดับชั้นมัธยมศึกษา ปีท่ี 3 สาระหน้าท่ีพลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม จัดทําข้ึนเพ่ือเป็นสื่อนวัตกรรม ประกอบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหัสวิชา ส23101 ชุดการเรียนรู้ แบบอภิปัญญามีฐานความคิดมาจากทฤษฎีการเรียนรู้อย่างมีความสามารถของบุคคลท่ีมีต่อ กระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรท่ีเหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถเลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพื่อให้การเรียนรู้หรือการ ปฏิบัติงานต่างๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งองค์ประกอบของ Metacognition มี 3 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ความรู้ (2) การควบคุมตนเอง และ (3) ความตระหนัก ต่อกระบวนการคิด โดยสอดคล้องตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) กระทรวงศึกษาธิการ เพ่ือให้นักเรียนเกิดความกระตือรือร้น มีความสุขใน การทํากิจกรรมการเรียนรู้ และเพื่อส่งเสริมเจตคติท่ีดี นักเรียนจะได้พัฒนากระบวนการคิด กระบวนการตัดสินใจ กระบวนการแก้ปัญหา และสามารถนําความรู้ไปใช้ในชีวิตประจําวันได้ มุง่ เนน้ พฒั นาผู้เรียนให้เกดิ การเรียนรู้ ซ่งึ ประกอบด้วยชุดการเรยี นรู้ จาํ นวน 8 ชดุ ดังนี้ ชดุ ท่ี 1 เรอื่ ง กฎหมายแพ่งและพาณชิ ย์ ชดุ ที่ 2 เร่ือง กฎหมายอาญา ชดุ ที่ 3 เรือ่ ง สิทธมิ นษุ ยชน ชุดที่ 4 เรอ่ื ง วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย ชุดที่ 5 เรอ่ื ง วัฒนธรรมสากล ชุดท่ี 6 เรือ่ ง สงั คมไทยในปัจจบุ นั ชุดที่ 7 เรื่อง รปู แบบการปกครองในยคุ ปจั จุบนั ชุดท่ี 8 เร่ือง ปัญหาท่ีเป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของไทยและแนวทาง แกป้ ญั หา ชุดการเรียนรู้ ชุดน้ีเป็น ชุดที่ 6 เร่ือง สังคมไทยในปัจจุบัน ใช้เวลา 2 ช่ัวโมง ผู้ใช้ชุดการ เรียนรู้นีค้ วรศกึ ษาข้ันตอนการใช้ชุดการเรียนรู้อย่างละเอียดกอ่ นใช้ ผู้จัดทําหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ชุดการเรียนรู้ชุดนี้ จะมีประโยชน์ต่อนักเรียนและผู้สนใจที่จะ นําไปใชส้ อนและฝกึ เดก็ ในปกครองในการพัฒนากระบวนการเรียนรู้ใหม้ คี ุณภาพมากยงิ่ ขนึ้ ต่อไป โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | ง แผนภูมิลาํ ดบั ขั้นตอนการใช้ชุดการเรียนรู้ อ่านคาํ ช้ีแจงและคําแนะนาํ ในการใช้ชุดการเรยี นรู้ ศกึ ษาตวั ชีว้ ัดและจุดประสงคก์ ารเรียนรู้ ทดสอบก่อนเรียน ศกึ ษาชดุ การเรยี นรู้ตามขน้ั ตอน ประเมนิ ผลการจัดกิจกรรมการเรยี นรจู้ ากชดุ กจิ กรรม ทดสอบหลังเรยี น ผา่ นการทดสอบ ศกึ ษาชุดการเรยี นรู้เรอื่ งต่อไป ชุดที่ 6 เรอ่ื ง สังคมไทยในปัจจุบัน โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | จ คําชแ้ี จงการใชช้ ดุ การเรียนรู้สําหรบั ครู ชุดการเรียนรู้แบบอภิปัญญาท่ีครูผู้สอนได้ศึกษาต่อไปนี้คือ ชุดท่ี 6 เรื่อง สังคมไทยใน ปัจจุบัน กิจกรรม 2 ชั่วโมง เป็นการจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้จากประสบการณ์จริง ฝึกการ ปฏิบัติให้ทําได้ คิดเป็น ทําเป็น ใฝ่รู้ ใฝ่เรียนอย่างต่อเนื่องผสมผสานสาระการเรียนรู้ด้าน ต่าง ๆ อย่างได้สัดส่วนและสมดุลกัน ปลูกฝังคุณธรรมค่านิยมท่ีดีงามและคุณลักษณะท่ีพึงประสงค์ โดยการนําอภิปัญญา (Metacognition) การรู้ความคิด หรือการคิดเกี่ยวกับความคิด ซ่ึงเป็นปัญญา สูงสุดของการเรียนรู้ หรือความสามารถของบุคคลที่มีต่อกระบวนการคิดของตนเอง รู้ว่าอะไรท่ี เหมาะสมกับตนเองในการเรียนรู้ ตลอดจนสามารถเลือกกลวิธี ในการวางแผน กํากับควบคุม และประเมินการเรียนรู้ของตนเองได้ เพื่อให้การเรียนรู้หรือการปฏิบัติงานต่าง ๆ บรรลุ ตามวตั ถุประสงค์ไดอ้ ยา่ งมปี ระสิทธิภาพ ครูผสู้ อนควรดาํ เนนิ การ ดังน้ี 1. ครูผู้สอนต้องศึกษาและทําความเข้าใจเกี่ยวกับคําชี้แจงการใช้ชุดการเรียนรู้สําหรับครู และแผนการจัดการเรียนรู้ เพื่อที่ครูผู้สอนสามารถนําชุดการเรียนรู้ไปใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ การจัดช้ันเรียน การเตรียมแหล่งเรียนรู้ การเตรียมส่ือ/อุปกรณ์ ท่ีใช้ในการ เรียนการสอน 2. การจัดชั้นเรียนจะจัดใหน้ กั เรยี นนั่งเป็นรายบุคคลหรือกล่มุ กไ็ ด้ 3. ให้นกั เรยี นทําแบบทดสอบกอ่ นเรยี นก่อนเพอื่ วัดพื้นฐานความรู้รายบคุ คล 4. แจง้ จุดประสงค์ให้นกั เรียนทราบ 5. แจกชุดการเรียนรใู้ ห้นักเรียนให้นักเรียนได้ศึกษา แนะนําวิธีการการใช้ชุดการเรียนรู้เพื่อ นกั เรียนจะไดป้ ฏิบตั ิอยา่ งถูกตอ้ ง 6. ดําเนนิ การสอนตามกจิ กรรมการเรยี นร้ทู กี่ ําหนดในแผนการจดั กิจกรรมการเรยี นรู้ 7. ขณะที่นักเรียนทุกกลุ่มปฏิบัติกิจกรรม ครูไม่ควรพูดเสียงดัง หากมีอะไรจะพูดต้องพูดเป็น รายกลุม่ หรอื รายบุคคล ต้องไม่รบกวนกจิ กรรมของนกั เรยี นกลุ่มอนื่ 8. หลังจากนักเรียนศึกษาชุดการเรียนรู้เสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูให้นักเรียน ทําใบกิจกรรม ทําแบบทดสอบหลังเรียน เพื่อประเมินผลการเรียนของนักเรียนแจ้งคะแนนให้นักเรียนทราบ เพอื่ นําไปพัฒนาตนเองให้ช่ัวโมงต่อไป 9. ครูคอยแนะนําช้ีแจง ให้กําลังใจนักเรียน สังเกตพฤติกรรมการเรียนในระหว่างเรียนเพื่อ ประเมินพฤตกิ รรมนกั เรียน 10. หลงั จากปฏบิ ตั กิ ิจกรรมแล้ว นักเรยี นจะตอ้ งจัดเก็บอปุ กรณ์ทกุ ชนิ้ ใหเ้ รยี บรอ้ ย โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | ฉ คําช้แี จงการใช้ชดุ การเรียนรู้สําหรบั นกั เรยี น ชุดการเรียนรู้ท่ีนักเรียนได้ศึกษาต่อไปน้ี คือ ชุดที่ 6 เรื่อง สังคมไทยในปัจจุบัน นักเรียนจะ ได้สํารวจ สังเกต และรวบรวมข้อมูลมาสรุปเป็นองค์ความรู้ โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการ สืบค้นข้อมูล กระบวนการทางสังคม กระบวนการเผชิญสถานการณ์ และแก้ปัญหาผ่านทาง กระบวนการกลุ่ม การรู้ความคิด หรือการคิดเกี่ยวกับความคิด ที่เป็นปัญญาสูงสุดของการเรียนรู้ แบบอภิปัญญา โดยจะช่วยให้นักเรียนสามารถวางแผนและทบทวนความคิดของตนเองอย่างเป็น ระบบ สามารถเลือกวิธีการเรียนรู้และประเมินผลที่เหมาะสมกับตนเอง และถ่ายทอดความคิด ออกมาเพ่ือให้การเรียนรู้หรือการแก้ปัญหาต่าง ๆ บรรลุตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ เพื่อให้ เกิดประโยชน์สูงสดุ นักเรียนควรปฏบิ ัตติ ามคาํ ชี้แจง ดงั ตอ่ ไปนี้ 1. นักเรียนรับชุดการเรยี นรู้ ชดุ ท่ี 6 เร่อื ง สงั คมไทยในปัจจบุ นั 2. นักเรยี นอ่านคาํ แนะนาํ คาํ ชี้แจงการใช้ชดุ การเรียนรู้ใหเ้ ข้าใจ 3. นักเรียนศึกษาสาระการเรียนรู้ มาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชี้วัด สาระสําคัญ และจุดประสงค์ การเรียนรู้ เพอื่ ใหท้ ราบว่าไดศ้ ึกษาเน้ือหาและเข้ารว่ มกิจกรรมไดค้ วามร้อู ะไร 4. นักเรียนเริ่มทําแบบทดสอบก่อนเรียน เพ่ือประเมินพื้นฐานความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ เร่ือง วัฒนธรรมและภมู ปิ ัญญาไทย 5. นักเรียนศึกษา และทําความเข้าใจเน้ือหาต้ังแต่เร่ิมต้นกระทั้งถึงหน้าสุดท้ายตามลําดับ และทาํ ใบกจิ กรรมที่ 1 ใบกจิ กรรมที่ 2 และใบกิจกรรมที่ 3 ชดุ ที่ 6 เรอ่ื ง สังคมไทยในปัจจบุ ัน 6. นักเรียนอา่ นและทํากิจกรรมตามทก่ี ําหนดอยา่ งรอบคอบและครบถว้ น 7. นักเรียนตรวจคําตอบจากเฉลยใบกิจกรรมที่ 1 ใบกิจกรรมท่ี 2 และใบกิจกรรมท่ี 3 ส่งผล งานการทาํ ใบกจิ กรรมทา้ ยเลม่ ชุดการเรยี นรู้ เพ่ือให้ครูตรวจและบันทึกผล 8. นักเรียนทาํ กจิ กรรมเสรจ็ แล้วจัดเกบ็ อุปกรณป์ ระกอบการเรยี นให้เรยี บรอ้ ย 9. นักเรยี นทกุ คนทํากิจกรรมครบแล้วจากนั้นจงึ ทําแบบทดสอบหลังเรียน จํานวน 10 ข้อ 10. ในการทํากิจกรรมและแบบทดสอบต่าง ๆ ให้นักเรียนทําด้วยความต้ังใจ และมีความ ซื่อสตั ยต์ อ่ ตนเองให้มากที่สุดโดยไม่ดูเฉลยก่อนทาํ ใบกิจกรรมและแบบทดสอบกอ่ นหรอื หลังเรียน 11. นักเรียนจําทําเสร็จช้าหรือเร็วขึ้นอยู่กับความสามารถและทักษะของนักเรียนเองไม่ จาํ เปน็ ตอ้ งทําเสร็จพร้อมกนั แต่ให้ทําเสรจ็ ทนั ตามเวลาทก่ี ําหนด 12. นกั เรียนรับฟังการรายงานผลคะแนนคาํ ชมเชย และคาํ แนะนําเพ่ิมเติมจากครู โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 1 สาระการเรยี นรู้ / มาตรฐานการเรียนรู้ สาระการเรียนรแู้ กนกลาง 1) ปัจจยั ที่กอ่ ใหเ้ กดิ ความขัดแยง้ เช่น การเมอื งการปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความเชื่อ 2) สาเหตุปัญหาทางสังคม เช่น ปัญหาส่ิงแวดล้อม ปัญหายาเสพติด ปัญหาการทุจริต ปญั หาอาชญากรรม 3) แนวทางความรว่ มมอื ในการลดความขดั แย้งและการสร้างความสมานฉันท์ 4) แนวทางความร่วมมอื ในการลดความขดั แยง้ และการสร้างความสมานฉนั ท์ 5) ปัจจัยที่ส่งเสริมการดํารงชีวิตให้มีความสุข เช่น การอยู่ร่วมกันอย่างมีขันติธรรม หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เห็นคุณค่าในตนเอง รู้จักมองโลกในแง่ดี สร้างทักษะทางอารมณ์ รู้จักบริโภคด้วยปัญญา เลือกรับ-ปฏิเสธข่าวและวัตถุต่าง ๆ ปรับปรุงตนเองและสิ่งต่าง ๆ ให้ดีขึ้นอยู่ เสมอ สาระท่ี 2 หนา้ ทพ่ี ลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนนิ ชีวิตในสงั คม มาตรฐานการเรียนรู้ ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็นพลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และธํารง รักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดํารงชีวิตอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคม โลกอย่างสันตสิ ุข ตวั ชวี้ ดั ม.3/4 วิเคราะห์ปัจจัยท่ีก่อให้เกิดความขัดแย้งในประเทศ และเสนอแนวคิดในการลด ความขัดแย้ง ม.3/5 เสนอแนวคดิ ในการดํารงชีวติ อยา่ งมีความสุขในประเทศและสังคมโลก โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 2 สาระสาํ คญั สถาบันทางสังคมไทยมีบทบาทหน้าที่สําคัญในการขัดเกลาสมาชิกในสังคมให้อยู่ร่วมกัน อย่างปกติสุข ลดความขัดแย้งระหว่างกัน อันเกิดจากปัจจัยสําคัญหลายประการ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อ วิถีการดําเนินชีวิตของคนไทย ดังนั้น ทุกคนจึงต้องร่วมมือกันลดปัญหาความขัดแย้งและสร้าง สมานฉนั ทใ์ ห้เกดิ ขน้ึ ในสังคม ปัญหาสังคมไทยในปัจจุบันมีหลายประการ ซ่ึงส่งผลกระทบต่อวิถีการดําเนินชีวิตของคนไทย ซงึ่ ทกุ คนควรร่วมมือกนั หาแนวทางในการแก้ไขปญั หา และส่งเสริมการดํารงชวี ิตใหม้ ีความสุข จดุ ประสงค์การเรยี นรู้ 1. อธิบายบทบาทหน้าที่ของสถาบันในสังคมไทยซ่ึงมีส่วนร่วมมือกันในการแก้ปัญหา ความขัดแยง้ ได้ (K) 2. วิเคราะห์สาเหตุท่ีทําให้เกิดปัญหาความขัดแย้งในประเทศ ผลกระทบ และแนวทาง แกไ้ ขได้ (K) 3. จําแนกบทบาทหน้าที่ของสถาบันในสังคมไทยซึ่งมีส่วนร่วมมือกันในการแก้ปัญหา ความขัดแยง้ ได้ (P) 4. วิเคราะห์แนวทางความร่วมมือในการลดความขัดแย้ง การสร้างความสมานฉันท์ และปัจจยั ท่ีสง่ เสรมิ การดํารงชีวิตใหม้ ีความสุขได้ (K) 5. เสนอแนวทางความร่วมมือในการลดความขัดแย้งและปัจจัยที่ส่งเสริมการดํารงชีวิต ให้มคี วามสุขได้ (P) 6. เห็นคุณค่าของการศึกษาลักษณะของสังคมไทย สาเหตุท่ีทําให้เกิดปัญหาในสังคมไทย แนวทางความร่วมมือและปจั จัยทีส่ ง่ เสริมการดาํ รงชีวติ ใหม้ ีความสุขเพ่มิ มากขนึ้ (A) โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 3 แบบทดสอบก่อนเรียน เรือ่ ง สงั คมไทยในปัจจบุ ัน กลมุ่ สาระการเรียนรสู้ งั คมศึกษา ฯ รายวิชาสังคมศึกษา 5 รหสั วชิ า ส23101 ช้นั มัธยมศกึ ษาปที ่ี 3 คาํ ชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบับนี้ จาํ นวน 10 ข้อ คะแนนเต็ม 10 คะแนน เวลาทใ่ี ช้ 10 นาที 2. จงเลือกคาํ ตอบทถี่ ูกต้องทีส่ ุด แลว้ เขยี นเครอ่ื งหมาย  ลงในกระดาษคาํ ตอบ 1. ข้อใดเป็นลกั ษณะท่ีเป็นเอกลกั ษณ์ของสงั คมไทย ก. เปน็ สงั คมอุตสาหกรรม ข. ไม่ยดึ ถอื ประเพณีและพธิ ีกรรม ค. มีพระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาหลัก ง. มคี วามสนั โดษ รกั ความเปน็ สว่ นตัว 2. ปญั หาใดทส่ี ง่ ผลเสียตอ่ สุขภาพและคณุ ภาพชีวิตของประชากร ก. ปัญหาสังคม ข. ปัญหาการเมอื ง ค. ปัญหาเศรษฐกจิ ง. ปญั หายาเสพติด 3. นักเรยี นมีสว่ นร่วมในการป้องกนั การทจุ ริตฉอ้ ราษฎร์บังหลวงได้อยา่ งไร ก. หามาตรการลงโทษผูก้ ระทาํ ความผดิ ข. ประกาศให้คนทัว่ ไปรูถ้ ึงการกระทําของเจา้ หนา้ ท่ีรัฐทค่ี ดโกงประชาชน ค. แจ้งความต่อเจ้าหนา้ ทตี่ าํ รวจเมื่อสงสัยการกระทําของผูท้ ีข่ าดความซอ่ื สตั ย์ ง. ร่วมกันสร้างคา่ นิยมและปลกู จติ สํานึกในการปฏบิ ัตติ นด้วยความซ่ือสัตยส์ จุ ริต 4. หากนักเรียนมีความคิดเห็นไม่ตรงกบั เพอ่ื น นักเรียนควรปฏิบตั ติ นอยา่ งไร ก. ไมแ่ สดงความคิดเหน็ ข. ต่อวา่ เพ่ือนด้วยถอ้ ยคํารุนแรง ค. รบั ฟังความคดิ เห็นและใช้เหตผุ ลพดู คุยกัน ง. หลกี เลย่ี งการทํากจิ กรรมรว่ มกับเพ่ือนคนน้ัน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 4 5. การดําเนินชวี ิตตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพยี งสอดคล้องกบั ข้อใด ก. การมีคุณภาพทางการศกึ ษา ข. การมีฐานะทางเศรษฐกจิ ม่ันคง ค. การยึดถือคณุ ธรรมและหลักธรรม ง. การดํารงชีวิตบนพ้ืนฐานทางสายกลาง 6. สถาบันทางสังคมใดตอ่ ไปน้มี ีบทบาทสาํ คัญในการป้องกนั ปญั หายาเสพติด ก. สถาบนั ครอบครวั ข. สถาบันการเมอื ง ค. สถาบนั เศรษฐกจิ ง. สถาบันสอ่ื สารมวลชน 7. สังคมไทยมีลกั ษณะสาํ คัญหลายประการ ยกเว้น ขอ้ ใด ก. เป็นสังคมเกษตร ข. รกั ในถน่ิ ฐานบา้ นเกิดของตน ค. มีความหลากหลายในเชอ้ื ชาติ ง. รกั อสิ ระและมีเสรภี าพส่วนบคุ คล 8. หากต้องการให้การทุจริตคอร์รัปช่ันหมดไปจากสังคมไทยต้องเร่งปลูกฝังแนวคิดใดแก่คนใน ประเทศ ก. การพึง่ พาผอู้ ืน่ ข. ความซอื่ สัตยส์ ุจริต ค. ความเปน็ วตั ถุนิยม ง. ความเป็นทุนนยิ มเสรี 9. การที่ประชากรเพม่ิ จํานวนมากขน้ึ มผี ลกระทบต่อสงิ่ แวดลอ้ มอยา่ งไร ก. ประชาชนนาํ ทรัพยากรมาใชใ้ นการดาํ เนนิ ชวี ติ มากขึน้ ข. ที่อย่อู าศยั ไมเ่ พียงพอ อย่กู ันอยา่ งแออัด มีการตดั ไม้ทําให้เกิดนาํ้ ทว่ ม ค. ประชาชนมีจํานวนมากต้องไปอาศัยอยใู่ นปา่ ต้องตัดไม้มาสรา้ งบ้าน ง. มกี ารสรา้ งโรงงานอตุ สาหกรรม เพื่อเป็นที่หารายไดใ้ ห้เพยี งพอกบั ประชาชน โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 5 10. ปัจจัยสําคญั ที่ทําใหเ้ กิดความขดั แยง้ ทางการเมอื งในสงั คมไทย คืออะไร ก. ความคิดเห็นท่แี ตกต่างกนั ข. ความแตกต่างกันทางด้านการศกึ ษา ค. ระบบเศรษฐกจิ แบบนายทนุ มีอํานาจมาก ง. สภาพความเป็นอยูข่ องคนไทยในสังคมไทยไมเ่ ท่าเทยี มกนั โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 6 กิจกรรมอภิปัญญา เร่ือง สงั คมไทยในปจั จบุ ัน ขั้นที่ 1 ความตระหนกั ในความรู้ 1. นักเรียนมีความรู้เกี่ยวกับสังคมไทยในปัจจุบัน ลักษณะของสังคมไทยและปัจจัยที่ก่อให้เกิด ความขัดแย้งจนเกิดเป็นปัญหาสังคมและแนวทางแก้ไข แนวทางความร่วมมือและปัจจัยส่งเสริม การดํารงชวี ติ ให้มคี วามสุข อะไรบา้ ง …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… …………………………………………………………...……………………………………………………………………………… 2. นักเรียนควรศกึ ษาเพ่มิ เตมิ อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… 3. นกั เรยี นจะศกึ ษาอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………...……………… …………………………………………………………………………………………………………...……………………………… …………………………………………………………………………………………...……………………………………………… …………………………………………………………………………...……………………………………………………………… ตอบถูกต้องท้งั หมด เกณฑก์ ารให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกตอ้ งบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 7 บัตรเนือ้ หา ชุดที่ 5 สงั คมไทยในปจั จุบนั ในสังคมไทยประกอบไปด้วยคนจํานวนมากท่ีมีความแตกต่างกันในด้านต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็น ความคิด ความเช่ือ ฐานะ เชื้อชาติ ศาสนา ภาษา และวัฒนธรรม เม่ือดําเนินชีวิตอยู่ร่วมกันก็อาจ ก่อให้เกิดปัญหาความขัดแย้งและปัญหาสังคมในด้านต่าง ๆ ขึ้นอย่างหลีกเสี่ยงไม่ได้ ดังน้ันคนไทยจึง ควรทําความเข้าใจและร่วมมือกันสร้างความสมานฉันท์เพื่อลดความขัดแย้งท่ีจะเกิดขึ้นซึ่งจะทําให้ ดํารงชีวติ อยรู่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกได้อยา่ งมคี วามสขุ สังคมไทย หมายถึง ชนทุกกลุ่มที่ดํารงชีวิตอยู่ร่วมกัน โดยมีวัฒนธรรมไทยเป็นพ้ืนฐานในการ ดําเนินชีวิต สังคมไทยมิได้เน้นเฉพาะชนเช้ือชาติไทยเท่าน้ัน แต่รวมถึงชนกลุ่มน้อยอื่น ๆ ซ่ึงอาจมีเช้ือ ชาติ ศาสนา และวัฒนธรรมบางอย่างแตกต่างกัน แต่ทุกกลุ่มยึดถือวัฒนธรรมไทยเป็นพื้นฐานในการ ดาํ รงชีวิตรว่ มกนั 1. ลักษณะของสังคมไทย รปู ที่ 6.1 ลกั ษณของสงั คมไทย โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 8 สังคมไทยเป็นสังคมท่ีมีเอกลักษณ์และมีปัจจัยหลากหลายที่ประสานให้ทุกกลุ่มชนอาศัยอยู่ ร่วมกัน มีความร่วมมือ สร้างความสมานฉันท์อยู่ร่วมกันได้อย่างปกติสุขมาช้านาน เช่น การให้ความ เคารพเทิดทูนสถาบันพระมหากษัตริย์ มีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาหลักและอยู่ร่วมกับศาสนาอ่ืนได้ อย่างสนั ตสิ ขุ มีอิสระและเสรีภาพส่วนบคุ คล และยึดม่ันในวัฒนธรรมประเพณีอนั ดงี าม อย่างไรก็ตาม การอยู่ร่วมกันเป็นกลุ่มเป็นสังคมย่อมมีประเด็นท่ีนําไปสู่ความขัดแย้งได้ เชน่ กัน ดงั น้ี 1) การเปลี่ยนแปลงการเมืองการปกครอง ภายหลังท่ีมีการเปลี่ยนแปลงการปกครองใน พ.ศ. 2475 การเมอื งของไทยตอ้ งเผชิญกบั ข้อขดั แยง้ สงู และตอ้ งมีการแก้ไขกันเรอ่ื ยมา 2) การเปลี่ยนแปลงเศรษฐกิจ เม่ือรัฐบาลนําเสนอแผนพัฒนาเศรษรูกิจแห่งชาติใน พ.ศ. 2504 เน้นให้สังคมไทยเป็นสังคมอุตสาหกรรม แบบแผนการดําเนินชีวิตของคนก็เปล่ียนแปลง ไปแต่ในอัตราที่ไม่เท่ากัน โดยคนในเมืองและผู้ประกอบการเนhนการดําเนินชีวิตแบบทุนนิยม ในขณะทคี่ นในชนบทยงั ยึดถอื วถิ ชี ีวติ ด้ังเดิม 3) การเปลี่ยนแปลงสังคม ค่านิยม ความคิด ความเช่ือ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และกลุ่มบุคคลเปลี่ยนไป ความเป็นปัจเจกและความเช่ือม่ันของคนในสังคมต่างกัน อาจนําไปสู่ความ ตงึ เครยี ดและความขดั แยง้ ในสังคมขนึ้ 4) การไหลบ่าของวัฒนธรรมสากล ในยุคของสังคมไร้พรมแดนอันเป็นผลมาจากประดิษฐ กรรมและเทคโนโลยีสมัยใหม่ มีสว่ นทําใหเ้ กิดปัญหาทางสังคมขน้ึ หากไม่มกี ารควบคมุ ดี รูปท่ี 6.2 ปัจจยั ทกี่ ่อให้เกิดความขัดแย้งในสังคม โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 9 เม่ือการเปลี่ยนแปลงเกิดข้ึน สถาบันทางสังคมซึ่งเป็นโครงสร้างหลักจะผลักดันให้สังคมเกิด ความสมดลุ ตามกลไกทางสังคม เพือ่ ใหส้ ังคมพฒั นาและอยูร่ อดทา่ มกลางปัญหาและขอ้ ขัดแย้ง สถาบันทางสังคมมลี ักษณะเฉพาะ ดงั น้ี รูปท่ี 6.3 สถาบันทางสังคม สญั ลักษณ์ ชอื่ สถาบัน สถาบนั ครอบครัว ㆍ มีหน้าท่ีอบรมส่ังสอนสมาชิกในครอบครัว รจู้ ักแบบแผนของสงั คม ㆍ ดูแล อบรม ปลูกฝังสมาชิกในครอบครัวให้ เปน็ คนดีของสังคม ㆍ แม้ว่าในปัจจุบันครอบครัวไทยมีลักษณะเป็น ครอบครัวเดี่ยวมากขึ้น แต่ยังคงมีความสัมพันธ์ ใกล้ชดิ ระหวา่ งสมาชกิ ในครอบครัว โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

สญั ลกั ษณ์ ห น้ า | 10 ชื่อสถาบนั สถาบนั การศกึ ษา ㆍ มีการถ่ายทอดความรู้และวัฒนธรรมต่าง ๆ ให้กบั สมาชกิ ในสงั คม ㆍ ปัจจุบันมีการแยกสถาบันการศึกษาอย่าง เป็นระบบ มีคณาจารย์ผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชา ต่าง ๆ เป็นผู้ถ่ายทอดความรู้และการจัดการ เรยี นการสอนท่ีชัดเจน สถาบันเศรษฐกจิ ㆍ มีหน้าท่ีตอบสนองความต้องการของสมาชิก ในสังคมดา้ นปัจจยั 4 ㆍ สังคมไทยปัจจุบันมีรายได้หลักจากการ ส่งออกสินค้าอุตสาหกรรม รวมถึงมีการผลิต สินค้าทางการเกษตรสําหรับบริโภคและส่งออก ในระดับสูง สินค้าทางการเกษตรท่ีสําคัญ เช่น ข้าว ยางพารา ข้าวโพด นอกจากนี้ สังคมไทยยัง ได้น้อมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมา ประยุกต์ใช้ในการดํารงชวี ติ ประจําวนั สถาบันศาสนา ㆍ มีหน้าที่เสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และ คา่ นยิ มทีด่ ใี หก้ บั คนในสงั คม ㆍ ในสังคมไทยมีการนับถือศาสนาท่ีแตกต่าง กนั แตก่ ส็ ามารถอาศยั อยู่ร่วมกันได้อย่าง สันตเิ สมอมา โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

สญั ลกั ษณ์ ห น้ า | 11 ชือ่ สถาบนั สถาบนั สื่อสารมวลชน ㆍ มีหน้าที่ถ่ายทอดข้อมูลข่าวสารต่าง ๆ สู่คน ในสังคม ㆍ ปัจจุบันสถาบันสื่อสารมวลชนได้มีการ พัฒนาเทคโนโลยีและรูปแบบการนําเสนอ มีการ แข่งขันระหว่างสื่อสารมวลชนด้วยกันในระดับสูง ทําให้คนไทยสามารถเข้าถึงแหล่งข้อมูลข่าวสาร ไดอ้ ยา่ งสะดวกและรวดเรว็ สถาบันการเมืองการปกครอง ㆍ จัดระเบียบการปกครองให้คนในสังคมให้อยู่ รว่ มกันอยา่ งสันติสุข ㆍ มหี นา้ ที่รักษาความสงบเรียบรอ้ ยของสงั คม ㆍ ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ป ก ค ร อ ง ด้ ว ย ร ะ บ อ บ ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น ประมุข ㆍ ประชาชนได้เข้าไปมีส่วนร่วมในการปกครอง ทั้งในระดับทอ้ งถน่ิ และระดับชาติ สถาบันนันทนาการ สถาบันนนั ทนาการ ㆍ มีหน้าท่ีให้ความบันเทิง ส่งเสริมให้คนใน สังคมรู้จักใช้เวลาวา่ งให้เกิดประโยชน์ ㆍ กิจกรรมนันทนาการที่สําคัญ เช่น ฟังเพลง ดลู ะคร เล่นกีฬา ดนตรี ㆍ สร้างสีสันให้สังคม ช่วยให้คนเกิดความผ่อน คลายและใชเ้ วลาว่างให้เปน็ ประโยชน์ โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 12 2. ปจั จยั ที่ก่อใหเ้ กดิ ความขัดแย้งในสงั คมไทย สังคมไทยเป็นสังคมแห่งความเอ้ืออาทร เดารพผู้อาวุโส ผู้คนมีน้ําใจต่อกัน มีการ ปฏิบัติต่อกันเหมือนญาติพี่น้อง เมื่อประชากรเพิ่มมากข้ึน บริบททางสังคมมีการเปล่ียนแปลง มีความ เจรญิ กา้ วหนา้ ทางด้านการศึกษา เทคโนโลยี การติดต่อส่อื สาร มกี ารหลงั่ ไหลของข้อมูลขา่ วสาร จากภายนอก ทําให้รูปแบบความสัมพันธ์ของคนในสังคมมีการเปลี่ยนแปลง มีความคิดต่างและนําไปสู่ความขัดแย้ง ซ่ึงเราสามารถจําแนกปัจจัยที่ก่อให้เกิดความขัดแย้งใน สงั คมไทยแตล่ ะดา้ นได้ ดงั นี้ 2.1 ดา้ นการเมืองการปกครอง สังคมไทยมีความขัดแย้งทางการเมืองการปกครองภายในประเทศ ทั้งนี้ อาจ เน่ืองมาจากความแตกต่างด้านความคิดทางการเมือง การทุจริตคอร์รัปชัน ความไม่โปร่งใสในการ บริหารประเทศ การจํากัดสิทธิและเสรีภาพของประชาชน ซึ่งการกระทําในลักษณะดังกล่าวขัดกับ การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ในปัจจุบันปัญหาความขัดแย้งทางการเมืองภายในประเทศ ยังคงมอี ยู่ โดยมีสาเหตสุ ําคญั ดังน้ี 1) ความแตกต่างทางความคิดด้านการเมือง ในปัจจุบันคนไทยมีเสรีภาพทาง ความคิดมากข้ึน สามารถแสดงออกทางการเมืองได้อย่างกว้างขวาง จึงทําให้เกิดภาพความขัดแย้งกัน อย่างชัดเจน จนบางคร้ังก็นําไปสู่ดวามรุนแรง ซ่ึงคนในสังคมจะต้องพยายามหาแนวทางเข้ามามีส่วน ร่วมในการปกครองและต้องอยู่ร่วมกันโดยใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา ยึดหลักการประนีประนอม สมาชิกรัฐสภาซึ่งเป็นผู้แทนของประชาชนต้องตระหนักในหน้าท่ีและปฏิบัติงานเพ่ือประโยชน์ของ ประชาชน ตลอดจนการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่รัฐต้องชัดเจน มีประสิทธิภาพ และยุติธรรม เพ่ือใหส้ งั คมไทยเกดิ สนั ติสุขและมกี ารพัฒนาตอ่ ไป 2) ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชัน ถือเป็นปัญหาสําคัญอย่างมาก เน่ืองจากผู้ท่ีเข้าไปมี บทบาทในการบริหารบ้านเมืองยังคงมีพฤติกรรมที่ทุจริต เพื่อให้ได้มาซ่ึงผลประโยชน์ส่วนตนและหมู่ คณะ สรา้ งความเสยี หายใหแ้ ก่ประเทศชาตแิ ละประชาชนอยา่ งมาก 3) การดําเนินนโยบายการพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม แห่งชาติ ทําให้การพัฒนาประเทศในด้านเศรษฐกิจและสังคมเป็นไปตามระบบ ตามหลักของการ พัฒนาทําให้สภาพความเป็นอยู่ การศึกษา การคมนาคม และอ่ืนขยายตัวออกไป อย่างไรก็ตาม นับต้ังแต่มีการประกาศใช้แผนพัฒนาฯ รัฐบาลได้มุ่งเน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม เกิดการใช้ประโยชน์ จากทรัพยากรธรรมชาติเพื่อเสริมสร้างทุนทางเศรษฐกิจเป็นหลัก ส่งผลให้ทรัพยากรธรรมชาติร่อย หรอ และสิ่งแวดล้อมเส่ือมโทรมลงอย่างรวดเร็ว ท้ังยังทําให้เกิดปัญหามลภาวะต่าง ๆ และปัญหา ขยะมลู ฝอยและสิง่ ปฏิกูลเพม่ิ มากข้ึน โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 13 2.2 ด้านเศรษฐกิจ ปจั จัยทางเศรษฐกจิ ทอี่ าจก่อใหเ้ กิดความขดั แยง้ ภายในสังคม มีสาเหตสุ ําคญั ดังน้ี 1) ความเหลื่อมล้ําทางรายได้ของคนในสังคมและโอกาสในการเข้าถึงทรัพยากร จากการ พัฒนาประเทศท่ีผ่านมา การกระจายรายได้ระหว่างกลุ่มประชากรไม่เท่าเทียมกัน ทําให้เกิดความ เหลื่อมลํ้าทางรายได้และโอกาสในการเข้าถึงบริการของรัฐ ถึงแม้ว่ารัฐบาลได้พยายามแก้ปัญหาผ่าน นโยบายต่าง ๆ เช่น การให้สินเช่ือเพ่ือกระตุ้นให้เกิดรายจ่าย แต่สัดส่วนคนจนและคนรวยยังแตกต่าง กนั ซ่ึงนาํ ไปสคู่ วามขัดแย้งในสังคมและเปน็ อุปสรรคในการพัฒนาประเทศ รปู ท่ี 6.4 2) เกิดการผูกขาดทางการค้า ในบางกรณีผู้ประกอบการบางกลุ่มผูกขาดการผลิตสินค้า และบริการ จนสร้างผลกําไรมหาศาลให้กับธุรกิจของตนเองและพวกพ้อง เมื่อฐานะทางเศรษฐกิจมี ความแตกต่างกันมาก โอกาสในการครอบครองปัจจัยการผลิตก็ย่ิงแตกต่างกัน โดยเฉพาะท่ีดินซ่ึงมัก เป็นของนายทุน แต่เกษตรกรบางรายกลับไม่มีท่ีดินเป็นของตนเอง จึงเกิดปัญหาการแย่งชิง ทรพั ยากร โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 14 2.3 ด้านสังคม ปัจจัยทางสังคมและความเชื่อทอี่ าจนาํ ไปส่คู วามขดั แยง้ ในสงั คมไทย มสี าเหตุสาํ คัญ ดงั น้ี 1) การเคล่ือนย้ายประชากรข้ามประเทศ ในปัจจุบันมีประซากรจากประเทศเพื่อนบ้านเข้า มาทํางานในประเทศทยเป็นจํานวนมาก ทําให้กลายเป็นสังคมที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรม อย่างเห็นได้ชัด และนําไปสู่ความขัดแย้งทางสังคมข้ึนตามมาอีกหลายด้าน เช่น โรคติดต่อ ปัญหาสิ่ง เสพตดิ ปญั หาอาชญากรรม 2) การสูญเสียความเข้มแข็งของชุมชน โดยมีคนอพยพเข้าสู่เขตเมืองและนิคม อุตสาหกรรมเป็นจํานวนมาก อีกทั้งอิทธิพลทางวัฒนธรรมของต่างชาติและลัทธิบริโภคนิยมที่มีต่อ ชีวิตความเป็นอยู่ของคนไทยมากข้ึน นอกจากน้ี ค่านิยมที่ดีงามเริ่มเส่ือมถอยและประเพณีด้ังเดิมถูก บิดเบือน สังคมไทยจึงมีความเป็นวัตถุยมสูงข้ึน ปัญหาเหล่านี้ได้ส่งผลให้ความเข้มแข็งของชุมชน ออ่ นแอลง 3) การยืดม่ันในศาสนาของตนเองสูง การยึดม่ันในศาสนาของคนบางกลุ่มอย่างเคร่งครัด จนเกินพอดี หรือมีอคติต่อคนที่นับถือศาสนาและความเช่ือที่แตกต่างไปจากตนอย่างรุนแรง อาจนําไปสกู่ ารเกิดความขัดแยง้ ข้ึนในสงั คมไทยได้ 4) ความไม่เท่าเทียมกันในสังคม สังคมไทยยังคงมีความเหล่ือมล้ําในด้านต่าง ๆ ส่งผลให้ คนไทยเกิดความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นฐานะทางเศรษฐกิจ การศึกษา การเข้าถึงทรัพยากร จึงทํา ให้คุณภาพชีวิตแตกต่างกัน ทําให้เกิดความคิด ความเชื่อ และความต้องการที่แตกต่างกันไปซึ่งมีผล ต่อการตัดสินใจและการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมืองในรูปแบบต่าง ๆ จนบางครั้งก่อให้เกิดความ ขัดแยง้ จนนําไปสคู่ วามแตกแยกภายในสงั คม 3. ปัญหาสงั คมและแนวทางแก้ไข สังคมไทยในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกมี ความเจริญก้าวหน้าทางนวัตกรรม เทคโนโลยี การสื่อสาร ทําให้การพัฒนาประเทศในทุกด้านเป็นไป อย่างต่อเน่ืองและรวดเร็ว มีคนจากหลากหลายเช้ือชาติ ศาสนา มาอยู่รวมกัน ทําให้การเปล่ียนแปลง ดังกล่าวส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนในสังคมจนก่อให้เกิดปัญหาสังคมตามมาปัญหา สังคมส่งผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของคนในสังคม ส่ิงที่สําคัญที่สุดก็คือ เม่ือเกิดปัญหาทางสังคม คนในสังคมจะต้องรว่ มกนั แกไ้ ขปญั หาเหลา่ นน้ั ปัญหาสังคมไทยทส่ี ําคัญ มีดังนี้ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 15 3.1 ปญั หาส่ิงแวดล้อม แต่เดิมน้ันประเทศไทยมีสภาพแวดล้อมดีและสมบูรณ์ แต่เมื่อเวลาผ่านไปสภาพแวดล้อมได้ เปลี่ยนไปเนื่องจากการเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม ทําให้เกิดมลพิษต่อสิ่งแวดล้อมและคนในสังคม เชน่ อากาศเป็นพิษ น้าํ เสีย รวมทง้ั ภัยพิบตั ติ ่างๆ 1. สาเหตทุ ีท่ าํ ให้เกดิ ปัญหาสง่ิ แวดล้อม ท่สี ําคัญ มีดังน้ี 1.1) ประชากรเพ่ิมขึ้นอย่างรวดเร็ว เม่ือจํานวนประชากรเพิ่มข้ึน การบริโภคและ การใช้ทรัพยากรก็เพิ่มข้ึนด้วยเช่นกัน จนนําไปสู่การใช้ทรัพยากรธรรมชาติส้ินเปลืองและเกิดปัญหา สิ่งแวดล้อมตามมา เชน่ ปญั หาขยะมูลฝอย ปัญหามลพษิ ทางนาํ้ และทางอากาศ 1.2) การพัฒนาอุตสาหกรรมและการคมนาคมขนส่ง ทําให้เกิดปัญหาส่ิงแวดล้อม ตามมา เช่น ปัญหาการปล่อยน้ําเสียและของเสียลงสู่แหล่งน้ํา ปัญหามลพิษทางอากาศจาก ยานพาหนะ 1.3) การพัฒนาเกษตรกรรม เช่น การใช้ปุ๋ยเคมี ยาฆ่าแมลงและวัชพืช รวมทั้ง การ แผ้วถางป่าเพื่อขยายพื้นที่เพาะปลูก ก่อให้เกิดน้ําป่าไหลหลากในช่วงฤดูฝนการเผาพ้ืนที่การเกษตร เพอื่ เตรยี มพื้นที่เพาะปลูก เป็นสาเหตหุ นงึ่ ท่ที าํ ใหเ้ กดิ ปัญหามลพษิ ทางอากาศ 2) ผลกระทบจากปัญหาส่ิงแวดล้อม ท่สี ําคญั มีดังน้ี 2.1) ที่อยู่อาศัยไม่เพียงพอ ทําให้ผู้คนอาศัยอยู่อย่างแออัด ไม่มีสุขอนามัยที่ดีพอเกิด เปน็ แหลง่ เส่อื มโทรม รวมทั้งเป็นแหล่งแพรเ่ ชอื้ โรค 2.2) ผู้คนมีสุขภาพไม่ดี เน่ืองจากได้รับผลกระทบของสารพิษจากแหล่งต่าง ๆ เช่น ควันพิษจากยานพาหนะ นํ้าเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สารพิษปนเปื้อนในพืชผัก ผลไม้ และเนอื้ สตั ว์ ทาํ ใหเ้ กิดโรคภัยไข้เจบ็ ตา่ ง ๆ เชน่ โรดระบบทางเดนิ หายใจ โรคภมู แิ พ้ โรคมะเรง็ 2.3) เกิดภัยพิบัติทางธรรมชาติ สาเหตุหลักมาจากการทําลายธรรมชาติ เช่น การตัด ไม้ทําลายป่า แล้วนําพ้ืนท่ีไปปลูกพืชเศรษฐกิจ เช่น ยางพารา ส่งผลให้เกิดน้ําท่วม ดินถล่ม ภัยแล้ง เนอ่ื งจากฝนไมต่ กต้องตามฤดกู าล สร้างความเดอื ดรอ้ นในการดาํ เนินชีวิตเป็นอยา่ งมาก 3) แนวทางในการแกไ้ ขและป้องกันปัญหาสิง่ แวดลอ้ ม ทสี่ ําคญั มีดงั น้ี 3.1) สร้างจิตสํานึกและส่งเสริมคุณภาพประชากร ให้มีความรู้ความเข้าใจ ตระหนัก ถึงความสําคัญและความจําเป็นของการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและส่ิงแวดล้อม รวมถึง ผลกระทบทเี่ กดิ จากการดําเนนิ กิจกรรมต่างๆ 3.2) ใช้มาตรการทางกฎหมาย การมีกฎหมายเพ่ือรักษาทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม จะช่วยใหก้ ารอนรุ กั ษเ์ ปน็ ไปอย่างมีประสิทธิภาพ แตต่ อ้ งบังคบั ใช้และมบี ทลงโทษผฝู้ า่ ฝืนอยา่ งจริงจงั โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 16 3.3) ร่วมกันปลูกป่า มีการรณรงค์ไม่ให้แผ้วถางและตัดต้นไม้ ส่งเสริมกิจกรรมการ ทํานุบํารุงทรัพยากรธรรมชาติตามโดรงการต่าง ๆ เช่น โดรงการอนุรักษ์พ้ืนท่ีตันนํ้าลําธารโครงการ ป่ารักน้ํา โครงการอนุรักษ์พันธ์ุสัตว์ป่า โครงการพัฒนาและณรงค์การปลูกหญ้าแฝกอันเน่ืองมาจาก พระราชดําริ เพื่อป้องกันการพังทลายของหน้าดิน เพื่อให้พื้นท่ีและทรัพยากรธรรมชาติกลับคืนสู่ สภาพเดมิ 3.4) ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและเกิดประโยชน์สูงสุด เพ่ือให้เกิดการพัฒนาท่ี ยั่งยืน เช่น ปิดไฟเม่ือเลิกใช้งาน ใช้กระดาษให้คุ้มค่าโดยใช้ทั้งสองหน้า ปิดก๊อกน้ําให้สนิทหลังใช้งาน ใช้เคร่ืองใช้ที่ช่วยประหยัดพลังงาน เช่น ชักโครกประหยัดน้ํา แอร์ประหยัดไฟ รวมถึงพัฒนาพลังงาน สะอาด เช่น พลังงานแสงอาทิตย์ การปรับอุณหภูมิเครื่องปรับอากาศให้เหมาะสม เป็นนํ้า ลม เพือ่ เปน็ มิตรกบั ส่งิ แวดล้อมแนวทางหนึง่ ในการใชท้ รพั ยากรอย่างประหยัดและให้เกดิ ประโยชนส์ ูงสดุ 3.2 ปัญหาสิง่ เสพตดิ ปัญหาส่ิงเสพติดเป็นปัญหาหน่ึงที่สําคัญของสังคมไทย และถือเป็นปัญหาร้ายแรงที่ทุก ฝา่ ยตอ้ งรว่ มมือกนั แกไ้ ข เพราะส่งผลกระทบต่อประชากรซ่ึงเปน็ กําลงั สาํ คัญในการพฒั นาประเทศ สิ่งเสพติด คือ สารซ่ึงบุคคลเสพเข้าสู่ร่างกายโดยวิธีการใดวิธีการหน่ึง เช่น กิน สูบ ดม หรือฉีดติดต่อกันช่ัวระยะเวลาหนึ่ง ก่อให้เกิดผลต่อร่างกายและจิตใจของผู้เสพ ทําให้เกิดสภาพ เป็นพิษร้ือรัง นับเป็นมหันตภัยร้ายแรงท่ีก่อให้เกิดปัญหาทั้งต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาติ โดยมีความสัมพันธ์กับการเกิดโรคและอุบัติเหตุ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพ ตลอดจนความปลอดภัยของผู้เสพ อีกท้ังยังสร้างปัญหาต่าง ๆ ให้แก่ผู้อ่ืน ดังน้ัน จึงเป็นความจําเป็น ที่เราจะต้องหลีกเลี่ยง ไม่ยุ่งเกี่ยวกับส่ิงเสพติด และร่วมมือกันแก้ปัญหาเพ่ือสร้างความมั่นคงเข้มแข็ง ให้แก่สงั คมไทย 1) สาเหตุท่ที ําใหเ้ กดิ ปญั หาส่ิงเสพตดิ ทส่ี าํ คญั มีดังน้ี 1.1) ตัวผู้เสพ เกิดจากความอยากรู้ อยากลอง และคึกคะนอง โดยเฉพาะวัยรุ่นที่ขาด ความยั้งคิด หรือบางคนมีความเช่ือท่ีผิด คิดว่าสิ่งเสพติดช่วยแก้ไขปัญหาของตนได้ จึงเสพเพ่ือให้ลืม ปญั หาตา่ ง ๆ แตห่ ลงั จากเสพเข้าไประยะหนึ่งก็จะตดิ 1.2) สภาพแวดล้อมในสังคม สาเหตุสําคัญ คือ การถูกเพ่ือนชักจูงหรือถูกหลอกล่อให้ ลองเสพ ครอบครัวแตกแยกหรือพ่อแม่ไม่มีเวลาดูแล หรือครอบครัวอาศัยอยู่ในชุมชนแออัดที่ แวดล้อมด้วยสิ่งเสพตดิ จงึ อาจผลักดันให้เยาวชนหนั เข้าหาสิ่งเสพตดิ ได้งา่ ย 1.3) ด้านเศรษฐกิจ ในกาวะเศรษฐกิจท่ีค่าครองชีพสูงและยังต้องเผชิญกับปัญหาต่าง ๆ เช่น ความยากจน การว่างงาน บางคนจงึ หันไปคา้ สงิ่ เสพติดเพอ่ื หารายได้เพ่ิม โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 17 2) ผลกระทบจากปญั หาสงิ่ เสพติด ทสี่ ําคัญ มดี ังน้ี 2.1) ส่งผลเสียตอ่ ตัวผูเ้ สพ ทาํ ให้สุขภาพร่างกายและจติ ใจไม่ปกติ เช่น การทํางานของ สมองและประสาทเสือ่ มลง เกดิ อาการประสาทหลอน และอาจเกิดการคลุ้มคลงั่ อาละวาดทาํ รา้ ย ตนเองและผ้อู ่ืนได้ 2.2) ส่งผลเสียต่อเศรษฐกิจ เช่น ทําให้สูญเสียแรงงานหรือบุคลากรโดยเปล่าประโยชน์ ส่งผลให้ประสิทธิภาพในการผลิตหรือการทํางานลดลง กระทบต่อรายได้ รวมทั้งครอบครัว และภาครฐั ตอ้ งเสยี ค่าใช้จา่ ยจาํ นวนมากในการบําบัดรกั ษาผ้ตู ิดสงิ่ เสพติด 2.3) ส่งผลเสียต่อสังคม เช่น เกิดปัญหาอาชญากรรม รัฐต้องเสียงบประมาณและเพิ่ม ภาระให้กบั เจ้าหนา้ ทข่ี องรัฐในการปราบปราม 3) แนวทางในการแกไ้ ขและปอ้ งกันปญั หาส่ิงเสพติด ทีส่ าํ คัญ มีดงั นี้ 3.1) การมีส่วนร่วมของสมาชิกในครอบครัว ครอบครัวมีบทบาทสําคัญอย่างมาก ต่อการแก้ไขปัญหาส่ิงเสพติด ครอบครัวท่ีอบอุ่น มีความรักและดูแลเอาใจใส่ซ่ึงกันและกัน จึงเปรียบเสมอื นเกราะป้องกันไม่ใหส้ มาชกิ ในครอบครัวหลงผดิ หนั ไปหาสิง่ เสพติด 3.2) รู้เท่าทันพิษภัยของสิ่งเสพติด ทุกคนควรศึกษาหาความรู้เก่ียวกับสิ่งเสพติดเพื่อให้ รู้เท่าทันถึงภัยอันตรายของส่ิงเสพติด ไม่ควรดึกคะนองทดลองใช้หรือเสพ ควรรู้เท่าทันคนอ่ืนหรือ มิจฉาชีพท่ีจะชักจูงไปในทางที่ผิด และรู้จักใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์ เช่น ออกกําลังกายอ่าน หนังสือ ทํางานบ้าน นอกจากนี้ ควรรู้จักเลือกคบเพ่ือนท่ีดีท่ีชักชวนกันไปทํากิจกรรมท่ีสร้างสรรค์ ไมพ่ ึง่ พาสงิ่ เสพตดิ 3.3) การมีส่วนร่วมของคนในสังคมไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที่ท่ีเก่ียวข้อง สื่อมวลชน สถาบันการศึกษา สถาบันศาสนา เป็นต้น ควรประชาสัมพันธ์ให้ผู้คนรับรู้ถึงปัญหาสิ่งเสพติดและภัย ร้ายจากสิ่งเสพติดอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง ขณะที่เจ้าหน้าที่ตํารวจต้องบังคับใช้กฎหมายอย่าง เคร่งครัด นอกจากน้ี ท้องถ่ินหรือชุมชนควรจัดกิจกรรมนันทนาการให้กับเด็กวัยรุ่นได้แสดง ความสามารถในทางที่ถูก เช่น เล่นกีฬา ร้องเพลง เล่นดนตรีครอบครัวที่มีการให้ความรักและความ เอาใจใส่ซ่งึ กนั และกันอยา่ งใกล้ชิด ย่อมห่างไกลจากสงิ่ เสพติด 3.3 ปญั หาอาชญากรรม อาชญากรรม หมายถึง การกระทําความผิดของบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งขัดต่อกฎหมายอัน ได้บัญญัติเป็นข้อห้ามไว้ ผู้ประกอบอาชญากรรมซ่ึงกระทําโดยเจตนาละเมิดกฎหมายอาญา หรือมี เจตนาละเว้นไม่กระทําในสิ่งที่กฎหมายบังคับไว้ โดยไม่มีข้อแก้ตัวที่สมเหตุสมผล จะต้องได้รับโทษ ปัญหาอาชญากรรมท่ีเกิดข้ึนในสังคมไทยท่ีสําคัญ เช่น การทําร้ายร่างกาย ปล้นทรัพย์ลักทรัพย์ การ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 18 ล่วงละเมิดทางเพศ การฆาตกรรม ซึ่งการกระทําดังกล่าวส่งผลกระทบต่อชีวิตความเป็นอยู่ของคนใน สังคม ปัญหาอาชญากรรมถือเป็นปัญหาสังคมที่สําคัญ ซ่ึงจะต้องเร่งแก้ไขให้ลดน้อยลง เพราะ เป็นสิ่งท่ีส่งผลกระทบต่อความสงบและความมั่นคงของประเทศ หากปัญหาอาชญากรรม ภายในประเทศลดน้อยลง ย่อมส่งผลให้คนสามารถช้ชีวิตประจําวันได้อย่างมีความสุข ประเทศชาติมี ความเจริญก้าวหน้า ดังน้ัน การแก้ไขปัญหาอาชญากรรมจึงเป็นหน้าท่ีของทุกคนในสังคมท่ีจะต้อง ชว่ ยกันสอดสอ่ งดแู ลและใหค้ วามสนใจตอ่ ปัญหาดงั กลา่ ว 1) สาเหตทุ ีท่ าํ ให้เกดิ ปัญหาอาชญากรรม มีปัจจัยสําคัญ ดงั น้ี 1.1) ด้านเศรษฐกิจ เช่น ความยากจน เศรษฐกิจตกตํ่า ความเหล่ือมล้ําทางฐานะ และเศรษฐกิจ ค่าครองชีพสงู 1.2) ด้านครอบครัวและสังคม เช่น การอบรมสั่งสอนของพ่อแม่ในทางท่ีผิด การถูก เพ่ือนชักจงู ให้กระทาํ ผดิ การแพรร่ ะบาดของสารเสพตดิ ในพนื้ ท่ี 1.3) ด้านชีวภาพและจิตวิทยา เช่น ความบกพร่องของสมอง ความผิดปกติของต่อมไร้ ท่อท่มี ฮี อร์โมนแอนโดรเจนมากเกนิ ไป ทาํ ให้มีพฤติกรรมกา้ วรา้ วและอาการทางจิต 2) ผลกระทบจากปัญหาอาชญากรรม ทสี่ ําคัญ มดี ังน้ี 2.1) คนในสังคมเกิดดวามรู้สึกไม่ปลอดภัย ปัญหาอาชญากรรมได้สร้างความหวาดหว่ัน สะเทือนขวัญ และมีแนวโน้มที่จะทวีความรุนแรงข้ึนเร่ือย ๆ โดยเฉพาะในยุดที่สังคมเผชิญกับวิกฤต เศรษฐกจิ สง่ ผลให้ประชาชนเกดิ ความรสู้ ึกไม่ปลอดภัยในชีวติ และทรพั ย์สนิ 2.2) ประเทศชาติไม่มั่นคง ปัญหาอาชญากรรมมีผลกระทบต่อการดําเนินชีวิตของคนใน สังคม ไม่ว่าจะเป็นด้านการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และความมั่นคงของชาติ นอกจากนี้ยังเป็นส่ิงที่ ขดั ขวางความเจริญของสังคม เพราะต้องเสยี งบประมาณในการปราบปราม 2.3) กระทบต่อกระบวนการทางกฎหมาย ซึ่งจะต้องอาศัยงบประมาณและบุคลากร จํานวนมากในการแก้ไขปัญหา หากประเทศมีการก่ออาชญากรรมในระดับสูงย่อมส่งผลให้ กระบวนการทางกฎหมายตอ้ งทํางานอย่างหนกั 3) แนวทางในการแกไ้ ขและป้องกันปัญหาอาชญากรรม ทีส่ าํ คัญ มดี งั น้ี 3.1) ส่งเสริมให้ประชาชนมีงานทําและจัดระเบียบสังคม ผลักดันให้มีระบบการควบคุม โดยนํากฎระเบียบเข้ามาบังคับใช้กับพฤติกรรมของคนในสังคม เสริมสร้างการจัดกิจกรรมสร้างสรรค์ เพ่ือใหเ้ กิดความสามัดคี ให้ทกุ คนรกั สงั คมที่ตนเองอาศัยอยู่ 3.2) การสนับสนุนทางสังคม ให้สมาชิกในสังคมเรียนรู้บรรทัดฐานและปฏิบัติตนอย่าง ถูกต้อง รู้ว่าพฤติกรรมใดดีและเหมาะสม ผ่านกระบวนการขัดเกลาทางสังคม โดยครอบครัวโรงเรียน โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 19 ส่ือมวลชน ซึ่งเป็นผู้มีบทบาทสําคัญในการสนับสนุน ให้กําลังใจ และฟ้ืนฟูความสมานฉันท์ในสังคม ในขณะเดียวกันรัฐก็ต้องกําหนดนโยบายการพัฒนาทางเศรษฐกิจและสังคมเพ่ือให้ทุกคนอยู่ดีกินดี และกระจายการพฒั นาไปสู่คนทุกกลมุ่ อยา่ งเทา่ เทียมกัน 3.3) การลดช่องโอกาสของการเกิดอาชญากรรม เช่น การเพ่ิมแสงสว่างและตัดต้นไม้ท่ี รกบริเวณทางเข้าหมู่บ้านและในชุมชน จัดเวรยามดูแลชุมชน ตลอดจนการมีตํารวจออกตรวจตรา บริเวณท่ีมักเกิดอาชญากรรม การติดต้ังสัญญาณเตือนภัยหรือกล้องวงจรปิดในที่อยู่อาศัยและที่ สําคัญ คือ เราจะต้องรู้จักป้องกันตนเองเพื่อตัดช่องโอกาสในการเกิดอาชญากรรม เช่น เรียนศิลปะ ป้องกันตัว หลีกเลี่ยงการเดินทางไปในท่ีเปล่ียวในเวลากลางคืน หรือหลีกเล่ียงการสวมใส่ของมีค่าติด ตัว ไม่ยุ่งเกย่ี วกบั อบายมขุ ไมค่ บเพ่ือนท่ไี มด่ ี 3.4) ให้การดูแลผู้ป่วยจิตเวชไม่ให้ออกไปก่ออาชญากรรม โดยการส่งเสริมสถาน บําบัดรักษาทั้งของรัฐและเอกชนให้มีบทบาทดูแลรักษาผู้ป่วยทางร่างกายและจิตใจอย่างใกล้ชิดไม่ให้ ออกไปกอ่ อาชญากรรมจนสรา้ งความเดือดร้อนแกผ่ ูอ้ น่ื อาชญากรรมคอมพิวเตอร์และแนวทางป้องกันโลกปัจจุบันเป็นยุคไอทีที่เทคโนโลยี สารสนเทศมีบทบาทต่อการดํารงชีวิตของมนุษย์อย่างมาก แต่ขณะเดียวกันก็เป็นช่องทางหน่ึงในการ แสวงหาผลประโยชน์ของเหล่ามิจฉาชีพอย่างผิดกฎหมาย จนทําให้เกิดอาชญากรรมรูปแบบใหม่ ที่เรียกว่า \"อาชญากรรมคอมพิวเตอร์\" เช่น การขโมยข้อมูลในอินเทอร์เน็ต การใช้คอมพิวเตอร์ เผยแพร่ภาพนิ่งหรือภาพเคล่ือนไหวลามกอนาจาร การฟอกเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งแนวทาง ป้องกันอาชญากรรมคอมพวิ เตอรส์ ามารถปฏบิ ัติได้ ดังนี้ 1. ปอ้ งกนั ขอ้ มลู สว่ นตวั โดยการตงั้ รหัสเข้าขอ้ มลู ของไฟล์ขอ้ มลู ทตี่ ้องการปอ้ งกนั 2. ป้องกันการเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ เช่น ใส่ช่ือ username และ password การใช้ สมารต์ คารต์ ในการควบคุมการใช้งาน หรอื กญุ แจเพอ่ื ปอ้ งกันการใช้คอมพิวเตอร์โดยไมไ่ ด้รับอนญุ าต 3. สาํ รองขอ้ มูล โดยไมเ่ กบ็ ขอ้ มูลไว้ทีเ่ ดียว 4. ต้ังคา่ โปรแกรมคน้ หาและกําจัดไวรสั คอมพวิ เตอร์ 3.4 ปญั หาทจุ รติ คอรร์ ปั ชนั การทุจริตคอร์รัปชันหรือการฉ้อราษฎร์บังหลวง เป็นการเบียดบังเอาผลประโยชน์ของ ราษฎรหรือประชาชนไปโดยมิชอบ หรือการโกงประชาชนด้วยวิธีการที่คดโกง ไม่สุจริต ไม่ถูกต้อง ตามกฎเกณฑ์ กฎหมาย คุณธรรมจริยธรรม เพื่อนําผลประโยชน์จากราชการไปใช้ส่วนตน หรือ เพอ่ื ให้ได้มาซงึ่ ผลประโยชน์ นอกจากนี้ การทุจริตคอร์รัปชันยังครอบคลุมไปถึงการใช้เวลาราชการไปทํางานส่วน ตน เช่น ไปดูภาพยนตร์ ไปซื้อของ รวมท้ังการเอาของราชการไปใช้ส่วนตน การรับสินบน การซื้อ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 20 ของในงานราชการสูงกว่าราคาปกติเพ่ือรับเงินส่วนต่างจากผู้ขาย การรับอามิสสินจ้าง ตลอดจนการ เลอื กทรี่ ักมกั ทชี่ งั อันเปน็ การลดิ รอนความเป็นธรรมและความถูกต้องตามกฎหมาย 1) สาเหตุท่ที าํ ใหเ้ กดิ ปญั หาทุจริตคอรร์ ปั ชนั ท่สี าํ คัญ มดี งั นี้ 1.1) ค่านิยมของสังคม คนส่วนหนึ่งยึดถือเงิน ตําแหน่ง วัตถุ และผลประโยชน์ส่วน ตนและพวกพ้องว่าเป็นสิ่งสําคัญ และเห็นว่าเป็นส่ิงท่ีถูกต้อง โดยไม่สนใจว่าทรัพย์สินเงินทองน้ันจะ ได้มาด้วยวิธีการใด จึงกลายเป็นค่านิยม ก่อให้เกิดการทุจริตในหมู่ข้าราชการขึ้นได้ ซ่ึงบางกลุ่มบาง คนใชต้ าํ แหนง่ ในการทุจริตเพื่อสรา้ งฐานะและอทิ ธพิ ลของตน 1.2) ความบีบคั้นทางเศรษฐกิจ บุคคลบางคนต้องทุจริตด้วยความจําเป็นเพราะถูก ภาวะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและสังคมบีบค้ันให้กระทํา เช่น มีรายได้ไม่พอใช้ อาจเป็นผลมา จากการมีบุตรมาก การใช้จ่ายฟุ่มเฟือย หรือใช้รักษาอาการเจ็บป่วย เม่ือทําการทุจริตคร้ังแรกได้ย่อม ก่อใหเ้ กดิ ความเคยชินและกระทําครง้ั ต่อ ๆ ไปจนกลายเป็นเร่อื งปกติ 1.3) ระบบราชการ มีระบบการทํางานท่ีสลับซับซ้อนและให้อํานาจแก่เจ้าหน้าท่ีของ รัฐมาก จึงเป็นการเปิดโอกาสให้ข้าราชการบางคนที่ขาดจิตสํานึกและคุณธรรมจริยธรรมใช้เป็น ช่องทางในการแสวงหาผลประโยชน์ในทางมิชอบ ในบางกรณีนอกจากผู้บังคับบัญชาละเว้นและไม่ สนใจในการป้องกันการคอร์รัปชันของผู้ใต้บังคับบัญชาแล้ว ยังปล่อยให้ผู้ใต้บังคับบัญชากระทําการ ทจุ ริตโดยไม่ดาํ เนินการใด ๆ ด้วย 1.4) ขาดการลงโทษที่เด็ดขาด แม้ว่าในกฎระเบียบจะมีการกําหนดบทลงโทษท่ี รุนแรงแต่ในทางปฏิบัติน้ันกลับไม่มีการลงโทษผู้กระทําผิดอย่างจริงจัง ทําให้มีการทุจริดคอร์รัปชัน ปรากฏอยู่ตลอดเวลา 1.5) ความยินยอมของประชาชนบางกลุ่ม เช่น นักธุรกิจ พ่อค้า ท่ีต้องการความ สะดวกในการติดต่องานราชการ หรือบางคนกระทําผิดแต่ไม่ต้องการรับโทษ มักจะให้เงินและสิ่งของ แก่เจ้าหน้าท่ีของรัฐบางคนท่ีสามารถอํานวยผลประโยชน์บางอย่างให้แก่ตนตามที่ต้องการ ก่อให้เกิด ปัญหาการตดิ สินบนตามมา 2) ผลกระทบจากปัญหาทุจรติ คอรร์ ัปชนั ทส่ี าํ คญั มดี งั นี้ 2.1) ผลเสียต่อรัฐ ทําให้เกิดระบบสมยอมและหลอกลวง ทําให้รัฐต้องสูญเสียเงินซื้อ สินค้าในราคาสูงกว่าความเป็นจริง รัฐไม่มีโอกาสได้เลือกสินค้าท่ีมีคุณภาพเหมาะสมเพราะเกิดการ ผูกขาดการขายใหแ้ ก่ราชการ นบั เปน็ การบอ่ นทําลายความมั่นคงและการพัฒนาประเทศ 2.2) ผลเสียต่อระบบราชการ การเล่นพรรดเล่นพวกตามระบบอุปถัมภ์ การรักษา ผลประโยชน์ของกลุ่มตน ทําให้คนดีมีความสามารถไม่มีโอกาสเข้ารับราชการ นอกจากนี้ ยังส่งผลให้ ข้าราชการที่ดี ทมี่ ุ่งมนั่ ในการทาํ งานหมดกําลงั ใจในการทํางาน โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 21 2.3) ผลเสียต่อประชาชน เม่ืองบประมาณถูกทุจริตไปบางส่วนทําให้การสร้างสาธาร ณูปโกคต่าง ๆ ไม่ได้มาตรฐาน เพราะใช้ต้นทุนในการผลิตตํ่า ประชาชนได้รับผลจากการพัฒนาไม่ เต็มท่ี เกิดความเสื่อมศรทั ธาตอ่ หน่วยงานราชการ รูปท่ี 6.5 3) แนวทางในการแกไ้ ขและปอ้ งกนั ปัญหาทจุ รติ คอรร์ ปั ชัน ทีส่ าํ คัญ มีดังนี้ 3.1) สร้างด่านิยมและปลูกจิตสํานึกในการปฏิบัติตนของเยาวชน ให้อยู่บนพ้ืนฐาน ของความซื่อสัตย์สุจริต มีความละอายต่อการกระทําใด ๆ ท่ีนําไปสู่การทุจริต รวมถึงไม่ยอมรับ พฤติกรรมการทุจริตในระบบราชการ และสร้างจิตสํานึกและความตระหนักให้เจ้าหน้าที่ของรัฐ ทํางานดว้ ยความสจุ ริต 3.2) ใช้มาตรการลงโทษ โดยจะต้องมีมาตรการเพ่ือป้องกันการทุจริตอย่างรัดกุมและ มีบทลงโทษต่อผู้กระทําผิดอย่างรุนแรง นอกจากนี้ มาตรการต่าง ' ที่วางไว้จะต้องมีการนําไปใช้จริง โดยไมเ่ ลอื กปฏบิ ตั ิ จึงจะทาํ ใหม้ าตรการเหลา่ น้นั มีประสทิ ธิภาพ 3.3) การนําเสนอข้อมูลที่ถูกต้องของส่ือมวลชน ส่ือมวลชนต้องนําเสนอข่าวสาร ข้อมูลเก่ียวกับการกระทําทุจริตอย่างตรงไปตรงมา มีความเป็นกลาง เพ่ือให้ประชาชนได้รับทราบ และใชว้ ิจารณญาณต่อไป โดย นายรมย์รวนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 22 3.4) ปรับเปลี่ยนการดํารงตําแหน่งข้าราชการ ควรมีการหมุนเวียนเปลี่ยนเจ้าหน้าท่ี ข้าราชการในตําแหน่งท่ีมีอํานาจในการตัดสินใจอนุมัติการใช้จ่ายเงินงบประมาณ มีการกระจาย อาํ นาจและแสดงทรพั ย์สินส่วนตวั ทง้ั ก่อนและหลังการดาํ รงตาํ แหนง่ 3.5) การปรับเงินเดือน ค่าตอบแทน และสวัสดิการให้เหมาะสม จากสภาพ เศรษฐกิจท่ีมีค่าครองชีพสูงข้ึน ภาครัฐควรมีนโยบายหรือมาตรการต่าง ๆ ที่จะช่วยเพิ่มรายได้และ สง่ เสรมิ สวัสดกิ ารต่าง ๆ ให้ข้าราชการและประชาชนมคี ณุ ภาพชีวิตท่ีดี 3.6) การมีส่วนร่วมจากภาคประชาชน ประชาชนจะต้องร่วมกันสอดส่องพฤติกรรม การกระทําทุจริตในรูปแบบต่าง ๆ และแจ้งแก่เจ้าหน้าท่ีที่เกี่ยวข้อง เช่น สํานักงานคณะกรรมการ ป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) เพ่ือให้ดําเนินการตรวจสอบและลงโทษผู้กระทํา ผดิ ต่อไป 4. แนวทางความร่วมมือในการลดความขดั แย้งและสรา้ งความสมานฉันท์ การท่ีคนจํานวนมากมาอยู่รวมกันในสังคม ย่อมส่งผลให้เกิดปัญหาความขัดแย้ง หลากหลายรูปแบบ จําเปน็ จะต้องหาวิธีจดั การเพื่อลดและขจดั ความขัดแย้ง 4.1 แนวทางในการลดความขดั แยง้ สมาชกิ ในสงั คมสามารถลดความขัดแยง้ ได้ โดยมแี นวทางปฏบิ ตั ิ ดังน้ี 1. ยอมรับความแตกต่างของกันและกัน เช่น ความคิด ความเช่ือ ความชอบท่ีแตกต่างกัน ของบุคคล โดยใชค้ วามมีเหตผุ ลในการอยู่รว่ มกนั 2. สร้างความไว้วางใจซ่ึงกนั และกนั ระหว่างบุคคล กล่มุ หรือฝา่ ยต่าง ๆ ในสังคม 3. ลดเงื่อนไขท่ีจะนําไปสู่ความรู้สึกอติหรือความเกลียดชัง ด้วยการให้ความสําคัญและ การยอมรบั คุณค่าที่มองเหน็ ความหลากหลายและความแตกตา่ งทางวฒั นธรรม 4. ส่งเสริมให้มีการพัฒนาบุคลากร พร้อมท้ังจัดการความขัดแย้งด้วยสันติวิธี โดยให้มี การศกึ ษาและฝึกอบรมเพ่ือสง่ เสรมิ ความเขา้ ใจดว้ ยสนั ติวิธี 5. สร้างความร่วมมือกับทุกฝ่ายที่เก่ียวข้องในกรณีที่สถานการณ์ความขัดแย้งมีความ รุนแรงและหาแนวทางหรือวิธีการในการขับเคลื่อนให้สมาชิกในชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในการป้องกัน แกไ้ ข ควบคมุ ลด และเยยี วยาปัญหาความขัดแยง้ 4.2 แนวทางในการแก้ไขปญั หาความขัดแย้ง เม่อื คนในสังคมเกิดความขัดแยง้ มแี นวทางในการแก้ไข ดังน้ี 1. การเจรจาต่อรอง เป็นกระบวนการพูดคุย เจรจาต่อรองให้แก่บุคคลหรือกลุ่มยุคคลทั้ง สองฝ่ายเพอื่ จัดการแกไ้ ขปญั หา โดยกระทําดว้ ยความสมคั รใจ ถอื เปน็ วิธกี ารที่สะดวกและรวดเรว็ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 23 2. การไกล่เกลี่ย เป็นกระบวนการที่มีบุคคลที่สามเป็นคนกลางเข้าให้คําแนะนําและ ช่วยเหลอื ค่กู รณใี นการเจรจาตอ่ รอง 3. อนุญาโตตุลาการ เป็นกระบวนการท่ีคู่กรณีตกลงให้บุคคลที่สามเข้ามาเป็นผู้ชี้ขาดข้อ พพิ าท โดยต้องปฏิบัติตามระเบียบ กฎหมายและวิธกี ารทก่ี ําหนด 4. ฟ้องคดีต่อศาล เป็นกระบวนการตามกฎหมายที่คู่กรณีนําคดีข้ึนฟ้องร้องต่อศาลเพ่ือ ระงับข้อพิพาท การพูดคุยหรือเจรจาต่อรองเม่ือเกิดปัญหา เป็นวิธีหนึ่งที่ช่วยลดความขัดแย้งและ สร้างความสมานฉนั ทใ์ นสงั คม 4.3 การสร้างความสมานฉันทใ์ นชุมชน การสร้างความสมานฉันท์ คือ การที่คนในชุมชนมีความสามัคคี มีค่านิยมร่วมท่ีจะ ไม่เอารัดเอาเปรียบ รู้จักยอมรับเหตุผล และยอมรับความแตกต่างด้านชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา และความคิดเห็นทางด้านการเมืองการปกครอง รวมถึงประเด็นอื่น ๆ โดยไม่ใช้ความรุนแรงในการ แก้ปัญหานั่นหมายถึง ความร่วมมือ ลดความขัดแย้งในความคิด ไม่ยึดติดหรือมีอคติ และใช้ปัญญาใน การแกไ้ ขปัญหาเพอ่ื ให้เกดิ ประโยชน์ร่วมกัน วิธีการสร้างความสมานฉันท์ในชมุ ชน ไดแ้ ก่ 1. ตั้งองค์กรท่ีประกอบด้วยภาครัฐและภาคประชาสังคม เพื่อทําหน้าท่ีส่งเสริมสันติ วธิ ี 2. ใหโ้ รงเรยี นหรอื สถานศกึ ษาเป็นศูนยก์ ลางในการสร้างความสามัคคใี นชมุ ชน 3. ให้สมาชิกในชุมชนเข้าร่วมทํากิจกรรม เพื่อพูดคุยแลกเปล่ียน รวมท้ังรับฟังความ คิดเหน็ ระหวา่ งกัน อันจะชว่ ยลดชอ่ งว่างความขดั แย้งให้แคบลงและเกดิ ความสามคั คีของคนในชุมชน 5. ปัจจัยส่งเสริมการดํารงชีวิตให้มีความสขุ ในการดํารงชีวิตให้มีความสุขอย่างแท้จริงน้ัน จะต้องเกิดความสุขทั้งทางกายและทาง จิตใจคนทุกคนย่อมปรารถนาท่ีจะทําให้ชีวิตของตนมีความสุข การจะดํารงชีวิตได้อย่างมีความสุขนั้น มกั ประกอบด้วยปัจจยั ต่าง ๆ ดงั น้ี 1) การอยู่ร่วมกันอย่างมีขันติธรรม ขันติธรรม คือ การมีความอดทนอดกล้ันต่อส่ิงท่ีตน ไม่ชอบ ไม่เห็นด้วย โดยการยอมรับความแตกต่าง เช่น ค่านิยม ศาสนา ลัทธิ ความเชื่อ ระบบ การเมืองการปกครอง ทัศนคติ การอยู่ร่วมกันในสังคมย่อมมีการกระทบกระท่ังกันบ้างตามเหตุ และปัจจัยต่าง ๆ ดังนั้น เราควรท่ีจะเรียนรู้ทําความเข้าใจ และปรับวิธีคิดให้ถูกต้องเหมาะสม เปิดใจ กว้างยอมรับและเคารพในความแตกต่าง เพื่อให้เกิดความเข้าใจท่ีดีต่อกัน นอกจากนี้ ยังควรที่จะรู้จัก การประนีประนอม มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี มีความเมตตากรุณาต่อผู้อ่ืน รู้จักสามัคดี รู้บาปบุญการให้ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 24 คําแนะนําหรือความช่วยเหลือแก่ผู้อื่นโดยไม่เลือกคุณโทษ จะทําให้อยู่ร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีเพศ ชนชัน้ เชอ้ื ชาติ และฐานะ ยอ่ มสง่ เสริมการอยู่รว่ มกนั ความสขุ อยา่ งสนั ตสิ ุขในสังคม 2) การใช้ชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการสําคัญของหลักปรัชญา ของเศรษฐกิจพอเพียง คือ การดํารงชีวิตที่ตั้งอยู่บนพื้นฐานทางสายกลาง มีความพอประมาณมี เหตุผล อันเป็นการสร้างภูมิคุ้มกันที่ดีในตัว ตลอดจนใช้ความรู้ ความรอบคอบ และคุณธรรม ประกอบกับการวางแผนการตัดสินใจและการกระทํากิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งสามารถนํามาใช้ในการ ดําเนนิ ชีวติ ได้ ดังนี้ 2.1) ความพอประมาณ คือ การกระทําต่าง ๆ ไม่ว่าจะเป็นในระดับครอบครัว ระดับ สังคม โดยไม่สุดโต่ง ไม่ตึงหรือหย่อนเกินไป เช่น ถ้ามีเงินอยู่ 100 บาท ก็ไม่ควรใช้จ่ายเกินกว่า จํานวนท่ีมีอยู่ ควรใช้ตามความจําเป็น หากมีเงินเหลือก็ให้เก็บออมไว้ใช้จ่ายในอนาคต ซึ่งความ พอประมาณครอบคลมุ ไปถงึ ความพอประมาณกบั ศักยภาพของตนเอง กบั สภาพแวดล้อม และไมโ่ ลภ เกนิ ไปจนต้องเบียดเบยี นผูอ้ นื่ และส่ิงแวดลอ้ ม 2.2) ความมีเหตุผล คือ การใด ๆ จะต้องกระทําอย่างระมัดระวัง รอบคอบ มีเหตุผล เช่น ในการลงทุนทํากิจการต่าง ๆ จะต้องตอบคําถามให้ได้ว่า จะทําอะไร ทําอย่างไร ทําเมื่อใดและ ผลตอบแทนเป็นอย่างไร และไม่เกินกําลังของตนเองและกลุ่ม เพ่ือจะทําให้การดําเนินธุรกิจไม่ ผิดพลาด ความมีเหตุผลดรอบคลุมไปถึงการไม่ประมาท การรู้ถึงสาเหตุ การมีความสามารถในการ พิจารณาค้นหาปจั จัยท่เี ก่ยี วข้อง และการคาํ นงึ ถงึ ผลกระทบทจ่ี ะเกิดข้นึ จากการกระทํา 2.3) การมีภูมิคุ้มกันท่ีดีในตัว เป็นการเตรียมตัวให้พร้อมท่ีจะรับผลกระทบและการ เปล่ียนแปลงของสถานการณ์ต่าง ๆ ท่ีคาดว่าอาจเกิดข้ึนในอนาคต เช่น การลงทุนทํากิจการต่าง ๆ ต้องไม่เกินกําลัง ไม่ทําโดยหยิบยืมเงินของผู้อื่น หรือการกู้เงินจากสถาบันการเงินมากจนเกินไป และควรมีเงินทุนสาํ รองกนั ไว้ส่วนหนึ่ง ซ่งึ ถา้ ธุรกจิ ประสบปัญหากย็ งั มเี งนิ ส่วนทส่ี ํารองไว้ การมีภูมิคุ้มกันครอบคลุมถึงการพึ่งตนเองได้ทางเศรษฐกิจและสังคม การคํานึงถึงผล ระยะยาวและการรู้เท่าทันและพร้อมรับต่อการเปล่ียนแปลงต่าง ๆ ท่ีจะเกิดข้ึนการดํารงชีวิตอย่าง พอประมาณ ไม่เบียดเบียนตนเองและผู้อื่นให้เดือดร้อน ย่อมทําให้พ่ึงพาตนเองได้และใช้ชีวิตอย่างมี ความสุข 2.4) เงื่อนไขความรู้และคุณธรรม หมายถึง การตัดสินใจและการดําเนินกิจกรรม ต่าง ๆ ให้อยู่ในระดับพอเพียงน้ัน ต้องอาศัยความรู้หรือวิชาการที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน รวมถึง คุณธรรมต่าง ๆ เช่น ความซ่ือสัตย์สุจริต ขยัน อดทน สติปัญญา ทั้งนี้ เพื่อให้การดํารงชีวิตเกิดความ สมดุล มนั่ คง และย่งั ยนื โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 25 3) การเห็นคุณค่าในตนเอง คนเราทุกคนเกิดมาย่อมมีคุณค่าในตนเอง สิ่งที่สําคัญคือ เรา สามารถท่ีจะปฏิบัติตนให้มีคุณค่าทั้งต่อตนเองและคนในสังคมได้อย่างไร หากคนในสังคมรู้จักคุณค่า ของตนเองและนํามาใช้ให้เป็นการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจใด ๆ ก็ตาม จะต้องมีประโยชน์ ก็จะ ก่อให้เกิดผลดีต่อสังคมโดยรวมความรอบรู้ คุณธรรม และจริยธรรมประกอบกัน เพ่ือการดํารงชีวิต อย่างมีความสุขการที่เราจะมองเห็นคุณค่าในตนเองได้น้ัน เราไม่ควรประเมินค่าของตนเองให้ตํ่าต้อย โดยไปเปรียบเทียบกับคนอื่นท่ีดีกว่า เด่นกว่า แล้วเก็บมาคิดให้ตนเองกลัดกลุ้ม จนทําให้ไม่อาจ แข่งขันหรือสู้กับคนอื่นท่ีมีภูมิหลังท่ีดีกว่าได้ เราควรตระหนักว่าทุกคนมีความแตกต่างกัน แต่ละคนมี คุณค่าในตนเอง และสามารถพัฒนาได้หากได้รับการศึกษา ขยันหมั่นเพียร เอาจริงเอาจังในการ ทํางาน รู้จักอดออม และมธั ยสั ถ์ 4) มองโลกในแง่ดี สร้างทักษะทางอารมณ์ คนเราต้องมองเห็นคุณค่าของตนเองมีความคิด ในเชิงบวก พยายามดึงศักยภาพของตนเองมาใช้ในทางสร้างสรรค์ ปฏิบัติตนให้เป็นประโยชน์ต่อ ตนเองและผู้อื่น ขณะเดียวกันก็มองผู้อื่นในด้านดี รู้จักให้อภัย มีเมตตา ให้ความช่วยเหลือผู้อื่นตาม กําลังความสามารถ รู้จักเสียสละเพื่อส่วนรวม ไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนตนและพวกพ้อง มีสติ รู้จักรับ ฟังความคิดเห็นของคนรอบข้าง ใช้เหตุผลในการแก้ปัญหา หลีกเลี่ยงการใช้ความรุนแรงทุกรูปแบบ พรอ้ มยอมรบั เหตกุ ารณ์ทงั้ ทเี่ ปลยี่ นแปลงและไม่สามารถเปล่ยี นแปลงได้ นอกจากน้ี ควรสร้างทักษะทางอารมณ์ด้วยการฝึกสมาธิ มีสติกับความคิด รู้ว่ากําลังคิดกําลัง ทําอะไร รวมถึงรู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ เช่น ออกกําลังกาย ฟังเพลง ทํากิจกรรมด้านศิลปะ เพื่อผ่อนคลายความเครียดจากการเรียนและการทํางาน สิ่งเหล่านี้จะส่งผลให้คนเราดํารงชีวิตอยู่ รว่ มกบั ผอู้ ื่นไดอ้ ยา่ งสงบสขุ 5) รู้จักบริโภคด้วยปัญญา ในยุคปัจจุบันท่ีมีความเจริญทางด้านวัตถุมาก มีการประดิษฐ์ คิดค้นอุปกรณ์ ส่ิงของต่าง ๆ ท่ีจะสามารถอํานวยความสะดวกให้แก่มนุษย์ ด้วยสภาพดังกล่าวทําให้ มนุษย์มักยึดติดในความเจริญทางด้านวัตถุเป็นหลัก เป็นลักษณะของบริโภคนิยม ซ่ึงการท่ีเราจะ ดํารงชีวิตให้มีความสุขได้อย่างแท้จริงน้ัน เราควรบริโภคสิ่งต่าง ๆ อย่างพอประมาณตามความจําเป็น ของร่างกายและความเหมาะสมกับฐานะของตนเอง รู้จักเลือกใช้ของที่เป็นประโยชน์ ไม่ฟุ่มเฟือย ควรจดบนั ทกึ รายรบั -รายจ่ายของตนเองและครอบครวั ด้วย 6) การเลือกรับ-ปฏิเสธข่าวสารและวัตถุต่าง ๆ สังคมปัจจุบันเป็นสังคมแห่งข้อมูลข่าวสาร ที่ข้อมูลได้มีการเผยแพร่ตามสื่อต่าง ๆ อย่างรวดเร็ว ดังน้ัน คนในสังคมจึงควรรู้จักเลือกรับข้อมูลที่ เป็นประโยชน์และรอบด้าน เช่น ข่าวสารเก่ียวกับบ้านเมือง เศรษฐกิจ สังคม ความรู้ทางเทคโนโลยี และวิทยาการใหม่ ๆ ข่าวเหตุการณ์รอบโลก หรือข่าวบันเทิงท่ีเหมาะสมกับวัยในการเลือกรับข้อมูล ข่าวสารจะต้องเลือกแหล่งข่าวที่น่าเชื่อถือ นําเสนอด้วยความเป็นกลางและผู้รับข้อมูลจะต้องรู้จักใช้ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 26 วิจารณญาณในการเลือกรับ ไม่ควรเช่ือข้อมูลในทันที จะต้องใช้สติปัญญาในการไตร่ตรองข้อมูลให้ ละเอียดรอบคอบ อย่างไรก็ดี ไม่ควรบริโภคข้อมูลข่าวสารมากเกินความจําเป็น เพราะอาจจะสร้าง ความเครียดหรอื ความขัดแย้งขึน้ ได้ รูปท่ี 6.6 รปู ท่ี 6.7 โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 27 รปู ที่ 6.8 นอกจากน้ี เครื่องมือสื่อสารยุดใหม่ เช่น โทรศัพท์เคลื่อนท่ี คอมพิวเตอร์ ท่ีทําให้เกิดความ สะดวกสบายในการพูดคุยส่ือสาร เราควรใช้ประโยชน์จากเคร่ืองมือเหล่าน้ีในด้านการศึกษาการ ประกอบอาชีพ การทําธุรกิจการค้า เป็นต้น ควรใช้เม่ือมีความจําเป็น รวมถึงควรเลือกใช้จ่ายซื้อวัตถุ ส่ิงของท่ีจําเป็นต่อการดํารงชีวิต ไม่ใช้จ่ายฟุ่มเฟือยจนสร้างความเดือดร้อนให้แก่ตนเองและหลีกเล่ียง อบายมุขต่าง ๆ ปฏิบัติตนเป็นคนดีในสังคม รู้จักกาลเทศะ มีความอ่อนน้อมถ่อมตนมีความกตัญญู รู้คุณ เลือกสิ่งท่ีเป็นประโยชน์ต่อตนเองและสังคม ซึ่งจะทําให้สังคมน่าอยู่ภายใต้วัฒนธรรมไทยท่ี ทรงคุณค่า กล่าวโดยสรุป สังคมไทยมีลักษณะที่เป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวในหลาย ๆ ด้านที่แสดงออก ถึงคุณค่าและความดีงาม แม้ว่าในปัจจุบันสังคมไทยจะเผชิญกับความขัดแย้งและมีปัญหาสังคม มากมายก็ตาม แต่ถ้าหากเรารู้จักปรับตัวให้เหมาะสมกับการเปล่ียนแปลงรอบด้าน อยู่ร่วมกันอย่าง สมานฉันท์ และดาํ เนนิ ชีวิตตามหลักปรชั ญาของเศรษฐกจิ พอเพยี ง กจ็ ะทาํ ใหช้ วี ิตของเรามคี วามสุข โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

กิจกรรมอภิปญั ญา ห น้ า | 28 เรอื่ ง สังคมไทยในปัจจุบนั ผลลัพธ์ ขน้ั ท่ี 2 การควบคุมตนเอง สิ่งท่ีทํา เปา้ หมายของการเรยี น สรุป......................................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ส่งิ ท่ตี อ้ งปรบั ปรงุ ..................................................................................................................... .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. .............................................................................................................................................................. ตอบถกู ตอ้ งทง้ั หมด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกตอ้ งเลก็ น้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 29 ข้ันที่ 3 ความตระหนักตอ่ กระบวนการคดิ 1. ประเทศไทยมีปัญหาสงั คมด้านใดบา้ งทีต่ ้องเร่งแก้ไข …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ความขดั แย้งในสงั คมส่งผลกระทบตอ่ การอย่รู ว่ มกันอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในการดําเนินชีวิตของนักเรียนเคยเกิดความขัดแย้งกับผู้อื่นอย่างไร และมีวิธีแก้ไขความขัดแย้งน้ัน อยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ต้องท้งั หมด เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ต้องเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมยร์ วินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 30 บตั รกิจกรรมท่ี 1 เร่ือง สงั คมไทยในปัจจุบนั คําช้ีแจง ให้นักเรยี นตอบคาํ ถามตอ่ ไปน้ใี หถ้ กู ตอ้ ง 1. ประเทศไทยมีปัญหาสังคมด้านใดบ้างท่ีต้องเร่งแก้ไข และนักเรียนมีส่วนช่วยลดปัญหาสังคมได้ อย่างไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. ความขดั แยง้ ในสังคมส่งผลกระทบตอ่ การอยรู่ ่วมกันอยา่ งไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. ในการดําเนินชีวิตของนักเรียนเคยเกิดความขัดแย้งกับผู้อ่ืนอย่างไร และมีวิธีแก้ไขความขัดแย้งนั้น อย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 31 4. ปัจจัยใดท่ีก่อให้เกิดความขัดแย้งขึ้นในสังคมไทย และวิธีการลดความขัดแย้งที่เหมาะสมกับสภาพ สังคมไทยในปัจจุบนั ทําไดอ้ ยา่ งไรบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 5. นักเรียนสามารถนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในชีวิตประจําวันเพื่อการ ดาํ รงชวี ติ อย่างมคี วามสขุ ไดอ้ ย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกต้องทงั้ หมด เกณฑ์การใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกตอ้ งบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถูกตอ้ งเลก็ น้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 32 บตั รกิจกรรมที่ 2 สร้างสรรคพ์ ัฒนาการเรียนรู้ เร่ือง สงั คมไทยในปจั จบุ ัน คําชแ้ี จง ใหน้ กั เรียนแต่ละกลุ่ม ดาํ เนินกิจกรรมตามทก่ี ําหนดให้ตอ่ ไปน้ี กิจกรรมท่ี 1 นักเรียนแบ่งกลุ่ม ช่วยกันหาภาพท่ีแสดงถึงลักษณะของสังคมไทย 1 ภาพ เขียนคําอธิบายใต้ภาพถึงความเป็นเอกลักษณ์หรือลักษณะเด่นของ สังคมไทยแลว้ นาํ ส่งครผู ูส้ อน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ตอ้ งท้ังหมด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ต้องบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครูชํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 33 กิจกรรมที่ 2 นักเรียนสืบค้นข่าวจากเร่ืองต่าง ๆ ท่ีเก่ียวกับความขัดแย้งในสังคมไทย วิเคราะห์สาเหตุ ผลกระทบ และแนวทางป้องกันและแก้ไขปัญหา จากนั้น ออกมาอภปิ รายหนา้ ชน้ั เรียน …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ตอ้ งท้งั หมด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ต้องบางสว่ น ให้ 3 คะแนน ตอบถูกต้องเล็กนอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 34 กจิ กรรมท่ี 3 นักเรียนแบ่งกลุ่ม เลือกประเด็นปัญหาทางสังคมไทย กลุ่มละ 1 ประเด็น จากน้ันทําการอภิปรายแลกเปล่ียนความคิดเห็นกัน เพื่อหาแนวทางในการ แก้ไขปญั หาเหลา่ น้นั …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ตอ้ งทัง้ หมด เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกต้องบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถกู ต้องเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไม่ตอบ โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครชู ํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 35 กิจกรรมที่ 4 นักเรียนแบ่งกลุ่ม ศึกษาหลักการปฏิบัติตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ พอเพียงเพ่ือการอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุขในครอบครัวและโรงเรียน นํามา อภิปรายในชั้นเรียนร่วมกันอย่างสมานฉันท์ และดําเนินชีวิตตามหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ก็จะทําใหช้ วี ติ ของเรามีความสขุ …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถกู ต้องทัง้ หมด เกณฑ์การให้คะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถูกตอ้ งบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถูกตอ้ งเลก็ นอ้ ย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 36 บตั รกจิ กรรมท่ี 3 แบบฝึกหดั เรื่อง วฒั นธรรมสากล คาํ ชีแ้ จง : ให้นักเรียนสืบค้นข้อมูลแลว้ ตอบคําถามต่อไปน้ี 1. วฒั นธรรมสากลทีม่ ีขอ้ ดแี ละมีประโยชนต์ ่อชีวติ ของนักเรยี นมอี ะไรบ้าง จงยกตัวอยา่ ง …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… 2. นักเรียนมแี นวทางในการเลอื กรบั วฒั นธรรมสากลอย่างไร …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………… ตอบถูกต้องทงั้ หมด เกณฑก์ ารใหค้ ะแนน ให้ 1 คะแนน ตอบถกู ตอ้ งบางส่วน ให้ 3 คะแนน ตอบถูกตอ้ งเล็กน้อย ให้ 0 คะแนน ให้ 2 คะแนน ไมต่ อบ โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 37 แบบทดสอบหลงั เรียน เรอื่ ง สงั คมไทยในปัจจุบนั กลุ่มสาระการเรยี นรสู้ ังคมศกึ ษา ฯ รายวชิ าสงั คมศกึ ษา 5 รหสั วิชา ส23101 ชนั้ มัธยมศกึ ษาปีท่ี 3 คาํ ชแี้ จง 1. แบบทดสอบฉบบั นี้ จาํ นวน 10 ขอ้ คะแนนเตม็ 10 คะแนน เวลาท่ใี ช้ 10 นาที 2. จงเลอื กคาํ ตอบทีถ่ กู ต้องที่สุด แล้วเขียนเครื่องหมาย  ลงในกระดาษคําตอบ 1. ขอ้ ใดเป็นลักษณะทเ่ี ปน็ เอกลักษณ์ของสังคมไทย ก. เป็นสงั คมอตุ สาหกรรม ข. ไมย่ ึดถอื ประเพณีและพิธีกรรม ค. มพี ระพุทธศาสนาเปน็ ศาสนาหลัก ง. มคี วามสนั โดษ รักความเป็นส่วนตัว 2. สถานการณ์ใดตอ่ ไปนีอ้ าจนําไปสูค่ วามขดั แยง้ ดา้ นเศรษฐกจิ ก. การเพม่ิ กาํ ลังการผลติ ข. การผูกขาดทางการคา้ ค. การกระจายอาํ นาจ ง. การให้ทุนดา้ นการวิจัย 3. สถาบันทางสังคมใดต่อไปนม้ี ีบทบาทสาํ คัญในการป้องกนั ปัญหายาเสพตดิ ก. สถาบนั ครอบครวั ข. สถาบันการเมือง ค. สถาบันเศรษฐกจิ ง. สถาบันสอื่ สารมวลชน 4. ขอ้ ใดเป็นปจั จัยท่สี ่งเสรมิ ให้เกิดการทจุ รติ ฉอ้ ราษฎร์บังหลวง ก. การพงึ่ พาตนเอง ข. ระบบทุนนิยม ค. ระบบอุปถมั ภ์ ง. ความยึดม่นั ในศาสนา โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 38 5. หากประเทศมีการทจุ รติ คอร์รปั ชั่นสงู จะสง่ ผลเสยี อยา่ งไร ก. เกิดความล้าหลังทางวฒั นธรรม ข. ประชาชนไม่สามารถพ่ึงพาตนเองได้ ค. คา่ เงนิ ของประเทศแขง็ คา่ ข้นึ ตอ่ เนื่อง ง. ขาดความน่าเชือ่ ถือจากนานาประเทศ 6. สิ่งใดต่อไปนี้ มิ อาจแก้ไขความขัดแย้งในสงั คมได้ ก. ความมอี คติ ข. ความสามัคคี ค. ความม่ันใจในตนเอง ง. ความพอเพยี งและมีเหตผุ ล 7. แรงงานตา่ งดา้ วผิดกฎหมายอาจกอ่ ให้เกิดปัญหาใดตามมา ก. ปญั หาเดก็ เรร่ ่อน ข. ปัญหาการหย่ารา้ ง ค. ปัญหาการแพรโ่ รคระบาด ง. ปัญหาการละเมิดทรัพย์สนิ ทางปัญญา 8. หากต้องการให้การทุจริตคอร์รัปชั่นหมดไปจากสังคมไทยต้องเร่งปลูกฝังแนวคิดใดแก่คน ในประเทศ ก. การพงึ่ พาผอู้ ื่น ข. ความซอ่ื สัตย์สุจรติ ค. ความเป็นวตั ถุนยิ ม ง. ความเปน็ ทุนนิยมเสรี 9. หากนกั เรียนมีความคิดเห็นไมต่ รงกับเพื่อน นกั เรียนควรปฏบิ ัตติ นอยา่ งไร ก. ไม่แสดงความคดิ เหน็ ข. ต่อวา่ เพอ่ื นดว้ ยถ้อยคาํ รนุ แรง ค. รบั ฟังความคดิ เหน็ และใชเ้ หตุผลพดู คุยกัน ง. หลีกเลยี่ งการทํากจิ กรรมร่วมกบั เพอ่ื นคนนั้น โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชํานาญการพิเศษ

ห น้ า | 39 10. เมอื่ เกิดความขัดแย้งขนึ้ ภายในสังคม เราควรแก้ไขความขัดแยง้ โดยยดึ หลกั ใด ก. การใช้เหตผุ ล ข. การใช้ความรุนแรง ค. การใชอ้ ํานาจบารมี ง. การใชเ้ งินแก้ไขปญั หา โดย นายรมยร์ วินท์ เชิดชู ตําแหนง่ ครู วิทยฐานะ ครูชาํ นาญการพเิ ศษ

ห น้ า | 40 แบบทดสอบกอ่ นเรยี น ง แบบทดสอบหลังเรียน ง ขอ้ ก ข ค ขอ้ ก ข ค 1 1 2 2 3 3 4 4 5 5 6 6 7 7 8 8 9 9 10 10 คะแนนเตม็ 10 คะแนน คะแนนเต็ม 10 คะแนน ได้ ...................คะแนน ได้ ...................คะแนน โดย นายรมย์รวินท์ เชดิ ชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู าํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 41 บรรณานุกรม กระมล ทองธรรมชาติ. 2548. องค์กรตามรัฐธรรมนูญกับการคุ้มครองสิทธิเสรีภาพของ ประชาชน. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท. ไทยรม่ เกลา้ , บริษทั อักษรเจริญทัศน์ อจท. จาํ กัด เกรียงศกั ด์ิ ราชโคตร. 2552. การเมืองการปกครองไทย (901-106) : Thai Government and Politics. กรุงเทพมหานคร : ดวงแก้ว. ขจติ จิตเสรี. 2553. องค์การระหวา่ งประเทศ. กรงุ เทพมหานคร : วญิ ญูชน. ดํารง ฐานดี และคณะ. 2565. หนังสือเรียนรายวิชาพ้นื ฐานสังคมศึกษา ศาสนา และวฒั นธรรม หน้าทพ่ี ลเมือง วฒั นธรรม และการดาํ เนินชีวิตในสังคม เศรษฐศาสตร์ และภมู ศิ าสตร์ ช้นั มธั ยมศึกษาปีที่ 3. (พมิ พค์ รง้ั ที่ 9) กรงุ เทพฯ : ไทยรม่ เกล้า, บริษทั อกั ษรเจริญทศั น์ อจท. จาํ กัด นนั ทวัฒน์ บรมานันท์. ม.ป.ป. กฎหมายปกครอง. กรงุ เทพมหานคร : วญิ ญูชน. ราชบณั ฑิตยสถาน. 2556. พจนานกุ รมศัพทก์ ฎหมายไทย. พิมพค์ รัง้ ท่ี 9 (แก้ไขเพ่ิมเติม). กรุงเทพมหานคร : ราชบัณฑิตยสถาน. สภาทนายความ. 2540. กฎหมายเบอ้ื งตน้ สาํ หรับประชาชน. กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์. เสน่ห์ จามริก. 2549. การเมอื งไทยกับการพัฒนารฐั ธรรมนูญ. กรุงเทพมหานคร : มลู นธิ ติ าํ รา สงั คมศาสตรแ์ ละมนุษยศาสตร.์ สาํ นกั งานคณะกรรมการวฒั นธรรมแหง่ ชาติ. 2544. แนวทางการสืบค้นวัฒนธรรมทอ้ งถิ่นไทย. กรงุ เทพมหานคร : โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. สาํ นกั งานผู้ตรวจการแผ่นดนิ และสาํ นักงานค้มุ ครองสิทธิและชว่ ยเหลือทางกฎหมายแกป่ ระชาชน. ม.ป.ป. รวมกฎหมายทป่ี ระชาชนควรรู้. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.ท. https://www.baanjomyut.com/library_3/thai_society/index.html https://culturealhuman.wordpress.com/tag/วฒั นธรรมสากล/ http://www.digitalschool.club/digitalschool/social1_1_1/social1_2/more/page32.php http://www.widemagazine.com/4221 https://saimoon.thai.ac/client-upload/saimoon/uploads/files โดย นายรมยร์ วนิ ท์ เชดิ ชู ตําแหนง่ ครู วทิ ยฐานะ ครูชาํ นาญการพิเศษ

ห น้ า | 42 โดย นายรมย์รวินท์ เชิดชู ตาํ แหน่ง ครู วทิ ยฐานะ ครชู ํานาญการพเิ ศษ


Like this book? You can publish your book online for free in a few minutes!
Create your own flipbook